The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มอร. ๓๐๐ – ๐๐๐๒ – ๐๒๕๑
แรงดันไฟฟ้าตก
(Voltage Drop)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by runn0248, 2022-05-22 01:04:05

มอร. ๓๐๐ – ๐๐๐๒ – ๐๒๕๑ แรงดันไฟฟ้าตก (Voltage Drop)

มอร. ๓๐๐ – ๐๐๐๒ – ๐๒๕๑
แรงดันไฟฟ้าตก
(Voltage Drop)

Keywords: มอร. 300 – 0002 – 0251 แรงดันไฟฟ้าตก (Voltage Drop)

มอร. 300 – 0002 – 0251

แรงดนั ไฟฟา ตก

(Voltage Drop)

มาตรฐานงานชา ง กรมอทู หารเรอื

มอร. 300 – 0002 – 0251

แรงดันไฟฟาตก

(Voltage Drop)

แกไขครง้ั ที่....................................................เมื่อ....................................
แกไ ขครงั้ ท.ี่ ...................................................เมอื่ ....................................
แกไขครง้ั ท่ี....................................................เมอื่ ....................................

ประกาศกรมอทู หารเรือ
เร่อื ง กาํ หนดมาตรฐานงานชาง กรมอูทหารเรือ

...................................

อาศยั อํานาจตามความในขอ ๗.๓ และ ขอ ๑๒ แหงระเบียบ กรมอูท หารเรือ วา ดว ยมาตรฐานงาน
ชา ง พ.ศ. ๒๕๕๑ เจากรมพัฒนาการชา ง กรมอทู หารเรือ จึงใหย กเลกิ มาตรฐานงานชา ง กรมอูทหารเรอื มอร.๓๐๐ -
๐๐๐๒ - ๐๙๔๒ แรงดันไฟฟา ตก ซง่ึ ประกาศ ณ วนั ท่ี ๗ ธนั วาคม พ.ศ.๒๕๔๒ และใหใช มาตรฐานงานชาง
กรมอูทหารเรือ มอร. ๓๐๐ - ๐๐๐๒ - ๐๒๕๑ แรงดันไฟฟาตก ดังรายละเอยี ดตอ ทายประกาศนี้

ประกาศ ณ วนั ท่ี กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕๕๑

พล.ร.ต.รศ.
(พงศส รร ถวิลประวตั ิ)
จก.กพช.อร.

รายการแกไ ข

หมายเลขหนา การแกไ ขครง้ั ท่ี

วนั เดือน ป บนั ทกึ การแกไข
รายการแกไ ข

การแจกจาย

มาตรฐานงานชา งกรมอทู หารเรอื
แรงดนั ไฟฟา ตก (Voltage Drop)

1. เอกสารอางอิง
1.1 General Specifications for Ships of the United States Navy Section 304 Electric Cable
1.2 น.อ.เจษฏา ยาวะประภาษ, ระบบไฟฟาท่วั ไปในเรือ, กรมพัฒนาการชา ง กรมอูท หารเรือ, 2538
1.3 นายลอื ชัย ทองนิล, กฎการเดินสายและตดิ ตง้ั อปุ กรณไ ฟฟา , 2538

2. ความมุง หมาย

การออกแบบระบบไฟฟา หากไมค าํ นงึ ถึงแรงดนั ไฟฟา ตกในสายไฟ จะเปน ผลทําใหอุปกรณไ ฟฟา ทํางาน
อยางไมม ีประสทิ ธภิ าพ และทาํ ใหอ ุปกรณใ นระบบไฟฟา กาํ ลงั เชนมอเตอรห มุนชา ลงจนไหมได ถาเปนหลอดไฟฟา
ชนิดไสจะทําใหแสงสวา งลดลง หรือถา เปน หลอดฟลอู อเรสเซนทจะไมท าํ งาน การหาคา แรงดนั ไฟฟา ตกจงึ มีความจําเปน
ตอ การออกแบบระบบไฟฟา ดังนนั้ ความมุงหมายในการหาคาแรงดันไฟฟา ตก คอื

2.1 เพื่อใหการหาคา แรงดนั ไฟฟาตกเปน ไปอยางถูกตอ งตามมาตรฐานท่กี ําหนด
2.2 เพอ่ื เลือกขนาดของสายไฟใหเหมาะสมกับการใชง าน
2.3 เพอ่ื ลดการสญู เสยี พลงั งานในสายสง
2.4 เพือ่ ใหอ ปุ กรณไ ฟฟาทาํ งานไดอ ยางมีประสทิ ธิภาพ

3. ขอบเขต

มาตรฐานฉบับนี้ใชไดก ับการออกแบบระบบไฟฟา ในเรือเปนหลกั และสามารถประยกุ ตใ ชก ับระบบไฟฟาบกได

4. เนื้อเร่ือง
4.1 การกําหนดแรงดันไฟฟา ตก

การกําหนดคาแรงดนั ไฟฟาตกสงู สดุ ในสายไฟระบบไฟฟา กาํ ลัง ไฟฟาแสงสวา ง การส่ือสารภายใน การควบคมุ
อาวุธ และระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส มีรายละเอียดดังน้ี

4.1.1 ระบบไฟฟากําลัง (Power System)
แรงดันไฟฟาตกในสายไฟสาํ หรับระบบไฟฟากาํ ลงั ในสภาวะการทาํ งานปกติ การคํานวณจะใชคาความตานทาน
ของสายทองแดงเทากับ 13 Ω/Circular-mil-ft และมคี า ไมเ กินดงั น้ี

ลาํ ดับ ประเภทการใชงาน แรงดนั ไฟฟาสงู สดุ
(%)
1 สายไฟจากเครอื่ งกําเนิดไฟฟาหลักไปยงั ตูจา ยไฟหลกั (Ship Service Bus Tie 2.0
2.0
Circuits) 2.0
2.0
2 สายไฟจากเครอ่ื งกาํ เนิดไฟฟาสํารองไปยงั ตจู ายไฟสาํ รอง Ship Service to
6.0
Emergency Bus Tie Circuits)
6.0
3 สายไฟจากตูจ า ยไฟหลกั ไปยงั ตจู า ยไฟยอ ย (Load Center Bus Feeders)
4 สายไฟบก (Shore Power Feeders) 0.5
5 สายไฟจากตูจ า ยไฟไปยังอปุ กรณ (Ship Service or Emergency

Switchboard) ดังตอ ไปนี้

5.1 อุปกรณอ เิ ลก็ ทรอนกิ ส อุปกรณส ่อื สารภายใน อปุ กรณควบคมุ อาวุธ และ

อุปกรณค วบคมุ แรงดนั (Terminal of Electronic Interior Communication,

Weapons Control Equipment and Input Line Terminals of Line

Voltage Regulators)

ยกเวน หมอแปลงไฟฟา ทส่ี ามารถปรบั แตง แรงดนั ได
(Transformer Regulation)

5.2 อุปกรณไ ฟฟา กาํ ลัง (Terminals of Power Equipment)

ยกเวน ก. หมอแปลงไฟฟา ท่สี ามารถปรบั แตงแรงดันได

(Transformer Regulation)

ข. ภายใตสภาวะการเรม่ิ เดินเครื่องตอ งไมเ กิน 12%
6 สายไฟบริการอากาศยานทุกชนิดจากสายอปุ กรณค วบคมุ แรงดันถงึ สวทิ ชต ดั ตอน

(Aircraft Servicing-Cable Form Line Voltage Regulator to the
Disconnect Switch)

ในสภาวะเง่ือนไขตอไปนไ้ี มจ าํ เปน ตองคาํ นวณหาคาแรงดันไฟฟาตก ถาเลือกขนาดของสายไฟใหสอดคลอ ง

กับอัตราการทนตอกระแสไดสูงสดุ คอื
ก. สายไฟจากตจู า ยไฟไปยังภาระไฟฟา คา แรงดนั ไฟฟา ตก 12 %
สายไฟทีม่ ีความยาวไมเ กนิ 250 ฟตุ ใหคณู ดว ยคาตัวคูณประกอบกําลงั ความตองการ
(DEMAND FACTOR) 0.8 หรอื มากกวา
สายไฟทมี่ คี วามยาวไมเกนิ 150 ฟุต ใหคณู ดวยคาตัวคณู ประกอบกาํ ลงั ความตอ งการ
(DEMAND FACTOR) 0.5 – 0.8
ข. สายปอ นทจ่ี ายใหก บั กลมุ ภาระไฟฟา คาแรงดนั ไฟฟาตกทีจ่ ุดตอสายของอุปกรณม ีคาไมเกนิ 12 %

สาํ หรับการหาคา กระแสไฟฟา สงู สดุ ของสายใหค ิดจาก
สองเทาของกระแสไฟฟารวมทงั้ หมด หรอื
กระแสไฟฟา ของมอเตอรตวั ทใี่ หญทสี่ ดุ บวกกับกระแสไฟฟา ของอปุ กรณท ีเ่ หลอื

4.1.2 ระบบไฟฟา แสงสวา ง (Lighting System)
การคาํ นวณแรงดนั ไฟฟา ตกของสายวงจรยอย (Branch) จะใชค า ความตานทานของสาย

ทองแดงเทากบั 12 Ω/Circular-mil-ft โดยวงจรไฟฟา แสงสวา งหลกั ทใี่ ชก ระแสไฟฟาสลบั (AC) มคี า ไมเ กนิ 6%
และกระแสไฟฟา ตรง (DC) มีคา ไมเ กิน 8% สาํ หรับวงจรไฟฟา แสงสวางฉกุ เฉนิ กระแสไฟฟา สลับมีคา ไมเกิน 12%
และกระแสไฟฟา ตรงไมเกนิ 15% และวงจรไฟฟา แสงสวางกระแสไฟฟา สลบั จะเปน คาสูงสดุ ยกเวน หมอแปลงไฟฟา

ทสี่ ามารถปรับแตงคา แรงดนั ได

แรงดันไฟฟาตกของสายปอนท่ีจายใหกับไฟคนหาที่มีกําลังสองสวางสูง (High Intensity
Searchlights) จํานวนตั้งแต 2 ดวงขึ้นไปจะมีคาตัวประกอบกําลัง (Power Factor) 0.15 ตอไฟหนึ่งดวง สําหรับไฟ

คนหาอนื่ ๆ (Searchlights) ในสภาวะการทาํ งานปกติจะมีคาตัวประกอบกําลัง 0.85 และแรงดันไฟฟาตกจากจุดตอ
สายไปยังบลั ลาสทไ มเ กนิ 5% ขณะเริม่ ใชงาน

4.1.3 ระบบอิเล็กทรอนิกส การส่ือสารภายในและการควบคุมอาวุธ (Electronic, Interior

Communication and Weapons Control System)

การคํานวณคาแรงดนั ไฟฟา ตกจะเหมอื นกับวิธีของระบบไฟฟากาํ ลงั สาํ หรับสายไฟท่ีตอ

ระหวา งอปุ กรณข องระบบคาแรงดันไฟฟาตกใหน ําขอ กําหนดเฉพาะของอปุ กรณม าพิจารณาดวย

สายไฟท่ีมีตัวนําหลายเสนและเดินอยูเสนเดียวไมขนานกับเสนอื่นใหใชคากระแสสูงสุด

ถา สายไฟทเี่ ดินขนานกัน 2 เสน หรอื 3 เสน ใหใชค า กระแสสูงสุดของสายเสนทีเ่ ลก็ ที่สดุ

ในกรณขี องสายไฟทตี่ อจากอุปกรณแปลงพลังงาน คา แรงดนั ไฟฟาตกจะมีคา นอยท่ีสดุ

โดยการเลือกสายไฟใหเหมาะสมกับความตอ งการของภาระไฟฟาโดยเฉพาะ

System) 4.1.4 ระบบเดินเคร่ืองอากาศยานและระบบบริการ (Aircraft Starting and Servicing
คาแรงดันไฟฟาตกสําหรับระบบไฟฟากระแสตรง การเดินเครื่องอากาศยานใหใชของ NAVAIR

สําหรับสายไฟระบบบริการกระแสตรงแรงตํ่าจากแหลงจายไฟไปยังเตารับท่ีอยูขอบเรือ คาแรงดันไฟฟาที่จายให
อากาศยานจะมคี า ระหวา ง 25 – 29V

4.2. การคาํ นวณแรงดันไฟฟาตก

การหาคาแรงดันไฟฟาตกมีวิธีการคํานวณหาคาไดหลายวิธี จากสูตรการคํานวณและตัวอยาง

ขางลางนเ้ี ปนวธิ ีหนึง่ ทีใ่ ชในการคํานวณหาคา แรงดันไฟฟา ตก

1. กรณวี งจรไฟฟา กระแสตรงหรอื ไฟฟา กระแสสลับชนิด 1 เฟส

Vd = 2 IZL

%Vd = Vd x100%
V

หรือ %Vd = 2IRL x100%
CMV

หรอื %Vd = 2IL xCOSQx100%
∫VA

2. กรณีวงจรไฟฟา กระแสสลับชนดิ 3 เฟส

Vd = 3 IZL

%Vd = Vd x100%
V

หรอื %Vd = 3IRL x100%
CMV

หรือ %Vd = 3IL xCOSθ x100%
∫VA

เม่ือ :

Vd = คา แรงดนั ไฟฟาตก (โวลท)

%Vd = คาแรงดนั ไฟฟาตก (เปอรเ ซน็ ต)

I = คากระแสไฟฟา ท่ไี หลในวงจร (แอมปแปร)

V = คา แรงดนั ไฟฟาของระบบ (โวลท)

L = ความยาวของสายไฟ (เมตร หรอื ฟตุ )

R = คา ความตานทานของตัวนํา ( Ω /Circular-mi-ft)

Z = คา Impedance ของสายไฟ ( Ω /เมตร)

CM = พนื้ ท่ีหนา ตดั ของตัวนําหนงึ่ เสน หรอื พน้ื ทห่ี นาตัดรวมของตวั นาํ ที่ขนานกนั

(Circular Mils)

A = พืน้ ท่หี นา ตดั ของตัวนํา (mm2)

Cosθ = ตัวประกอบกําลงั (Power Factor)

∫ = ความนาํ ไฟฟา (Conductivity m/mm2 Ω )
ในกรณีเปนสายทองแดง ∫ = 56 m/mm2 Ω
ในกรณเี ปน สายอลูมเิ นยี ม ∫ = 34 m/mm2 Ω

หมายเหตุ

1. คา Impedance ของสายไฟ ขึ้นอยกู บั ชนิดและวิธกี ารเดินสาย รวมท้ังสภาพอณุ หภมู แิ วดลอมของสายไฟ
2. ตารางท่ี 1 เปนตวั อยา งของสายไฟฟาชนดิ HXXM 0.6/1KV.90๐C จะมคี า Impedance ดงั แสดงใน

ตาราง

3. กรณไี ฟฟากระแสตรง คา Z = R
4. กรณีที่ใชพ้ืนที่หนาตัดของสายไฟ (Circular Mils) มาคํานวณความยาวของสายไฟใชหนวยเปนฟุต
เน่อื งจากคา ความตา นทานของตัวนํา ® มหี นว ยเปน Ω/Circular-mil-ft

ตวั อยางการคาํ นวณหาแรงดนั ไฟฟาตก

ตวั อยา งท่ี 1
จาก Diagram จงหาคา แรงดันไฟฟาตกในสาย

วธิ ที ํา จากวงจรที่ 1 สายไฟชนดิ HXXM 0.6/1kV ขนาด 3x 2.5 mm2

จากตารางท่ี 1 คา Impedance มคี า = 9.49Ω/km
= 3 IZL
จากสมการ Vd = 3 (10)(9.49 x 10-3 )(3)
=
0.49 Volt

%Vd = Vd x100
V

= 0.49 x100
แรงดนั ไฟฟา ตกในสาย = 380

0.13%

จากวงจรที่ 2 สายไฟฟา ชนดิ HXXM 0.6/1kV ขนาด 3 x 4 mm2

จากตารางที่ 1 คา Impedance มีคา = 5.79Ω/km
Vd = 3 (20)(5.79 x 10-3 )(10)
=
2.01 Volt

%Vd = 2.01 x100
แรงดนั ไฟฟาตกในสาย = 380

0.53%

จากวงจรที่ 3 สายไฟฟาชนดิ HXXM0.6/1.0V ขนาด 3 x 25 mm2

จากตารางที่ 1 คา Impedance มีคา = 0.917 Ω/km
Vd = 3 (40)(0.917 x 10-3 )(30)
=
1.91 Volt

%Vd = 1.91 x100
แรงดันไฟฟา ตกในสาย = 380

0.5%

ตัวอยา งท่ี 2

จากรูปวงจรไฟฟา แสงสวางท่ตี อ มาจากแผงยอ ยไฟแสงสวาง ขนาดแรงเคลอ่ื นไฟฟาของวงจรยอยเทา กับ 115 Volt
สายไฟในวงจรยอยไฟแสงสวางมขี นาด AWG No.14 โดยวงจรท่ยี าวท่สี ดุ ประกอบดว ยดวงโคมจาํ นวน 5 ดวง
ขนาด 50 Watt/ดวง และมรี ะยะหางตามทแ่ี สดงในรปู จงหาขนาดแรงดนั ไฟฟา ในสายของวงจรยอยทัง้ หมด

แผงยอ ยไฟแสงสวาง 115 VAC
วธิ ีทํา 1. สายไฟในวงจรยอยไฟแสงสวา งขนาด AWG No. 14 จากตารางที่ 2 จะไดค า

CM = 4110 Circular mil

2. คาํ นวณหาขนาดของกระแสในสายในสว นตา ง ๆ ของวงจรยอ ย

จาก I =P
สาํ หรับหลอดไฟแตละหลอด I
V
ดังนั้น ขนาดของกระแสในสายชวงที่ 1
= 50 = 0.435 Amp
115

= 0.435 Amp

ขนาดของกระแสในสายชวงที่ 2 = 2 (0.435) = 0.87 Amp

ขนาดของกระแสในสายชว งที่ 3 = 3 (0.435) = 1.3 Amp

ขนาดของกระแสในสายชว งที่ 4 = 4 (0.435) = 1.74 Amp

ขนาดของกระแสในสายชวงท่ี 5 = 5 (0.435) = 2.17 Amp

3. คาํ นวณหาแรงดนั ไฟฟา ตกในสายแตละชว ง

จากสมการ % Vd = 2IRL x 100%

CMV

R ของสายทองแดงสาํ หรับระบบไฟฟาแสงสวาง = 12 Ω/Circular-mil-ft

ขนาดของแรงดันไฟฟา ตกในสายชว งท่ี 1 = (2)(0.435)(12)(25) x 100%
(4110)(115)

= 0.06%

ขนาดของแรงดนั ไฟฟา ตกในสายชวงที่ 2 = (2)(0.87)(12)(20) x 100%
(4110)(115)

= 0.09%

ขนาดของแรงดันไฟฟา ตกในสายชว งท่ี 3 = (2)(1.3)(12)(18) x 100%
(4110)(115)

= 0.12%

ขนาดของแรงดันไฟฟา ตกในสายชวงท่ี 4 = (2)(1.74)(12)(23) x 100%
(4110)(115)

= 0.2%

ขนาดของแรงดนั ไฟฟา ตกในสายชวงท่ี 5 = (2)((421.1107))((11125)()50) x 100%

= 0.55%

ดังนนั้ ขนาดของแรงดนั ไฟฟาตกในสายของวงจรยอ ยท้งั หมด = 0.06 + 0.09+ 0.12 + 0.2 + 0.55

= 1.02%



หมายเหตุ 1) คา พิกดั กระแสทีใ่ หไวต ารางเปนคาสําหรับไฟฟากระแสตรงและไฟฟากระแสสลับ
ยกเวน สายเคเบิลชนิดตัวนําท่มี ขี นาดตง้ั แต 750000 CM ขึ้นไป

2) สาํ หรบั ระบบทีม่ ีแรงเคลอื่ นไฟฟา ต้ังแต 601 โวลท ถงึ 5000 โวลท
ฉนวนแบบ T (POLYVINYL CHLORIDE) ไมค วรใช
ฉนวนแบบ E (ETHYLENC PROPYLENC RUBBER) แบบ X (CROSS-LINKED
POLYETHYLENC) ควรใชเ ฉพาะสายชนิด 3 ตวั นาํ
ฉนวนแบบ AV (ASBESTOS – VARNISHED CLOTH) อาจใชไ ดท ั้ง 3 แบบ
ฉนวนแบบ S (SILICONE RUBBER) ไมระบไุ ว

3) ความสามารถในการนาํ กระแสไฟของสายไฟของสายชนิด 4 ตวั นํา เม่ือมตี วั นาํ เสนหนึ่งเปน สาย
สะเทนิ จะมีคา เทากับสายเคเบิลชนิด 3 ตวั นาํ ท่ีใหไวใ นตาราง

หมายเหตุ 1) คาพิกัดกระแสทใี่ หไ วในตารางเปน คา สําหรบั ไฟฟากระแสตรงและไฟฟากระแสสลับ ยกเวน สายเคเบิล

ชนดิ ตัวนําท่มี ีขนาดต้ังแต 750,000 CM ขน้ึ ไป
2) สาํ หรบั ระบบทม่ี แี รงเคล่ือนไฟฟา ต้งั แต 601 Volt ถึง 5,000 Volt

ฉนวนแบบ T (Polyvinyl Chloride) ไมควรใช
ฉนวนแบบ E (Ethylene Propylene Rubber) และแบบ X (Cross-Linked Polyethylene) ควรใช

เฉพาะสายชนดิ 3 ตวั นาํ
ฉนวนแบบ AV (Asbestos – Varnished Cloth) อาจใชไดท ง้ั 3 แบบ
ฉนวนแบบ S (Silicone Rubber) ไมร ะบุไว
3) ความสามารถในการนํากระแสไฟของสายไฟชนิด 4 ตัวนํา เม่อื มตี ัวนําเสน หนง่ึ เปน สาย Ground จะมี
คา เทา กบั สายเคเบิลชนิด 3 ตวั นาํ ที่ใหไวในตาราง

4.3. การแกแรงดันไฟฟา ตก

ในวงจรไฟฟาทม่ี แี รงดันไฟฟาตกมาก ๆ การแกไขอาจกระทาํ ไดห ลายวิธดี วยกัน โดยพจิ ารณา

จากสมการแรงดันไฟฟาตก ดงั นี้

Vd = 2IZL

หรือ Vd = 3 IZL
จากสมการตัวแปรท่ีมีผลตอแรงดันไฟฟาตกก็คือ คากระแสไฟฟา (I) คา Impedance ของ
สายไฟฟา (Z) โดย Impedance ของสายไฟฟาจะเปลี่ยนแปลงตามขนาดและความยาวของสายไฟฟา (L) ดังน้ัน

การแกแ รงดันไฟฟา ตกหรอื ทาํ ใหคาแรงดนั ไฟฟาตกมีคา นอ ยลงอาจทาํ ไดโดยการ

4.3.1 การลดขนาดกระแสไฟฟา เปนวิธีหนึ่งท่ีสามารถนํามาใชได แตอาจมีขอจํากัดอยูบาง

เนื่องจากอาจลดไดไมมากนัก การลดกระแสไฟฟาในวงจรทําไดโดยใช Capacitor โดยการกําหนดขนาดของ

Capacitor ตองพิจารณาคา Power Factor ในวงจรไฟฟาดวย และการติดตั้ง Capacitor เพ่ือลดกระแสไฟฟานี้

จะตอ งตดิ ตัง้ ใหอยใู กลก บั โหลด

ขอจํากัดในการลดกระแสไฟฟาโดยใช Capacitor คือ ในวงจรไฟฟาที่มีคา Power

Factor สูง อาจใชวิธีนี้ไมได แมแตในวงจรไฟฟาท่ีมีคา Power Factor ตํ่า การปรับคา Power Factor ใหสูงข้ึนก็มี
ขีดจํากัดเนื่องจากคา Power Factor สูงสุดไดเพียง 100 % เทานั้น ดังน้ันกระแสไฟฟาที่ลดลงน้ีอาจไมมากพอที่จะ

ทําใหคา แรงดนั ไฟฟา ตกดขี ้ึนตามทตี่ องการ

4.3.2 การเพิ่มขนาดของสายไฟ การเพิ่มขนาดของสายไฟใหใหญขึ้นเปนวิธีที่นิยมใชกันท่ัวไป

เนื่องจากคา Impedance ของสายไฟฟาจะเปล่ียนแปลงตามขนาดและความยาวของสายไฟฟาถาสายไฟมีขนาดใหญ

คา Impedance จะตาํ่ ดังนน้ั จงึ ทาํ ใหค า แรงดนั ไฟฟา ตกมคี าลดลง

4.3.3 การลดความยาวของสายไฟฟา การลดความยาวของสายไฟฟาอาจทําไดโดยการเปลี่ยน

ตําแหนงท่ีติดตั้ง เชน เปล่ียนตําแหนงที่ติดตั้งเครื่องใชภาระไฟฟา ตูจายไฟยอย และแผงสวิทช เปนตน ซ่ึงอาจไม

สะดวกในทางปฏบิ ัติ

หนว ย การแจกจา ย เลขทะเบยี น
กพช.อร. จาํ นวนเลม

จก.กพช.อร. 1
ผ.วชิ าการ กวจพ.กพช.อร. 1
หองสมดุ กวจพ.กพช.อร. 5
กคภ.กพช.อร. 2 (รวมตน ฉบับ)
กผช.อร.
กผงร.กผช.อร. 1
กอร.กผช.อร. 1
กอจ.กผช.อร. 1
กอฟ.กผช.อร. 1
อธบ.อร.
กผป.อธบ.อร. 1
กงน.อธบ.อร. 1
อจปร.อร.
หองสมดุ อจปร.อร. 3
กพ.อจปร.อร.
คป.อจปร.อร. 1
กผป.อจปร.อร.
กพห.อจปร.อร. 1
กอบ.อจปร.อร.
กพด.อจปร.อร. 1
กคภ.อจปร.อร. 1
กซส.อจปร.อร. 1
กรก.อจปร.อร. 1
กรล.อจปร.อร. 1
กบต.อจปร.อร.
กบก.อจปร.อร.
อรม.อร.
กจก.อรม.อร.
กพ.อรม.อร.
กบ.อรม.อร.

หนวย จํานวนเลม เลขทะเบยี น
กผป.อรม.อร. 1
กคภ.อรม.อร. 1
กรก.อรม.อร. 1
กรล.อรม.อร. 1
กฟฟ.อรม.อร. 1
กสน.อรม.อร.
กพด.อรม.อร. 1
กรง.ฐท.สส. 1
กผกช.กรง.ฐท.สส.
กงน.กรง.ฐท.สส. 1
ฐท.สข.
กงน.ฐท.สข. 1
ฐท.พง.
กงน.ฐท.พง.


Click to View FlipBook Version