The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by runn0248, 2022-05-10 02:00:33

คู่มือ DETROIT 71

คู่มือ DETROIT 71

Keywords: คู่มือ DETROIT 71

51

การทํางานของระบบ Mechanical Shut Down กอนทจ่ี ะ Start เครอ่ื งซ่ึงมีระบบ
Mechanical Shut Down สิ่งแรกทตี่ อ งทําคือ เปด ล้นิ ปดอากาศ (Air Shut Down Valve) เสียกอ น
ถาลิน้ ปดอยจู ะ Start เคร่ืองไมตดิ เม่อื เครื่องติดแลว ล้นิ ปดอากาศน้ีจะตอ งเปด คางไวจ นกวากาํ ลังดันใน
ระบบน้าํ มันหลอเพียงพอที่จะยึดสลักของลน้ิ ปด อากาศใหอ ยูในตําแหนงเปด ในระหวา งท่เี คร่ืองเดนิ อยู
กาํ ลังดนั นํา้ มันหลอตกตา่ํ กวา ที่ตงั้ ไวใน Bellow สปรงิ ใน Bellow จะดดี สลัก Air Shut Down Valve
ปด อากาศเขาเครอ่ื งเครื่องจะดับ ถาระบบระบายความรอนน้าํ จืดรอ นผิดปกติ หรอื นํ้าจืดขาดระบบ
เครื่องจะรอ น Copper Plug กจ็ ะรอ นและจะไปดนั ลิน้ Temperature Sening เปด ใหนํ้ามันหลอใน
ระบบ Shut Down ไหลลงหอ งแครง ก กําลังดนั ใน Bellow จะตกสปริงของ Bellow จะดึงสลักปด ไมใ ห
อากาศเขาเครอ่ื ง ถา รอบเครอ่ื งเกิน Overspeed Governor กจ็ ะเปด ใหน ํ้ามนั หลอลง Sump สปริงของ
Bellow ก็จะดึงลิ้นอากาศปดใหเ ครอื่ งดับ

หมายเหตุ เมอ่ื เคร่อื งหยดุ ดว ยการ Shut Down เคร่อื งจะสตารทไมไ ด จะตองใชเครอื่ งมอื พเิ ศษทาํ
ให Air Shut Down Valve เปดเสียกอน และตองหาสาเหตุทท่ี าํ ใหเครื่องหยุดเสียกอ น การปรบั แตง
Mechanical Shut Down ปรับแตง ท่จี าํ เปน มีเพยี งกาํ ลงั ดนั น้ํามนั หลอใน Bellow และ Overspeed
Governor สวน Temperature Sening Valve สามารถถอดออกเปล่ยี นไดเ มื่อทํางานไมถ ูกตอง

การปรบั แตงกาํ ลังดันนา้ํ มนั หลอใน Bellow ทําตามขนั้ ตอนดังนี้ ติดเคร่ืองจนถงึ อุณหภูมิใชงาน
(160°-185°ฟ.) และกาํ ลงั ดันนาํ้ มันหลอคงที่ จากน้นั ลดรอบเครอ่ื งลงชา ๆจน Mechanical Shut
Down ทาํ งาน จดกําลงั ดันน้ํามันหลอไว (ควรประมาณ 5-10 ปอนด/ตร.นว้ิ ท่ี 450-600 รอบ/นาทหี รือ

กองฝก การชา งกล กองการฝกกองเรอื ยุทธการ

52

15-20 ปอนด/ ตร.น้ิวที่ 1400 รอบ/นาท)ี ถาจาํ เปน ตอ งปรับคลาย Lock Nut บน Bellow และหมนุ
Adjusting Screw ตามเขม็ นาฬกิ า เพอื่ เพิ่มกําลงั ดนั หรือทวนเข็มนาฬกิ า เพือ่ ลดกาํ ลงั ดันเม่ือไดก าํ ลงั
ดนั ตามตองการแลว กวด Lock Nut

หมายเหตุ ต้งั กําลังดันนา้ํ มนั หลอ ใน Bellow ใหใกลเ คียงกับกาํ ลงั ดนั สงู สดุ ขณะที่เครอ่ื งเดนิ รอบ
ตํา่ สดุ ท่กี ําหนดไวส ําหรับเคร่อื งทีใ่ ช Dual Speed Governor ใหต้ังกาํ ลงั ดันน้าํ มันหลอใหเ ทากบั
Governor ตรวจการทํางานของ Temperature Sening Valve โดยถอดฝาครอบดา นบนของหมอ ระบาย
ความรอน ขณะท่เี คร่ืองกาํ ลงั ทาํ งานอยู และจดอุณหภมู ขิ องนํา้ ที่ออกจาก Temperture Sening Valve
ล้ินปดอากาศจะตองปด และหยดุ เคร่ืองยนตทีอ่ ณุ หภูมขิ องนา้ํ ระบายความรอ นอยูระหวาง 200°-210°
ฟ. ถาเครือ่ งยนตไ มห ยุดในยา นอุณหภมู ดิ งั กลา ว (200°-210°ฟ.) ใหเ ปลี่ยน Temperature Sening
Valve ถา เครือ่ งยนตหยดุ ท่อี ุณหภมู นิ ้าํ ระบายความรอนต่าํ กวา 200°ฟ. ตรวจการไหลวนเวยี นของนํ้า
ระบายความรอ นทผ่ี าน Plug และ Adaptor ถาการไหลวนเวียนของนา้ํ ปกติ ก็ใหเ ปลี่ยน Temperature
Sening Valveใหม
หมายเหตุ ถา เครือ่ งยนตห ยุดกอ นใหล องตรวจดูที่ Copper Plug สปริงและ Plunger อาจจะคางได

การปรบั แตง Overspeed Governor เดินเครอื่ งจนถงึ อุณหภมู ิใชง าน จากนน้ั เพิม่ รอบเครอื่ ง
จนถงึ ความเร็วรอบทต่ี อ งการ จะตงั้ Overspeed แลว จึงคลายนัตล็อคท่ี Ajusting Screw ของ
Overspeed Governor หมุน Ajusting Screw (ตามเขม็ นาฬิกา เพ่มิ ทวนเข็มนาฬิกา ลด)เสรจ็ แลว
กวดนัตล็อคใหแนน

2. Automatic Electrical Shut Down System
การหยดุ เคร่อื งโดยอัตโนมัติดวยระบบไฟฟา ดงั แสดงในรูป ปอ งกนั เครอ่ื งยนตข าดนํ้าระบาย
ความรอน,น้ําระบายความรอนมีอุณหภูมิสูงเกินเกณฑ,ขาดกําลังดันน้ํามันหลอ ล่ืนหรอื ความเร็วสงู เกนิ
เกณฑ เม่ือปรากฏการณอยางหน่งึ อยางใดดงั กลาวแลว เกิดขนึ้ กบั เครอื่ งยนตสวทิ ชจ ะปด วงจรไฟฟา
และปลอ ยใหก ระแสไฟฟา ไหลไปทีส่ วิทชโ ซลินอยด โซลินอยดจ ะทาํ งานปลอ ยใหก ระเดอ่ื งลิน้ ปด อากาศ
ตกลง ทาํ ใหเครือ่ งยนตห ยดุ เดนิ
การทาํ งาน
วงจรไฟฟา จะไมใหก ระแสไฟฟาไหลเมอ่ื เครอื่ งยนตเ ดนิ ในสภาพปกติ เมือ่ เรมิ่ เดนิ เครื่องยนต
สวิทชก ําลังดันนาํ้ มันเชื้อเพลงิ จะปดวงจร เมอ่ื กาํ ลงั ดันเพม่ิ ข้ึนประมาณ 20 ปอนด/ ตร.นวิ้ และเมือ่
ความเร็วของเครอื่ งยนตเ พมิ่ ข้นึ สวิทชกาํ ลงั ดนั นํ้ามันหลอ จะเปดวงจรเมอ่ื กาํ ลังดันนํ้ามนั หลอประมาณ
27 ปอนด/ ตร.น้วิ และทคี่ วามเร็ว 1,000-1,100 รอบ/ นาที สวทิ ชใ น Overspeed Governor จะปด วง
จร และในขณะเดียวกัน สวิทชอ ณุ หภมู ินาํ้ จืดจะเปดวงจร
ถา กาํ ลังดนั นา้ํ มันหลอ ตกลงตํ่ากวา 27 ปอนด/ ตร.น้วิ สวทิ ชก ําลังดนั นาํ้ มันหลอ จะปดวงจร
และปลอยใหกระแสไฟฟาไหลไปท่โี ซลินอยด สง อาการทางกลไปปด Shut Down ทาํ ใหเ คร่อื งหยุด

กองฝก การชา งกล กองการฝก กองเรอื ยุทธการ

53
ถา เครื่องยนตขาดนํา้ ระบายความรอน หรือน้าํ ระบายความรอ นมีอณุ หภมู มิสูงขึน้ ถึงประมาณ
203°ฟ. สวทิ ชอ ุณหภมู นิ ้าํ จืดจะปดวงจร ทําใหไ ฟฟาไหลครบวงจร สง อาการทางกลไปทาํ การหยุด
เครอื่ ง
สวทิ ชอณุ หภูมนิ า้ํ จืด ประกอบดว ยลิน้ รับอาการดว ยอุณหภูมิ (Temperature Sening Valve)
และไมโครสวทิ ช (Micro Switch) ล้นิ หนาสมั ผัสปลกั๊ ทองแดง ประกอบย่ืนเขา ไปทท่ี อทางออกของแกส
เสยี นํ้าทไ่ี หลวนเวียนจะผา นตวั ลิ้นหนาสมั ผสั โดยตรง เมื่ออณุ หภูมนิ ้าํ จดื เพม่ิ ข้ึนประมาณ 203°ฟ.ตัว
ลิน้ จะปด หนาสมั ผสั ในไมโครสวิทช และปลอยใหกระแสไหลครบวงจรของระบบ ถาขาดนํ้าระบายความ
รอ น (นาํ้ แหง) ความรอนของแกส เสยี จะสง ผานไปท่ปี ลั๊กทองแดงไปยังลน้ิ รับอาการดวยอุณหภูมิ และ
ทาํ ใหว งจร Shut Down มีกระแสไฟไหล ทาํ การหยดุ เครื่องเชนเดียวกนั
ถาความเรว็ ของเครอื่ งยนตเ พ่มิ สูงขน้ึ เกนิ เกณฑท ่ีไดต ั้งไว สวทิ ชของเครือ่ งควบคมุ ความเรว็ จะ
ปดวงจร ทาํ ใหก ระแสไฟฟาไหลครบวงจร สงอาการทางกลไปหยุดเคร่อื ง เม่อื เคร่อื งยนตหยุด ความเรว็
ลดลง จะเปดวงจร สวทิ ชข องเครอื่ งควบคมุ ความเร็ว กาํ ลงั ดันนํ้ามนั หลอ และนา้ํ มนั เชือ้ เพลงิ ลดลง
สวทิ ชก าํ ลังดันน้ํามนั เช้อื เพลงิ จะเปดวงจร และสวทิ ชก าํ ลังดันน้ํามนั หลอจะปดวงจร จะไมม ีกระแสไฟ
ฟา ไปเขาวงจรโซลินอยด

สาเหตขุ องการหยุดเครื่องโดยวิธหี นงึ่ วิธใี ดดงั กลา วแลว จะตอ งแกไขเสียกอน กอนทจี่ ะทําการ
เดนิ เครื่องตอไป ลิ้นปดอากาศจะตอ งต้งั ใหม ในตาํ แหนง เปดกอนเสมอ กอนท่ีจะทาํ การเร่มิ เดินเครื่อง
ยนต

ในเครอื่ งยนตบางเคร่อื งจะประกอบ Hot Wire Relay และสวิทชกาํ ลงั ดันนํ้ามนั หลอรวมกับ
ระบบหยุดเครอ่ื งอตั โนมัติดว ยไฟฟา (ตามรปู )

กองฝก การชา งกล กองการฝก กองเรอื ยทุ ธการ

54

ในบางครง้ั กําลังดนั น้าํ มันเช้อื เพลงิ จะสงู ข้นึ อยา งรวดเร็ว สวทิ ชก าํ ลังดนั นาํ้ มันเชอ้ื เพลิงจะปด
วงจรกอ นทีส่ วิทชก าํ ลังดนั นํา้ มันหลอ จะเปดวงจร จะสง อาการไปทําใหร ะบบหยุดเคร่อื งโดยอัตโนมตั ิ ทํา
การหยุดเครื่องตวั Hot Rire Relay จะทําหนา ท่หี นว งเวลาการปด วงจรของสวิทชก าํ ลังดันน้าํ มันเชือ้
เพลงิ ไว 3 ถึง 10 วินาที เพ่ือคอยใหกาํ ลงั ดนั นํ้ามันหลอสูงขึน้ เปดหนาสมั ผัสท่สี วทิ ชกาํ ลังดันน้ํามันหลอ

เมอื่ กาํ ลังดนั น้ํามนั หลอ ตกลงตา่ํ กวา 10 ± 2 ปอนด/ ตร.นว้ิ หนาสัมผัสในสวิทชกําลังดนั น้ํามัน
หลอ จะปดวงจร กระแสไฟฟา จะไหลผา น Hot Wire Relay ระยะเวลา 2-3 วินาทกี อน Hot Wire
Relay จะรอนเปน เวลาทเี่ พยี งพอท่จี ะทําใหหลีกเลีย่ ง การหยุดเคร่ืองยนตดวยระบบน้ี อนั เนื่องมาจาก
กาํ ลงั ดันน้ํามันหลอ ตํ่า หรอื โดยเหตทุ ีม่ ีฟองอากาศในระบบ หรือหนวงเวลาชวั่ ขณะในการทาํ งานรวมกนั
ของสวิทชก าํ ลังดนั นํา้ มันหลอ กบั สวิทชกําลงั ดนั นํา้ มนั เชอ้ื เพลิง เม่อื ทําการเรม่ิ เดิน หรอื หยดุ เครือ่ งยนต

การติดต้งั ระบบหยุดเครอื่ งโดยอัตโนมตั ิน้ัน จะใชแ บบสวทิ ชอณุ หภมู ิน้ําจดื สงู ซึ่งอาจประกอบ
ไวใ นทอ ทางนาํ้ จดื หรอื ใชแ บบล้ินรบั อาการอุณหภูมิรวมกบั Micro Switch ซึง่ อาจประกอบไวท ่ที อ ทาง
แกส เสยี ออกก็ได

ในระบบหยุดเครื่องอัตโนมตั ดิ วยระบบไฟฟาท่ีใชลนิ้ รับอาการอณุ หภูมิ และปล๊กั ทองแดงที่ใช
ในแบบทางกลไกสามารถนาํ มาใชร วมได โดยนําสวทิ ชกาํ ลงั ดนั นํา้ มันหลอ มาตดิ ต้งั ในทอ ทางของน้าํ มัน
หลอ กบั ลน้ิ ปด -เปด เมอื่ อณุ หภมู ิของนํ้าจืดรอนเพ่ิมขนึ้ ตวั ลน้ิ ก็จะเปด ปลอ ยใหน ํ้ามนั หลอ ลนื่ ไหลกลับ
ไปหอ งแครง ก เปนการลดกาํ ลังดนั นํา้ มันหลอ สวทิ ชก าํ ลงั ดนั นาํ้ มันหลอ จะปดวงจรปลอ ยกระแสไฟฟา
ไหลไปเขา ตัวโซลินอยด ทาํ การหยุดเครื่อง กําลงั ดนั นาํ้ มันหลอต่ําจะเปน สาเหตุทาํ ใหห นา สัมผสั ของส
วทิ ชกําลังดนั นํ้ามันหลอ ปดวงจรหยดุ เคร่ืองยนต

3. ระบบสญั ญาณเตอื น (Alarm System)
ระบบสญั ญาณเตือน ตามรูปท6่ี คลายๆ กับระบบหยุดเคร่ืองโดยอตั โนมัติดว ย ระบบไฟฟา แต
ใชสญั ญาณระฆงั หรือไซเรนซ แทนล้นิ ปดอากาศหยุดเคร่อื ง สญั ญาณจะตองเตอื นเมือ่ เครอ่ื งยนตเ ดิน
ใชก าร ถา เครื่องยนตมคี วามรอ นสงู หรอื กาํ ลังดนั นา้ํ มนั หลอ ตาํ่ กวา ทไ่ี ดกาํ หนดไว
เมอื่ เร่ิมเดินเคร่อื งยนต กาํ ลงั ดันน้ํามนั หลอ จะเปด หนา สัมผสั สวทิ ชกาํ ลงั ดนั น้ํามนั หลอ (กาํ ลงั
ดันทจี่ ะเปด วงจรบอกไวท่ฝี าครอบสวิทช) สวิทชส ัญญาณเตอื นจะตองตง้ั ดวยมือเม่ือตองการใหท าํ งาน
สวิทชอุณหภมู ินา้ํ จดื เปน แบบปกตเิ ปด เม่อื นํ้าระบายความรอ นของเคร่ืองยนตเ พ่มิ ข้นึ 200-205° ฟ.
สวิทชอ ุณหภูมนิ ํ้าจืดจะปดวงจร ทาํ ใหก ระแสไหลครบวงจร ทาํ ใหระฆงั หรือไซเรนซดังขน้ึ และในทํานอง
เดียวกนั ถากําลังดนั น้ํามนั หลอ ตกตํ่าลงกวาท่ไี ดต้ังไว ทส่ี วทิ ชกําลงั ดันนํา้ มนั หลอสวิทชก ําลังดันนา้ํ มัน
หลอจะปดวงจรทาํ ใหร ะฆังหรอื ไซเรนซด ังเชน กัน สญั ญาณระฆงั หรือไซเรนซ จะดงั ตอเน่อื งกันไปตลอด
จนกวา จะไปหมุนสวทิ ชสัญญาณในตาํ แหนง ปด สวิทชสญั ญาณควรอยใู นตําแหนงปดกอ นทีจ่ ะหยดุ
เครื่อง เพราะการลดกําลงั ดนั นาํ้ มันหลอจะทาํ ใหสวิทชกําลงั ดันนา้ํ มนั หลอปดวงจร ทาํ ใหว งจรสญั ญาณ
เตือนครบวงจร ระฆงั หรอื สญั ญาณไซเรนซจ ะดังขึ้น
ถา หากมสี ัญญานระฆงั หรือไซเรนซดังขึน้ ในขณะท่ีกาํ ลังเดินเครอื่ งใชการอยู ใหหยดุ เครอ่ื ง
ยนตท นั ที ตรวจหาสง่ิ ท่ีผดิ ปกติ และแกไขใหเรียบรอยกอนท่จี ะเริม่ เดนิ เคร่ืองครั้งตอไป

กองฝก การชางกล กองการฝกกองเรือยทุ ธการ

55

ระบบสัญญาณเตือนอาจจะนํามาประกอบใชในระบบการหยุดเครื่องโดยอัตโนมัติดวยระบบ
ไฟฟา ตามรปู ในระบบน้ี ถาเกิดเหตุขดั ของขน้ึ เครอ่ื งจะหยดุ สัญญาณเตอื นจะดงั ขนึ้ เพ่อื เตอื นผูใ ช
เครอื่ ง สญั ญาณเตือนจะดังอยอู ยางตอเนอื่ ง จนกวาผใู ชเคร่ืองจะกดปมุ เพื่อปลดวงจรรเี รย ระบบ
สญั ญาณเตือนดงั รปู ที8่ จะประกอบดวยลิน้ รับอาการอุณหภูมิ สวิทชกาํ ลงั ดนั นํ้ามนั หลอ ตาํ่ ,ลิ้น
ความเร็วสูงเกินเกณฑ ซ่ึงใชในระบบหยุดเคร่ืองดว ยระบบกลไก

เมอ่ื เครื่องเร่ิมเดนิ สวิทชกาํ ลังดนั นํ้ามนั หลอ จะเปดวงจร เม่ือมีกําลังดันนา้ํ มันหลอ 10 ปอนด/
ตร.น้วิ และสวิทชกาํ ลงั ดนั นํา้ มนั เชื้อเพลิงจะปด วงจร เมือ่ มีกําลังดันนํา้ มันเชอื้ เพลงิ 20 ปอนด/ ตร.นิว้
ถา เครือ่ งยนตร อ นจัด หรอื ขาดนํ้าระบายความรอ น ล้นิ รับอาการอณุ หภูมสิ ูง จะเปดลิ้นและปลอ ยใหน าํ้
มันหลอ ไหลกลบั ลงหอ งแครงก การลดกําลังดนั นํ้ามันหลอ ตาํ่ ลง หนา สมั ผสั ท่สี วิทชก ําลงั ดนั น้ํามันหลอ
จะปด วงจร ทําใหวงจรสัญญาณมีกระแสไฟฟา ไหล เพือ่ ทําใหเ กดิ สัญญาณเตอื นการขาดกาํ ลังดันนํา้ มนั
หลอ ของเครอ่ื งยนต หรอื ความเรว็ ของเครอ่ื งยนตเกนิ เกณฑที่กาํ หนด จะทาํ ใหล้นิ นํ้ามันหลอและลิน้
ความเร็วสูงเกินเกณฑปด วงจร ทาํ ใหวงจรสัญญาณเตอื นทาํ งาน เม่อื วงจรสญั ญาณเตอื นทํางาน ระฆงั
หรอื ไซเรนซจะดังตอ ไปอยา งตอ เน่ืองจนกวาผใู ชเ ครื่องจะมาหยุดเครือ่ ง

ในขณะเครือ่ งยนตหยดุ เดิน กําลงั ดนั นา้ํ มันเช้อื เพลงิ จะลดลง สวทิ ชก าํ ลงั ดนั นา้ํ มันเช้ือเพลิงจะ
เปด วงจรไฟฟา กอนทก่ี าํ ลงั ดนั นํ้ามันหลอ ลดลง จะตอ วงจรไฟฟา ซงึ่ จะทาํ ใหว งจรสญั ญาณทํางาน

ในเครอ่ื งยนตแ บบ 16V-71 สวนประกอบของโลหะควบคูทที่ อ แกสเสยี และสวทิ ชอณุ หภมู ิได
รับการปอ งกันจากน้ําระบายความรอนของเครอื่ งยนตไหลผาน ในระบบนี้ นํ้าระบายความรอนจะไหล
วนเวียนรอบๆสวนประกอบของสวทิ ชปองกนั สวทิ ชท าํ งานจากการสง ตอความรอนจากแกสเสีย ดังน้ัน
สวิทชน ี้จะไมแ สดงการทาํ งาน ถาหากนํา้ ระบายความรอนยังไหลวนเวียนตามปกติ สวทิ ชจะทาํ งานก็ตอ
เม่ืออุณหภมู ิทางสงของนํา้ ระบายความรอ นสูงข้นึ ถึง 200-205°ฟ.

สวิทชกําลังดนั นา้ํ มันหลอ ทางดานกาํ ลงั ดนั ตาํ่ และล้นิ ความเรว็ สูงเกนิ เกณฑ จะทาํ งานทาง
สัญญาณเตอื น เมอื่ กาํ ลงั ดันนา้ํ มนั หลอตา่ํ กวากาํ ลงั ดนั ที่ต้ังไวที่สวิทช ลิ้นความเรว็ สงู เกนิ เกณฑจ ะ
ทํางานเมือ่ ความเร็วของเคร่อื งยนตส งู เกนิ เกณฑก ําลังดันนํ้ามันหลอจะสง เขา ไปที่ตัวลน้ิ เม่อื กําลังดนั น้าํ
มนั หลอตกลงตํ่ากวาทไ่ี ดต ั้งไวท ี่ความเร็วสูงกวา 1200 รอบ/ นาที ตวั ลนิ้ จะทาํ งานลดกาํ ลงั ดนั นาํ้ มัน
หลอทตี่ วั สวิทช ซ่งึ จะทาํ ใหว งจรสญั ญาณเตอื นทาํ งาน ความเรว็ ตํ่ากวา 1200 รอบ/ นาทีสวทิ ชก าํ ลังดัน
น้าํ มันหลอ จะปด วงจร เพราะวา กาํ ลังดันน้าํ มันหลอ ต่ํากวา กาํ ลังดนั ทต่ี ง้ั ไวท ่ตี ัวสวทิ ช

ความเรว็ สูงเกินเกณฑจ ะรูโดย การทาํ งานของล้ินซึ่งจะทาํ ใหส วิทชก ําลงั ดันนํา้ มันหลอปด การ
เล่อื นตัวของลูกสูบท่ตี ัวลิน้ ซ่งึ จะตอ งปรับแตง เพอ่ื ควบคมุ ความเรว็ สงู เกนิ เกณฑ

การใช Relay ก็เพื่อปองกันการชาํ รุดของสวทิ ชกําลังดันนํา้ มนั หลอ และสวิทชอุณหภมู ซิ ึ่งจะ
ปลอ ยกระแสทสี่ งู ไปทาํ งานในวงจรสัญญาณ

เมอ่ื มสี ญั ญาณเตือนดังข้นึ ในทกุ กรณี เครือ่ งยนตจ ะตองหยดุ ในทันที และคนหาสาเหตแุ ละทํา
การแกไ ข กอนทจ่ี ะเดินเครื่องครงั้ ตอ ไป

กองฝก การชางกล กองการฝกกองเรอื ยุทธการ

56
กองฝกการชางกล กองการฝกกองเรือยุทธการ

57

ช่อื เรอื่ ง เคร่ืองยนต DETROIT DIESEL SERIES 71
ความมุงหมาย เพอ่ื ใหนกั เรยี นไดร ถู ึง การใชการบาํ รุงรักษาเครือ่ งยนต
หลักฐาน 1. DETROIT DIESEL V-71 SERVICE MANUAL

2. DETROIT DIESEL OPERATORS MANUAL
3. SERVICE MANUAL DETROIT DIESEL ENGINE IN-LINE 71
เนือ้ เร่ือง
การใชก ารบาํ รุงรกั ษาเคร่ืองยนต
1 การปฏบิ ตั บิ าํ รงุ รักษาเครอ่ื งยนต
1.1 ตรวจดรู ะดบั นมล.ทกุ คร้งั กอนเดนิ เครอื่ ง ถาระดบั นมล.ตํา่ เลก็ นอยกเ็ ติมใหอยใู น
ระดับใชก าร (ดจู ากเหลก็ วัด)
• ใชน้าํ มนั ตามเกรดทก่ี ําหนดไวในคําแนะนาํ
• เปล่ยี น นมล.ทุก 100 ชม.ใชก าร หรอื แลวแตผลการวิเคราะหน า้ํ มนั ของหอ ง

ทดลองวา เหมะสม (จึงกําหนดเปน มาตรฐาน)
1.2 เปลยี่ นไสกรอง นมล.และแปกก้งิ ทุกครั้งทเ่ี ปลีย่ น นมล.แลว ใหต รวจเชค็ การร่ัวไหล

ตามที่ตางๆหลังจากเดนิ เคร่อื งสกั พัก
1.3 ตรวจดรู ะดับนํา้ จืดทุกวนั และใหอ ยูใ นระดับเกอื บถึงฝาปดถงั (ตํ่ากวา 2 น้วิ )

• ทําความสะอาดระบบน้ําจืดดบั ความรอ นทุก 1,000 ชม. โดยใชยาคอม
เปาวดต ามคาํ แนะนําของเครื่อง วิธที ําความสะอาดโดยลา งระบบทอ ทาง
ดวยน้ําจืดแลว เติมนาํ้ สะอาดซ่ึงผสมดวยนํ้ายาเคมีปอ งกนั สนิม การเติมน้ํา
ยาอยางถูกตองควรเติมตามระยะเวลาท่ีสมควรอาจจะนานๆเติมคร้ังหรือ
แลวแตการตรวจพบสนิมหรือตะกอนที่จับอยูในระบบดับความรอนและทํา
ความสะอาดหรอื เปล่ียนสังกะสีกันกรอนทุกครั้งที่ทําความสะอาดระบบดับ
ความรอ น

1.4 ตรวจดทู อ ทางตางๆ ของระบบนาํ้ หลอดบั ความรอนอยางนอยทุก 500 ชม.เพือ่ คนหา
วามกี ารผุกรอ นหรือไมถาพบวามีการผกุ รอนใหจ ัดการเปลี่ยนใหม

1.5 ถายนา้ํ ออกจากระบบ ถอดทอ ทางพดั น้าํ ทะเลดา นหมอดบั ความรอนออก แลว เปดฝา
ออกตรวจทกุ ๆ 1000 ชม.และตรวจหลอดหมอดับความรอน ถาเห็นวาชองหลอด
สกปรกมากใหทาํ ความสะอาด

1.6 ใหถ า ยนํา้ ออกจากหมอ ดบั ความรอ นทกุ 500 ชม. ทั้งทางน้ําเขา และนํา้ ออกแลว ถอด
สังกะสีกันกรอนจากทั้งทางดานพัดน้ําและหมอดับความรอนทําความสะอาดสังกะสี
กันกรอ นดวยแปลงลวดถา มกี ารกรอ นมากเกินกวา 50% ก็ใหเ ปลย่ี นใหม

กองฝก การชา งกล กองการฝก กองเรือยุทธการ

58

1.7 ตรวจเชค็ ท่เี ตมิ น้าํ (PRIME) ดานพัดนํ้าทะเล ไมค วรเดินเคร่ืองในขณะทสี่ บู นาํ้ ไมมีนา้ํ
หลอ เลย ถาจําเปนตอ งเติมนํา้ หลอ กใ็ หถอดจุกทท่ี อนาํ้ เขา PIPE-PLUG ดานน้ําเขา
ตรงทอโคง ออกแลวเติมน้าํ

1.8 พยายามเตมิ นม.ชพ. ใหมอี ยเู สมอเพ่ือลดการกลั่นตัวหรือการระเหยใหนอ ยทีส่ ุด และ
ใหโบลวก นถงั น้าํ มนั ทกุ ๆ 500 ชม.เพ่ือใหผ งตะกอนหรือนาํ้ ออก

1.9 ทุกวันใหโบลว นม.ชพ. ทกี่ อกกน หมอ กรองละเอยี ดหรือหมอกรองหยาบทุกๆ หมอ
กรอง เม่อื ครบ 300 ชม. หรอื ตรวจพบวาหมอกรองตนั ใหเปลี่ยนไสกรองใหม วธิ ีทจ่ี ะรู
วา หมอกรองตันหรือไมใหด กู าํ ลังดนั นม.ชพ.ท่ีทอ นม.ชพ. เขา บนยอดหวั สูบหรือดทู ี่
ทางเขาพัด นม.ชพ.กําลังทางเขาพดั นม.ชพ.ตามปกต(ิ ถาหมอกรองสะอาด) สงู สดุ
ประมาณไมเกิน 6 ตารางนิว้ ปรอทท่ีความเรว็ 1600-2100 รอบ/นาทีกําลงั ดันนม.ชพ.
ทางเขา ยอดหวั สูบประมาณ 45-47 ปอนด/ ตร.น้ิว ถากําลงั ดนั ทีพ่ ัดน้าํ มนั เพ่ิมขึน้ ถงึ
12 นวิ้ ปรอท เมือ่ เครอื่ งเดนิ 1600-2100 รอบ/นาทีแลวก็ใหเ ปลย่ี นไสกรองใหมแ ละถา
กาํ ลงั ดนั ท่ีทางเขา หัวสบู ตกตาํ่ กวา 45 ปอนด/ ตร.นว้ิ กต็ องเปลย่ี นเหมอื นกนั

1.10 ขณะท่เี ครื่องยนตกาํ ลงั เดนิ ตรวจทางระบายอากาศของหองพักอากาศ (AIR BOX
DRAIN) ทกุ 1,000 ชม. ถา พบวา ทอ ตนั ใหถอดทําความสะอาดเสียใหม ทอ ทาง
ระบายอากาศจะตอ งทําความสะอาดตามเวลาถงึ แมวา จะยังไมพบวา ตันกต็ าม

1.11 ตรวจทาํ ความสะอาดตะแกรงกรองเครอื่ งพดั อากาศทกุ 1,000 ชม.โดยการแชใน นม.
ชพ.แลวเปาดวยอากาศเปลีย่ นแปกกิง้ ใหมแ ลวประกอบเขา ที่

1.12 มอเตอรส ตารท บางอนั ไมต อ งมีการหลอลื่น แตถ า เคร่ืองใดมกี ารหลอลน่ื เปนถว ยบรรจุ
จาระบี ก็ใหท ําการเตมิ ทกุ 300 ชม. ถา เติม นมล.ก็ใหเ ติม 8-10 หยด โดยใช นมล.
เกรดเดยี วกบั เครอื่ ง

1.13 ตรวจนํ้ากลนั่ แบตเตอร่ีทกุ 100 ชม. หรอื แลว แตสภาพการใชงาน ระดับนํ้ากลน่ั ใน
แบตเตอร่คี วรใหไดระดับคอื สูงกวาแผนแร 1 นิว้ หรือสงู กวา แผน กัน้ 1 นว้ิ

24

1.14 หลอล่นื เครื่องวดั รอบตรงบรเิ วณเพลาขับทุก 100 ชม. ดว ยจาระบที ใี่ ชอ ยทู ัว่ ไป
1.15 หลอล่ืนคันบังคับ (THROTTLE CONTROL) ทกุ 200 ชม. ดวยจาระบีหลอล่นื คนั

บงั คับคลัทชและสว นบังคบั อ่นื ๆ ดว ย นมล.
1.16 สาํ หรับการปรบั แตง เครื่อง TUNE-UP น้ัน ไมม รี ะยะเวลาท่แี นนอนตราบใดทเี่ คร่อื งยงั

ทํางานเปนปกติก็ไมม ีการปรับแตงอีก การปรับแตงท่สี ําคญั เชน หวั ฉีดเคร่อื งควบคุม
ความเร็วนั้น ควรปรบั แตง เมอื่ มกี ารสกึ หรอเกดิ ข้ึนเทานั้น
1.17 ทุกวันตรวจดูระดบั นมล. เกยี รต ามหอ งเฟอ งเกยี รต างๆ ถา ระดับนมล.พรองใหเตมิ ให
ไดร ะดับ การเชค็ นีใ้ หเช็คในขณะทเ่ี ครื่องเดนิ ดว ยความเรว็ ต่าํ เม่ือครบ 200 ชม.ให
เปน นมล.ใหม ทกุ ครงั้ ทเ่ี ปลย่ี น นมล.หองเกยี รใหถ อดไสก รอง นมล.ทาํ ความสะอาด

กองฝก การชา งกล กองการฝก กองเรอื ยุทธการ

59

ดว ย นม.ชพ.แลว เปา ดว ยอากาศ และจะตองเปล่ยี นไสก รองของหมอ กรองละเอียด
ดวย
การปฏบิ ัตติ ามตารางปฏิบัติ
การบาํ รงุ รักษาประจําวัน (10 ชม. ใชการ)
- ตรวจสอบระดับ นมล. ในหองแครงกใ หไ ดต ามเกณฑ
- ตรวจสอบระดับ นมล. ในหอ งเกียรใ หไดต ามเกณฑ
- ตรวจสอบระดบั นาํ้ จดื ในหมอ พักน้าํ จืดใหไ ดตามเกณฑ
- ตรวจระบบน้าํ ทะเลทไี่ หลวนเวียน
- ตรวจสอบทอระบายอากาศวา อุดตันหรอื ไม
- ตรวจ นม.ชพ.ในถังใชการวาเตม็ หรอื ไม
- เครน นม.ชพ.ท่ีกน หมอ กรองทุกใบ
- ตรวจรอยรั่วซมึ ตามเกลียวขอ ตอทอ ยางตามระบบตางๆ
การบาํ รุงรักษา 100 ชม. ใชการ
- เปลย่ี น นมล.ในหองแครงก
- เปลย่ี นไสก รอง นมล.
- ทําความสะอาดกรองอากาศ,เปล่ียน นมล.
- ตรวจซอมรอยรั่วซึมในระบบตางๆ
- ตรวจขอตอสายไฟ,สายพาน,หมอแบตเตอรี่
- ทําความสะอาดทอระบายหองอากาศ
- อัดจาระบีขอ ตอ ,สายวัดรอบ,ลกู ปนตา งๆทตี่ องการหลอ ลน่ื
- เครือ่ งใหมหรือหลงั การปรับซอ มใหญ ปรบั แตง เคร่อื ง
การบํารุงรักษา 200 ชม. ใชก าร
- เปล่ยี น นมล. เกยี ร ลา งทาํ ความสะอาดหองเกยี ร
- เปลี่ยนหมอ กรอง นมล. เกยี ร
- หลอ ล่ืนคันบงั คบั คลัทชและสว นบงั คับอน่ื ๆ
การบาํ รงุ รกั ษา 300 ชม. ใชก าร
- เปลย่ี นไสก รองหยาบหมอ กรองละเอยี ด นม.ชพ.
- เครนสง่ิ สกปรกออกจากกนถัง นม.ชพ.
- หลอ ลื่นมอเตอรส ตารท ไดชารจ
การบาํ รุงรกั ษา 500 ชม. ใชก าร
- ตรวจสงั กะสกี ันกรอ นหมอดับความรอนนํา้ หลอ
- ตรวจทอ ยางระบบน้าํ หลอเคร่อื งถา ชาํ รดุ ใหเ ปลีย่ นใหม
- ตรวจดูแปรงถานไดชารจ

กองฝก การชา งกล กองการฝกกองเรือยทุ ธการ

60

การบํารุงรักษา 1,000 ชม. ใชก าร
- ทาํ ความสะอาดระบบนํา้ จืด ลา งทอ ทางในระบบดวยฝาคอมเปานด
- ทาํ ความสะอาดทางระบายอากาศหอ งพักอากาศ
- ตรวจวัดระยะเบยี ดของเคร่ืองพดั อากาศ
- ตรวจทาํ ความสะอาด
- ตรวจทําความสะอาดชองอากาศดที ีไ่ ลเนอร, ตรวจลูกสูบ,และแหวน
- ตรวจและทาํ ความสะอาดหมอดบั ความรอ น นมล.
- ปรับแตงเคร่อื ง

2 การเตรียมการกอนการเดินเครือ่ ง
2.1 ระบบ นม.ชพ.
• ตรวจ นม.ชพ. ในถังใชการใหม ี นม.ชพ. อยูในระดับใชการ
• เปดกอกระบายน้ําตะกอนกน ถัง
• เปด ลิน้ นม.ชพ. พรอมกับตรวจดูการรัว่ ไหลและสภาพของระบบ
• ระบายน้ําผงตะกอนทหี่ มอ กรอง นม.ชพ. ทุกใบ
• ไลอากาศ PRIMARY FUEL FILTER ดว ยการเปดจุกเกลียวบนหมอ กรอง รอ
จนมนี ้าํ มนั ไหลออกมาและไมมฟี องอากาศจงึ ปดใหส นทิ (ถาหมอกรองอยู
เหนือระดบั นา้ํ มนั ใหเติม นม.ชพ. ลงไปจนเต็มแลวปด ฝาใหส นทิ )
• ไลอ ากาศใน SECONDARY FUEL FILTER โดยการคลายจกุ เกลยี วบน
หมอ กรอง A.C.FUEL FILTER และเติม นม.ชพ. ทส่ี ะอาดจนเตม็ แลวปดจกุ
เกลียวใหสนทิ
• การไลอากาศใหทําทุกคร้ังที่ทําความสะอาดหมอกรองหรือนํ้ามันขาดสาย
ระวงั อยาให นม.ชพ.ดเขาไปในสูบเพราะจะทําใหเกิดแรงดันมากเกนิ กาํ หนด
เมอ่ื เกิดการเผาไหม
2.2 ระบบ นมล.
• ตรวจเดนิ นมล.ในหอ งแครง กใหอ ยูในระดับใชก าร
• ตรวจดูวามีนาํ้ หรือ นม.ชพ. ปนหรือไม
• ตรวจเติม นมล. เกียร
• ตรวจสภาพภายนอกเคร่อื งยนตแ ละเกียรด ูการร่วั ซมึ ของ นมล.
2.3 ระบบระบายความรอน
2.3.1 ระบบน้าํ จดื
• ตรวจเติมนา้ํ จดื ในหมอ พกั น้ําจืดใหถ งึ ระดบั ใชก าร ปดฝาหมอพกั
นํา้ จดื ใหเรียบรอย

กองฝก การชา งกล กองการฝกกองเรือยทุ ธการ

61

2.3.2 ระบบน้ําทะเล
• เปดลนิ้ ทางดูดนํ้าทะเล
• ตรวจทําความสะอาดหมอ กรองนา้ํ ทะเล
• เปดล้ินทางสงนา้ํ ทะเลเขา ระบบ
• ตรวจความเรยี บรอ ยทอ ทางตางๆ

2.4 ระบบอากาศ
• ตรวจสง่ิ กดี ขวางระบบอากาศ
• ทําความสะอาดหมอ กรองอากาศ ตรวจดู นมล.
• ตรวจล้ินปด อากาศ

2.5 ระบบเรมิ่ เดนิ
• ตรวจระบบไฟแบตเตอรีใ่ หระดบั นํ้ายาอยูในเกณฑใ ชก าร
• สายไฟขอ ตอ ตา งๆสะอาดและแนน สนทิ หรือไม
• ตรวจดมู อเตอรส ตารท สภาพขอตอสายไฟ แปลงถา นซีค่ อม
• ผลเสยี ทแี่ บตเตอร่ีมไี ฟนอ ย เครือ่ งหมนุ ชา ติดยาก
• MOTOR START ชาํ รดุ เพราะหมนุ ชาทาํ ใหรอนจัดอาจไหมได

2.6 การตรวจอนื่ ๆ
• การหลอ ลื่นทร่ี าวลน้ิ (ถา เคร่ืองไมไ ดเดนิ เปน เวลานาน) เปดฝาครอบใช
นมล.เทราดลงบนราวลิ้นโดยตลอดเพือ่ การหลอลนื่ เพลากระเดอ่ื งกดลนิ้ และ
ลกู เบีย้ วในตอนเริ่มเดิน
• ตรวจทดลองหวั ฉดี เพือ่ ปองกันการติดแนน ไมท าํ งาน
• ตรวจสง่ิ กีดขวางภายในโดยการหมนุ เคร่ืองดวยมือ
• ตรวจสภาพสายพานตา งๆ ใหต งึ ไมฟรี
• ตรวจสอบระบบปอ งกันอนั ตรายสัญญาณเตือนภัย

3 การปฏบิ ัติในการเดนิ เคร่ือง
3.1 กอนกดปุมเริม่ เดนิ เครือ่ ง
• ตั้งคนบงั คบั ไวในตาํ แหนงเดนิ เบา หรอื เดนิ
• กดปมุ เร่ิมเดินเครอื่ ง
• อยากดปุม START ใหนานเกนิ 30 วินาที
• ถาเคร่ืองไมติดใหรอประมาณ 2 นาทีกอ น START ใหม
• ถา START 2-3 ครั้งยังไมตดิ ใหตรวจหาสาเหตุ

กองฝกการชางกล กองการฝก กองเรอื ยทุ ธการ

62

3.2 เมือ่ เครื่องเดนิ แลว
• สงั เกตกําลัง นมล. ตอ งปรากฏภายใน 10-15 วินาที
• ถา นมล.ไมข นึ้ ตอ งหยุดเครอ่ื งทันทีแลว ตรวจหาสาเหตุ
• กาํ ลังดนั นมล.ควรอยรู ะหวาง 30-50 ปอนด/ ตร.นว้ิ ท่ีรอบ 1200-2100 รอบ/
นาที
• ถาต่าํ กวา 25 ปอนด/ ตร.นิว้ ใหหยดุ เครือ่ งตรวจหาสาเหตุขัดขอ งและดาํ เนนิ
การแกไ ข
• ตรวจดูการวนเวยี นของนาํ้ ระบายความรอ น
• ตรวจดูการรว่ั ไหลของระบบตางๆ

4 การปฏบิ ัตขิ ณะใชเ ครือ่ ง
• แนวปฏบิ ตั ิในการใชแ ละควบคมุ เคร่ือง ตอ งมีการบนั ทกึ รายละเอยี ดของสภาพการใช
เครื่องเชน กาํ ลงั ดนั อุณหภมู ติ ามเวลาทีก่ าํ หนดเปน ชม.หรอื ครง่ึ ชม. การผดิ แผกแตก
ตางไปจากสภาพปกติ จะเปนแนวทางใหส ามารถตรวจพบสาเหตใุ นการขัดของได
4.1 ภาระในการทํางาน
• ถา เร่มิ เดินเครื่องในขณะเครอ่ื งเยน็ ควรจะรอใหเ ครอื่ งเดนิ ตวั เปลาชว่ั ขณะประมาณ 5
นาทหี รือสังเกตอณุ หภมู ินํ้าหลอ เครื่องได 130°F เพอ่ื อนุ เคร่ืองกอ นแลว จึงคอยๆ เพม่ิ
ภาระใหกบั เครือ่ ง เพ่อื ปอ งกันไมใหเกิดการเสยี หายแกส ว นประกอบของเครอ่ื งยนตอนั
เนือ่ งจากการขยายตวั ไมเทากันและการหลอ ลนื่ ทไ่ี มมปี ระสทิ ธภิ าพและอณุ หภูมติ ่ํา

• ไมควรใชเครื่องยนตเ ปนเวลานาน ถาภาระในการทาํ งานของเครอ่ื งต่ํากวา 1 ของ

3

ภาระในการทํางานตามปกติ การเผาไหมภายในสูบเมอื่ ภาระในการทาํ งานนอ ยจะทํา
ใหเ กิดคราบเขมาตกคา งมาก เพราะ นม.ชพ. และ นมล.มีการเผาไหมไ มห มด ซ่ึงเปน
เหตุใหเ กิดการชาํ รดุ ทล่ี ้ิน,กานลิ้น,แหวนลูกสูบ และระบบแกสเสีย อาจทําใหลน้ิ ติด
แนนหรอื ลน้ิ แกส เสยี ไหมได ถามคี วามจําเปน ตอ งใชเ ครื่องดวยภาระในการทาํ งานตํ่า
กวา 30% หรือตาํ่ กวาเปน เวลานานเกนิ 30 นาที แนะนาํ ใหเพิ่มความเร็วเครื่องใหส ูง
กวา 50% ในโอกาสแรกท่ที าํ ได
• ไมควรใชเครอ่ื งทาํ งานเกนิ กาํ ลงั OVER LOAD เวนแตเปนกรณฉี กุ เฉินหรอื จําเปน
การทเ่ี ครอื่ งทาํ งานเกนิ กําลงั อาจทราบไดจ าก
1. อณุ หภมู แิ กส เสยี สงู มาก
2. แกส เสยี มคี วันดํา
3. กาํ ลังดันการเผาไหมส งู
4.2 การหลอ ลน่ื
• ระดับ นมล.ในอาง นมล.จะตองคอยตรวจและเติม

กองฝกการชางกล กองการฝก กองเรอื ยุทธการ

63

4.3 กาํ ลังดนั และอณุ หภูมิ ตอ งพยายามรักษากําลงั ดันและะอณุ หภมู ใิ หอ ยูใ นเกณฑใ ช
การ ถาไมสามารถควบคมุ ไดต องหยุดเคร่อื งตรวจหาสาเหตุ

• กาํ ลังดนั นมล.ปกติ 30-50 ปอนด /ตร.นิ้วที่ 1200-2100ร./น.และตอ งไมต า่ํ กวา 25
ปอนด /ตร.นวิ้

• อุณหภูมิ นมล.ปกติ 180-210°F ตองไมเกินกวา 230°F
• อณุ หภูมนิ ํ้าหลอเคร่อื งปกติ 160-185°F ตอ งไมเ กิน 200°F
• นํ้าทะเลดับความรอนนํา้ จดื ตอ งไมเกนิ 130°F ถา อุณหภมู สิ ูงจะทําใหเ กดิ คราบขี้

เกลือในทอ ทางและหมอระบายความรอน
• ควรตรวจระบบระบายความรอ ยบอ ยๆเพื่อดกู ารรวั่ ไหล
4.4 ความเรว็ อนั ตราย
• อยาใชเคร่ืองยนตท่ีความเร็วอันตรายหรือความเร็วใกลเคียงเพราะจะเกิดการสั่น

สะเทือนมากและเกิดการเสียหายอยางรา ยแรงไดเ นอื่ งจากทุกเครื่องมีการส่ันสะเทอื น
อยูตามปกติ ซ่งึ ผูใชเครือ่ งไมอ าจแกไขไดน อกจากไมใชเครือ่ งทคี่ วามเรว็ อนั ตรายน้ัน
รายละเอยี ดจะปรากฏอยใู นคําแนะนําการใชเครื่องทกุ เครอื่ ง ควรจะทําเครื่องหมายที่
เกจวัดความเรว็ แสดงยานความเร็วอนั ตรายไว เพอื่ คอยเตอื นผูใชเ คร่อื งไมใหใ ชเ ครื่อง
ทยี่ านความเรว็ อนั ตรายนัน้
4.5 นํ้ามนั เชือ้ เพลงิ
• นม.ชพ.ในถงั ใชก ารจะตองมีปริมาณที่เหมาะสมและเพยี งพอ ตรวจการรว่ั ไหลของ
ระบบ นม.ชพ.
• หมั่นทาํ ความสะอาดหมอ กรองโดยเครนกอกกนหมอกรอง เพือ่ ระบายสิ่งสกปรกและ
นาํ้ ออก ถามีเครอื่ งแยกนํ้ามนั จะตองให นม.ชพ.ผานเครื่องแยกกอน
4.6 น้าํ
• ระดบั นาํ้ จืดทหี่ มอพกั นาํ้ จืดจะตอ งตรวจบอยๆ ถา นอ ยกเ็ ตมิ นํ้าสะอาดลงไป ถาระดับ
นํ้าต่ํามากอยาเติมน้ําจํานวนมากเขาไปภายในเครื่องทันทีจะทําใหเกิดการยืดหดตัว
ของสวนประกอบไมเ ทากัน อาจเปนสาเหตใุ หปลอกสูบราว,ฝาสบู รา ว,สบู ติด เมื่อ
อุณหภมู ิสูงมากและไมสามารถเพิ่มปรมิ าณน้าํ ดบั ความรอนไดต องหยุดเคร่ือง
4.7 ความสะอาด
• ความสะอาดเปนความสําคัญของการทํางานอยางมีประสิทธิภาพของเครื่องยนต
ดเี ซล จะตองรักษาให นม.ชพ.สะอาด อากาศดีสะอาด นาํ้ ดับความรอนสะอาด นํ้ามัน
หลอ ล่ืนสะอาด และการเผาไหมท ีส่ ะอาดตวั เครื่องกต็ อ งรกั ษาใหส ะอาดตลอดเวลาเพ่ื
องปองกันนํา้ มันหลอ สะสมภายในสวนตา งๆ
5 การหยดุ เครือ่ ง

กองฝก การชา งกล กองการฝก กองเรอื ยุทธการ

64
5.1 เดนิ ตัวเปลา
• ลดรอบเคร่ืองลงโดยโยกคนั บงั คบั ความเร็วไปในตําแหนง เดินเบา
• ปลดภาระของเครื่องออก
• ปลอ ยใหเ ครอื่ งเดินเบาประมาณ 5 นาที
• โยกคันหยดุ (STOP LEVER) ไปตาํ แหนง หยดุ
• หา มหยดุ เครอื่ งโดยวิธีปด ลิ้นอากาศ ยกเวนฉุกเฉินเทานัน้ เพราะจะทําให นมล.ถกู ดดู

ผา นซลี เขา ไปในโบลเออรม าก
5.2 ระบบ นม.ชพ.
• ปดลนิ้ นม.ชพ.ตลอดระบบ
• เตมิ นม.ชพ.ใหเ ตม็ ถังเพอื่ ลดการกลนั่ ตัวของน้ํามนั
5.3 ระบบระบายความรอน
• ปดลนิ้ นํ้าทะเลตลอดระบบ
• นา้ํ จืด ถาในอากาศเย็นจัดนํา้ อาจแขง็ ตวั ใหเติมนํ้ายากันแขง็ หรอื ระบายทง้ิ เสียใหห มด
5.4 ระบบ นมล.
• ตรวจสอบระดบั นมล.ในหองแครง กด ว ยไมว ัด (ตอ งรอใหหยุดเครอ่ื งแลว 20 นาทีเพ่ือ

ใหน ้ํามันตกลงมากอ น)
• เตมิ นมล.ถา จําเปน จนถึงระดบั ใชการ
• ตรวจสอบระดับ นมล. เกยี ร และเติมจนถงึ ระดับใชการ
5.5 ทําความสะอาด
• ทําความสะอาดและตรวจความเรียบรอยของเคร่ืองเพ่ือใหแนใจวาพรอมท่ีจะเดิน

เครื่องในครงั้ ตอไป
• ทําการซอ มทําปรับแตงแกไขอนั เปน ผลมาจากการเดนิ เครือ่ งครง้ั ที่แลวท่ีมีการชาํ รุด
• เขียนหมายเหตุในสิ่งท่ีที่จะเปนประโยชนตอการใชเคร่ืองของผูท่ีมารับหนาที่ตอ ไปไว

ในปมู

กองฝก การชา งกล กองการฝกกองเรือยทุ ธการ

65

ชอ่ื เร่ือง เคร่อื งยนต DETROIT DIESEL SERIES 71
ความมงุ หมาย เพอื่ ใหน ักเรียนไดร ูถึง การปรับแตง TUNE-UP เคร่อื ง
หลักฐาน 1. DETROIT DIESEL V-71 SERVICE MANUAL

2. DETROIT DIESEL OPERATORS MANUAL
3. SERVICE MANUAL DETROIT DIESEL ENGINE IN-LINE 71
เนือ้ เรอ่ื ง
การปรับแตง TUNE-UP เคร่อื ง
ระยะเวลาในการปรบั แตง
เครื่องทเ่ี ร่ิมใชงานใหมหรือเครื่องที่หลังการปรบั ซอ มใหญ (OVERHAVL) ประมาณ 100 ชม.ใช
งานหรอื ระยะทางประมาณ 3,000 ไมลท่เี รือวิ่ง เครื่องทใี่ ชง านปกตปิ ระมาณ 1,000 ชม.ใชง านหรอื
ประมาณ 30,000 ไมลทีเ่ รือว่งิ การปรับแตงเคร่อื งอยูในฐานะทคี่ นประจาํ เรอื ทาํ เองไดไ มม ขี อ ยุงยาก
อยาไดละเลยในการปรบั แตงเครอื่ ง การปรับแตงเครื่องจะทาํ ใหเครอ่ื งอยใู นสภาวะพรอ มไวอ ยางมีประ
สทิ ธิภาพอยูเ สมอ ถาฝาสบู ,กอฟเวอรเ นอร,หวั ฉดี ไดม ีการซอมทําหรอื เปลย่ี นจะตอ งมกี ารปรบั แตง
เคร่อื งดว ย การปรบั แตง (TUNE-UP) น้ีจะมีการผกู พนั อยูกบั กอฟเวอรเ นอร ฉะนนั้ เราจงึ เรียกวา ขัน้ ตอน
การปรบั แตงแมคคานดิ กอฟเวอรเ นอร (TUNE-UP SEQUENCE FOR MECHANICAL GOVERNOR)
ดังน้ี
1. การแตง ระยะลิ้นแกสเสยี
2. การตั้งหวั ฉดี
3. การแตง ระยะแกปกอฟเวอรเ นอร
4. การต้งั ระยะคันแร็ค
5. การต้งั ความเรว็ สูงสดุ ไมม โี หลด
6. การตง้ั ความเร็วเดนิ เบา
7. การตง้ั บัฟเฟอรส กรู
8. การแตงบสู เตอรส ปริง
1. การปรบั แตงระยะลิ้นแกส เสีย
- ใหป รบั แตง ที่นดั กานสง PUSH-ROD หา มปรับทสี่ ลักตวั ปรบั แตงสะพานล้ินแกส เสียเปน อัน
ขาดการปรบั แตงทาํ ตามจังหวะการทํางานของเคร่ือง (FIRING ORDER)
การปรับแตงระยะล้ินแกส เสยี เมอ่ื เคร่อื งเย็น
- หมนุ เคร่ืองจนกระเด่ืองกดหวั ฉีดกดเต็มท่ีซึ่งแสดงวาขณะน้ันสบู นน้ั อยใู นจังหวะทํางาน
ฉะน้นั แกสเสียของสบู นนั้ จะปด สนิท
- คลายนตั ลอ็ คกา นสง ใชฟล เลอรเ กจขนาด .017 นวิ้ สอดเขาไประหวางกระเด่ืองกดลิ้นกับ
สะพานลน้ิ (แบบ UN LOADED) ถา เปน แบบ SPRING LOADED ใหส อดฟล เลอรเกจระหวางปลาย
กานล้นิ กบั สะพานลน้ิ ปรบั แตงนัตล็อคจนฟลเลอรเ กจขนาด .017 นิว้ สอดเขาออกได กวดนัตล็อคตรวจ

กองฝกการชางกล กองการฝก กองเรอื ยุทธการ

66
สอบระยะเคลยี แรนซอีกครั้งถาถกู ตอ งฟล เลอรเ กจขนาด .017 นวิ้ จะไมสามารถสอดเขาได แตฟ ล เลอร
เกจขนาด .015 น้วิ จะผา นเขา - ออกไดสะดวก

การปรบั แตง ระยะลน้ิ แกสเสียเมือ่ เครอ่ื งรอน
- เดินเคร่อื งใหอ ุณหภูมทิ าํ งานตามปกติ คอื 160 185°ฟ.ถาระยะลิ้นแกส เสียถูกตองฟล เลอร
เกจขนาด .013 นวิ้ จะผา นเขาออกสะดวก แตฟลเลอรเ กจขนาด .015 น้ิวจะผานเขา ไมไ ด
ข้นั ตอนการตัง้ สะพานล้นิ ของ V-71
ถอดสะพานล้ินออกมาแลว จบั ดวยปากกา คลายนตั ถอดบนสลกั ปรบั แตงระยะของสะพานลน้ิ

ขอ ควรระวัง การถอดหรอื คลายนตั ลอ็ คโดยไมถ อดสะพานลิน้ ออกมา อาจทาํ ใหป ลอกสะพานงอ
หรือทาํ ใหก านลิ้นอันหลังงอได

- ประกอบสะพานลน้ิ เขา กบั สะพาน (ไมตองใสสปรงิ )
- กดสะพานลิ้นลงไป หมุนสลกั ปรับแตงระยะตามเข็มนาฬกิ าจนสลกั แตะกับกานล้ินแลวหมุน
ตอไปอีก 1 ถงึ 1 รอบตามเขม็ นาฬกิ ากวดนตั ลอ็ คดว ยมอื

84

- ถอดสะพานลนิ้ ออกมา จบั ดวยปากกา ใชไขควงจับสลกั ปรับแตงระยะใหแ นน แลว กวดนัต
ลอ็ คถึง 20-25 ฟตุ -ปอนด

- เอาน้าํ มนั หลอทาปลอกสะพานและสะพานลิ้น
- ประกอบสะพานลิ้นเขา ทีเ่ ดิมยงั ไมตอ งใสส ปรงิ
- ใชฟลเลอรเ กจ .0015 นว้ิ 2 อนั ลน้ิ ละอนั ใสเ ขา ไปใตสะพานลนิ้ เมอ่ื กดลงไปท่สี ะพานล้นิ
แลวจะทาํ ใหฟ ลเลอรเกจทัง้ สองขา งตดิ แนน แตถ าฟลเลอรเกจไมต ดิ แนนกับสปริงใหแ ตง ใหม
- ถอดสะพานลิ้นออกมาแลว ใสส ปริงเขา ที่
- ปรบั แตง สะพานลน้ิ สูบตอๆไปเชนเดียวกนั
- แลวประกอบคันกระเดื่องกดลน้ิ เขา ท่ี ตรวจดูใหแ นวา สะพานลิน้ อยูใ นตําแหนง ที่ถกู ตอ ง คอื
กานลน้ิ อันหลงั เขาทีเ่ พอ่ื ปองกนั ไมใ หล ิน้ เสยี หายได เสร็จแลวกวดสลกั เพลาคันกระเด่อื งใหแ นนตาม
เกณฑ 90-100 ฟุต-ปอนด
2. การตั้งหัวฉีด TIMING FUEL INJECTORS
- การประกอบหวั ฉีดลงบนฝาสบู ทาํ ความสะอาดรทู ่จี ะประกอบหวั ฉดี
- สวมหัวฉดี ลงไปในชองของแตล ะสบู โดยใหคันเฟองหวหี นั ไปทางทอแกสเสีย

กองฝกการชางกล กองการฝกกองเรือยุทธการ

67
- ประกอบตัวล็อคหวั ฉดี ใหทางดานที่เปนงา มของตัวบงั คบั หัวฉดี สวมเขา ไปบงั คับท่ีหนาของตวั
หัวฉีดแลวใชสลักกวดดวยกาํ ลัง 20-24 ฟตุ -ปอนด
- ประกอบคนั ราวเฟองหวใี ชผ า อุดรูน้าํ มนั ท่ีอยูขางๆเสียกอ นเพอ่ื ปองกันมิใหน ัตตกลงไป
- สวมเพลา LOCKER ARM เขา ไปในรูพรอมกับใสขายึดเพลา กวดสลักขายึดเพลาดว ยกําลงั
90-100 ฟุต-ปอนด

วธิ กี ารตง้ั หัวฉดี
- หมนุ เครอื่ งจนลน้ิ แกส เสียถูกกดเต็มที่
- ใชเ ครอ่ื งมอื ตัง้ หัวฉดี TIMING GAUGE แหยปลายลา งสดุ ลงไปในรูเล็กๆบนเรือนหัวฉีด ให

บาอีกดา นหน่ึงทาบกบั ดา นบนฝาประกบสปริงหวั ฉดี ถา ไมไ ดร ะดับใหปรับแตงที่เกลยี วสําหรับปรับแตงท่ี
กา นสงตัวกลางของหัวฉีด จนไดระยะคือดานบนของเครอื่ งมือต้งั หวั ฉดี สัมผสั กบั ดา นบนฝาประกบสปริง
หวั ฉีด

- กวดนัตลอ็ คใหแ นน ต้งั สบู ตอไป
การปรบั แตง GOVERNOR

- LIMITING SPEED GOVERNOR .0015 นวิ้
- VABIABLE SPEED GOVERNOR .006 นวิ้
การปรบั แตง VARIABLE SPEED MECHANICAL GOVERNOR
3. ปรบั แตงระยะหาง GOVERNOR GAP
- ทาํ ในขณะที่เครือ่ งหยุดทีอ่ ุณหภูมใิ ชการ
- ถอดสายควบคุมท่ีติดตอ กบั คนั ควบคมุ
- คลาย BUFFER SCREW ออกประมาณ 5/8 นิว้ จาก LOCK NUT

กองฝกการชา งกล กองการฝกกองเรอื ยุทธการ

68
- ถอดฝาปดเรอื น GOVERNOR ออก
- ต้งั คนั ควบคุมความเร็วไวใ นตําแหนง ความเรว็ สงู สุด
- ใช FEELER GAGE .006 น้ิวสอดเขา ระหวา ง SPRING PLANGER และ PLANGER
GUIDE คลาย LOCK NUT และปรบั แตง จนกระท่งั FEELER GAGE เคล่ือนตัวไดค ลอ ง
- กวด LOCK NUT ใหแนน แลว ตรวจสอบระยะใหม

4. การตัง้ ตาํ แหนงคันควบคมุ แรก็ หัวฉดี
- ตาํ แหนงของคันควบคุมแรก็ หวั ฉีดจะตอ งถกู ตองสมั พนั ธก ับ GOVERNOR เพราะจะเปนส่ิงที่

กําหนดการฉีดนม.ชพ.เขา แตละสบู และจะตอ งพอดกี ับภาระตําแหนงทีถ่ กู ตองท่ภี าระเต็มที่ FULL
LOAD คอื

- คันควบคุมความเร็วอยใู นตําแหนง ความเร็วสูงสดุ
- คันหยดุ เคร่อื งอยใู นตาํ แหนงเดินเครื่อง
- ระยะลูกสูบเลือ่ นสปริงความเรว็ สงู สงมาในเรือน GOVERNOR ตองอยูระหวา ง .005-.007
นิว้
- คันแร็กหวั ฉีดจะอยใู นตําแหนงฉีด นม.ชพ.เตม็ ที่
- การตั้งแร็ก ถอด CLEVIS PIN ออกจาก FUEL ROD ของ CONTROL TUBE BANK ขวา
- คลายนัตตวั ในและตัวนอกของ RACK CONTROL BANK ซา ยคลายสกรูใหหลวม
- หมุน CONTROL LEVER ใหอยใู นตําแหนงเรงสูงสุด
- หมุน STOP LEVER ในตาํ แหนง RUN ใชนวิ้ จบั STOP LEVER เอาไวเ บาๆใชไขควงกวดสก
รูตวั ในของ RACK CONTROL ที่สบู 1 ซาย จนกระทั่งมีความรสู กึ ที่ STOP LEVER กวดสกรตู วั นอกจน
มีความรูสกึ ยนั กวดนตั ลอ็ คตัวในตัวนอก อยา กวดแนนเกนิ ไป กวด 24-36 ปอนด/ ตร.น้ิว

กองฝก การชางกล กองการฝก กองเรอื ยทุ ธการ

69
- เพือ่ ความแนใจวา RACK อยูในตําแหนง ที่ถูกตองหมนุ STOP LEVER อยใู นตาํ แหนง RUN
ใชไขควงกด INJECTOR RACK เขาไปเมือ่ ปลอ ยสปริงจะถอยหลังกลับท่ีเดมิ ถาไมก ลบั ท่ีเดมิ ใหป รับ
แตง ใหม กวดสกรตู ัวในแร็กเขามาก กวดตวั นอกแร็กเขานอย
- ทาํ ใหครบทุกสูบ BANK ซา ย
- ใส CLEVIS PIN BANK ขวาตั้งสบู 1 ขวาตอ ไป
5. การตั้งความเร็วสูงสดุ ไมมีโหลด
- เมอ่ื มีการซอมทําหรือเปลย่ี น GOVERNOR ใหม เพื่อใหแ นใจวา ความเรว็ สงู สุดตวั เปลาของ
เคร่ืองจะไมเ กนิ เกณฑก ําหนดจึงตอ งปรบั แตงใหม
- เดินเคร่ืองจนอุณหภูมใิ ชก ารปกติ ใชเ คร่ืองมอื วดั ความเร็วเครอ่ื งอยางละเอยี ดด ACCUSATE
HAND TACHOMETER วดั ความเรว็ สงู สุดตวั เปลา แลวเลกิ เครอ่ื ง ถา ความเรว็ ไมไดตามกําหนดใหปรบั
แตงดังนี้

- ปลดสปรงิ เพ่ิมกําลงั BOOSTER SPRING และสปริงคันเลกิ เครือ่ ง
- ถอดเรอื นสปรงิ เปลยี่ นความเรว็ และตัวก้นั สปรงิ ออกจากเรือน GOVERNOR
- เพม่ิ หรือลดชมิ จนกระทั่งไดค วามเร็วตามกาํ หนด
- ใหพิจารณาดูแถบกนั้ หรอื ชมิ ใหถูกตองตามเบอรตามตาราง
- ประกอบฝาครอบสปรงิ เปลย่ี นความเร็ว และเรอื นกวดสลกั ยึดใหแนน
- ตอสปรงิ เพิ่มแรง และสปรงิ คนั เลกิ เครื่อง แลวเดนิ เคร่อื งตรวจสอบอกี ครง้ั
6. การปรับแตง ความเร็วเดินเบาตวั เปลา IDLE SPEED
- กระทําเม่ือปรับแตงความเร็วตวั เปลา สูงสุดถกู ตอ งแลว
- ต้ังคันเลกิ เครอ่ื งไวใ นตาํ แหนง RUN และคันควบคมุ ความเรว็ ไวในตําแหนง เดินเบาตัวเปลา
- เดนิ เครื่องจนถงึ อณุ หภมู ิใชก ารปกติ คลายเกลยี วรบั แรง BUFFER SCREW
- คลาย LOCK NUT และหมุนเกลยี วสปริงความเร็ว กวดเขา เพ่ิมความเร็ว คลายออกลด
ความเรว็ จนกระทั่งความเร็วไดป ระมาณตา่ํ กวา ความเร็วตวั เปลาทีก่ ําหนด 15 รอบ/ นาที
- กวดนัตลอ็ คใหแ นน

กองฝก การชา งกล กองการฝก กองเรือยทุ ธการ

70
7. การปรบั แตง BUFFER SCREW

- เดนิ เคร่ืองจนถึงอุณหภูมิใชก ารปกติ หมนุ BUFFER SCREW เขาจนกระทั่งไปแตะสมั ผัสกับ
คา แสดงความแตกตาง DIFFERENTIAL LEVER ใหน อยทสี่ ดุ จงึ หยดุ เพอื่ ใหอ าการสนั่ ของเคร่อื งหมด
ไปการหมุน BUFFER SCREW อยาใหความเรว็ เดินเบาตัวเปลาสูงเพม่ิ มากขึน้ มากกวา 15 รอบ/ นาที

- กวดนตั ล็อคใหแนน

8. การปรับแตง สปริงเพ่มิ กาํ ลงั BOSSTER SPRING
- กระทําในขณะปรบั แตงความเร็วตัวเปลา
- ดนั คันควบคมุ ความเร็วไปในตาํ แหนงเดนิ เบา
- คลายนัตบงั คับสปริงเพมิ่ แรงบนคนั ควบคมุ ความเรว็
- คลายนตั ลอ็ คบนสลักยดึ สปรงิ ตวั นอก
- เลื่อนสลกั ในชอ งคันควบคุมความเร็ว จนถงึ ตําแหนง กึง่ กลางของสลกั หรือเลยตําแหนงกง่ึ

กลางไปทางดานตําแหนงความเรว็ เดนิ เบาเลก็ นอ ยแลว กวดนัตลอ็ คใหแนน
- เรม่ิ เดนิ เครือ่ งและโยกคันควบคมุ ความเร็วไปตําแหนง ความเร็วสูงสดุ แลว ปลอยคนั ควบคุม

ความเรว็ จะเลือ่ นกลบั ไปอยูตําแหนง เดินเบา ถา ไมเลอื่ นกลบั ใหป รับลดกําลังดึงของสปรงิ ถา เลอื่ นกลบั
ใหปรับเพิ่มกําลังดึงสปริงจนกระท่ังไมเลื่อนกลับแลวจึงปรบั ลดกําลงั ดึงสปริงลงมาจนกระท่งั ถึงจุดทีค่ ัน
ควบคมุ ความเรว็ เลื่อนกลับมาอยตู าํ แหนงเดินเบาอีก กวดนตั ล็อคสลักใหแนน ซง่ึ จะเปน ผลใหก ารใชคัน
ควบคุมความเร็วตองการแรงนอยที่สุด

- ตอ สายควบคมุ กบั คนั ควบคุม

กองฝกการชางกล กองการฝกกองเรอื ยทุ ธการ

71

ช่อื เรอ่ื ง เคร่อื งยนต DETROIT DIESEL SERIES 71
ความมงุ หมาย เพื่อใหนกั เรียนไดร ูถงึ ขอขัดของและการแกไข TROUBLE CHOOTING

เพ่อื ใหนักเรียนไดรูถึง การแกไขขอ ขัดขอ งตา งๆ ทเ่ี กิดข้ึน
หลักฐาน 1. DETROIT DIESEL V-71 SERVICE MANUAL

2. DETROIT DIESEL OPERATORS MANUAL
3. SERVICE MANUAL DETROIT DIESEL ENGINE IN-LINE 71
เนอื้ เร่อื ง
ขอขัดขอ งและการแกไข TROUBLE CHOOTING
เพ่อื ใหทราบถึงสภาพการทํางานของเคร่ืองเม่ือเกดิ มอี าการผิดปกตใิ นการทาํ งาน เพ่ือใหร ู
สาเหตุตา งๆท่เี กดิ ข้นึ ก็จําเปนจะตอ งดูทต่ี ารางแสดงขอขดั ของ (TROUBLE SHOOTING CHART) ตา
รางน้ีจะชวยยน ระยะเวลาในการหาสาเหตุและแกไขในขณะเดินเครื่อง
หลกั เบือ้ งตน ในการทาํ งานของเครื่อง ขน้ึ อยูกบั องคป ระกอบเหลาน้ี
1. มีการสง อากาศเขา ไปในสบู อยางเพียงพอและกาํ ลังดันทีส่ งู พอ
2.หัวฉดี จะตองฉีดนํ้ามนั อยา งถูกตอ งท้งั เวลาและจาํ นวนนา้ํ มันการทเ่ี ครอ่ื งไมมีกาํ ลงั ,
มีการส่ันสะเทือนมากขณะเดนิ เครอ่ื ง ตดิ เครอ่ื งไดย าก อาจจะมาจากสาเหตกุ ําลงั อดั ตํา่ หรอื หวั ฉดี ขดั
ขอ งในสบู ใดสบู หน่ึงหรือหลายสบู หรอื อาจจะมาจากอากาศเขาสบู ไมเ พยี งพอก็ได ดังนน้ั ถา กําลังอัดถกู
ตอ ง นา้ํ มันและอากาศเขาอยางเพยี งพอแลวสิ่งเหลาน้ีนบั วา สําคญั ตอ เครอื่ งยนตมาก
การตรวจหาสาเหตุขอ ขดั ขอ ง
1. การตรวจหาสบู ท่ีไมต ดิ
1.1 สตารท เครอ่ื ง แลว เดินเคร่อื งจนกระท่ังอุณหภมู สิ ูงถงึ อณุ หภูมิใชก าร
1.2 หยุดเครือ่ งเปด ฝาครอบลิ้น
1.3 วัดระยะหา งของลนิ้ CLEARANCE .008 น้วิ แบบ 2 ลิน้ และ .013 น้วิ แบบ 4 ลนิ้
1.4 เดินเครื่องที่ IDLE SPEED ใชไ ขควงกดลงไปท่บี นหลงั หัวฉดี เพือ่ ไมใหหวั ฉดี ทํางาน ถา สบู
น้ไี มทาํ งานเสยี งเครอื่ งยนตจ ะปกติ แตถาสูบนี้ทาํ งานเม่อื กดหวั ฉีดลงไปจะทําใหเกดิ เสยี งการเดินของ
เคร่อื งผิดปกตไิ ปทันที
1.5 ถา หากมีการทํางานตามปกติเลอ่ื นไปทดลองกับสูบอน่ื ๆตอ ไปจนกวาจะพบสบู ท่ไี มม กี าร
ทาํ งาน
1.6 ทดลองเปลี่ยนหวั ฉดี ใหมใ นสูบที่ไมท ํางาน
1.7 ถาหากเปลยี่ นแลวยงั ไมด ขี ึ้นใหตรวจดูกําลงั อัดอากาศ
2. การตรวจกําลงั อัดอากาศภายในกระบอกสบู
ตารางการทดลองตาม TABLE 1 หนา 143 DETROIT MANUAL OPERATION การทดสอบ
ตามขนั้ ตอนดังน้ี

2.1 เดินเครือ่ ง จนกระทั่งถึงยา นอุณหภมู ใิ ชก าร

กองฝกการชางกล กองการฝกกองเรอื ยุทธการ

72

2.2 หยุดเคร่ืองถอดทอ นม.ชพ. ออกจากหวั ฉีดสบู 1
2.3 ถอดหัวฉดี ออกแลวติดตงั้ ADAPTOR J7915-02 และเกจวัดกําลงั ดนั เขา แทน (รูป1)
2.4 ใชท อ นม.ชพ. ทอหนึ่งทําเปนสายตอ JUMPER ระหวา ง นม.ชพ. เขากับ นม.ชพ. ไหลกลบั
เพือ่ ใหน ้ํามันไหลกลับไปยงั ทางกลับถงั
2.5 เดนิ เครื่องท่ี 600 ร/น วัดคากําลงั อดั ทแี่ สดงบนเกจวัดกําลงั ดนั แลว จดไว (อยาใชการหมนุ
เครื่องดวยมอเตอรสตารท)
2.6 วดั ทุกๆ สูบ กาํ ลงั อัดจะตอ งไมตา่ํ กวา 425 PSI ท่ี 600RPM แตล ะสบู จะตอ งตางกันไมเกิน
25 PSI
สาเหตขุ องกําลงั อัดภายในสูบตา่ํ อาจมาจาก
- แหวนลูกสบู ติดหรือหกั การตรวจสอบแหวนลกู สูบถอดฝาปดหองอากาศ แลวกดแหวนอัด
ดวยเคร่ืองมือ แหวนทีต่ ิดหรือหักจะไมม แี รงสปริง
- กาํ ลงั อัดอาจรัว่ ผา น GASKET ของฝาสูบ, บาล้นิ , หัวฉดี หรือรภู ายในสบู
3. เครอ่ื งยนตห มดน้าํ มัน ENGINE OUT OF FUEL
ปญหาทีเ่ กดิ ข้นึ ในการติดเครื่องหลังจากทเี่ ครื่องหมดน้าํ มนั สาเหตหุ ลังจากท่ีนํา้ มันหมดถัง นํา้
มนั จะถกู ดูดจากหมอกรองหยาบและหมอ กรองละเอียด จึงจาํ เปนจะตองเตมิ นํา้ มันลงไปในหมอ กรอง
เหลาน้ีและไลอ ากาศใหห มดไปเพือ่ ที่จะใหน าํ้ มนั เขา ไปในหัวฉีดใหพอในการเร่ิมเดนิ เคร่ืองใหม ดังนนั้ ถา
หากเคร่อื งยนตหมดนํา้ มันแลวดับลงจะตองดาํ เนนิ การตามขัน้ ตอนดงั นี้
3.1 เตมิ นํ้ามนั ลงไปในถงั ใชก ารใหเต็ม
3.2 ถอดหมอกรองหยาบ โดยถอดฝาหมอออกเตมิ นม.ชพ. ลงไปใหเ ตม็ แลว ประกอบเขาทเ่ี ดิม
3.3 ถอดจกุ ฝาหมอ กรองละเอยี ดออก เตมิ นม.ชพ.ใหเ ตม็
3.4 เดินเครอื่ งแลวตรวจหาการร่วั ไหล ของหมอกรองหยาบ-ละเอียด
4. การทดสอบการไหลของ นม.ชพ. FUEL FLOW TEST
4.1 ปลดทอ นม.ชพ.ไหลกลับ ออกจากถังใชก ารแลวแยลงในถังรอง
4.2 สําหรบั เคร่ืองท่ไี มมีเทอรโ บชารท เดนิ เครือ่ งที่ 1200 รอบ/ นาที วัดปริมาณ นม.ชพ. ทไี่ หล
กลับภายใน 1 นาทีจะไดป ริมาตรนาํ้ มนั ประมาณ 0.8 แกลลอน สําหรบั เครอ่ื ง 16 สบู จะไดประมาณ
1.2 แกลลอน/นาที สําหรับเครือ่ งทีม่ ีเทอรโบชารทเดินเครือ่ งท่ี 1800 รอบ/นาที จะไดประมาณ 1.8
แกลลอน/ นาที
4.3 จมุ ปลายทอ ทาง นม.ชพ. ลงไปในอา ง นม.ชพ. ดูฟองอากาศภายในระบบ ถา หากมีฟอง
อากาศ ถอดขอตอทอทางระหวา งถงั ใชก ารกับพดั นม.ชพ. ถาหากจํานวน นม.ชพ.นอ ยเกนิ ไปตรวจดู
หมอกรองหยาบและหมอกรองละเอียดหรือพัด นม.ชพ.
5.กําลงั ดันในหอ งขอ เสอื CRANK CXASE PRESSURE
5.1 กาํ ลงั ดันของอากาศภายในหองแครงดจะบอกกถึงปริมาณของอากาศที่ผา นระหวางแหวน
กบั กระบอกสูบ

กองฝก การชา งกล กองการฝก กองเรือยทุ ธการ

73

5.2 สาเหตทุ ่ที ําใหก ําลังดันในหองขอ เสอื สูง อาจเกิดจากการสึกหรอของแหวนลกู สบู กาํ ลงั อัด
รวั่ ลงหอ งขอเสือได หรอื เกดิ จากรอยราวบนยอดลกู สบู หรือกาํ ลงั ดันตานแกสเสยี สูงเกนิ ไป หรอื ทอ
ระบายอากาศหอ งขอเสอื อดุ ตัน

5.3 กําลงั ดันในหอ งขอ เสือ ตรวจเชค็ ดว ยเครื่องมือมานอมเิ ตอร โดยตอ มานอมิเตอร็เขากับชอง
ทางวัด นมล. แลวเช็คกาํ ลังดนั ตามความเร็วของเคร่ืองแลว เอาไปเทยี บกบั ตาราง 3 หนา 146

6 กําลงั ดนั ตานแกสเสยี EXHAUST BACK PRESSURE
6.1 กําลงั ดนั ตานแกส เสยี ถามีคามากเกินไปจะมผี ลอยา งมากตอการทํางานของเครื่อง เพราะ

จะทาํ ใหก ําลังดันในหอ งอากาศเพ่มิ มากขนึ้ ทาํ ใหลดประสิทธิภาพของ BLOWER ทาํ ใหมีอากาศนอ ยไม
เพียงพอตอการไลแกสเสีย ทําใหการเผาไหมไ มสมบูรณแ ละเครอื่ งมีอุณหภูมสิ งู กวาปกติ

6.2 กําลังดนั ของแกส เสยี สูงอาจเปน ผลมาจากมีหมอ ระงับเสยี งผิดแบบ ยาวเกินไป,เลก็ เกินไป,
มีสว นงอโคง หักมากเกินไป เปนผลทําใหแ กสเสียไหลออกไดไ มส ะดวก หรอื อาจมีการอดุ ตนั ของเขมาใน
ทอ ทาง

6.3 การวัดกําลงั ดันตานกลับของแกส เสีย วัดเปน นืว้ ปรอทโดยใชม านอมเิ ตอรตอเขาทางทอ
แกส เสีย ตรวจคากาํ ลังดันของแกสเสียทุกความเร็ว (ไมตองใส LOAD) เทียบกับตาราง 4 หนา 146

7. กาํ ลงั ดันในหอ งอากาศ AIR BOX PRESSURE
7.1 กาํ ลังดันภายในหองอากาศ ถกู ตองตามเกณฑแ ลว จะทาํ ใหมอี ากาศพอเพยี งสําหรับการ

เผาไหมและการกวาดลางแกส เสีย ถากําลังอากาศในหอ งอากาศต่าํ เกิดจากทางดูดของอากาศเลก็ เกิน
ไปหรือแคบมาก หรือโบลเออรชาํ รดุ มกี ารร่วั ของอากาศ กําลงั ดันในหอ งอากาศตา่ํ น้ี สังเกตไดจาก
เครอื่ งกําลังตก ควนั แกสเสยี มีสีดาํ หรอื เทา

7.2 การตรวจสอบหากําลงั ดนั อากาศในหองอากาศใชมานอมเิ ตอรตอ เขา กบั ชอ งระบายอากาศ
จากหองอากาศ แลว เช็คกําลังดันตามตาราง 6 หนา 147

8. ทางเดินอากาศเขา ตบี -ตนั AIR INLET RESTRIETION
8.1 ถา ทางเดินอากาศเขา ตีบ-ตัน จะทําใหเ กิดผลตามมาคือมีอากาศเขา สบู นอย การเผาไหม

ไมดี เครือ่ งกาํ ลงั ตก
8.2 ถา หากมีการอดุ ตนั ในทางอากาศเขา หรือมสี ่งิ สกปรกในระบบทางดูดอากาศ หมอ กรอง

อากาศสกปรกเปนสาเหตทาํ ใหอากาศเขา สบู ไดน อ ย
8.3 การตรวจทอทางอากาศเขาทาํ ไดโดยใชม านอมเิ ตอร (ใชน ํ้า) ตอเขากับทอ ตรงทางชอ ง

อากาศเขา การเช็คการตบี ตนั จุดน้คี วรเชค็ ท่ีความเรว็ คงทไ่ี มม ี LOAD แลวถอดครอบลมและหมอ กรอง
อากาศออก แลว เดนิ เคร่ืองดวยความเรว็ เทา เดมิ จดคา กาํ ลังดนั ทต่ี า งกันทม่ี าตรวดั คา กาํ ลงั ดันอากาศ
ในการวัด 2 ครัง้ ทแี่ ตกตา งกันระหวา งติดตง้ั ตะแกรงและหมอกรองอากาศกบั ไมไ ดต ดิ ต้งั เลยนั้น ถอื วา
เปนการตีบ-ตันทเี่ กดิ จากหมอ กรองอากาศ ดูตาราง 5 หนา 146

กองฝก การชางกล กองการฝกกองเรือยทุ ธการ

74

ตาราง

ตารางแสดงกาํ ลังกดทีแ่ ตกตา งกันของมานอมิเตอร

1 น้ิวนํ้า = .0735 นิ้วปรอท

1 นว้ิ นํา้ = .0361 ปอนด/ ตร.นิว้

1 นว้ิ ปรอท = .491 ปอนด/ ตร.นว้ิ

1 นวิ้ ปรอท = 13.6 นิว้ น้ํา

1 ปอนด = 27.7 นิว้ น้ํา

1 ปอนด = 2.036 นว้ิ ปรอท

ขอ ขดั ของและการแกไข

1.เครอ่ื งติดยาก

สาเหตุการขดั ขอ ง รายการตรวจ การแกไขขอขดั ขอ ง

1.1 เครอื่ งไมหมุน 1. แบตเตอรี่ออ น รอยตอตา งๆ 1 . ต ร ว จ ส อ บ แ บ ต เ ต อ รี่ แ ล ะ

หลวม มอเตอรสตารทขดั ของ มอเตอรสตารท

2. สวิตชของมอเตอรส ตารท ขัด 2.ถอดสวิตชมอเตอรสตารทหรือ

ขอ ง เปลยี่ นใหม

3. เครอ่ื งติดแนน มีส่ิงขัดตัว ภาย 3.หมุนเครือ่ งดวยมืออยา งนอย 1

ใน รอบถาเครื่องหมนุ ไมครบ 1 รอบ

แสดงวาภายในมีสิ่งชํารุดและจะ

ตองถอดออกดูใหรวู า มีอะไรยดึ อยู

1.2 เคร่อื งหมนุ ชา 1นํ้ามันหลอล่ืนมีความเหนียวเกนิ 1.ใช นมล. ท่ีมีความหนดื ถกู ตอง

ไปเพราะจะใชผดิ เกรด ตามคาํ แนะนํา และใหถ กู เกรด

2.ประจแุ บตเตอรซี่ ํ้าอีก ถา นํา้ ยา

2.แบตเตอร่ีมีไฟนอย มีถพ.ตํ่าหรือถอดเปลี่ยนแบตเตอร่ี

เมื่อมันชํารุดหรือเส่ือมประจุไฟไม

เขา ควรถอดออกและเปลีย่ นขว้ั ตอ

ตา งๆท่ชี าํ รุดสกึ หรอ

3.ขั้วตอของมอเตอรสตารทหลวม 3.ตรวจความแนนของข้ัวตอตางๆ

หรือชํารดุ ของระบบสตารท ตรวจความแนบ

สนิทของแปรงถานกับซค่ี อมมิวเต

เตอร เปลยี่ นแปรงถาน ถาสึกไป

มาก และซอ มใหญมอเตอรเมื่อซี

คอมมิวเตเตอรชาํ รุดมาก

สาเหตุการขัดขอ ง รายการตรวจ การแกไขขอ ขัดขอ ง

กองฝก การชา งกล กองการฝกกองเรือยุทธการ

75

1.3 ไมม ีนา้ํ มนั เขา 1.อากาศรั่วเขาทางสาย ชพ.ทอ 1.ตรวจร่ัวสายทางดดู ระบบ ชพ.
1.4 กาลํ งั อดั ตา่ํ
ตีบตัน พดั นม.ชพ. ขดั ของ การ ตรวจพดั น้าํ มันเชื้อเพลิง ตรวจการ

ประกอบอปุ กรณต า งๆผิด ประกอบสวนตางๆของพัดนํ้ามัน

และทอทางตางๆและดูที่รายการ

“น้ํามันนอยหรอื ไมเขาหัวฉดี ”

2.ระยะคันแร็กเรง น้าํ มนั ไมเ ตม็ ท่ี 2.ตรวจอาการทํางานของกอฟเวอร

เนอรและสวนที่สงอาการไปบังคับ

หัวฉีดและทําใหสามารถทํางานใน

ตําแหนงเบาไดเม่ือแกไขเรียบรอย

แลว แตงคนั บงั คับกอฟเวอรเนอร

และแตงคันบังคับอาการการฉีด

นม.ชพ.ใหมถ า จาํ เปน

1.ลิน้ ปด ไมส นิทหรือแตก 1.ตองยกฝาสูบออกปรับซอมใหญ

เปล่ียนลนิ้ และสวนที่ชาํ รดุ

2.แหวนอดั สกึ หรอมากหรอื หัก 2.ตรวจแหวนอัดทางชองอากาศ

เขาสูบและซอมเปลยี่ นแหวนลูกสูบ

ใหม เมื่อพบวา แหวนหลวมมาก

3.แปกกิง้ ฝาสบู รั่วหรือแตก หรอื หัก

3.ตรวจแปกกิ้งฝาสูบโดยเปดฝา

ครอบฝาสบู ออก เดินเคร่อื งสังเกต

ควนั ท่อี อกมา จะเหน็ วา ร่ัวหรือมี

รอยราว ไมแปกกิง้ กฝ็ าสูบแตก

ถอดฝาสูบเปลี่ยนหรือเปล่ียนแปก

กง้ิ ฝาสูบ และตรวจรั่วรอยรา วฝา

สบู โดยเครอื่ งตรวจสอบทีใ่ ชก ําลัง

อดั กอ นจะประกอบเขา เครือ่ ง

4.แตง ระยะเคลียแรนซข องลนิ้ ผดิ 4.ตรวจและตั้งระยะเคลยี แรนซข อง

ลิน้ ใหม

5.โบลเออรไ มหมุน 5.ตรวจเพลาขับโบลเออร และหัว

ตอเปลี่ยนสวนท่ีชํารดุ

2. แกสเสียมีควันมาก รายการตรวจ การแกไ ขขอขัดของ
สาเหตุการขดั ขอ ง

กองฝกการชา งกล กองการฝก กองเรือยุทธการ

76

2.1 ควันดําหรือสีเทา 1.เผาไหม นม.ชพ. ไมหมดจด 1.แกสเสียมีกําลังดันสูงหรือทาง

อากาศดีมีสิ่งกีดขวางทําใหอากาศ

ดีเขาสูบนอยไมเพียงพอที่จะผสม

กับน้ํามันเช้ือเพลิงแกสเสียมีกําลัง

ดันสูงก็เพราะวาทอระงับเสียงแกส

เสียหรือทอรวมแกสเสียมีส่ิงกีด

ขวางหรือตบี ตัน ตอ งตรวจแกไขเอา

ออกเสยี มีสงิ่ กดี ขวางทางอากาศดี

เขาสูบ ที่ชองไลเนอร หมอกรอง

อากาศตนั มีสง่ิ กีดขวางและบงั ท่ี

ชองโบลเออรกับชอ งอากาศดี ให

ทํ าความสะอาดหมอกรองและ

ตรวจชองตางๆตรวจคันดับเคร่ือง

ฉุกเฉนิ ใหเ ปด เต็มท่ี ถา จําเปน ตอ ง

เปดออกตรวจและตองแกไขให

อากาศดีเขาไปทํ างานในสูบให

เพียงพอจากสวนตางๆดังกลาว

2.การฉดี น้ํามันไมด ี (ไมเ ปน ฝอย) 2.เช็คการต้ังคันแร็กของหัวฉีดให

หรือฉดี นํา้ มันเกนิ อตั รา ถูกตองและเช็คไทม่ิงดวยไทม่ิงเกจ

และแตงกอฟเวอรเนอรใหทํางาน

ใหถูกตองไมตองคิดถอดแกไขท่ีหัว

ฉดี ถาแตง คันแร็กและไทม่ิงทาํ ให

เคร่ืองเดนิ เรียบแลว ถา แกไ ขดีแลว

การเผาไหมที่ไมด ีก็จะหมดไปและ

ไปดหู ัวขอ “การใชเครื่อง”

3.ใชน ้ํามันเชอ้ื เพลงิ ผดิ เกรด 3.ตรวจเกจนํ้ามันเช้ือเพลิงวาถูก

กับสเปกหรือไม และเปลยี่ นใหถ กู

ตอ ง

สาเหตุการขัดของ รายการตรวจ การแกไ ขขอ ขัดขอ ง
2 ควนั เขียวหรอื นํา้ เงนิ
1.เชื้อเพลิงจะไมทํ าการจุด 1.ตรวจการรวั่ ไหลตา งๆ ภายใน

ระเบิดในหัวสบู และมนี ํา้ มนั หลอ การร่ัวไหลของน้ํามันหลอจะเขา ไป

กองฝก การชา งกล กองการฝก กองเรอื ยุทธการ

77

ลื่นปนในหัวสูบ และไหลผา นออก ในหวั สูบได และดูหวั ขอ “การหมด

ทอ แกส เสีย (ลกู สูบอาจแตกหรอื เปลืองนาํ้ มนั หลอ ลื่นสงู ” ตรวจการ

ฝาสูบแตก) ร่ัวไหลของนํ้ามันเชื้อเพลิงภายในท่ี

จะรั่วเขาไปทางชองอากาศดีและ

รอยรวั่ ทหี่ ัวฉดี

2.3 ควนั ขาว 1.ไฟริ่งออเดอรผดิ สบู (อาจใส 1.ตรวจการผดิ ปกติของหัวฉีด ถา

เพลาลูกเบ้ยี วกลับ) จาํ เปนกถ็ อดออกตรวจซอ ม

ตรวจกําลังอดั ภายในสบู และดหู วั

ขอ “เครอื่ งติดยาก”

การใชนํ้ามันเช้ือเพลิงที่มีซีเทนนัม

เบอรต่ําจะทําใหเกิดเหตุดังกลาว

การแกไขคอื อา นและปฏิบัตติ ามตา

รางสเปกของน้ํามนั เช้ือเพลงิ

3. เครือ่ งเดินผิดปกติ

3.1 เครือ่ งเดินไมเ รียบ 1. อุณหภูมนิ ้าํ หลอ ตา่ํ 1. ดทู ห่ี นา ปด อุณหภมู ินํ้าจดื ถา

หรือฮ้ันท ไมอยูใ นระหวา ง 160-185°F
ข ณ ะ เ ดิ น เ ค รื่ อ ง ใ ห  ดู ท่ี หั ว ข  อ

2.เช้อื เพลิงไมเพียงพอ “อาการผิดปกตขิ องนา้ํ หลอเครอ่ื ง”
2. ดูนา้ํ มันเชอ้ื เพลงิ ไหลกลบั ถา ตํา

กวา 1 แกลลอน/นาที ใหไปดทู ่ี
1
2
หัวขอ “ไมมีนํา้ มนั เขาหรอื น้ํามนั

เขา ไมพ อ”
3.การฉดี น้าํ มนั ไมด ีหรือไมถ ูกตอ ง 3.ตรวจระยะของไทม่ิงหัวฉีดและ

ระยะคันแรก็ ถา อาการของเครือ่ ง

ไมดีขึ้นก็จะเปนการขัดของของ

ปลายกระจายฝอย (สเปรยทิฟ

ถอดหวั ฉดี ออกแกไ ข)

สาเหตกุ ารขดั ขอ ง รายการตรวจ การแกไ ขขอขัดของ
4.กําลงั อดั ในสูบไมด ี 4. เช็คกาํ ลังอัดลูกสบู และดูทหี่ ัว
ขอ “เครอื่ งติดยาก” ถากาํ ลังอัดใน
สบู ตา่ํ

กองฝก การชา งกล กองการฝกกองเรือยทุ ธการ

78

5.กอฟเวอรเนอรทํางานแกวงหรอื 5.เคร่ืองที่ฮั้นเปนเพราะเครื่องตอ

ฮน้ั ท อาการของกอฟเวอรเนอรกับหัวฉีด

ไมดหี รือมกี ารขัดตัว หรือแตงระยะ

ไมไดที่ทั้งที่แตงระยะคันบังคับและ

หั ว ฉี ด แ ล  ว ใ น ก ร ณี น้ี อ า จ ป ฏิ บั ติ

กาารแกไขใหเหมาะสมโดยปรับ

แตง ระยะตางๆของเครอื่ งใหม เชน

สันนิษฐานวา เปนทกี่ อฟเวอรเ นอร

3.2 เครื่องกําลงั ตก 1.การแตง เครอ่ื งไมถ ูกตอ ง การตง้ั 1.ถาไมต้ังกอฟเวอรเ นอรค ันแรก็ หวั
สาเหตุการขดั ขอ ง
และการใสเฟองทายเคร่ืองไมถูก ฉีด ระยะสูงหวั ฉดี และระยะหาง

ตอ ง ของลนิ้ และผลกาํ ลังเคร่ืองตกอีก ก็

ควรปรับแตงใหมตามหลักการท่ี

วางไวท ง้ั หมด

ตรวจมารกหมูเ ฟอ งทายเครือ่ ง ถา

ผิดก็มีผลทําใหกําลังของเคร่ืองตก

โดยสงอาการผิดไปยังลิ้นและหัว

ฉีดทาํ ใหจ งั หวะทาํ งานผดิ ไป

2.เชื้อเพลิงเขาไมเพียงพอ 2.ตรวจเชอ้ื เพลิงไหลกลับถัง ถา

นอั ยกวา 1 แกลลอน/ นาที ก็ให
1
2
ไปดทู ่ีหวั ขอ “นํ้ามนั ไหลเขาไมพ อ

3.การใชเ คร่อื ง หรือน้ํามันไมเขา ”
3.ตรวจความเสียหายหรือความ

สกปรกและส่ิงผิดปกติของหมอ

ก ร อ ง อ า ก า ศ แ ล ะ ล  า ง ซ  อ ม ห รื อ

เปลีย่ นใหม

อากาศเขาไมเ พยี งพอ เปน สาเหตุ

ทาํ ใหก าํ ลงั เครื่องตก ตอ งทาํ ให

อากาศเขา สูบใหเ พียงพอใหได

รายการตรวจ การแกไ ขขอขัดของ

ตรวจดูไลเนอรโดยผานทางชอง

อากาศเขาสูบโดยเปดฝาที่เรอื นสูบ

ออก ถาชอ งอากาศตนั มากกวา

50% ตอ งลางออก

กองฝกการชา งกล กองการฝก กองเรอื ยทุ ธการ

79

เม่ือแนใจวาอากาศไมมีทางที่จะ
เขาสบู ไดเพยี งพอแลว จะไมพ อแก
การเผาไหมใหตรวจสิง่ ชาํ รุด การ
อุดตันของหมอกรองอากาศและ
ชอ งอากาศเขาสูบโบลเออร ซงึ่ จะ
ขัดขวางการไหลเขา ของอากาศทํา
ใหควันดํ ามากจะตองทํ าความ
สะอาดสวนตางๆเหลา นัน้ ซอมทาํ
หรอื เปลีย่ นใหม
ตรวจกําลังอัดภายในสูบถาพบวา
ต่ําใหดูท่ีหวั ขอ “เครอื่ งติดยาก”
4.เชือ้ เพลงิ ไหลกลบั อุณหภมู ิสงู 4. ถาคิดจะใชเ ครื่องท่ีกําลงั ไมดีก็
จะสิ้นเปลืองโดยเปลาประโยชนถา
เปลย่ี นใหมก จ็ ะมีผลดีกวา
ก า ร ดํ าเนิน ก าร แ ก ไ ข แ ล ะ ก า ร ใ ช
เคร่ืองจะตองทําตามหลักการของ
การใชเ คร่อื งโดยถูกตอ ง
5.อากาศรอ นจดั (ภายนอกเครือ่ ง) 5.ดูวา อากาศรอบๆ เครอ่ื งเทาใด
เพราะกาํ ลังเครอ่ื งจะลดลง 0.15-
0.5 แรงมา ตอ สูบ เม่ือความรอน

อากาศภายนอกสงู กวา 90° F
ทกุ ๆ 10 องศาตองทําใหอากาศเขา
เครือ่ งเยน็ ลง
6.การใชเคร่ืองในระดับสูง(บน
เขา) 6.การใชเ เครือ่ งในระดับสงู (บน
เขา)เราไมมปี ญ หา

สาเหตกุ ารขัดของ รายการตรวจ การแกไขขอขัดขอ ง
3.3 ไมจดุ ระเบดิ
1.น้ํามันหลอปนเขาไปกับอากาศ 1.ตรวจระดับ นมล. ในหมอ กรอง

ดี อากาศและใช นมล. ใหถกู เกรด มี

ความหนดื ถกู ตอง (ทางเรือไมใช

นมล.)

ทําความสะอาดเช็ดชองอากาศเขา

กองฝกการชางกล กองการฝกกองเรอื ยทุ ธการ

80

สบู ทมี่ ี นมล. มาปนกับอากาศหรือ

นํา้ มันสะสมอยแู ละไปยงั ยอดสูบ
ตรวจสอบโบลเออรที่ล้ินก้ันน้ํามัน

เปดทางอากาศของโบลเออรออก

เช็ดนํ้ามันท่ีกระจายอยูในโบลเออร
ออกใหห มด เดินเครอื่ งสกั ครู และ

ถามีนํ้ามันผานซีลออกมาตองทํา

การซอ มทาํ โบลเออร

2.อณุ หภมู ินา้ํ หลอตา่ํ 2.ไปดหู ัวขอ “เครอ่ื งเดินไมเ รยี บ

หรือฮั้นท”

3.การฉีดนํ้ามันเชื้อเพลิงไมถูก 3.เช็คไทม่ิงและระยะคันแร็กของ

ตอ ง หัวฉีดถาเคร่ืองอาการไมดีขึ้นตอง

ปรบั แตง ใหม ถายงั ไมดีข้นึ อาจจะมี

ปญหาของการเชค็ หวั ฉีด ล้ินร่ัว

สเปรยทพิ ทะลุหรอื แตก รนู ้าํ มันโต

ตองถอดหัวฉีดท้ังหมดออกตรวจ

ความเสยี หายและสวนชํารดุ ตา งๆ

4.นา้ํ มันไมเ ขา หัวฉดี หรือเขาไมพ อ

4.1 อากาศรั่วเขา ได 1.น้าํ มนั ในถงั นอ ย 1.ทางดูดของเคร่ืองสูบอยูสูงกวา

ระดับนํ้ามันในถังน้ํามันเช้ือเพลิง

แมจ ะเตม็ กต็ าม

2.รั่วตามหัวตอหรือทอระหวางถัง 2.ดูการรวั่ ไหลของเชื้อเพลงิ และ

นม.ชพ.กับเคร่ืองสูบแตกชํารุด อากาศเขา ได ใหถ อดทอ ทางสายที่

หรือในถังขดั ขอ ง แตก ทห่ี ลวมออกตรวจซอ ม

3.แปก กงิ้ หมอ กรอง แตก รัว่ 3.ดูการรั่วไหลของเช้ือเพลิงและ

อากาศโดยถอดเปล่ียนหมอกรอง

น้ํามันเชอ้ื เพลิง

สาเหตกุ ารขดั ขอ ง รายการตรวจ การแกไขขอขัดขอ ง

4.2 มสี ง่ิ กีดขวางการ 1.หมอกรองหรือสายน้ํามันตีบ- 1.ดูการไลของน้ํามันโดยดูจากการ

ไหลของ นม.ชพ. ตัน ยกตัวกรองออกจากหมอกรองหรือ

ถ อ ด ส า ย ท อทางออกตรวจถาจํ า

เปน

2.อุณหภูมติ ํา่ กวา 10° F ต่าํ กวา 2.อานตารางสเปกของน้ํามันเชื้อ

จุดแข็งตวั ของน้ํามนั เช้ือเพลิง เพลิงและใชน้ํามันเชื้อเพลิงท่ีมีการ

กองฝก การชา งกล กองการฝกกองเรือยุทธการ

81

รบั รองแลว

4.3 พดั นํ้ามันเช้อื เพลงิ 1.ลิ้นผอนกําลังดันของนํา้ มนั ปด 1.ดูการไหลของน้ํามันถาไมเพียง

ขัดขอ ง ไมสนิท พอ ทาํ ความสะอาดและตรวจลิน้

ทัง้ หมด

2.พดั น้าํ มนั เช้อื เพลิง ทัง้ เฟอง 2.ถอดท้ังเฟองและเพลาหรือทั้งตัว

และเรือนเครอ่ื งสูบสึกหรอมาก ของเคร่ืองสูบนํ้ามันเชิ้อเพลิงถามี

การชาํ รุด

3.พดั น้ํามนั เช้อื เพลงิ ไมหมนุ 3.ตรวจการหมุนของพัดนํ้ามันเชื้อ

เพลงิ และถอดส่ิงทช่ี ํารดุ บกพรอง

ออก

4.4 การประกอบ 1.ทอ ทางดดู เล็กไป 1.ถอดสายทอทางระหวางถังใหญ

สวนตา งๆผดิ เม่อื สายตอ ยาวมาก ออกมาตรวจ

2.ทอทางกลับของนํ้ามันเชื้อเพลิง 2 .ประกอบ-กวดสายนํา้ มนั กลบั ถงั

ป ร ะ ก อ บ ไ ม  แ น  น ห รื อ ไ ม  ไ ด 

ประกอบตวั จาํ กัด นม.ชพ.กลับถงั

3.ล้ินทางจายน้ํามันเขาสายไม 3.ดูและแกไขล้ินท่ีตอกลับสายน้ํา

ทาํ งาน(CHECK VALVE) มันวาเปด สุด และถา จําเปนขยบั

ปด -เปด ใหค ลอ ง ถาลิ้นไมทํางาน

ควรเปลี่ยนใหมท ้ังชุด

4.อุณหภูมิ ชพ. ไหลกลบั ถงั สงู 4.ตรวจนาํ้ มันไหลกลบั ถงั อณุ หภมู ิ

ตองนอ ยกวา 150°F หรือตา่ํ กวา

เมื่อใชเครื่องกาํ ลังดนั นอ ยลง ใน

กรณีน้ีจะทําใหนํ้ามันในสายดีขึ้น

พดั น้ํามัน ชพ.จะทํางานไดถงึ 48

น้ิว หรอื ดีกวา หรอื ทําถังน้ํามันให

อยูใ นทที่ จี่ าํ เปน

5.การหมดเปลือง นมล.สูง

สาเหตุการขัดขอ ง รายการตรวจ การแกไขขอ ขดั ขอ ง

5.1 เกิดการรัว่ ไหลภาย 1.รั่วที่หัวตอหรือตามทอทางเดนิ 1.กวด หรือถอดออกซอมทําสวนที่

นอก น้ํามันหลอลื่น ชาํ รดุ

2.แปกกงิ้ ตางๆหรือซีล นมล.รั่ว 2.ถอดเปลี่ยนแปก กง้ิ หรอื ซีล นมล.

ทีช่ ํารุด

3.กําลังดันแก็สในหองแครงกสูง 3.ใหดูและพิจารณาจากหัวขอ

กองฝกการชางกล กองการฝก กองเรอื ยทุ ธการ

82

มาก “หอ งแครงกม ีกําลงั ดันสูง”

4.มนี ํา้ มันหลอ มากเกินไป ใน 4.ใหดูและพิจารณาจากหัวขอ

ชองอากาศดีเขา สูบ “เครือ่ งเดินผดิ ปกต”ิ

5.2 การรั่วไหลภายใน 1.รั่วทซ่ี ีลของโบลเออร 1.เปดทางเขาของอากาศดีตรวจ

แผน หวั -ทา ยโบลเออร เดินเครอื่ ง

สกั ครู ถามนี ้าํ มันหลอ ออกมาจาก

หัว-ทายของใบพัดกระจายจากซีล

นมล.ตองทาํ การซอมใหญโ บลเออร

2.ดูนํ้าท่ีหมอดับความรอนวามนี ้ํา

2.รั่วทห่ี มอั ดับความรอ น มันหลอปนอยูหรือเปลาถาพบถอด

หมอดับความรอนน้ํามันหลอตรวจ

ซอ ม แลวใชน าํ้ ลา งนํ้ามันหลอ จาก

ระบบหลอเย็น

5.3 ระบบน้ํามนั หลอ ใน 1.แหวนกวาดน้ํามันสึกหรอมาก 1.ถอดเปลี่ยนแหวนกวาดนํ้ามัน

ลกู สูบ หรอื แตก หรอื ใสก ลบั ทาง หลอ ลื่น

2.ฝาปดหัว-ทายสลักลูกสูบหลวม 2.ถอดเปล่ียนสลักลูกสูบและสวน

หรือรั่วได ชํารดุ

3.มีรองที่ไลเนอรลูกสูบหรือแหวน 3.ถอดเปลยี่ นส่ิงท่ีชํารดุ

กวาดนํา้ มันหลอลนื่ (รอยขดู )

4.ลูกสูบและกานสูบไมไดศูนย 4.ถอดเปลยี่ นสิ่งที่ชํารุด

(เหตุเพราะแบร่ิงกนั รนุ สกึ มาก)

5.มุมของทอ ทางดูดนํา้ มนั หลอ 5.ปรับระดับเคร่ืองใหอยูในแนว

รวม

6.นํา้ มันหลอลื่นนอ ย 6.เติมนํ้ามันหลอลื่นในหองแครงก

ใหอ ยใู นระดบั ใชก าร

6. กาํ ลงั ดนั แกสในหองแครงกผ ดิ ปกติ

สาเหตุการขัดขอ ง รายการตรวจ การแกไขขอ ขดั ขอ ง
1.ตรวจกําลงั อัดภายในสูบ ถา สูบ
6.1 แกสรั่วจากหวั สูบลง 1.รั่วที่แปก กง้ิ ฝาสูบ ใดสบู หนึง่ มกี ําลังอัดตํ่า ตอ งยกฝา
สูบและเปล่ียนแปกกิ้งฝาสูบใหม
หอ งแครง ก 2.ตรวจสลักลูกสบู ไลเนอร และ
ถอดเปลีย่ นสว นทีช่ าํ รดุ
2.ลูกสูบชํารดุ หรือทะลุ 3.เปล่ียนแหวนใหม

3.แหวนอดั สึกหรอมากหรือหกั

กองฝก การชางกล กองการฝก กองเรือยุทธการ

83

6.2 การระบายออกไมด ี 1.มีส่งิ กีดขวางทางระบายออก 1.ทําความสะอาดหรือซอมเปลี่ยน

พอ สว นที่ชาํ รดุ อุดตนั น้ันๆ

6.3 รั่วจากโบลเออรลง 1.มีการชํารุดเสียหายของแปกกิ้ง 1.ถอดโบลเออรออกเปลี่ยนแปกก้ิง

หอ งแครง ก ของโบลเออรก บั เส้ือสูบ ใหมท ีเ่ สื้อสูบ

2.แปกกิ้งแผนปดหัว-ทายของ 2.เปล่ียนแปกก้ิงหัว-ทายของเรือน

เรือนสบู ชํารดุ ร่วั สบู

6.4 แกสเสยี กําลังดันสูง 1.แผนก้ันในหมอระงับเสียงอาจมี 1.ตรวจกําลังดันของแกสเสียและ

การอุดตนั รอยตอตา งๆ

2.ทอแกส เสยี ผดิ ปกติหรอื ตีบตนั 2.ทอเลก็ เกนิ ไป หรอื ยาว หรืองอ

มากเกนิ ไป ตองเปล่ยี นขนาดให

ใหญขน้ึ

7.กําลังดันน้าํ มนั หลอตก (อณุ หภมู ินา้ํ จืดออกจากเคร่ืองใหไ ดอุณหภูมติ ่ําทส่ี ุดที่ 160°F

สาเหตกุ ารขัดของ รายการตรวจ การแกไ ขขอ ขดั ของ

7.1 นํ้ามนั หลอลนื่ 1.นํ้ามนั หลอล่นื ไมเ ขา ทางดูด 1.ตรวจน้ํามันหลอล่ืนและเติมให

อยูในระดับใชก าร หรอื ปรบั ระดบั
เครื่องใหอยูในแนวรวม

2.นํ้ามนั หลอลนื่ ใสเกนิ ไป 2.ใชนาํ้ มนั หลอ ลื่นใหถูกตอ ง

ตรวจดูการร่ัวไหลของนํา้ มนั ชพ.ซ่ึง
จะปนลงไปผสมกบั นมล.ทําให

นมล.ใสขน้ึ

7.2 การไหลวนเวยี น 1.หมอระบายความรอนนํ้ามัน 1. บรเิ วณลูกอดุ ท่ีหมอระบาย
ความรอนจะบอกใหรูถึงอุณหภูมิท่ี
ของนํา้ มันหลอลืน่ ไมด ี หลอลนื่ ตัน สูงเกินไปของนา้ํ มนั หลอ ลืน่ ให

ถอดทาํ ความสะอาดตัวหมอระบาย
ความรอน ทางนํ้ามนั หลอ ล่นื ไหล
สาเหตกุ ารขดั ขอ ง รายการตรวจ การแกไขขอ ขดั ของ

2.ล้ินบายพาสที่หมอระบายความ 2.ถอดล้ินบายพาสออกมาทําความ

รอ นไมถกู ตอ ง สะอาด ตรวจปลอกลิ้น สปริงลน้ิ

และเปลยี่ นสวนที่ชํารุด
3.ลิ้นแตงกําลังดันน้ํามันหลอลื่น 3.ถอดลิ้นแตงกําลังดันนํ้ามันหลอ

ทํางานไมถกู ตอง ลน่ื ออกทาํ ความสะอาด ตรวจ

ปลอกลนิ้ สปรงิ ลิ้นเปล่ียนสวนที่
ชาํ รุด

4.แบริง่ เพลาขอ เสอื หลวมมาก 4. เปลีย่ นแบรง่ิ ใหมหมด พิจารณา

กองฝก การชางกล กองการฝก กองเรือยทุ ธการ

84

เปล่ียนนํ้ ามันหลอใหเหมาะสม

และเปลี่ยนชนิดการใชไสกรองให

ถูกตองกับน้ํามันหลอลื่นในเกรดที่

ใชอ ยู

5.ลูกอัดตางๆในตัวเพลาขอเสือ 5.เปลยี่ นลกู อุดหรอื ใสใ หม

เพลาลูกเบีย้ วชํารดุ หลวมไป

7.3 เกจวัดกําลังดัน 1.เกจวัดกําลังดันน้ํามันหลอล่ืน 1.ตรวจกําลังดันน้ํามันหลอล่ืนดว ย

ชํารุด เกจที่เชือ่ ถือได และเปลย่ี นเกจใหม

ถาพบวา ชี้ไมถ ูกตอง

2.สายตอ เขา เกจตบี ตนั 2.ถอดออกและทําความสะอาดทอ

ทางกําลังดันน้ํามันหลอลื่นเขาเกจ

เปลย่ี นใชของใหมถ า จาํ เปน

3.รทู กี่ น เกจตัน 3.ถอดเกจออกทาํ ความสะอาดรูกน

เกจอาจมีผงอดุ ตัน

4.ตอสายไฟแจงเหตุทีห่ นาปด ผดิ 4.ซอมและเปลี่ยนสวนที่ชํารุดเสีย

เสน หาย

7.4 พัดนาํ้ มันหลอล่นื 1.ตะแกรงกรองกระโปรงทางดูด 1.ถอดทําความสะอาดอางนํ้ามัน

ขดั ของ น้ํามันหลอในหองแครงกต นั เปน หลอลื่นและตะแกรงกรองทางดูด

บางสว น อานพิจารณาจากคูมือแจงคุณ

สมบัติของน้ํามันหลอล่ืนสําหรับใช

เกรดท่เี หมาะสม พรอ มท้ังเปลยี่ น

ไสก รองใหเ หมาะสมดว ย

สาเหตุการขดั ของ รายการตรวจ การแกไ ขขอ ขัดของ

2.ล้นิ ผอนตา งๆปดไมส นทิ 2.ถอดลิ้นออกตรวจ และตรวจชอ ง

ลิ้นและสปริงลิ้น เปลี่ยนสว นที่

ชาํ รุด

3.อากาศร่ัวเขาทางดูดของพัดนํ้า 3.ถอดทอตางๆออก เปลีย่ นแปก ก้งิ

มนั หลอ ลนื่ ใหม

4.พัดน้ํามันหลอล่ืนสึกหรอมาก 4.ถอดพัดน้ํามันหลอล่ืนออกทํา

หรอื ชํารุด ค ว า ม ส ะ อ า ด แ ล ะ เ ป ลี่ ย น ที่ ชํ ารุด

เสียใหม

8. อณุ หภมู นิ ํ้าหลอเครอื่ งผดิ ปกติ

กองฝก การชา งกล กองการฝก กองเรือยทุ ธการ

85

8.1 สูงกวา ปกติ 1.การถา ยเทความรอนไมเ พียงพอ 1.ระบบน้ําหลอเครื่องตองทาํ ความ

สะอาดดวยน้ํายาเคมีท่ีมีคณุ ภาพดี

เพื่อขจัดคราบและผงติดแนนอยูใน

สวนตางๆในระบบ

ภายนอกทางดานน้ําทะเลไหลผาน

ตอ งสะอาดโดยเปดฝาออกทัง้ 2

ขางและเมื่อทําความสะอาดแลว

อากาศธรรมดาตองผานไดสะดวก

ปรับความตึงของสายพานใหถูก

ตองเพอ่ื ปอ งกันสลิปลนื่

ตรวจสอบการติดต้ังเครื่องยนต

ขนาดของหมอระบายความรอนที่

เล็กไปพื้นที่ผิวถายเทความรอนไม

พอเพยี ง

2.การไหลวนเวยี นไมดี 2.ตรวจระดับนา้ํ จืดใหเ ตม็ ถัง (ต่าํ

จากขอบบนของถัง 1 นิว้ ) เติมให

ถงึ ระดบั ใชก ารถาระดับตํา่ เกินไป

ตรวจดทู ถี่ า เดนิ ของนา้ํ จืด อาจ

เบยี ดกันจนแบนตบี ถา พบใหจดั

การแกไ ข

สาเหตุการขัดขอ ง รายการตรวจ การแกไ ขขอ ขดั ของ
เทอรโ มสตัตอาจไมทาํ งาน ถอด
ออกตรวจทดลอง เปลยี่ นใหมเมือ่
เหน็ วาชํารดุ
ตรวจใบพัดของพัดน้ําท่ีหลวมหรือ
ชํารุด
ตรวจการไหลผานของน้ําหมอดับ
ความรอนนา้ํ จืด ถา มกี ารอดุ ตนั จะ
ทาํ ใหน าํ้ หลอเครอื่ งไมพ อ ทาํ ความ
สะอาดภายในหมอระบายความ
รอนนาํ้ จืด

กองฝกการชางกล กองการฝก กองเรือยุทธการ

86

เปด ฝาทางเตมิ นํา้ จืดแลว เดิน

เครื่องตรวจดูวาแกสการทํางานหัว

สูบจะรั่วเขามาในระบบน้ําจืดหรือ

เปลา ถามีแกส ร่วั เขามาได แสดง

วา ฝาอาจแตกราว หรือแปก ก้งิ ฝา

สบู ร่ัว

ตรวจการร่ัวไหลในทางดูดของพัด

น้ําจืดและเปลยี่ นสวนที่ชํารุด

8.2 ตํ่ากวาปกติ 1.การไหลวนเวียนไมด พี อ 1.ลิ้นเทอรโมสตัตอาจเปด อยูตลอด

เวลา ใหถอดออกทําความสะอาด

และประกอบเขา ทใ่ี หม

เทอรโมสตตั อาจไมป ด ถอดออก

ตรวจทดลอง ถาจาํ เปน ก็เปล่ยี น

เสยี ใหม

2.การร่ัวผานลิ้นเทอรโทสตัตของ

2.เทอรโ มสตตั ไมคอ ยดี นา้ํ ไหล น้ําจดื ถา มากเกนิ ไปจะเปน เหตใุ ห

ผา นลัดทางมากเกนิ ไป การระบายความรอนของเครื่อง

ยนตไ มดี เมื่อเกิดการขดั ขอ งเชนน้ี

ควรถอดเปลี่ยนซีลของเทอรโ มสตัต

เสียใหม (แหวนยางทเ่ี ทอรโมสตัต)

กองฝกการชา งกล กองการฝกกองเรือยทุ ธการ


Click to View FlipBook Version