The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by runn0248, 2022-05-10 02:00:33

คู่มือ DETROIT 71

คู่มือ DETROIT 71

Keywords: คู่มือ DETROIT 71

คาํ นาํ
คมู ือเคร่อื งยนตดที รอยด Series 71 เลมนี้ ไดจดั ทําขึ้นเปน คมู อื ระดบั ผูใชง านเครือ่ ง (Operator)
โดยรวบรวมจากคูมือ Detroit Diesel Engines Series 71 เปน หลัก เนอ่ื งจากเครื่องยนตด ีทรอยดแ บบ
71 นจ้ี ะมีทง้ั แบบ In-Line และแบบ V-Type และมขี นาดตา งๆต้ังแต 2,3,4,6,8,12,16 สูบจะมีลักษณะ
การทํางานเหมือนกันจะแตกตางกนั เฉพาะรายละเอียดบางประการเทาน้นั ซ่ึงรายละเอยี ดตางๆ นน้ั จะ
ตองดใู นคมู อื ประจําเครื่องเทานน้ั คูมอื เลมน้ีจึงเปนเพยี งคูมอื ประกอบการเรยี น-การสอน เพ่อื ใหก าร
เรยี น-การสอนเขา ใจไดง า ยและเปนแนวทางเพือ่ ทจ่ี ะศกึ ษารายละเอยี ดตา งๆของเคร่ืองแตล ะรนุ แตล ะ
ขนาดตอ ไป
การจัดทาํ ตําราน้ี อาจจะยังไมส มบรู ณเ ทาท่คี วรแตกจ็ ะพยายามแกไขปรบั ปรุงใหเ หมาะสมถูก
ตอ งและสมบรู ณยิ่งขึน้ ตอ ไป

กองฝกการชา งกล
กองการฝกกองเรือยทุ ธการ

GO INDEX

3

รายละเอียดและแบบตา งๆ ของเครือ่ งยนต หนา
สว นประกอบตางๆของเครื่องยนต 4
ระบบน้าํ มนั เช้ือเพลิง 10
ระบบนาํ้ มันหลอ ลน่ื Lub Oil System 22
ระบบระบายความรอ น Cooling System 38

ระบบนา้ํ จืดระบายความรอ น Fresh Water Cooler System 42
ระบบน้ําทะเล Sea Water System 44
ระบบอากาศ
ระบบอากาศดี 47
ระบบแกสเสยี 49
อุปกรณป องกันอันตรายเครอื่ งยนต
AUTOMATIC MECHANICAL SHUT DOWN SYSTEM 50
AUTOMATIC ELECTRICAL SHUT DOWN SYSTEM 52
ALARM SYSTEM 54
การใชก ารบาํ รงุ รักษาเคร่อื งยนต
การปฏิบัติบาํ รงุ รกั ษาเครื่องยนต 57
การเตรียมการกอ นการเดินเคร่อื ง 60
การปฏิบัตใิ นการเดินเครอ่ื ง 61
การปฏบิ ัตขิ ณะใชเครอ่ื ง 62
การหยุดเครอ่ื ง 64
การปรับแตง TUNE-UP เครอ่ื งยนต
การปรบั แตง ระยะล้ินแกสเสีย 65
การต้งั หัวฉีด 67
การปรับแตง Governor 67
ขอ ขัดของและการแกไข TROUBLE CHOOTINTG
การตรวจหาสาเหตขุ อ ขดั ขอ ง 71
ขอขดั ขอ งและการแกไ ข 74

กองฝกการชา งกล กองการฝกกองเรือยทุ ธการ

4

1 รายละเอยี ดและแบบตางๆ
1.1 คณุ ลกั ษณะของเครอื่ ง
1.2 รายละเอียดของเครื่อง
1.3 แบบตางๆของเคร่ือง

2 สว นประกอบตางๆของเครือ่ งยนต
2.1 เรอื นสบู Cylinder Block
2.2 ฝาสบู Cylinder Head
2.3 แบรง่ิ ใหญ Main Bearing
2.4 เพลาขอ เสือ Crank Shaft
2.5 กานตอ (Connecting Rod)
2.6 ลูกสูบ Piston
2.7 ปลอกสูบ Cylinder Liner
1.8 ลอ ถวง Flywheel
1.9 เรอื นปลุ เลย ( Flywheel Housing)
1.10 แผนปด หวั -ทายเรอื นสูบ Cylinder Block End Plate
1.11 เครอื่ งกนั สนั่ สะเทือน Vibration Damper
1.12 อางน้ํามนั หลอ Oil Pan
1.13 หมูเฟองตัง้ จังหวะ Gear Train
1.14 เพลาลูกเบีย้ ว Camshaft

3 ระบบตางๆของเคร่อื งยนต
3.1 ระบบนํา้ มนั เชอื้ เพลงิ
3.1.1 พัด นม.ชพ. Fuel Pump
3.1.2 หมอ กรองนม.ชพ. Fuel Filter
3.1.3 หวั ฉดี นม.ชพ. Fuel Injector
3.1.4 เคร่ืองควบคุมความเรว็ Governor
3.2 ระบบนํา้ มนั หลอ ลืน่ Lub Oil System
3.2.1 พดั นมล. Oil Pump
3.2.2 ล้ินปรบั แตงกาํ ลังดนั นมล. Lube Oil Pressure Regulator
1.1.3 หมอกรอง นมล. Lube Oil Filter
1.1.4 หมอระบายความรอ น นมล. Oil Cooler
1.3 ระบบระบายความรอ น Cooling System
1.3.1 ระบบน้าํ จืดระบายความรอน Fresh Water Cooler System
1.3.1.1 หมอ พักน้าํ จืด
1.3.1.2 หมอระบายความรอ นนํ้าจดื Heat Exchanger

กองฝก การชางกล กองการฝกกองเรอื ยุทธการ

5
1.3.1.3 พัดนํา้ จดื Fresh Water Pump
1.3.2 ระบบนา้ํ ทะเล Sea Water System
1.3.2.1 หมอกรองน้ําทะเล
1.3.2.2 พัดน้ําทะเล
1.4 ระบบอากาศ
1.4.1 ระบบอากาศดี
1.4.2 ระบบแกส เสีย
4 อุปกรณป อ งกันอนั ตรายเครอ่ื งยนต
4.1 Automatic Mechanical Shut Down System
4.2 Automatic Electrical Shut Down System
4.3 Alarm System
5 การใชก ารบํารงุ รักษาเครือ่ งยนต
5.1 การปฏิบัติบํารงุ รกั ษาเครอ่ื งยนต
5.2 การปฏิบตั ิตามตารางปฏบิ ัติ
5.3 การเตรยี มการกอนการเดนิ เครอื่ ง
5.4 การปฏิบตั ใิ นการเดินเคร่อื ง
5.5 การปฏบิ ัตขิ ณะใชเ คร่ือง
5.6 การหยดุ เคร่ือง
6 การปรบั แตง Tune-Up เครือ่ งยนต
6.1 การปรบั แตง ระยะลนิ้ แกส เสยี
6.2 การตัง้ หัวฉีด
6.3 การปรับแตง Governor
7 ขอขัดของและการแกไ ข Trouble Shooting
7.1 การตรวจหาสาเหตขุ อขัดขอ ง
7.2 ขอ ขัดของและการแกไข

กองฝก การชางกล กองการฝกกองเรือยทุ ธการ

6

ชื่อเร่อื ง เครอื่ งยนต Detroit Diesel Series 71

ความมงุ หมาย เพ่ือใหนกั เรยี นไดรูถงึ รายละเอียดและแบบตางๆของเครื่องยนต

หลักฐาน
1. Detroit Diesel V-71 Service Manual

2. Detroit Diesel Operators Manual

3. Service Manual Detroit Diesel Engine In-Line 71

เนอ้ื เร่อื ง
1 รายละเอียดทว่ั ไปของเครื่องยนต
บรษิ ทั ผผู ลติ เครื่องยนตด ที รอยดดีเซลคือ บรษิ ัท General Motor Diesel ประเทศอเมริกาซงึ่ ไดผ ลติ

เคร่ืองยนตดีทรอยดดีเซลออกมาหลายแบบหลายขนาดเพ่ือการใชง านทแี่ ตกตา งกนั เชน ใช

เปนเครอ่ื งจักรใหญเ รือ ใชเปน เครือ่ งขับเครือ่ งกําเนิด ไฟฟา ใชกบั รถถงั เปนตน

1.1 คุณลักษณะของเครือ่ ง

เปนเครื่องยนตดเี ซล 2 จังหวะ (2 Stroke Cycle) ทํางานดา นเดียว (Singleacting) ในเคร่ืองแบบ

V-Type นน้ั ลกู สูบวางเฉียงเปน แถวแบบ V ทํามุม 60° มขี นาด 6,8,12,16 สูบ เครื่อง
แบบ 71 นั้นแตล ะเครอ่ื งจะมขี นาดความโตกระบอกสบู Bore และระยะชว งชกั Stroke

เทา กนั สามารถใชช้ินสว นหลายช้นิ สว นแทนกนั ได เชน ลกู สบู ,กานตอ , ปลอกสูบ เปน ตน

1.2 รายละเอียดของเครอ่ื ง

G.M. = บริษัทผสู ราง General Motor

6 = จํานวนสูบ 6 สูบ

V = เรอื นสบู แบบ V-Type

71 = ความจตุ อ หน่งึ กระบอกสูบ 71 ลกู บาศกน้ิว

ความโตของกระบอกสบู Bore 4.25 นิ้ว

ระยะชวงชัก Stroke 5.00 นิ้ว

อัตราสว นการอัด Ratio 17 ตอ 1

ลําดับการจดุ ระเบิด Firing Order (มองจากดา นสงกาํ ลงั ออก)

6-V เคร่อื งหมุนขวา 1l,3r,3l,2r,2l,1r 6-V เครอ่ื งหมนุ ซาย 1l,1r,2l,2r,3l,3r

1.3 แบบตา งๆของเคร่ือง

1.3.1 เคร่ืองยนตดีทรอยด Series 71 นนั้ ออกแบบสรางเปน 8 แบบ โดยแบง เปน

เครอื่ งยนตชนดิ หมนุ ซาย 4 แบบ คือแบบ La, Lb, Lc, Ld และเปน เครอ่ื ง

ยนตช นดิ หมุนขวา 4 แบบ คอื แบบ Ra, Rb, Rc, Rd การออกแบบสรา งเรือน

สูบเหมือนกนั เพยี งแตการตดิ ตงั้ Oil Cooler หรือ Starter จะแตกตางกันไป

(ขางเดียวหรือคนละขา ง) ขึ้นอยกู ับความตอ งการติดต้ังใชงานแบบ A, B, C,

D จะบอกตําแหนง Starter และ Oil Cooler วาตดิ ตง้ั ไวท ่ใี ดซ่งึ จะเหมือนกนั

ทงั้ เครื่องหมุนซายและหมนุ ขวา เชน เพลาขอ เสือในเครือ่ งแบบ Rc ถามอง

กองฝกการชางกล กองการฝกกองเรอื ยทุ ธการ

7

จากดา นสง กาํ ลงั ออก Fly Wheel End จะหมุนทวนเข็มนาฬิกา Oil Cooler

จะติดตั้งดา นขวา Starter จะติดต้ังดา นซา ย ที่ Model ของเครื่องนัน้ จะบอก

ไวเปน เลข 2 กลมุ ๆ ละ 4 ตัว ความหมายและรายละเอยี ดใหดูในรูป 5 หมาย

เลขเครื่องและ Model ของเครือ่ งนั้นจะตีไวบนเรอื นสบู ในตาํ แหนง ตา งๆ ดังน้ี

• เคร่อื งรุน Inline 53 อยูดานขวามมุ บนทายเครือ่ ง

• เคร่ืองรนุ V-53 อยูดานขวามมุ บนหัวเครื่อง

• เครื่องรนุ Inline 71 อยูดา นซา ยมุมบนหวั เครื่อง

• เครือ่ งรุน 6v, 8v-71, 92 อยูดานซายมุมบนหวั เครื่อง

• เคร่ืองรุน 12v, 16v-71, 92 อยดู า นขวามุมบนทา ยเครอ่ื ง

กองฝกการชางกล กองการฝกกองเรือยุทธการ

8
กองฝกการชา งกล กองการฝกกองเรอื ยทุ ธการ

9

General Specification

6 V 8 V 12 V 16 V

Number Of Cylinder 6 8 12 16

Bore 4 -1 4 -1 4 -1 4 -1
Stroke 4 4 44
Compression Ratio 5 5 55
(Nominal)(Standart“N”Engines)
Compression Ratio (Nominal)(“N”Engines) 17:1 17:1 17:1 17:1
Toyal Displacement - Cubic Inchs 18.7:1 18.7:1 18.7:1 18.7:1
Number Of Main Bearings 425.6 567.5 851.2 1135

4 5 7 10

6-V
FRONT

Left Bank 11 Right Bank 12-V 16-V
22 FRONT FRONT
33 Left BankRight Bank Firing Order Right Bank
11 Left Bank
Firing Order 22 11
Left Bank Right Bank 33 22
RH-1L.3R.3L.2R.2L.1R 44 33
LH-1L.1R.2L.2R.3L.3R 55 44
66 55
8-V 66
FRONT Firing Order 77
11 88
22 RH-1L.5L.3R.4R.3L.4L.2R.6R.2L.6L.1R.5R
33 LH-1L.5R.1R.6L.2L.6R.2R.4L.3L.4R.3R.5L Firing Order
44

Firing Order RH-1L-2R-8L-6R-2L-4R-6L-5R-4L-3R-5L-7R-3L-1R-7L-8R
LH-1L-8R-7L-1R-3L-7R-5L-3R-4L-5R-6L-4R-2L-6R-8L-2R
RH-1L.3R.3L.4R.4L.2R.2L.1R
LH-1L.1R.2L2R.4L.4R.3L.3R

Cylinder Designation and Firing Order

กองฝก การชางกล กองการฝกกองเรอื ยทุ ธการ

10

ช่ือเรือ่ ง เครื่องยนต DETROIT DIESEL SERIES 71

ความมงุ หมาย เพอ่ื ใหน ักเรยี นไดรถู ึง สวนประกอบตางๆ ของเครอื่ งยนต

1 สวนประกอบตา งๆ ของเครอื่ งยนต

1.1 เรือนสูบ (Cylinder Block)

1.1.1 เปน โครงสว นสําคญั ของเคร่อื ง สรา งเปน รูป (V-Type)
1.1.2 ทาํ ดว ยเหล็กหลอ (Cast Torn)
1.1.3 เจาะเปนชองประกอบปลอกสูบ (เทาจํานวนสูบ)
1.1.4 ภายในเจาะเปน ทางเดินนา้ํ หลอ เครอ่ื งยนต และเปน เสน ทางน้ํามนั หลอลืน่ ไป

ยงั สวนเคลอื่ นไหวตา งๆ
1.1.5 ทาํ เปนหองอากาศดที ่สี งมาจากเคร่ืองพดั อากาศ
1.1.6 ตอนบนของเครือ่ งสบู ทั้งสองขา งเปน ท่อี ยขู องเพลาลูกเบยี้ ว (Cam Shaft)
1.1.7 บารองรับแบริง่ ใหญฝาบนหลอเปน ชิ้นเดยี วกับเรือนสบู ตอนลาง
1.1.8 ดา นขางเรือนสบู มฝี าปด หอ งอากาศดี (Hand Hold or Air Box Cover)

สําหรับเปดตรวจลูกสบู แหวนลกู สบู และตรวจการแตกราวของเสอ้ื สบู ปลอก
สูบ บริเวณรูอากาศเขาสบู นอกจากนย้ี ังใชเปน ชอ งทําความสะอาดหอ ง
อากาศดี และมรี ูระบายนํ้ามนั หลอลื่นซงึ่ อาจมอี ยูในหองอากาศดี อยูบริเวณ
ใตฝาปด หอ งอากาศดี
1.1.9 สว นลางประกอบเขากบั อางนา้ํ มันหลอ ลื่นดวยสลัก
1.1.10 ประกอบเขา กบั ฝาสูบดว ยสลกั
1.1.11 เปน ทีต่ ดิ ต้ังสว นประกอบตางๆ ของเครื่องยนต เชน พัดนํ้ามันหลอลน่ื ,พดั น้ํา
มันเชือ้ เพลงิ , พดั น้ําจดื , พัดนาํ้ ทะเล, พดั อากาศ, หมอ กรองและมอเตอร
สตารท เปนตน

1.2 ฝาสูบ (CYLINDER HEAD)

กองฝก การชางกล กองการฝก กองเรือยุทธการ

11

1.2.1 มี 2 ฝาตอ 1 เคร่อื ง (Bank L & Bank R)
1.2.2 ทําดวยเหลก็ หลอ หรือโลหะผสม
1.2.3 เปน ตวั ปดกั้นหองเผาไหมดา นบน
1.2.4 เปน ทีต่ ดิ ตัง้ สว นประกอบตางๆดงั ตอไปนี้
1.2.5 ตวั ตามลกู เบย้ี ว (Cam Follower)
1.2.6 กา นสง ลนิ้ (Guides Push Road)
1.2.7 กระเดอ่ื งกดลน้ิ แกส เสียและหัวฉีด (Rocker Arms)
1.2.8 ลนิ้ แกส เสยี แบบดอกเห็ด
1.2.9 หัวฉีดเปน แบบหัวฉดี รวม (Unit Injector)
1.2.10 ชองทางแกส เสยี ออก
1.2.11 ชอ งทางนาํ้ จืดผา นระบายความรอน
1.3 แบร่ิงใหญ (MAIN BEARINGS)

กองฝก การชา งกล กองการฝก กองเรือยทุ ธการ

12

1.3.1 ทําดวยทองแดงหรือตะกั่ว หรอื โลหะผสมอลูมิเนยี ม
1.3.2 เปนชนิดฝาประกบกันแบบสอดกระชบั ปรับแตงแนน อนแลว
1.3.3 แบริ่งฝาบน Upper Half ทกุ ฝาเหมอื นกันหมด แตละฝานัง่ อยูในบา รบั ซ่งึ

เปน เน้อื เดยี วกันกับหอ งขอ เสอื ตอนลา งสุดของเรอื นสบู ลักษณะการสรา งแต
ละฝาจะมชี องอยูกงึ่ กลางความกวางของฝา และยาวไปตลอดสว นโคง ตรงก่ึง
กลางความยาวของรองเจาะรูทะลุฝาเพ่ือเปนทางผา นของนา้ํ มนั หลอ ลื่นจาก
ทางนํา้ มนั หลอ สายใหญ Main Oil Gallery ทเี่ จาะผา นเรือนสูบเขาไปยงั รอง
แบร่ิงฝาบนแลว ไหลไปยังรูตางๆ ในเพลาขอ เสือเพอื่ ไปหลอลนื่ แบริ่งขอเหว่ียง
และท่อี ่นื ๆ ตอ ไป
1.3.4 แบร่งิ ฝาลา ง Lower Half ลกั ษณะการสรางแตละฝาผวิ หนาเรยี บไมม รี อ ง
และไมเจาะรูนํ้ามันฉะนั้นจะเหน็ ไดว า ฝาบนกับฝาลา งไมเหมือนกนั ใชส บั
เปลยี่ นกันไมไ ด ประกอบอยกู บั ฝาประกับแบรงิ่ ใหญ Main Bearing Cap
ฝาประกบั แบริ่งใหญน ้ี ทําหนาทย่ี ึดแบรง่ิ ใหญฝาลา งใหเ ขา ทีโ่ ดยอัดเขา กบั
หองขอ เสอื ดวยสลกั ภาระทั้งหมดที่ แบร่งิ ใหญไดรับอยทู ฝ่ี าลาง ฉะนนั้ การ
สึกหรอจึงเกดิ กบั ฝาลา งมากกกวา ฝาบน
1.3.5 การเรียกชอื่ เรียกตามลาํ ดับ เชน 1,2,3,4,ฯลฯ
1.3.6 แบริง่ ตัวสุดทายจะมีแหวนกันรนุ ประกอบอยู เพือ่ รับอาการรนุ ของเพลาขอ
เสือแหวนกนั รุนจะอยูดา นขางๆทั้งสองดา นของแบรง่ิ ใหญต วั ทา ย มที ้งั หมด
ดวยกนั 4 ชนิ้ ลักษณะแตละชิ้นเปนแหวนครง่ึ วงกลมทาํ ดวยเหล็กกลาไล
หนา ดว ยบรอนซว งลางแตละวงจะมีรเู ดอื ย 2 รู เพ่อื ใสเขากบั เดอื ยในฝา
ประกบั แบรงิ่ บา ของเพลาขอเสือจะสงอาการรุนไปทางหวั เครือ่ งสว นผิวหนา
ของแขนขอ เสอื จะสงอาการรนุ ไปทางทา ย
1.3.7 เปนตวั รองรับเพลาขอเสือใหหมุนอยภู ายใน
1.4 เพลาขอเสอื (CRANK SHAFT)

กองฝก การชา งกล กองการฝกกองเรือยทุ ธการ

13

1.4.1 ทําหนาท่ีสงอาการทางกลออกไปใชงานโดยไดรับกําลังสงตอมาจากลูกสูบ
และกา นตอ

1.4.2 ทาํ เปนทอนเดียวตลอดโดยการตขี ึน้ รปู มนี า้ํ หนกั ถว งเพื่อใหเ พลาขอ เสือสม
ดุลยโ ดยสมบรู ณ

1.4.3 ตวั เพลาทป่ี ระกอบกบั แบริ่งอาบผวิ หนาดว ยโลหะแข็งพเิ ศษ
1.4.4 ตวั เพลาท่ปี ระกอบกบั แบรงิ่ ใหญ โต 4 1/2 นิว้
1.4.5 ตวั เพลาทปี่ ระกอบกับกานตอ โต 3 น้ิว
1.4.6 กา นตอประกอบกบั เพลาขอ เสอื รวมกัน 2 กานตอ 1 ขอเหวยี่ ง
1.4.7 มีชุดถวงประกอบอยทู ่ีหวั -ทา ยเพลา
1.4.8 เจาะรูเปน ทางเดินนาํ้ มันหลอลืน่ ตลอดความยาวของเพลา
1.4.9 ดา นหัวเพลามีวงเฟองประกอบอดั แนน กับเพลา เพ่ือสงกาํ ลังไปขบั พัดนาํ้ มนั

หลอล่ืน
1.4.10 ดานทายเพลาประกอบเฟองตง้ั จงั หวะ และลอ ถว ง
1.5 กานตอ (CONNECTING ROD)
1.5.1 ทาํ ดวยเหลก็ คารบอรน นํามาตขี ึ้นเปนรูปตวั “I” ปลายบนมีลักษณะเปนดุม

และเจาะรูเพือ่ รอยสลกั ลกู สูบ
1.5.2 ทําหนา ที่สงตอ อาการเลื่อนข้ึน-ลงของลกู สูบไปยังเพลาขอ เสือ โดยเปลยี่ น

การเลือ่ นขนึ้ -ลงเปน การหมุนรอบตัว
1.5.3 ตลอดความยาวของกา นตอ เจาะรเู ลก็ ๆ เปน ทางเดินของนํา้ มันหลอลน่ื
1.5.4 ปลายสุดดานบนประกอบกบั ลูกสูบ มีรฉู ีดนํา้ มัน (Oil Spray Jet)เพ่อื ไป

ระบายความรอ นใหกบั ยอดลกู สูบและหลอลืน่ แบรง่ิ สลักลกู สบู และปลอกสูบ
1.5.5 ดา นลางของรูท่ีเจาะมีลกู อุดแบงนาํ้ มนั (Orifice) ทาํ หนา ทกี่ าํ หนดจํานวนน้ํา

มันหลอลื่นไปยังลูกสูบตอนลางสดุ มีลักษณะเปนขาโคง คร่ึงวงกลมเพอื่ รับกับ
ฝาแบริ่งขอเหวี่ยง
1.5.6 แบริ่งขอ เหวีย่ ง หรือแบร่ิงกานตอ (Crank Bearing or Connecting Rod
Bearing) เปน ชนดิ ฝาปะกบกันแบบสอดกระชบั ทาํ ดว ยโลหะผสมตะก่วั และ
บรอนซไ ลหนา บนฝาเหลก็

กองฝกการชา งกล กองการฝกกองเรอื ยุทธการ

14
1.5.7 บร่งิ ฝาบน (Upper Shell) ลกั ษณะการสรางจะเซาะรอ งจากขอบแบรงิ่ ท้ัง

สองขางเขามาคร่งึ ทาง และเจาะรทู ะลฝุ าตรงปลายสุดของรอง เพอื่ เปนทาง
เดินของน้าํ มนั หลอจากแบร่ิงขึ้นไปยังกา นตอ
1.5.8 แบร่ิงฝาลา ง (Lower Shell) เซาะรองตรงกลางตลอดความยาวของฝารองน้ี
จะทําใหรทู เี่ จาะในเดือยขอเหวยี่ งอยูตรงกับรองในแบริง่ ทาํ ใหมนี ํา้ มนั หลอ
ลื่นข้นึ ไปยงั ปลอกแบริ่งรับสลกั ลูกสูบ และรูฉดี นาํ้ มนั เพือ่ ทาํ การระบายความ
รอนใหกบั ยอดลกู สบู
1.5.9 ฝาปะกบั แบริง่ ขอ เหวยี่ ง (Connecting Rod Bearing Cap)ทาํ หนาทอี่ ัดแบ
ริ่งฝาลางใหเ ขา กับกา นตอดวยสลกั 2 ตัว และนัตกวดทปี่ ลายลา งของกา นตอ
และฝาปะกับจะมหี มายเลขกาํ กบั ไว เพื่อใหป ระกอบไดถูกตองตามตาํ แหนง
จะสบั เปลี่ยนกนั ไมได
1.5.10 แบรง่ิ สลักลกู สูบในกานตอ (Connecting Rod Piston Pin Bushing) เปน
ชนดิ ปลอกแบริ่งทาํ ดวยบรอนซ เซาะรอ งเฉียงอัดเขาไปท้งั สองขา งของดุม
กา นตอและจะเหลือรองวางตรงกลางตรงกบั รเู จาะในกานตอ เพอ่ื เปน ทาง
เดินของนํ้ามันหลอล่ืนไปหลอรอบๆแบร่ิงสลักลูกสูบและขึ้นไปยังรูหัวฉีดนํ้า
มนั (Oil Spray Jet)

1.6 ลกู สบู (Piston)

กองฝกการชา งกล กองการฝก กองเรอื ยทุ ธการ

15

1.6.1 เปน แบบทร้ัง (THRUNK TYPE) ลกั ษณะรปู ทรงกระบอกเปด ดานเดยี วมี
ชายลูกสูบยาวเปน พเิ ศษ เพอ่ื ปด -เปด ชอ งอากาศดี

1.6.2 ทาํ ดวยเหลก็ หลอ หรือโลหะผสม ฉาบผวิ หนา ดว ยดีบุกหนา 0.0007 นิว้ เพ่ือ
ใหเ หมาะกบั การเสียดสี

1.6.3 ภายในหลอเปนครีบ เพือ่ เพ่ิมความแข็งแรง ครบี ท้งั หมดนีไ้ ดรบั การระบาย
ความรอนดวยน้ํามนั หลอ ลนื่ ทพี่ นเปน ฝอย จากปลายบนของกา นตอ

1.6.4 ที่รูรอ ยสลักลกู สบู ทงั้ สองขาง จะมีปลอกแบรงิ่ ทาํ ดวยบรอนซ อัดเขา ไปในรู
ทัง้ สองเพ่ือทําหนา ที่เปน แบรง่ิ รองรบั สลักลกู สบู หนาแบรงิ่ เซาะรองเฉยี ง
หลายรอง สาํ หรับเปน ทางนา้ํ มันหลอล่นื

1.6.5 สลักลกู สูบ (Piston Pin) ทาํ ดว ยเหล็กทอนเดยี วกลวงเปน ชนิดลอย (Full
Floating Type) คือสลักลกู สูบหมนุ ไดท ง้ั ในลกู สบู และในกานตอ หลงั จากท่ี
ใสสลักลูกสูบแลว ปลายทัง้ สองขางของสลกั ลูกสบู ถูกผนึกดวยฝาผนกึ (Steel
Cap) และถูกอดั เขาที่ดว ยแหวนกัน้ (Snap Ring or Lock Wire) นาํ้ มนั หลอ
กองฝก การชางกล กองการฝก กองเรือยุทธการ

16
ลื่นทก่ี ลบั จากกระจายเปนฝอย ภายใตย อดลูกสูบและหลอลื่นในปลอกแบริง่
สลกั ลกู สูบแลว จะถูกกั้นไมใหเ ขาไปยงั ผนงั สูบดว ยฝาผนกึ นี้
1.6.6 ลกู สบู แตล ะลูกตอนบนมรี อ ง 4 รอง สําหรับประกอบแหวนอัด และตอนลา ง
ของสลักลกู สบู มี 2 รอง สําหรบั ประกอบแหวนกวาดน้าํ มันหลอ ลืน่
1.6.7 วงแหวนอัดแตละวงทาํ ดว ยเหล็กหลอ หัวตอ ของแหวนเปนแบบตัดตรงไล
หนาดว ยดีบุกและเซาะรอง หนาท่ี ของรองนี้ทาํ ใหก าํ ลงั ดันเผาไหมท ส่ี ง ผา น
วงแหวนไปน้ันขยายตวั และกาํ ลงั ดนั ตกลง จนเม่ือไปถึงหอ งขอเสือจะไมม ี
กาํ ลังดันเหลอื เลย
1.6.8 วงแหวนกวาดนา้ํ มนั แตละวงประกอบดว ย 3 ชน้ั คอื วงกวาดชน้ั บน วงกวาด
ชน้ั ลา ง และวงเบง เวลาประกอบทัง้ วงกวาดชน้ั บนและชนั้ ลา งใหเ อาขอบ
กวาดคว่ําลงลางและขอบปาดมุมหงายข้ึน
1.6.9 ในรองทใ่ี สว งแหวนกวาดนาํ้ มันจะมีรเู ลก็ ๆ เจาะทะลุเขาไปภายในลูกสูบทาํ
หนา ทีร่ ะบายน้าํ มันหลอลนื่ จากวงแหวนกวาด ใหก ลบั ไปในหองแครงก
1.6.10 ทาํ หนาท่ีเปน ลน้ิ ปด-เปด ชองอากาศดที ป่ี ลอกสบู และเปน ตัวรับกําลงั ท่ไี ด
จากการเผาไหมด ันตวั เองใหเ ลื่อนลงแลว สง ตอใหกานตอ ไปหมนุ เพลาขอ เสอื
1.7 ปลอกสบู (CYLINDER LINER)

FLANGE

AIR INLET
PORTS

1.7.1 เปนแบบแหง
1.7.2 นา้ํ ระบายความรอนไมส มั ผัสกบั ปลอกสูบโดยตรง
1.7.3 ทําดว ยเหล็กแข็งผสม
1.7.4 ประกอบอยูใ นชอ งท่ตี ัวเรือนสบู
1.7.5 เปน ผนงั กนั้ หอ งดานขาง

กองฝกการชา งกล กองการฝก กองเรอื ยุทธการ

17
1.7.6 เจาะรู รปู ไขร อบๆ ทํามมุ เฉียงข้นึ 25 ดีกรี จาํ นวน 18 รเู พ่อื ใหอากาศดีเขา

หอ งเผาไหมหมุนตวั คลกุ เคลากบั นาํ้ มันเชอื้ เพลงิ ทฉ่ี ีดเขาไปทั่วถงึ
1.7.7 ระบบการกวาดลา งแกสเสยี เปนแบบยูนิโฟลว Uniflow Type)
1.7.8 ปลอกสบู ใหมโต 4.2495-4.25 น้วิ ยอมใหส กึ ไดไ มเ กนิ .012 น้วิ
1.8 ลอ ถว ง (FLYWHEEL)

1.8.1 ประกอบเขากบั เพลาขอ เสือดา นทา ยเครอ่ื ง
1.8.2 เปนโมเมนต้ัมใหเคร่ืองหมุนดวยความเร็วสมํ่าเสมอทุกๆรอบการทํางานของ

เครอ่ื ง
1.8.3 บนลอ ถว งรอบนอก ประกอบวงเฟอ งเพอื่ รบั กําลังขับจากมอเตอรเ ร่มิ เดิน

เคร่อื งยนต

1.9 เรือนปลุ ลเลย (FLYWHEEL HOUSING)
กองฝกการชา งกล กองการฝก กองเรือยุทธการ

18

1.9.1 ทาํ ดว ยเหลก็ หลอใสสลักยึดติดกบั แผน ปดทา ย
1.9.2 ทําหนาทค่ี รอบปดหมเู ฟองทาย มอเตอรส ตารท พัดน้าํ ทะเล คลทั ซ และเฟอ ง

เกียรต างๆ
1.9.3 มซี ลี กนั นํ้ามัน (Bear Oil Seal)ประกอบตดิ อยูบรเิ วณที่เพลาขอเสือโผลอ อก

มาดว ย
1.10 แผน ปด หวั -ทา ยเรือนสูบ (CYLINDER BLOCK END PLATE)

1.10.1 เปน เหล็กกลา ใสส ลักยดึ ติดเขาแตล ะปลายของเรือนสบู
1.10.2 เปนทีต่ ดิ ต้งั เรอื นปลุ ลเ ลย (FLYWHEEL HOUSING)ตอนทา ยเครอื่ ง
1.10.3 ตอนหวั เคร่อื งตดิ ตัง้ ฝาครอบเพลาขอ เสือและฝาครอบนํ้าหนกั สมดลุ ย (เครอ่ื ง

กันส่นั สะเทือน)
1.10.4 แผนปด หวั -ทายมรี ปู รางไมเหมอื นกนั แผน ปด ทา ยจะมีชุดเฟองขับโบลเออร

และเฟอ งเพลาลูกเบย้ี วติดตัง้ อยู
กองฝกการชางกล กองการฝกกองเรอื ยทุ ธการ

19
1.10.5 ท้ังแผน ปด หัวและแผนปด ทา ยประกอบเขา กับเรอื นสูบดวยสลกั เกลียว และ

ระหวางเส้อื สบู กับแผน ปดหัว-ทา ย จะมีแปกก้งิ ประกอบอยเู พื่อกันนา้ํ มันรั่ว
ออก
1.11 เครื่องกนั สั่นสะเทือน (VIBRATION DAMPER)

1.11.1 อยทู างดานหนาของเพลาขอ เสอื ในเครอื่ ง 6,8 และ 12V สวนในเครือ่ ง 16V
จะติดอยูสวนกลางของเครื่องทําหนาที่ลดความเคนที่เกิดขึ้นกับเพลาขอเสือ
ใหอ ยใู นเกณฑท่ีปลอดภยั จนเครือ่ งสามารถเดินดวยความเร็ว จนถงึ
ความเรว็ ทเ่ี พ่มิ ขึน้ สูงๆ ลกั ษณะคลายๆ กับวา มีปุลลเ ลยพ เิ ศษอีกอันหน่งึ

1.11.2 เคร่ืองกันส่ันสะเทือนประกอบดวยเคร่ืองกันสั่นสะเทือนชุดเบาและชุดหนัก
แตละชุดทําดว ยจานนอกและจานในอัดตดิ กนั เขาดว ยยาง ท้งั จานนอกและ
จานในแยกกนั เปนอสิ ระ ในการเคลือ่ นไหวในทางวงกลมในขอบเขตจาํ กดั
ของยาง

1.11.3 เครอ่ื งกันสั่นสะเทือนทง้ั ชดุ หนักและชุดเบาอัดติดแนนเขา กับดุมเพลา (HUB)
ดวยสลักเกลยี ว 6 ตวั เดอื ยนํา 2 ตวั สวนดมุ เพลานนั้ ติดแนน กับเพลาขอเสอื
ดว ยกรวยในและกรวยนอกซ่งึ ทําหนาทค่ี ลายสลกั

1.11.4 กรวยใน (Inner Core) ทําดว ยเหล็ก ตอนปลายเรียวมรี อยผา 4 แฉก อัดเขา
กับเพลาขอ เสอื

1.11.5 กรวยนอก (Outer Core) ทาํ ดว ยทองเหลอื งอดั เขาทางดานหนาของดุมเพลา
อีกทหี น่ึง

1.12 อา งน้ํามนั หลอ (OIL PAN)หรอื บางทีเรยี กวา SUMP
1.12.1 ทําหนาที่ปดสวนลางของหองขอเสือโดยใสสลักยึดติดแนนกับสวนลางของ
เรือนสูบ
1.12.2 มแี ปก ปง กันการร่วั ไหลของนา้ํ มนั หลอ
1.12.3 เปนทีเ่ กบ็ นา้ํ มนั หลอ หลงั จากไปหลอล่นื สว นตา งๆ ทีเ่ คล่ือนไหวแลวตกลงมา

1.13 หมูเฟองตง้ั จังหวะ (GEAR TRAIN)

กองฝก การชา งกล กองการฝก กองเรือยุทธการ

20

1.13.1 เปน เฟอ งเฉียงทําดวยเหล็กแข็ง
1.13.2 บนวงเฟองต้ังจังหวะจะมีเคร่ืองหมายเฟองต้ังจังหวะการทํางานของเคร่ือง

ยนต
1.13.3 เฟองตอมีหนาที่รับกําลังจากเฟองเพลาขอเสือไปสงตอใหเ ฟอ งของเพลาลูก

เบีย้ ว
1.13.4 เฟอ งเพลาลูกเบย้ี วมอี ยู 2 เพลา

• เฟอ งเพลาลกู เบ้ยี วขวาไดร ับกําลังขบั จากเฟองตอ (เครื่องหมนุ ขวา)
• เฟอ งเพลาลูกเบย้ี วซา ยไดร ับกาํ ลังขับจากเฟอ งเพลาลกู เบี้ยวขวา
1.13.5 เฟอ งเครื่องพัดอากาศไดรบั กําลงั ขบั จากเฟองเพลาลกู เบยี้ วขวา
1.14 เพลาลูกเบ้ียว (CAMSHAFT)

1.14.1 มี 2 เพลาตอ 1 เคร่อื ง เพลาลูกเบย้ี วดานขวามอื และเพลาลูกเบี้ยวดา นซาย
มือ

1.14.2 ประกอบอยูท ีต่ อนบนของเรอื นสบู
กองฝก การชา งกล กองการฝก กองเรือยทุ ธการ

21
1.14.3 รองรบั ดว ยแบรงิ่ แบบฝาปะกบกนั
1.14.4 วงเฟองขบั เพลาลกู เบ้ียวประกอบกับเพลาดวยสลกั และแผน เหล็ก
1.14.5 เปนเพลาตีข้นึ รปู ฉาบผวิ หนา ใหแ ข็ง และเจาะรูทะลตุ ลอดเพ่อื เปน ทางเดิน

ของนํ้ามันหลอ
1.14.6 มีน้าํ หนกั ถวงแตงไวท ่หี ัวเพลาท้งั สองตวั
1.14.7 ปลายเพลาดา นนาํ้ หนักถว งประกอบปุลลเ ลยสง กําลัง

กองฝก การชา งกล กองการฝก กองเรอื ยุทธการ

22

ชอ่ื เรอ่ื ง เคร่อื งยนต Detroit Diesel Series 71

ความมุงหมาย เพื่อใหนักเรยี นไดร ูถงึ ระบบน้าํ มันเช้อื เพลิง

หลกั ฐาน

1. Detroit Diesel V-71 Service Manual

2. Detroit Diesel Operators Manual

3. Service Manual Detroit Diesel Engine In-Line 71

เน้ือเรื่อง

ระบบตา งๆของเครอื่ งยนต

⇒ เครอ่ื งยนตดีทรอยดดีเซลนั้น มรี ะบบตา งๆ ทส่ี าํ คัญอยดู วยกนั 4 ระบบคือ

◊ ระบบนํา้ มนั เช้ือเพลงิ ( Fuel System )

◊ ระบบนา้ํ มันหลอ ( Lub Oil System )

◊ ระบบระบายความรอ น ( Cooling System )

◊ ระบบอากาศ ( Air Intake System )

ระบบน้ํามนั เชอ้ื เพลิง ( Fuel System )

! สวนประกอบทส่ี ําคัญของระบบ

◊ ถังนํ้ามนั เชอ้ื เพลงิ ใชการ
◊ ทอ ทางดูด
◊ หมอ กรองหยาบ
◊ พัดน้ํามันเช้อื เพลงิ
◊ หมอกรองละเอียด
◊ ทอ ทางจายน้ํามันเช้ือเพลิง
◊ หวั ฉีดนา้ํ มนั เชอื้ เพลิง
◊ ทอทางนาํ้ มนั เช้ือเพลิงกลบั ถัง
!การทาํ งานในระบบนํ้ามันเช้อื เพลิง นาํ้ มันจากถังใชก ารจะถกู สูบนํ้ามันเชอ้ื เพลงิ สูบ
ผานหมอกรองหยาบ สง ผา นตามทอ ทางดวยกําลงั ดนั ผานหมอ กรองละเอยี ด แลว ไป
ทท่ี างนํ้ามันเขา หัวฉีดแตล ะหัว และไหลผานกลบั ไปยังถงั ใชก าร การทีน่ า้ํ มันไหล
อยางตอเน่อื งเชน นี้ จะชวยระบายความรอ นหัวฉีดดว ย และในเวลาเดียวกนั กจ็ ะไล
อากาศไปในตวั จะมลี น้ิ กนั กลบั ตดิ ต้ังระหวางหมอกรองหยาบกบั ถังน้ํามนั เช้ือเพลงิ
เพื่อปอ งกนั นํา้ มันไหลกลบั ขณะทเี่ ครือ่ งหยดุ เดิน

กองฝกการชา งกล กองการฝกกองเรอื ยุทธการ

23
กองฝกการชา งกล กองการฝกกองเรอื ยุทธการ

24
1 พัดน้ํามันเชื้อเพลิง (Fuel Pump) เปนสูบเพิ่มกําลงั ชนดิ เฟอ งคู ติดตั้งอยูท เ่ี รอื นกฟั เวอรเนอร

สว นทา ยของโบลวเ ออร ทําหนา ท่ีสบู สง น้าํ มันเชื้อเพลิงใหไหลไปท่ัวระบบ
◊ ตวั เรือนพดั มีรูระบายแบบจุกอุด 2 รู อยูระหวางซีล
◊ มีซีล 2 ตวั ระยะหางระหวา งซลี 1/4 น้ิว ซลี นจ้ี ะมขี นาดเลก็ กวา ตวั พัดเพื่อท่จี ะยอมปลอ ยให

นา้ํ มันรั่วออกมาได ถา หากน้าํ มนั ที่รวั่ ออกมาเกินกวา 1 หยดตอนาที ใหเ ปล่ยี นใหม
◊ แผนปด
◊ เพลาขับและตวั เฟอง
◊ เพลาตามและตัวเฟอง
◊ ลนิ้ ผอนกาํ ลงั ดัน ( Relief Valve ) ต้งั ไว 65-75 ปอนด/ตร.น้วิ ล้ินผอนกาํ ลังดันเปน แบบกาํ ลัง

กดของสปริงการทํางานเฟองจะหมุนขบกันทําใหเกิดวัคคัมในทางดูดและสงน้ํามันเขาไปใน
ระบบดว ยกําลงั ดนั ประมาณ 65-75 ปอนด/ ตร.นว้ิ พดั นํ้ามนั เช้ือเพลิงของเครอื่ ง V-71 นน้ั จะ
หมนุ ซา ยซ่ึงไมข้นึ อยูกบั การหมนุ ของเคร่ืองวาจะหมุนขวาหรือซา ย กลา วคือพดั น้าํ มนั น้ีจะ
หมุนซา ยตลอด ไมวา เครือ่ งจะหมนุ ซา ยหรอื ขวา
2 หมอ กรองน้ํามันเชื้อเพลิง ( Fule Filter )

กองฝก การชางกล กองการฝกกองเรือยทุ ธการ

25
◊ หมอกรองท้งั สองชนิดมีหนา ท่ีแยกและปองกนั สิ่งสกปรกตา งๆ ทีจ่ ะหลดุ เขาไปในระบบน้ํามัน

เชื้อเพลิง หมอกรองหยาบจะกรองส่งิ สกปรกชน้ิ โตๆ สวนหมอ กรองละเอียดก็กรองช้นิ เล็กๆ
◊ หมอกรองทงั้ สองชนิดน้ีอยูภายในฝาครอบ
◊ ภายในมไี สก รองซง่ึ สามารถเปลย่ี นได ชนิด Paper Type
◊ หมอ กรองหยาบจะตดิ ตงั้ ระหวา งถงั นาํ้ มนั ใชการกับพัดน้ํามันเชอื้ เพลิง ซ่งึ จะทาํ งานดา นทาง

ดดู
◊ หมอกรองละเอยี ด ตดิ ต้ังอยูร ะหวางพัดน้ํามนั เชือ้ เพลงิ กบั ทางนาํ้ มนั เขา หัวฉดี ซง่ึ ทํางานภาย

ใตกําลังดันสูง
◊ ทีต่ วั ฝาครอบมจี ุกระบายดานใต
◊ ฝาปดบนมชี อ งทางเตมิ นํ้ามันเชอื้ เพลิง สาํ หรับไลอากาศ
◊ มสี ลักยาวรอ ย เพ่อื ประกอบฝาครอบเขา กับแผน ปด
◊ มแี ปก ก้งิ อัดกันรัว่ 2 วง
◊ เปล่ยี นไสก รองทุกๆ 300 ชวั่ โมง
◊ ระบายส่ิงสกปรกกนหมอ กรองทกุ ๆ วนั
3 หวั ฉดี นาํ้ มนั เชอ้ื เพลิง ( Fuel Injector )

กองฝก การชางกล กองการฝกกองเรือยุทธการ

26

◊ เปน หวั ฉดี รวม ( Unit Injector ) ตดิ ตัง้ อยบู นฝาสูบ ทําหนาท่ีบรรลุผลทง้ั 5 ประการ ในการฉดี น้ํา
มันเช้ือเพลงิ คือ

∗ จํานวนท่พี อเหมาะและแนน อน ( Accurate Metering Of Fuel )
∗ ในเวลาทีพ่ อเหมาะ ( Proper Timing )
∗ ในอัตราการฉีดทแ่ี นนอน ( Rate Of Injection )
∗ กระจายตัวเปน ฝอย ( Atomization )
∗ มีการกระจายตัวและแทรกตัวคลุกเคลา กบั อากาศ (Distribution & Penetration )
3.1 สวนประกอบทส่ี าํ คัญ

3.1.1 สว นสบู กําลังดันสงู ( Pumping Unit )

∗ กานสง ( Follower )
- เปนตัวรับกาํ ลงั และอาการเลอ่ื นจากกระเดอื่ งกดลน้ิ (Rocker Arm)
- สวนลางตอนปลายตอ กับปลายบนของคันสบู ชกั ( Plunger )
- ดานขา งมีชองยาวเพอ่ื จาํ กดั การเลื่อนของกา นสง
- ตอนบนมีบาภายนอก เพือ่ รบั กับวงสปรงิ คนั สบู ชัก

∗ สปริงคนั สูบชัก (Plunger Spring)
- สวมอยทู เ่ี รอื นหวั ฉีดตอนบน
- สปริงพยายามดนั กานสง ใหเ ลอื่ นขนึ้
- เมื่อกา นสงเลอื่ นลง เพราะแรงจากกระเดอื่ งกดลนิ้

∗ เดือยกน้ั (Stop Pin)
- สอดอยูในรูเลก็ ๆ ที่เรือนหัวฉีด ผา นสปริงเขา ไปในรยู าวที่กานสง
- จาํ กัดการเล่ือนขึ้นของกา นสง ดวยขอบลา งของรอ งท่ีกานสง
- สปริงคันสูบชกั เปนตัวกดเดอื ยกั้นใหอยใู นท่ี และไมหลดุ ออกมา

∗ วงเฟอ ง (Gear)
- สวมอยูตอนบนของคนั สูบชกั
- วงในดานหนง่ึ แบน เพอ่ื รับกบั หนา แบนท่ตี ัวคนั สบู ชกั
- วงนอกซึง่ เปน ซีเ่ ฟองเพอ่ื ขบกบั เฟองทีค่ นั เฟองหวี มเี คร่อื งหมายตอกเปนรูไว ทซ่ี ่ีเฟอ งซ่ี

หนึ่ง

∗ คันเฟอ งหวี (Gear Rack)
- เปน คนั ยาวทร่ี ับอาการบังคบั เชื้อเพลงิ มเี ฟองอยูท่ีกาน
-สอดเขาตามขวางท่เี รือนหวั ฉดี
- เฟองของคันเฟองหวีขบกับเฟอ งของวงเฟอ งมีเครื่องหมายตอกเปน รไู วทซี่ ่เี ฟอง 2 รู บนซ่ี

เฟองท่ตี อกนั
- ปลายขา งหน่ึงประกอบกับคันบังคบั นํา้ มันเชอ้ื เพลิง

กองฝก การชางกล กองการฝกกองเรอื ยุทธการ

27
∗ ปลอกบังคับวงเฟอ ง (Gear Retainer)
- เปนปลอกกลมกลวงสอดอยูภายในเรอื นหวั ฉดี
- ทาํ หนา ทบี่ ังคบั วงเฟอ งไมใ หเล่ือนข้นึ -ลง ใหเ ลอื่ นแตท างหมุนรอบตวั เทา น้นั
∗ ปลอกคันสบู ชัก (Bushing)
- รปู ทรงกระบอกกลม มีรูกลวงตลอดความยาว
- ตอนลางมชี องนํ้ามันทางขาง 2 ชอง ชอ งบน Upper Port และชอ งลา ง Lower Port
- ตอนบนมีรทู ะลทุ างขวาง เพือ่ ระบายนํ้ามนั ท่ีร่วั ระหวา งคันสูบชักและปลอกคนั สูบชัก
∗ คันสูบชัก (Plunger)
- มลี กั ษณะกลมยาว เลื่อนอยูภายในของปลอกคนั สบู ชัก
- ตอนปลายบน มบี านอกรับกับบา ในของกา นสง
- ตอนครึ่งทอนลาง มผี วิ กลมเรยี บ เพ่อื สวมเขา รูทีเ่ รียบของปลอกคนั สบู ชัก สวนปลายตอน
ลา ง มีแงเฉยี งบน Upper Helise มีแงเ ฉียงลา ง Lower Helise มรี ทู ะลุปลายเขา มายังสว น
ท่ีเวาระหวา งแงเ ฉยี งทงั้ สอง
∗ เรอื นหวั ฉีด (Injector Body)
- ทาํ ดว ยเหลก็ กลา
- เจาะรทู ะลภุ ายในเพื่อประกอบสวนอ่ืน และเปนทางเดนิ นา้ํ มัน
- ตอนบนมบี า รบั สปรงิ และเกีย่ วรบั ทอ น้าํ มันเขา -ออก
- ตอนกลางมรี ูทะลทุ างขวาง เพื่อรบั คนั เฟอ งหวี
- ตอนลางมเี กลยี วรบั กับนตั หวั ฉดี
∗ นตั หัวฉดี (Injector Nut)
- เปน นตั กลมยาว ภายในกลวง
- ตอนบนมีเกลียว เพ่อื ยดึ ตดิ กบั เรือนหวั ฉดี
- ตอนลางเปนปลายเรยี ว มีรูเพ่ือใหปลายกระจายฝอยย่ืนออกมาเลก็ นอย
∗ ปลอกก้ันนา้ํ มนั (Spill Deflector)
- เปนปลอกกลมบาง โตกวา ปลอกคันสบู ชักเล็กนอย
- สวมอยรู อบปลอกคนั สูบชกั ตรงชอ งนํ้ามันตอนลาง

กองฝก การชางกล กองการฝกกองเรอื ยทุ ธการ

28

3.1.2 สวนปลายกระจายฝอย (Spray Tip)
∗ ลน้ิ กนั กลับ (Check Valve)
- มีลกั ษณะกลมแบนผวิ หนาเรียบ ประกอบเขากบั กลอ งลน้ิ กนั กลบั
∗ กลอ งล้ินกันกลับ (Check Valve Cage)
- มีลักษณะกลมแบน ดานบนมีรอ งสําหรบั ประกอบล้นิ กนั กลบั และมีรูน้าํ มนั โดย
รอบ 3 รู
∗ สปริงลิน้ (Valve Spring)
- นง่ั อยบู นท่ีรบั สปริง ทําหนา ที่ กดลิ้นเขม็ ใหแนบสนทิ กับบา ล้นิ ดวยแรงยกลนิ้
ประมาณ 2300-3300 ปอนด/ตารางนวิ้
∗ หมุดรับสปรงิ (Spring Seat)
- ทาํ หนา ทรี่ ับกําลงั สปรงิ สง ไปยงั ล้ินเขม็ เพ่อื ไมใ หน ํา้ มันรัว่ ไหล
∗ กลองครอบสปรงิ (Spring Cage)
- มีลักษณะคลา ยกลองลิ้นกนั กลบั แตหนากวา ดา นลา งเปน รอ งสาํ หรับรับสปริง
ดานบนตรงกลางมีรู เพอ่ื ใหเ ดือยรบั กาํ ลงั ของล้นิ เขม็ ย่ืนออกมา ดานขา งโดย
รอบมรี ูน้าํ มนั อยู 3 รู
∗ ลน้ิ เขม็ (Needle Valve)
กองฝกการชา งกล กองการฝกกองเรอื ยุทธการ

29
- มลี ักษณะกลมยาวปลายแหลมคลา ยเข็ม ที่ปลายแหลมมีบากนั รว่ั ดา นบนมีบา

เพิ่มกําลงั สว นบนสดุ จะมีเดือยรบั กาํ ลงั ยืน่ ออกมา
∗ ปลายกระจายฝอย (Spray Tip)
- มลี กั ษณะกลมยาว มรี ูทะลุตลอด หนา บนเรียบ ปะกอบกบั หนา ลา งของกลอง
ครอบสปรงิ ดา นขางมีรูนํ้ามนั อยู 3 รู ท่ีปลายมีรูกระจายฝอยท่มี ีจาํ นวน และทํา
มุมเพ่ือใหก ารฉดี แผทั่วหองเผาไหม
หมายเหตุ ทปี่ ลายกระจายฝอย จะมอี กั ษรตวั เลขบอกรายการตางๆ เชน ชนดิ แบบ ขนาดโตของรู
กระจายฝอย จํานวนรูกระจายฝอย และมมุ ในการกระจายฝอย
หมายเหตุ ในการจาํ แนกประเภทหรอื แบบของหัวฉีดรวมมี 3 แบบ คอื
1) แบบ ไฮวาลว (High Valve)
2) แบบ สเฟยริกัลวาลว (Sphericial Valve)
3) แบบ นดี เดลิ วาลว (Needle Valve)

กองฝก การชางกล กองการฝก กองเรอื ยุทธการ

30

อาการทาํ งานของหวั ฉดี
1. อาการเลื่อนขนึ้ -ลง และหมุนของคนั สบู ชัก
1.1 คันสบู ชักเล่อื นลง เพราะกาํ ลังกดจากกา นสง ทรี่ ับอาการมาจากลกู เบี้ยว
1.2 คนั สูบชกั เลอื่ นขึ้น ดว ยกาํ ลังดันของสปริง
1.3 การเลอ่ื นของคันสบู ชกั มรี ะยะเลอ่ื นทค่ี งที่ เรียกระยะเล่อื นนว้ี า Pumping Stroke
1.4 คันสบู ชกั หมุนไดเ พราะอาการเล่ือนของคนั เฟอ งหวที พี่ าวงเฟอ งใหห มนุ
2. การไหลของนํา้ มนั (กอนมีกําลังดันสงู )
2.1 นํ้ามันจากสูบสง น้าํ มนั มกี าํ ลังดันประมาณ 35 ปอนด/ ตร.นิว้ ผานเขา ทอ น้ํามนั ท่ี

เรือนหวั ฉีด
2.2 น้าํ มนั ผานหมอ กรองละเอยี ด ซง่ึ ทําดว ยโลหะ ไฟนเกรน (Fine Grain) โดยท่ีน้ํามนั

ไหลจากภายนอกเขา ภายใน
2.3 นํ้ามนั ไหลเขา ไปในหอ งนาํ้ มนั (Fuel Chember) ซ่งึ อยรู อบปลอกคันสูบชกั
2.4 นา้ํ มันจะไหลเขาทางชองบนของปลอกคันสูบชกั เมอ่ื ปลอกคนั สบู ชักเลอ่ื นขึ้น และ

เติมตัวเองเตม็ อยตู อนปลายคนั สบู ชัก
3. การไหลของนา้ํ มนั (บรเิ วณปลอกคนั สูบชกั )
3.1 เมือ่ คนั สูบชกั เร่มิ เลื่อนลง
3.2 นํา้ มันทวีกําลังดัน แตไหลออกไปทางชองบน และชอ งลา งได
3.3 เมื่อคนั สูบชกั เปด ชอ งลาง น้ํามันกไ็ หลผา นรตู รงกลาง ออกไปทางชองวางระหวา ง

แงเฉียงท้ังสองแลว ออกไปทางชองบน ขณะน้ีจงึ ยังไมม ีกาํ ลงั ดนั สูง

กองฝกการชา งกล กองการฝก กองเรอื ยทุ ธการ

31

3.4 เมือ่ คันสบู ชกั เล่ือนลงอีก จนแงเฉยี งบนปด ชอ งบน นํา้ มันออกไปทางใดมิได

3.5 นา้ํ มนั จะทวีกาํ ลังสงู มาก เพราะอาการเล่ือนของคนั สูบชกั

3.6 เม่ือคันสบู ชักเล่ือนลงอกี จนแงเ ฉยี งลา งเปด ชอ งลาง

3.7 นา้ํ มันที่ผานรูตรงกลาง และอยูระหวา งแงเฉียงท้งั สองจะไหลออกไปทางชองลาง

และนาํ้ มันลดกาํ ลงั ดนั ลงทุกที

4. การฉดี นํ้ามนั

4.1 เมอ่ื แงเ ฉียงบนปดชอ งบน และเรมิ่ ตนการอัดนา้ํ มนั

4.2 น้ํามนั มกี าํ ลังดนั ไหลเขา ดนั บา เพ่ิมกาํ ลงั

4.3 เมื่อกาํ ลังดนั นํ้ามันชนะกําลังดันสปรงิ ล้ินเข็มจะถกู ยกขึ้นเปด รนู ํา้ มันทป่ี ลาย

กระจายฝอย

4.4 น้าํ มันผานออกไปปลายกระจายฝอยดว ยกําลังดนั สงู ในทนั ทีจึงกระจายตัวเปน ฝอย

และฉดี ออกตามรกู ระจายฝอยรอบปลาย และตามลกั ษณะของมุมของรูกระจายฝอย

4.5 เม่ือกําลงั ดันนา้ํ มนั ต่าํ ลง สปรงิ ล้นิ จะดันใหล น้ิ เข็มปด รูนํา้ มัน

5. การควบคมุ จาํ นวนนํา้ มนั

5.1 ทําไดโดยการหมุนคนั สบู ชกั

5.2 โดยลักษณะของแงเฉยี งตอนบนเม่ือหมุนใหอยูในตาํ แหนง ทปี่ ดชอ งบนเรว็ ก็เปน

การเรมิ่ ตน ฉดี นา้ํ มัน

5.3 โดยลกั ษณะของแงเฉียงลา ง เมื่อหมนุ ใหอยใู นตาํ แหนง เปดชองลางเร็ว ก็เปนการ

หยดุ ฉีดน้ํามนั

5.4 การควบคมุ จํานวนนาํ้ มัน จงึ ควบคุมไดโดยลักษณะการออกแบบ แงเฉยี งทัง้ บน

และลางใหป ด-เปด เร่มิ ฉดี และหยดุ ฉดี นา้ํ มัน ถา ลักษณะของแงเ ฉียงเปนแนวตรงไมวาจะหมุนคนั

สูบชกั ไปอยางไร ยอ มไมมกี ารเปล่ยี นแปลง

6. นา้ํ มันเช้อื เพลิงภายในเรือนหัวฉดี

6.1 ท่มี ีจํานวนเกินตอ งการจะไหลออกไปทางนา้ํ มนั กลบั

6.2 ทําหนาที่อนื่ ๆใหป ระโยชนอ กี 4 ประการ

1) ทําความสะอาด (Clean) 2) ระบายความรอ น (Cool)

3) ไลอ ากาศ (Vents) 4) หลอลื่นสว นทเี่ คลื่อนไหว (Lubricated)

หมายเหตุ เพราะการควบคมุ / จาํ กัดจาํ นวนนาํ้ มนั กระทําไดโ ดยการออกแบบแงเ ฉียง จึง

ทาํ ใหจําแนกหัวฉีกรวมออกตามลักษณะการเร่ิมและหยดุ ฉีดนํ้ามนั ได ดงั น้ี

1. เร่ิมตน ฉดี เปลยี่ นแปลง-หยดุ ฉีดคงท่ี (Variable Beginning - Constant Ending)

2. เรมิ่ ตน คงท-่ี หยุดฉีดเปล่ยี นแปลง (Constant Beginning - Variable Ending)

3. เริ่มตน ฉดี เปล่ียนแปลง-หยดุ ฉีดเปลย่ี นแปลง (Variable Beginning - Variable Ending)

การปรนนบิ ตั ิบํารุงและการระวงั รกั ษา
กองฝกการชางกล กองการฝก กองเรอื ยุทธการ

32

1. การปรนนิบัติบาํ รุง

1.1 ปฏิบตั ติ ามคูมือการปฏบิ ตั บิ ํารุงหวั ฉีด เฉพาะชนิดนั้นๆโดยเครง ครัด

1.2 คนั สูบชักและปลอกคันสบู ชกั ผลติ มาเปนชดุ (Match Sat) เมอ่ื เปลย่ี นตองเปลี่ยน

ทงั้ ชุด และตอ งมใิ หส ลับคูกนั ได

1.3 การใชห ัวฉดี ทมี่ ีสภาพดี จะชว ยเพ่มิ ประสิทธภิ าพในการเผาไหม

1.4 เมอ่ื ครบกาํ หนด ชม.ใชการ

- ถอดออกตรวจสภาพ

- ทําความสะอาดช้นิ สว นภายใน

- ตรวจสภาพชน้ิ สว นภายใน

- ประกอบและทดลองกําลังดนั ในการฉดี น้าํ มัน

2. การระวังรักษา

2.1 สง่ิ ท่ีเปน อนั ตรายในการใชคือ สงิ่ สกปรกทป่ี นไปกบั เช้ือเพลิง ไดแก ผง, และน้ํา

2.2 เมือ่ ใชการ รกั ษาสภาพใหด ีทส่ี ดุ ซง่ึ ขึน้ อยูกบั ผูใชว า จะสามารถ หรอื มีความใสใ จ

และปฏิบัติตามคําแนะนาํ ในการซอ มบาํ รุงเพียงใด

คําแนะนํา

1) เมือ่ ถอด เอาผาคลุมและผูกเชือกรัดทางน้ํามันเพือ่ กนั ผง

2) เตรียมสถานที่ โตะ และเครือ่ งมือ กระดาษทําความสะอาด กอ นถอดหวั ฉีด

3) ถา จําเปนตองถอดหัวฉีดหลายหัวในเวลาเดียวกัน ใหแยกเก็บช้ินสวนของแตละหวั

4) คนั สบู ชกั ตอ งประกอบกบั ปลอกคนั สบู ชักอนั เดิม ถา เปลี่ยนตอ งเปลีย่ นท้งั ชุด

5) ชุดล้นิ กันกลบั ตอ งเก็บ และประกอบในชดุ เดมิ เชน สปรงิ ,ลน้ิ ,บา ล้ิน

6) การทาํ ความสะอาดใชน้าํ มันเบนซิน และเปาดว ยลม (อยาเช็ด)

7) หวั ฉดี ทเี่ กบ็ ไวเพื่อสํารองใช เม่อื จะนํามาใชต อ งทดลองกอน

8) ในการปฏบิ ัติเก่ยี วกับหวั ฉดี ตองเครง ครดั ทําตามคาํ แนะนาํ ในการ

1) การถอด และการประกอบ

2) การทดลองและการตงั้ จังหวะในการฉีดนา้ํ มนั

3) การปรับแตง ใหห ัวฉดี ทุกหัวฉีดฉีดนํา้ มันเทากัน (Equalize)

การถอดหัวฉดี

หัวฉีดมสี ว นประกอบทงั้ หมดดังนี้ กา นสง
1. Injector Body เรอื นหัวฉีด 2. Follower
3. Follower Spring สปริงกานสง 4. Stop Pin เดือยก้นั
5. Filter Cap ฝาครอบกรอง 6. Filter กรอง
7. Pluger คนั สบู ชกั 8. Gear วงเฟอ ง
9. Gear Retainer ปลอกบังคบั เฟอ ง 10.Seal แหวนยาง
11.Bushing ปลอกคนั สูบชัก 12.Control Rack คนั เฟองหวี
13.Spill Deflector ปลอกปะทะ 14.Check Valve ล้นิ กนั กลับ

กองฝก การชางกล กองการฝก กองเรือยุทธการ

33

15.Check Valve Cags กลอ งลน้ิ กนั กลับ 16.Valve Spring ล้นิ สปรงิ
17.Spring Cage กลอ งลิน้ สปรงิ 18.Needle Valve เข็มนมหนู
19.Nut นัตหวั ฉีด 20.Spray ip ปลายกระจายฝอย
- การถอดใชเคร่อื งมือจับหวั ฉีดแลวใชปากาจบั ใหแ นน ใหทางปลายของหัวฉดี ข้นึ ดานบน

- ใชประแจปากตายขนาด 1 1 นวิ้ คลายนตั ของหัวฉีดออก คอ ยๆ ยกนัตหัวฉดี ออกระวงั สว น
6

ประกอบอ่ืนๆ ท่อี ยูภายในจะหลุดรว งหลน ซง่ึ มีสวนตา งๆท่จี ะถอดออกได เมื่อถอดนตั ออกแลว คือ Spray

Tip, Seal, Spill Deflector, Needle Valve, Spring Cage, Spring Seat, Valve Spring, Check Valve

Cage, Check Valve, Bushing, Gear Retainer, Control Rack, Gear

- คลายปากกาออก จับหวั ฉดี ใหม โดยใหท างปลายหวั ฉดี ชีล้ ง ใชมือซา ยกดท่ี Follower ใหสปริง

ยุบตวั ลง (หมุนดานบางของสปรงิ End Point ใหต รงกับ Stop Pin แลว ใชไขควงงดั Stop Pin ออกเม่ือดึง

Stop Pin ออกแลว จะมีสวนอน่ื ๆออกตามมา ดังนค้ี อื Follower, Plunger, Follower Spring)

- ถอด Filter ออกจากตัว Injector Body 2 อัน

การประกอบหวั ฉดี
- กอนการประกอบหวั ฉีด จะตอ งตรวจและแนใจวาสวนประกอบตา งๆของหัวฉดี สะอาดและอยู

ในสภาพใชงานได ตัว Bushing และ Plunger หา มสับเปล่ียนกนั จะตอ งเปลี่ยนเปนคๆู เสมอตวั Check

Valve และ Check Valve Cage หา มสับเปลย่ี นกัน โดยปกติ Filter ของหัวฉดี จะตองเปลี่ยนใหมทกุ คร้งั ที่

ถอดหวั ฉดี ตรวจ

- ประกอบ Filter หัวฉดี โดยใหส วนท่ีเวา ลงดา นลาง ดา นทเี่ ปนชองขึ้นบนแลว ประกอบ Gasket

และ Filter Cap โดยเปลย่ี น Gasket ใหม และไลล ืน่ Filter Cap กอนที่จะประกอบเขาท่ีใชป ระแจปอนด

ขนาด 9/16 นว้ิ กวดดวยกาํ ลังดนั 65-75 ฟุต/ปอนด เม่อื ประกอบเขาทแ่ี ลวใหท าํ ความสะอาด Filter อีก

คร้ังโดยใชอ ากาศอัดเปา หรอื ใชน ้ํามันเชื้อเพลงิ อดั เขา ไปทาง Filter Capแลวใชฝ าครอบปด Filter Cap

ไวก นั ฝุนผง

- ใชป ากกาจบั หวั ฉีดใหด านปลายหวั ฉีดขึน้ ดานบนแลวสอด Control Rack เขา ไปในรูของ

Injector Body และจดั ใหเ คร่อื งหมาย (เปน จุด 2 จดุ ) ตรงกบั ชองเวา ใหเห็นชดั แลวยดึ ไวในตําแหนงน้ี

- แลวใส Gear เขา ไปในตาํ แหนงทเ่ี ครอื่ งหมาย (จดุ 1 จดุ ) อยกู ึ่งกลางระหวา งจดุ 2 จดุ ของ

Control Rack

- ใส Gear Retainer ทบั ลงไปบน Gear

- ประกอบ Bushing กบั ตวั Body โดยใหเดือยของ Bushing ตรงกับชองใน Body คอยๆสอด

ดานปลายของ Bushing เขาที่

- ประกอบ Seal Ring ทตี่ ัว Body แลวประกอบ Spill Defector เขา ท่ี ครอบเขากบั ตวั Bushing

- ประกอบ Check Valve เขา ที่กึ่งกลางของปลาย Bushing แลวประกอบ Check Valve Cage

- ประกอบ Spring Seat เขากบั Valve Spring (Valve Spring ตอ งเปลี่ยนใหมท ุกครง้ั ) แลวนาํ

ไปประกอบเขากบั Spring Cage โดยใสด าน Spring Seat เขา ไป

กองฝก การชา งกล กองการฝกกองเรอื ยุทธการ

34

- นาํ Spring Cage, Spring Seat และ Valve Spring ประกอบเขาทโี่ ดยวางท่ีดานบนของ
Check Valve Cage (Valve Spring อยูล า ง)

- ใส Needle Valve ในดา นเรียวเขา ไปใน Spray Tip แลวประกอบ Spray Tip และ Needle
Valve ไวบน Spring Cage โดยใหป ลายแหลมเลก็ ของ Needle Valve สวมเขา ไปในรขู อง Spring
Cage

- ไลล่นื เกลียวของ Injector Nut แลวคอยๆสวมเขา กบั ตวั Injector Body ดวยมอื (อยา ง
ระมัดระวัง) คอยๆหมุนเกลยี วเขา ดวย นิ้วชแี้ ละหวั แมมือ แลว กวดใหแ นน ดว ยมอื ซง่ึ พอทีจ่ ะทาํ ใหย ึดสว น
ตางๆอยูกับทไ่ี ด ใชเคร่ืองมือจบั หวั ฉดี ใหแนน แลวใชป ระแจปอนด กวดดว ยกาํ ลัง 75-85 ฟตุ -ปอนด

- ประกอบ Plunger และ Follower
- ประกอบดา นหวั ของ Plunger เขากับ Follower
- ควํา่ หัวฉีดใหป ลายชี้ลงดานลางแลวผลกั คันแรคเขา ไปจนสดุ
- ประกอบ Follower Spring On Injector Body
- ประกอบ Plunger และ Follower เขา ท่โี ดยสอดเขา ตรงกลางของ Spring แลว ประกอบ Stop
Pin โดยคอ ยๆหมุนดา นปลาย End Point Follower ของ Follower Springใหตรงกบั ชองประกอบ Stop
Pin
- แลว จัดใหช อ งบน Follower ใหต รงกับรู Stop Pin ที่ Injector Body ตอ ไปจัดใหด า นเรีบบของ
ตวั Plunger ใหตรงกับชองของ Follower แลวสอดดานปลายของ Plunger เขาไปใน Injector Body
- กด Follower ลง และในขณะเดยี วกันกด Stop Pin เขาที่ เมอื่ เขา ทีแ่ ลว Spring จะดงึ Stop
Pin เขาท่ี
การประกอบหัวฉดี ลงบนฝาสบู
- ทาํ ความสะอาดรูทีจ่ ะประกอบหวั ฉีด
- สวมหัวฉีดลงไปในชอ งของแตละสูบ โดยใหคนั เฟองหวหี นั ไปทางทอแกส เสีย
- ประกอบตวั ล็อคหวั ฉดี ใหท างดา นที่เปน งา มของตวั บังคบั หวั ฉีดสวมเขาไปบงั คับทหี่ นาของตัว
หวั ฉดี แลว ใชสลกั ขนาด 9/16 นิว้ เทา กับจาํ นวนหัวฉดี ใชกาํ ลงั กวดตง้ั แต 20-24 ฟตุ -ปอนด
- ประกอบราวคนั เฟอ งหวี จะตอ งใชผ า อุดรูนาํ้ มันทีอ่ ยขู างๆเสยี กอน เพ่ือปองกันไมใหหัวนัตตก
ลงไป
- สวมเพลา Locker Arm เขา ไปในรูของ Locker Arm พรอมกบั ใสข ายดึ เพลา Locker Arm
(Bracket)
- สวมสลกั ลงไปในรูของขายึดเพลา Locker Arm ซ่งึ ใชสลกั ขนาด 3/4 น้ิว จาํ นวน 2 ตวั กวดดวย
กําลัง ตัง้ แต 90-100 ฟตุ -ปอนด
- Locker Arm ของสูบอ่นื ๆกป็ ระกอบเชนเดียวกนั
4. เคร่อื งควบคุมความเรว็ (Governor)

กองฝกการชางกล กองการฝกกองเรอื ยทุ ธการ

35

1. เปน แบบกลไก Mechanical เปลย่ี นแปลงความเร็วตามภาระ Variable Speed Governor

จาํ กดั ความเร็วสูงสุดเม่ือไมม ีภาระ (Noload) รกั ษาความเร็วของเคร่อื งยนตใหค งทีท่ กุ ๆความเรว็ ใหอยู

ระหวางความเรว็ ปกติ ถึงความเร็วสงู สุด ตามความตอ งการของผใู ชเ คร่ือง

2. ตดิ ต้งั อยรู ะหวา งเคร่ืองพดั อากาศกบั เรอื นครอบปลุ เลย (Flywheel Housing) มีกอฟเวอร

เนอร 1 ตัว ตอ 1 เคร่อื ง ควบคุมการทาํ งานของหวั ฉีดบนดานท้ังสองของฝาสูบหมุนโดยสลกั เซาะรองรอบ

ตาํ่ (Spline) ขบกับเฟอ งตั้งจงั หวะของเครื่องพัดอากาศซ่งึ แยกสว นประกอบดงั น้ี

ฝาปด และชดุ คันสง อาการ

1. คันหยุด Stop Lever

2. แบร่ิง Bearing

3. ฝาปด Cover

4. ชุดเพลาแตง ความเร็ว (ควบคมุ นาํ้ มนั เชือ้ เพลงิ ) Throttle Shaft Assy

5. แกสเก็ต Gasket

ชดุ เรอื นบงั คบั กอฟเวอรเนอร

1. โครงเคร่ืองบังคับกอฟเวอรเนอร Housing

2. หมุดยดึ สง อาการควบคุม Control Link Lever Pin

3. แบร่งิ ลกู ปน และฝาปด Bearing and Plug

4. แกสเก็ต Gasket

5. งา มสงอาการ Operating Fork

6. เพลาสง อาการ Operating Shaft

7. สปริงรบั กาํ ลังปะทะสลกั เกลียว และนัตหา ม Buffer Spring And Nut

8.แบริง่ , สลกั เกลยี ว, เกลยี วหา ม และแหวนรอง

9. แบริ่ง และแหวนรอง

10 คนั สง อาการควบคุมและหมุดยึด Control Link Lever

11 แบริง่ แหวนรองและสลกั ยดึ

12 นตั สลกั เกลียวแตง ระยะ Gap Adjusting Screw&Nut

13 เพลาคนั สงอาการ กา นสงอาการ Operating Shaft Lever

14 คนั สงอาการสง ตอ แหวนรองและหมุดบงั คับสปรงิ Differential Lever

ชุดเรอื นครอบสปริงบงั คบั ความเรว็

1. นตั สลกั 2 ตัว 2. สลกั เกลยี วปลอ ยและนัตหา ม Idle Screw And Nut

3. ตวั เรือน Housing 4. เพลา, ลิม่ ขดั , วงแหวนกั้นนํา้ มัน, ชดุ แบร่งิ

5. สลกั เกลียวสาํ หรับอุด Plug 6. คันสง อาการและเกลยี วบงั คบั (แตง) Lever&Setscrew

7. แหวนรองรับสปรงิ Spring Retainer8. แหวนรองมี 9 อนั Shims

9 แหวนหามมี 2 อัน Stop 10 สปริง Spring

11 ปลอกเล่อื น Plunger 12 ปลอกนํา Plunger Guide

กองฝก การชา งกล กองการฝก กองเรือยุทธการ

36

13 แกสเกต็ Gasket

ชุดตมุ น้าํ หนักกอฟเวอรเ นอร และชุดเพลา

1. เพลาตุมน้าํ หนกั Weight Shaft 2. Riser And Bearing 3. ตุม นา้ํ หนัก Weight

4. ชดุ ยึดตมุ นาํ้ หนกั และหมดุ หา ม 5. ฝารับ (Carrier) 6. แบรง่ิ

การทาํ งาน (Operation)

1. กอฟเวอรเนอรแบบนแ้ี บง การบังคบั ดว ยมอื เปน 2 ชนดิ คือ คนั หยุด Stop Lever และคันบงั คบั

ความเร็ว Speed Control Lever ในตาํ แหนง Normal คนั หยุดเคร่ืองจะบังคบั ใหหัวฉีดอยใู นตาํ แหนง

Run หรอื Full Fuel เม่ือเริม่ เดนิ เครื่องยนต กอฟเวอรเนอรจ ะเลือ่ นคนั บังคบั หวั ฉีดไปอยทู ตี่ าํ แหนง Idle

Speed แลว ความเร็วของเคร่ืองยนตจ ะถกู บงั คับดว ยคันบงั คบั ความเรว็ Speed Control Lever

2. เม่อื แรงเหวย่ี งของตุม น้ําหนักของกอฟเวอรเนอรท ห่ี มนุ อยเู ปลยี่ นไป การเคลือ่ นตัวของตมุ

เหว่ยี งจะสงอาการไปยงั Riser ทาํ ใหเพลาสงอาการ Shaft Lever ทาํ งาน ปลายดา นหน่งึ ของคานนจ้ี ะดัน

ลูกสบู ไปกดกบั สปรงิ ลกู สบู เปลยี่ นแปลงความเร็ว (Variable Speed Spring Plunger) เนื่องจากแรงหนี

ศนู ยก ลางของตุมเหว่ยี ง ชนะแรงสปริง จนกระท่งั แรงทง้ั สองเทา กนั

3. แรงเหว่ียงของตุม เหวีย่ ง จะอยตู รงกันขา มกับแรงสปริงเปลย่ี นแปลงความเรว็ (Variable

Speed Spring) การเปล่ยี นภาระหรอื การเคล่อื นตัวของคันบงั คับความเรว็ ชวั่ ขณะ ทําใหเกดิ กาํ ลงั ทไ่ี มสม

ดลุ ยกันระหวางการหมนุ ของตมุ นาํ้ หนักและแรงของสปริง เมอ่ื กําลงั อยใู นภาวะสมดลุ ยกันอกี ความเรว็

ของเครอื่ งยนตจะไดระดบั กบั ความเรว็ ท่ีตั้งใหมหรอื ภาระท่ไี ดร ับใหม

4. กา นบังคับนาํ้ มันเชอ้ื เพลงิ (Fuel Rod) ตอ ระหวา งคานบังคบั การทาํ งาน (Control Link

Opration Lever) และคานบงั คับนา้ํ มันประจาํ หวั ฉีด (Injector Control Tube Lever) เดือยต้ัง

(Differentail Lever) จะอยใู นชอ ง (Contron Fork) จากการนี้จะทําใหกอฟเวอรเ นอรสามารถเปลี่ยน

แปลงจํานวนน้ํามันจาํ กัดใหเ ขาไปในหัวฉดี ไดท ี่คันบังคบั น้ํามนั เขา หัวฉีด (Injector Control Spring)

5. ตําแหนงเดนิ เบา Idle Speed ของเคร่ืองยนตขึ้นอยูกับความตอ งการของแรงเหว่ยี งที่จะใหสม

ดุลยกบั แรงดงึ ของสปริงเปล่ยี นแปลงความเร็ว (Variable Speed Spring)

6. ในการหยุดเครื่อง คันบังคับความเรว็ เลื่อนไปท่ีตาํ แหนงความเร็วเดนิ ชา (Idle Speed) และ

คันหยดุ เครือ่ งเล่ือนไปที่ตาํ แหนง No Fuel และยึดไวใ นตําแหนงนี้จนกวา เครื่องจะดบั

การปรบั แตงกอฟเวอรเ นอร (Governor Adjustment)

1. การปรับแตง กอฟเวอรเนอร (Governor Cap) กระทาํ ในขณะหยดุ เคร่ืองโดยปลดกานตอ

ตางๆ ทีต่ อกับคันบงั คับกอฟเวอรเนอร (เปดฝาครอบสง อาการ) ต้ังคันบังคบั ความเร็วไวท คี่ วามเร็วสงู สุด

สอด Feeler Gage 0.006 ระหวา ง Spring Plunger และ Plunger Guide ปรับแตง เขา หรอื ออกดว ยการ

คลายนัตลอ็ ค แลวหมนุ เกลยี วปรบั แตง เขาหรือออก จนกระท่ังสามารถเลื่อน Feeler Gage เขา ออกได

เบาๆจับยดึ เกลยี วปรับแตง (Adjusting Screw) ไวและกวด Lock Nut ตรวจ Clearance ใหไดตาม

เกณฑถ าจําเปนกใ็ หปรับแตง ใหม

2. การปรับแตง ทีค่ วามเรว็ เดินเบา (Idle Speed Governor) ตั้งคันหยดุ เครอื่ ง (Stop Lever) ไว

ในตาํ แหนง เคร่ืองยนตเ ดนิ และตง้ั คันบังคับความเร็ว (Speed Control Lever) ในตาํ แหนง Idle Speed

กองฝก การชางกล กองการฝกกองเรอื ยทุ ธการ

37
ในขณะที่เครอ่ื งยนตเ ดิน คลายนัตล็อคและหมนุ หมดุ แตง ความเรว็ เดนิ เบา (Idle Speed Adjusting
Screw) เขาหรือออก จนกระทงั่ ความเร็วเดนิ เบาของเครือ่ งวัดได 550 รอบ/ นาที จบั ยึดเกลยี วแตง
ความเรว็ เดินเบา (Idle Speed Adjusting Screw) ไว แลว กวดนตั ล็อค

การปรบั แตง (Buffer Screw)
1. ขณะเครื่องยนตห มุนดว ยความเรว็ เดินเบา (Idle Speed) หมนุ Buffer Screw ใหสมั ผัสกบั

Differentail Lever เบาทส่ี ุดเทา ทีจ่ ะทําได และยังใหเครอื่ งยนตหมุนอยู
การหลอ ลื่นของกอฟเวอรเนอร กอฟเวอรเ นอรไ ดร บั การหลอ ลืน่ โดยฝอยกําลังดนั นาํ้ มนั หลอลนื่

จากฝาปดทายเคร่ืองพัดอากาศซึ่งจะจายนํา้ มันหลอล่ืนไปทสี่ ว นตา งๆของกอฟเวอรเ นอรน ้าํ มันทก่ี ระจาย
ออกจากรอ งเฟอ งจะไปหลอลนื่ ชุดน้าํ หนกั ถว งและเพลา นํา้ มันสว นที่เกนิ จะไหลกลบั ไปยังรอ งเฟอ ง และ
กลับไปลงหองแครงก

กองฝกการชา งกล กองการฝก กองเรอื ยุทธการ

38

ช่อื เร่อื ง เครอ่ื งยนต DETROIT DIESEL SERIES 71
ความมงุ หมาย เพอื่ ใหนกั เรยี นไดร ูถ ึง ระบบน้ํามันหลอลน่ื (Lube Oil System)
หลักฐาน 1. DETROIT DIESEL V-71 SERVICE MANUAL
2. DETROIT DIESEL OPERATORS MANUAL
เน้ือเร่อื ง 3. SERVICE MANUAL DETROIT DIESEL ENGINE IN-LINE 71

! ระบบนํ้ามันหลอ ลื่น (Lube Oil System)
สว นประกอบท่ีสําคัญ

♦ อางนํา้ มันหลอล่นื (Oil Pan)
♦ เครือ่ งสบู นาํ้ มันหลอลน่ื (Oil Pump)
♦ ลนิ้ ปรบั แตง กาํ ลงั ดัน (Lube Oil Pressure Regulator)
♦ หมอกรองนาํ้ มันหลอ ล่ืน (Lube Oil Filter)
♦ หมอ ระบายความรอ นน้าํ มันหลอ ลื่น (Lube Oil Cooler)
♦ เหลก็ วดั ระดบั นํา้ มนั หลอลื่นในอางน้ํามนั หลอล่นื (Lube Oil Dipstick)

กองฝก การชางกล กองการฝก กองเรอื ยุทธการ

39

1 อางนํา้ มนั หลอลื่น (Oil Pan)
1.1 ทําดวยเหล็กหลอผสม
1.2 เปน ท่เี กบ็ สะสมนํา้ มันหลอลื่นทีไ่ หลในระบบ
1.3 ประกอบกบั ตวั เรอื นสบู ดานใตด ว ยสลัก มแี ปก กง้ิ รองรบั
1.4 เปน ระบบแบบเปยก ทาํ หนา ที่เกบ็ น้ํามนั หลอ ลื่น ใชน ํ้ามนั หลอ ลื่น และเปนทีร่ วมของ
น้ํามนั หลอ ลืน่ หลังจากที่ไดไปทําการหลอลืน่ สว นตา งๆ ของเคร่ืองยนต

2 พดั นํ้ามนั หลอลืน่ (Oil Pump)

1.Bolt--Gear to Shaft 6.Gasket--cover 11.Spacer 16.Gear--Driven
2.Washer--Special 7.Body--Oil Pump
3.Bolt--Cover 8.Shaft--Drive 12.Gear--Scavenging Drive 17.Wookruff Key
4.Lock Washer 9.Woodruff Keys
5.Cover--Oil Pump 10.Gear--Oil Pump Drive 13.Body--Scavenging Pump 18.Saft--Driven

14.Bolt 19.Shims

15.Gear--Scavenging Driven 20.Gear--Oil Pump Driven

1.1 เปนสูบเพิม่ กาํ ลังชนดิ ฟน เฟอ ง

1.2 ในเคร่ือง 6,8,12 V ติดตัง้ อยูบนฝาครอบเมนแบร่ิง ดา นหัวเครอื่ ง สวนในเครื่อง 16V

ติดต้ังอยูบนฝาครอบเมนแบร่งิ ดานทา ยเครอ่ื ง ขับโดยเฟองทต่ี ิดตง้ั อยทู ี่เพลาขอ เสอื

1.3 ทาํ หนา ทส่ี ูบน้ํามนั หลอ ลนื่ จากอา งนํ้ามันหลอผานตะแกรงกรองตรงทางดูด ผา นตาม

ทอทางมาเขา ทางเขาของเคร่ืองสูบนาํ้ มันหลอลื่น จากเครื่งสูบ สูบสงนา้ํ มนั หลอ ลนื่ มา

ทางสง ไปเขาหมอ กรองน้าํ มันหลอลื่นทีห่ มอกรองนนั้ มีลิ้นบายพาส (By Pass Valve)

ต้งั ไวก าํ ลงั ดนั ตางกัน 18-21 ปอนด/ตร.น้วิ ออกจากหมอกรองนํา้ มันหลอ ลืน่ จะไปเขา

ดับความรอนท่หี มอระบายความรอ นน้าํ มันหลอ ลื่น (นํา้ มันหลอเดนิ ภายในแผน นา้ํ จดื

เดนิ รอบๆแผน) ทห่ี มอระบายความรอ นมีลิ้นบายพาสต้งั ไวกําลังดันตางกนั 30 ปอนด/

ตร.นว้ิ ออกจากหมอ ระบายความรอ นนํา้ มันหลอจะเดินผา นล้ินปรับแตง กําลงั ดันใหค ง

ที่ Pressure Regulator Valve แลวไปตามทอ ทางในตวั เรือนสบู ทางหนึง่ สง ไปหลอ

ลนื่ แบริ่งใหญ เขา ทางรูท่เี จาะไวท่แี บร่ิงฝาบน เขา ไปในเพลาขอเสอื ทะลเุ ขาไปตามรทู ่ี

เจาะไวท ีก่ า นตอ ขน้ึ ไปหลอ ล่ืนสลักลูกสบู แบร่ิงสลกั ลูกสูบ แลว ผานสเปรยท่ีหัวกา นตอ

ฉดี นา้ํ มนั หลอ ลืน่ เขา ไประบายความรอ นยอดลกู สูบดานใน ตกลงมายังชายลูกสูบที่

เจาะไว สวนหนึง่ ของน้าํ มนั หลอลืน่ จะถูกแหวนกวาดนํา้ มนั หลอ กวาดขนึ้ ไปหลอ ลนื่

กองฝก การชา งกล กองการฝกกองเรือยทุ ธการ

40
ระหวา งลกู สบู กบั กระบอกสูบ แหวนกวาดนา้ํ มันตัวบนก็จะกวาดน้ํามันลงมาเพอ่ื ปอง
กนั มใิ หน ํา้ มนั หลอ ล่ืนขึน้ ไปยงั บนยอดลกู สบู น้ํามนั หลอ ลืน่ ทแี่ หวนกวาดลงมานกี้ จ็ ะตก
ลงไปยงั อา งนํ้ามนั หลอ ลน่ื อกี สว นหนงึ่ ของนา้ํ มันหลอลืน่ จะสงไปเขาหลอล่นื เพลาลกู
เบ้ียว จะไปหลอ ล่ืนเฟอ งขับเครื่องพัดอากาศและแยกไปตามทอ ทางไปหลอ ลืน่ หมูเฟอ ง
ชวย และหลอ ลืน่ ฝาสบู ดานซายของเครอ่ื งยนต หลอลน่ื เพลากระเดือ่ งกดล้ินและกดหวั
ฉดี แลว ตกลงมาหลอ ลน่ื กา นสงล้ินตัวตามลูกเบยี้ ว นํา้ มนั ที่ออกมาจากฝาสบู ดานซาย
จะตกลงไปในหวั หมูเ ฟอ งทายเคร่ือง แลว กลบั ลงมายังอา งนา้ํ มนั หลอ ลนื่ วนเวียนกนั
เรือ่ ยๆไป ฝาสบู ดานขวามือไดรับภาระหลอ ล่นื จากทอทางทีเ่ จาะไวใ นตวั เรอื นสูบทาง
ทอดานหลังไปหลอล่ืนแบริ่งเพลาลูกเบี้ยวดานขวาและข้ึนไปหลอ ลนื่ เพลากระเดื่องกด
ล้นิ แกสเสียและหัวฉดี เชน เดียวกบั ฝาสูบดานซายแลวตกลงไปยังหองเฟองดานทาย
เครื่องสําหรับเครื่องควบคุมความเร็วนั้นไดรับการหลอลื่นดวยกําลังดันของนํ้ามันหลอ
ในระบบ ผา นชองทางที่ไดเจาะไวใ นตวั เรือนสบู เชน กนั
2 ลิน้ ปรบั แตง กําลังดนั (Lube Oil Pressure Regulator)
2.1 ตดิ ตั้งทป่ี ลายสดุ ของชองทางตง้ั ของนา้ํ มันที่หนา กระบอกสบู เพอ่ื รักษากาํ ลงั ดนั นา้ํ มนั
หลอในระบบใหค งทีอ่ ยเู สมอ ในเครื่อง 16 V จะมลี นิ้ ปรบั แตง กําลังดนั น้าํ มนั 2 ตัวตดิ
อยทู ่ีปลายชองทางตัง้ ของน้าํ มันหลอ เมอื่ กําลงั ดันนาํ้ มนั หลอ ล่ืนมากกวา 50 ปอนด/
ตร.นวิ้ ล้ินจะเปด สงนา้ํ มนั สวนท่เี กนิ ลงอา งนํา้ มนั ทนั ที กําลังดนั ตาํ่ สุดในขณะ ความเรว็
ใชก ารไมควรตา่ํ กวา 30 ปอนด/ ตร.น้วิ
3 หมอกรองนํ้ามันหลอ ล่ืน (Lube Oil Filter)
3.1 เปน แบบ Full Flow Type บางเครอ่ื งจะมหี มอกรอง 2 ใบ ซ่ึงแตละใบอยใู นเปลอื ก-ตงั้
อยูบนฐานรว มกนั สามารถเปลย่ี นใชท ีละใบก็ได
3.2 ไสกรองเปน แบบที่สามารถถอดออกเปลี่ยนได ตอ งเปลีย่ นไสกรองทุกครงั้ ที่ทาํ การ
เปลยี่ นนา้ํ มนั หลอ หรอื ทุกๆ 100 ชวั่ โมงใชก าร
3.3 มีลิ้น By Pass ติดตัง้ ไวท ่ีเรอื นหมอ กรอง ต้งั ไวใหเ ปด เมอื่ กําลงั ดนั ตางกนั 18-21
ปอนด/ ตร.น้ิว

4 หมอ ระบายความรอนนาํ้ มนั หลอ ลนื่ (Oil Cooler)

กองฝกการชางกล กองการฝกกองเรอื ยทุ ธการ

41
4.1 ติดอยูทางดา นหัวเคร่อื งดานลา ง เปน แบบแผน
4.2 ทาํ หนา ทีร่ ะบายความรอนนาํ้ มันหลอล่ืน โดยใชนํ้าจดื จากระบบระบายน้าํ จืดระบาย

ความรอนเครอื่ งยนต น้าํ จืดจะเดนิ รอบๆแผน ภายในหมอระบายความรอ นสวนนํา้ มัน
หลอจะเดนิ ภายในแผน ควบคุมอุณหภูมใิ หอยูระหวาง 180°-210°ฟ. มีลิ้น By Pass
ตดิ ต้ังอยู จะเปดเมื่อมีกาํ ลงั ดนั ตา งกนั 30 ปอนด/ ตร.น้วิ เปดใหน้าํ มนั หลอไปเขา ทอ
ทางในระบบท่เี รือนสบู

5 เหล็กวัดนาํ้ มนั หลอ ในอา งนา้ํ มนั หลอ ลืน่
5.1 เปนเกจวัดระดบั แบบบันทดั เหลก็ ออนตวั สวมอยูใ นปลอกโลหะ บนบันทัดเหลก็ วัด
ระดับมีเครอ่ื งหมาย High และ Low

กองฝกการชางกล กองการฝก กองเรือยทุ ธการ

42

ช่ือเร่อื ง เคร่ืองยนต DETROIT DIESEL SERIES 71

ความมงุ หมาย เพ่อื ใหน กั เรยี นไดร ถู ึง ระบบระบายความรอน (Cooling System)

หลักฐาน 1. DETROIT DIESEL V-71 SERVICE MANUAL

2. DETROIT DIESEL OPERATORS MANUAL

3. SERVICE MANUAL DETROIT DIESEL ENGINE IN-LINE 71

เนอ้ื เรอ่ื ง

ระบบระบายความรอน (Cooling System)

• แบงออกเปน 2 ระบบดว ยกนั คอื

1. ระบบน้ําจืดระบายความรอนเครอ่ื งยนต

2. ระบบน้ําทะเล

1 ระบบนาํ้ จืดระบายความรอ น (Fresh Water Cooler System)

1.1 หมอ พกั นาํ้ จดื ติดตงั้ อยูดา นบนสดุ ของหัวเคร่อื ง เปนท่ีเกบ็ น้ําจดื และใหนา้ํ จืดในระบบ
ขยายตวั เมอื่ ไดรับความรอนเพิม่ ขึน้ จากระบบระบายความรอ นของเครื่องยนต เปนหมอ
รปู สีเ่ หลีย่ ม ดานบนมชี องสําหรับเตมิ นา้ํ จืด และมฝี าปดทีฝ่ าปดมีสปรงิ ควบคมุ กาํ ลงั
ดนั ทีเ่ กดิ ขึน้ ในระบบ กาํ ลงั ดันสปรงิ ที่ฝาปดตั้งไว 7 ปอนด/ ตร.นิ้ว ถากาํ ลงั ดันเกิน 7
ปอนด/ ตร.นิว้ สปริงจะยุบตัวปลอยใหก าํ ลังดันสว นท่ีเกนิ ออกไปทางทอระบายท่ีตรง
ปากถงั ออกไปภายนอก เติมนา้ํ ท่ีสะอาดลงไปในหมอพักนํ้าจืดเทา น้นั

1.2 หมอ ระบายความรอ นน้าํ จืด ติดตง้ั อยใู นหมอพกั นา้ํ จืดดานหัวเคร่ืองทําหนา ทเี่ ปนทีถ่ าย
เทความรอนนาํ้ จดื ใหกบั นํ้าทะเลนํา้ จดื เดินรอบๆ หมหู ลอด นา้ํ ทะเลเดนิ ในหลอด

กองฝกการชา งกล กองการฝกกองเรือยุทธการ

43

1.3 พดั นํ้าจืด (Fresh Water Pump) ติดต้งั อยทู ่ีเรือนสูบดา นหนา ทางขวามอื ของเคร่ือง
(มองจากทา ยเครอื่ ง) ใกลๆกบั หมอ ระบายความรอนนํ้ามนั หลอ ลน่ื พดั นาํ้ จืดเปนแบบ
หอยโขง (Centrifugal Pump) สงนํ้าจืดใหไ หลในระบบระบายความรอนผานสวน
ประกอบตา งๆ ดังนี้
• หมอระบายความรอนน้าํ มันหลอ (Oil Cooler)
• เรอื นสูบ (Cylinder Block)
• ฝาสบู (Cylinder Head)
• ทอรวมแกสเสีย (Exhaust Manifold)
• เรือนเทอรโ มสตัท (Themostat Housing)
• หมอ ระบายความรอนนา้ํ จดื (Heat Exchanger)

1.4 หมอ ระบายความรอนนา้ํ มันหลอ ล่ืน(Lube Oil Cooler)เปนหมอ ระบายความรอ นแบบ
แผน (Plate Type) ทําหนา ทร่ี ะบายความรอนใหกับน้าํ มันหลอล่ืนทห่ี ลอลื่นเครอ่ื งยนต

1.5 เรอื นสบู เจาะเปนชองทางเดินของน้ําจดื ภายในตัวเรือนสบู น้าํ จดื จะเขา ไประบายความ
รอ นรอบๆปลอกสบู

1.6 ปลอกสบู เปน แบบแหง น้ําหลอ ระบายความรอ นจะไมส ัมผสั กบั ปลอกสูบโดยตรง
1.7 ฝาสูบ นา้ํ จืดท่ีผา นขนึ้ มาจากเรือนสูบจะมาเดนิ รอบๆลน้ิ แกสเสีย-หัวฉีด และออกจาก

ฝาสูบ
1.8 ทอ รวมแกส เสีย นา้ํ จดื จะเดนิ รอบๆทอรวมแกส เสยี แลวออกไปเขา เรอื นเทอรโ มสตทั
1.9 เรอื นเทอรโมสตัท เปน แบบ Autcmatic Blocking Type เปน ตัวควบคมุ อุณหภมู ิของ

เครื่องขณะใชการ ทาํ ใหเครือ่ งยนต Warm-Up ไดเ ร็วขน้ึ ประกอบอยูท างดานหวั เคร่อื ง
ตอ จากทอน้ําจืดทีอ่ อกมาจากทอรวมแกสเสยี มลี ิ้นบายพาส (By-Pass System) ถาน้ํา
จดื ยังไมรอน นา้ํ จืดจะไหลผา นทอบายพาสไปเขาเครอ่ื งสูบ โดยไมผ า นหมอระบาย
ความรอ น ลนิ้ เทอรโ มสตัทจะเร่มิ ทาํ งานทีอ่ ุณหภมู ิ 174°-176°ฟ. นาํ้ จดื ยังคงไหลลง
ไปทางทอบายพาสได และอีกสว นหนึง่ จะไหลไปเขา หมอระบายความรอ นน้าํ จดื ลิน้
เทอรโ มสตทั จะเปด เต็มทเี่ มื่ออณุ หภมู ื 180°-185°ฟ. ชองบายพาสก็จะถูกปด หมด นา้ํ
จืดจะไหลไปเขาหมอระบายความรอนน้ําจืดทั้งหมดตัวลิ้นเทอรโมสตัทนั้นทํางานดวย
อุณหภูมิของน้าํ จืด จึงตอ งตรวจสอบอยูเสมอ การตรวจสอบลิน้ เทอรโมสตัททาํ ไดด ังนี้
• หาอา งโลหะใสนํ้าและเพิ่มความรอ นชาๆใหกบั น้าํ ในอา ง
• ใสล้นิ เทอรโมสตทั ลงไปในน้ําน้ัน
• วัดความรอนของนํา้ ในอา งดวยเทอรโมมิเตอร
• ตรวจสอบอุณหภูมิเมอื่ ลน้ิ เทอรโมสตัทเรม่ิ เปด และเมอื่ เปดเต็มท่ี
• เปลย่ี นใชข องใหมเม่อื มกี ารขดั ของ
ทอ ทางของน้าํ จดื ในระบบ

กองฝก การชา งกล กองการฝกกองเรือยุทธการ

44

• นํ้าจืดในระบบจะไหลดว ยกําลงั ดนั ของพัดน้ําจืด พัดนา้ํ จืดจะสง นา้ํ จดื เขาไประบายความ
รอนนาํ้ มันหลอท่ีหมอ ระบายความรอนนาํ้ มนั หลอ โดยเดนิ อยรู อบๆแผนในหมอระบาย
ความรอ นนํา้ มนั หลอ ออกจากหมอ ระบายความรอน นํา้ มนั หลอ เขา ระบายความรอ นเรือน
สบู ทางสว นลางของเรือนสบู เขาไประบายความรอ นรอบๆปลอกสูบ แลวออกไประบาย
ความรอนที่ฝาสบู โดยระบายความรอนรอบๆลนิ้ แกสเสยี -หวั ฉีด แลวไประบายความรอ น
รอบๆทอ รวมแกสเสีย จากทอ รวม แกสเสยี จะเขาไปยงั เรอื นลิน้ เทอรโมสตทั ถานาํ้ ยังไมรอ น
พอ ลิ้นเทอรโมสตทั จะยงั ไมท าํ งาน น้าํ จืดกจ็ ะไหลผานชอ งบายพาสไปเขาพดั นํ้าจืด สง ไป
ระบายความรอ นสวนตา งๆของเคร่อื งยนตใหม เม่อื อุณหภูมินาํ้ จดื เพมิ่ ขน้ึ จนถงึ 174°-176°
ฟ. ล้ินเทอรโมสตัทกจ็ ะเริม่ ทาํ งานเปดใหน้าํ ไหลผานเขา ไปในหมอระบายความรอ น เพ่ือ
ระบายความรอนน้ําจดื นน้ั ใหก ับน้าํ ทะเลที่เขามาระบายความรอ นใหกับนาํ้ จดื โดยน้าํ ทะเล
จะเดนิ ในหลอด นา้ํ จดื เดนิ รอบๆหลอด

2 ระบบนํ้าทะเล (Sea Water System)
2.1 ระบบนํ้าทะเลจะประกอบไปดว ย
2.1.1 ตะแกรงกรองทางดูดนาํ้ ทะเล ปดทอ ทางนํ้าทะเลเขาเครื่องสูบ เพอื่ ปองกันเศษ
ผงกอนท่ีจะเขาเครอ่ื งสบู
2.1.2 ล้นิ นํ้าทะเลตดิ ตัง้ อยทู ที่ อ ทางดดู น้ําทะเล เพ่ือปองกนั น้าํ ทะเลร่วั เขา ภายในเรอื
2.1.3 หมอกรองนา้ํ ทะเล ใชก รองแบบตะแกรงกรองโลหะกรองเศษผง ทผ่ี านตะแกรง
กรองทางดดู เขามาได ถอดตวั ไสกรองทาํ ความสะอาดเพื่อปองกันการอุดตัน
ของไสก รอง เปล่ียนแปกกง้ิ ใหมถาชาํ รุด เพอื่ ปองกันเคร่อื งสูบดูดอากาศเขาไป
ในระบบ
2.1.4 พดั น้าํ ทะเล เปนสบู เพม่ิ กําลัง ตัวพัดนํ้าเปนเฟองยางเด่ียว หมนุ อยูภ ายในตัว
เรอื นเคร่ืองสูบ ขับดว ยเฟอ งเพลาลูกเบย้ี วดานซา ย ทําหนาท่ีสบู น้าํ ทะเลไป
ระบายความรอนนํ้าจืดทีห่ มอ ระบายความรอนนํ้าจืด ทอรวมแกสเสยี และ
แยกผานไปเขา ดับความรอนน้าํ มนั เกียร และออกนอกเรือไป อีกสว นหนึ่งจะ
แยกไปหลอกระบอกดฟี ุต
2.1.5 หมอ ระบายความรอ นน้าํ จืด เปน ทีท่ ่ีนํ้าจดื หลอ ระบายความรอ นใหก ับเครือ่ ง
ยนต ถา ยเทความรอ นแฝงใหกับนํา้ ทะเล จะมีสังกะสกี ันกรอนประกอบไว เพอื่
ปองกันการเกิดปฏิกริยาทางไฟฟาในระบบนํ้าทะเลติดอยูที่หมอระบายความ
รอน และทีต่ ัวพดั นาํ้ ทะเล เปนตะก่ัวบริสุทธ์ิ ตองตรวจสอบดู ถา หากสกึ กรอน
เกินกวา 50% ตอ งเปล่ยี นใหม
2.1.6 หมอ ระบายความรอนน้ํามันเชอื้ เพลิงกลบั ถัง ติดต้ังอยูทางสงของสบู นา้ํ ทะเล
ระบายความรอ นนา้ํ มนั เช้อื เพลิงกอ นกลบั ไปเขา ถังนา้ํ มนั เชอื้ เพลิง น้าํ ทะเล

กองฝก การชา งกล กองการฝก กองเรอื ยทุ ธการ

45
เดนิ ผา นรอบๆ นอก ภายในหมอระบายความรอ นรปู กระบอก นาํ้ มนั เชื้อเพลงิ
กลับถังเดนิ ในหลอด
2.1.7 หมอ ระงับเสียงแกสเสีย ทําหนา ทด่ี ับประกายไฟ ลดเสยี งดังของแกส เสีย และ
ระบายความรอนแกสเสยี
2.1.8 หมอ ดับความรอนนํ้ามนั เกยี ร น้ําทะเลจะเดนิ ภายนอกหลอดนา้ํ มันเกยี รเ ดนิ
ภายในหลอด ทําหนา ที่ระบายความรอ นใหก ับนา้ํ มันเกียร
2.1.9 กระบอกดีฟตุ ทางเดนิ ของนํ้าทะเลเรมิ่ ตนจากตะแกรงกรองทางดูด ผานลนิ้ น้าํ
ทะเล หมอกรองนํา้ ทะเลเขา ไปในสูบนํ้าทะเล สง ผา นเขาหมอ ระบายความรอน
นาํ้ มันเชื้อเพลงิ หมอ ระบายความรอนนา้ํ จดื หมอ ระงับเสยี งแยกไปเขา หมอ
ดับความรอ นนาํ้ มนั เกียร และกระบอกดฟี ตุ แลวออกนอกเรอื ไป

กองฝกการชางกล กองการฝก กองเรอื ยทุ ธการ

46

ชื่อเรื่อง เคร่อื งยนต DETROIT DIESEL SERIES 71
ความมุง หมาย เพื่อใหน ักเรยี นไดร ถู ึง ระบบอากาศ (Air Intake System)
หลักฐาน 1. DETROIT DIESEL V-71 SERVICE MANUAL

2. DETROIT DIESEL OPERATORS MANUAL
3. SERVICE MANUAL DETROIT DIESEL ENGINE IN-LINE 71
เนอื้ เร่อื ง
ระบบอากาศ (Air Intake System) ระบบอากาศนน้ั แบง ไดเ ปน 2 ระบบคือ

• ระบบอากาศดี

• ระบบแกสเสีย
1 ระบบอากาศดเี ขา เครือ่ ง ประกอบไปดวย

1.1 หมอ ระงับเสยี งอากาศดี ประกอบอยทู ี่ตรงทางเขา ของอากาศ กอนทอี่ ากาศจะเขา
เครอ่ื งพัดอากาศ ประกอบรวมอยกู บั หมอ กรองอากาศ เพอ่ื ลดเสยี งอากาศดีจากการ
ดูดของเครอ่ื งพัดอากาศ

1.2 หมอกรองอากาศ อยสู ว นบนของเรือนเคร่ืองพัดอากาศ มที ้งั แบบเปยกและแบบแหง
มที ่ีติดต้ังลิน้ ปดอากาศ Air Shutdown Valve ใชสาํ หรับดับเครอื่ งยนตเ มอื่ มีเหตฉุ กุ
เฉินโดยปด อากาศไมใหเ ขา เครื่อง ตอ งตรวจสอบเสมอ กอนทาํ การติดเครือ่ งยนต

1.3 ตะแกรงกรอง Blower Screen ตดิ ตง้ั อยรู ะหวา งเรือนเคร่อื งพดั อากาศกบั หมอ กรอง
อากาศ เพือ่ ปอ งกันเศษผงและเศษโลหะท่ีปนมากบั อากาศ กอ นเขา เคร่ืองพัดอากาศ

1.4 พัดอากาศ Blower พดั อากาศขบั ดวยเพลาลกู เบ้ยี วขวาของเคร่ืองยนต เฟองขับ
ประกอบแนนกบั เพลามีสลกั นํา Key ประกอบอยู ชุดเพลาขับติดตั้งอยูบนเรอื นปลุ เลย
ดา นทายเครื่อง สง กาํ ลงั ไปยังเฟองต้ังระยะทเ่ี รือนเคร่อื งพดั อากาศ โรเตอรพ ัดอากาศ
มี 2 ตัว โรเตอรแ ตละตัวจะมพี ูพดั อากาศอยู 3 พู เปน แบบพูบดิ เฉยี ง พขู องโรเตอรท้ัง
สองจะไมส มั ผสั กนั แตระยะเบยี ดนอ ยมาก ระยะเบียดนัน้ ขนึ้ อยูกบั เฟองต้ังระยะ เฟอง
ต้งั ระยะนน้ั จะขบกันโดยตรง ตัวหน่ึงเปน ตวั ขบั อกี ตวั หนง่ึ เปน ตวั ตาม

1.5 เรือนเครอ่ื งพดั อากาศ Blower Housing ทําดว ยอลูมเิ นียมภายในบรรจุโรเตอรพดั
อากาศไว 2 ตวั ระยะหา งของพูโรเตอรทงั้ สอง ทางดดู .016 น้วิ ทางสง .004 นิว้
ระหวา งพทู ้ังสองหางกัน .012 นวิ้

1.6 พพู ดั อากาศ Rotors ทําดว ยอลมู เิ นยี มภายในกลอง ตวั พูพัดอากาศประกอบอยบู น
เพลาเหล็ก พทู ้ังสองไมส ัมผัสกนั และไมต องการการหลอ ลน่ื พทู งั้ สองจะไมส ึกหรอ ถา
อากาศที่ทําการสูบนัน้ สะอาดและบริสุทธ์ิไมม ีฝุนผงหรือเศษโลหะ

1.7 เฟองต้งั ระยะ Timing Gears มี 2 ตวั รับกาํ ลังจากชุดเพลาขบั สงไปหมนุ เครือ่ งพัด
อากาศมีแผน รองหลังเฟอ ง เพือ่ แตง ระยะเบยี ดและอาการรุนของพดั อากาศได

1.8 วงยางก้ันนํา้ มนั Oil Seals ทําหนาท่ี 2 ประการคือ ปองกันอากาศออกจากเคร่อื งพัด
อากาศ และปอ งกนั นา้ํ มนั หลอล่ืนเขาไปในพเู ครอ่ื งพัดอากาศ ประกอบไวในแผนปด

กองฝก การชางกล กองการฝกกองเรือยทุ ธการ

47

ตัวหมุนของเครือ่ งพดั อากาศแตล ะขา ง ถา นํ้ามันหลอลืน่ รว่ั เขา ไปในเคร่อื งพดั อากาศ
จะปนเขา ไปกบั อากาศ เมอ่ื เคร่อื งติดจะมคี วันสีขาว เปลย่ี นใชของใหมเ ม่อื มีการปรบั
แตงหรือซอม
1.9 แผนปด หัว-ทาย End Plates มี 2 แผน ปดดา นหวั และดา นทา ยของเคร่อื งพัดอากาศ
ทําดวยอลูมิเนียมเปนตัวปดก้ันดานขางของเรือนเครื่องพัดอากาศท้ังสองดานเปนท่ี
รองรับแบรงิ่ เพ่อื ใหเพลาของเครอ่ื งพัดอากาศ ประกอบอยใู นแบรง่ิ ระยะเบยี ดของแผน
ปด หัว .007 นวิ้ ระยะเบียดของแผนปดทา ย .012 นิว้
1.10 หองอากาศดี ทเี่ รือนสูบจะมหี องอากาศดเี พือ่ เปน ทีร่ วมอากาศดี ทพี่ ดั อากาศดสี ูบเขา
ไปรวมไวก อนท่ีจะเขา ไปในกระบอกสูบ
1.11 ชอ งอากาศดี ท่ปี ลอกสบู จะมชี อ งทํามุมเอียงในทางตง้ั 25° เพือ่ ตองการใหอากาศดี
เขาในหอั งเผาไหมนั้นเกดิ การหมุนตัวและลูกสูบจะทาํ หนา ทเ่ี ปด -ปด ชองอากาศดีที่
ปลอกสูบ

การทํางานและการหลอลืน่
• การทาํ งาน พัดอากาศจะดูดอากาศจากภายนอกผา นหมอ ระงับเสยี ง หมอ กรองอากาศ
ผานตะแกรงกรองเขาไปยังทางดูดของเคร่ืองพัดอากาศ ตวั หมุน Rotor จะหมุนตวั ดดู
อากาศจากทางเขา อากาศจะถูกสูบใหผา นระหวา งตัวพัดอากาศกับตัวเรือนเครอ่ื งพดั
อากาศเขาไปรวมกันที่หัองอากาศดีและจะผานชองอากาศดีที่ปลอกสูบเขาไปยงั หอ งเผา
ไหม ชอ งอากาศดจี ะเจาะชอ งทาํ มุมเอียงในทางตั้ง 25° เพ่ือตองการใหอ ากาศทีเ่ ขา หอ ง
เผาไหมนัน้ เกิดการหมุนตวั และลกู สูบจะทําหนาที่เปด -ปด ชองอากาศดีทป่ี ลอกสูบ เมื่อ
ลูกสูบปด ชองอากาศดีลน้ิ แกสเสยี ปด ลูกสูบเล่อื นขึ้นอัดอากาศทาํ ใหม กี าํ ลังดนั และ
อณุ หภูมสิ งู ขึน้ ภายในกระบอกสูบ เมอื่ ฉดี นํ้ามันเปน ฝอยแผก ระจายเขา ไปคลุกเคลา กับ
อากาศทถ่ี ูกอดั ตวั มีอุณหภมู สิ งู จะเกิดการเผาไหมขนึ้ ภายในกระบอกสูบ แกส เสียท่ีเกดิ
จากการเผาไหมด ันลูกสบู ใหเล่ือนลงเปน จังหวะการทาํ งาน ลูกสูบเลื่อนลงมากอ นทช่ี อ ง
อากาศดีจะเปดลิน้ แกส เสียจะเปด กอ น เปน การส้ินสุดการทาํ งานของเครอ่ื งยนต ชอ ง

กองฝก การชางกล กองการฝกกองเรือยทุ ธการ

48

อากาศดีก็จะเปดหลังจากลิ้นแกสเสียเปดแลวอากาศดีที่มีกําลังดันก็จะว่ิงเขาไปใน
กระบอกสูบ ชว ยกวาดลางแกสเสยี ออกไปจากกระบอกสบู เมอื่ ลิ้นแกส เสียปด แลว ก็จะ
บรรจุตวั เองเขาสูบเปน อากาศดีในรอบการทาํ งานตอไปของเคร่อื งยนต
• การหลอลน่ื แบริง่ และเฟองขบั เครื่องพดั อากาศไดร บั การหลอ ลืน่ จากกําลังดันของนา้ํ มนั
หลอ ล่นื ในระบบผานชอ งทางท่เี จาะเอาไวภ ายในตัวเรือนสูบ ซึง่ สง ผานเขาไปในแผนปด
ดา นหัวเคร่อื ง เขา หลอ ลืน่ เพลาขบั เคร่อื งพดั อากาศและหมูเฟองต้งั ระยะ ของเคร่อื งพดั
อากาศผา นเขาหลอ ลืน่ ชุดน้ําหนักถว งของเคร่ืองควบคมุ ความเร็ว

2.Housing-Blower 17.Gear-L. H. Helix Rotor 34.Cover-Blower Drive (Steel) 60.Lock Washer
3.Rotor Assy.-R.H. Helix 18.Shim-Blower Gear 35.Hose-Blower Dreve 63.Adaptor-Tachometer Drive
4.Rotor Assy.-L. H. Helix 19.Bolt-Blower Gear 45.Bolt-Blower Mounting 64.Key-Tachometer Drive
6.Plate-Blower Front End 20.Spacer 46.Lock Washer 65.Shaft-Tachometer Drive
7.Plate-Blower Rear End 21.Strainer-End Plate Oil 50.Gasket 66.Seal-TachometerDrive
9.Seal-Oil Passage 51.Shaft-Blower Drive 67.Fitting-Tachometer Drive
10.Retainer-Blower Bearing 22.Plug-Oil Passage 53.Seat-Coupling Spring End Adaptor
11.Bolt-Retainer 23.Orifice-Oil Passage 54.Support-Blower Drive 70.Disc-Fuel Pump Drive
12.Lock Washer 25.Gasket-Rear End Plate Coupling 71.Spacer-Fuel Pump Drive
13.Bearing-Blower Rotor Front Cover 55.Spring(Pack)-Blower Drive Disc
(Roller) 27.Cover-Rear End Plate Coupling 72.Bolt-Drive Disc
14.Bearing-Blower Rotor Rear 30.Clamp-Hose 56.Seat-Coupling Sopring 73.Lock Washer
(Ball) 31.Bolt-Cover 57.Retainer-Coupling Spring 81.Callar-Blower End Plate
15.Screw-Fillister Head 32.Lock Washer 58.Cam-Drive Coupling 82.Carrier-Seal Ring
16.Gear-R. H. Helix Rotor 33.Washer-Special Flat 59.Bolt-Retainer 83.Ring-Seal (Piston Type)

กองฝก การชา งกล กองการฝกกองเรือยทุ ธการ

49
2 ระบบแกสเสยี Exhaust System ระบบแกสเสยี ประกอบไปดวย

2.1 ล้ินแกส เสีย เปน แบบดอกเหด็ ขอบของตวั ลิน้ ทาํ มมุ 30°กับตวั ล้ิน มีทง้ั แบบ 2 ลนิ้
และ 4 ลิ้นตอ 1 สูบ ล้นิ แกส เสียถกู เปดโดยกาํ ลังกลของกระเดื่องกดลิน้ ท่ีรบั อาการมา
จากลกู เบ้ียวและปดโดยกาํ ลังของสปริงลน้ิ

2.2 บาลิ้น ประกอบอัดแนนกบั ฝาสบู โดยวธิ ี Shrunkfit สามารถถอดออกเปลี่ยนไดท ข่ี อบ
ของบา ลน้ิ ทํามุม 30° กับแกนกลาง เพ่ือใหต ัวลิ้นปด แนบสนทิ

2.3 ทอแกส เสยี ประจําสบู เปนทางนําแกสเสียของแตละสบู ออกไปรวมกันทีท่ อรวมแกส
เสยี

2.4 ทอ รวมแกสเสีย เปน ท่ีรวมแกส เสียจากสบู ตางๆของเคร่ืองยนต เปน ทอแบบสองช้ัน
ช้นั ในเปน ทางเดนิ ของแกส เสียชั้นนอกเปนทางเดนิ ของนํ้าระบายความรอ นแกสเสยี

2.5 หมอ ดับความรอ นแกส เสยี เปน ทรี่ วมแกส เสียกบั นํ้าทะเลดับความรอ นแกสเสยี นา้ํ
ทะเลทําหนา ทด่ี บั ความรอนและประกายไฟของแกสเสยี เพือ่ ทาํ ใหอณุ หภมู ขิ องแกส
เสียลดลง

2.6 หมอ ระงับเสยี งแกส เสีย ภายในแบงเปน หองดวยแผนกั้น แผน ก้ันเจาะรพู รุนเพื่อให
แกสเสียเกิดการกวนทําใหลดกําลังดันและอุณหภูมิของแกสเสียกอนออกไปสอู ากาศ
ภายนอก

กองฝก การชา งกล กองการฝกกองเรอื ยทุ ธการ

50

ชื่อเรอื่ ง เคร่อื งยนต DETROIT DIESEL SERIES 71

ความมุงหมาย เพื่อใหนักเรียนไดรูถ งึ ระบบปองกันอนั ตรายเคร่อื งยนต

หลักฐาน 1. DETROIT DIESEL V-71 SERVICE MANUAL

2. DETROIT DIESEL OPERATORS MANUAL

3. SERVICE MANUAL DETROIT DIESEL ENGINE IN-LINE 71

เนือ้ เรื่อง

ระบบปอ งกันอนั ตรายของเคร่ืองยนต (Engine Protective System)

ในระบบปองกันอนั ตรายของเครอ่ื งยนต จะมีลนิ้ ปด อากาศ (Air Shut Down Valve)สําหรบั

ดับเครอื่ งยนตเม่อื มเี หตุฉุกเฉิน โดยการปดอากาศไมใหเขาเครื่อง ติดตง้ั อยทู างอากาศเขาของเคร่อื งพัด

อากาศ สามารถควบคมุ ดว ยมอื และ Automatic

ระบบควบคมุ ดว ยมอื (Manual Shut Down System) ตดิ ตัง้ อยทู ่ี Housing ของ Air Shut

Down เพ่ือใหเจา หนา ที่สามารถหยุดเครื่องไดท นั ทว งที เม่อื เคร่อื งแสดงอาการผิดปกติ ระบบ Shut

Down จะปองกันอนั ตรายทเี่ กิดขน้ึ กบั เครื่องโดยตัดอากาศเขาเครือ่ ง ทําใหเครอื่ งหยดุ ประกอบดว ยล้นิ

และกลไกทางแมกคานิกส ล้นิ ของ Shut Down จะอยูใ นลกั ษณะเปดดว ยสลักเกลยี ว ซึง่ จะตอกบั สาย

ดงึ เม่อื ดึงปุม Shut Down เดอื ยจะเลื่อนตัวออก ลิ้น Shut Down จะปดทําใหอ ากาศเขา เครอื่ งไมได

เคร่ืองจะหยุด กอนท่จี ะ Start เครือ่ งใหมต อ ง Reset โดยกดปมุ Shut Down

ระบบควบคุมอัตโนมัติ (Automatic Shut Down System)

1. Automatic Mechanical Shut Down Sysrem

ออกแบบใหหยุดเครื่อง เม่อื กาํ ลังดันน้าํ มนั หลอตก หรอื การระบายความรอ นขัดขอ งและตดั

Overspeed โดยใชกําลงั ดันนา้ํ มนั เปน ตวั ทํางานในระบบ Coolent Temperature Sening Valve,

Adaptor And Copper Plug ติดตัง้ อยทู ีท่ อระบายแกสเสยี รวม โดย Power Element ของ

Temperature Sening Valve ติดกับดานหนง่ึ ของ Copper Plug จะอยูในทอแกสเสยี รวม น้ําจืดจะ

ผาน Restricted Fitting มาที่ลิน้ Temperature Sening และตอไปยัง Bellow ท่ชี อ งทางอากาศดีเขา

เครอ่ื งกําลงั ดันของนา้ํ มนั หลอใน Bellow สูงกวา กําลงั ดันของสปริงใน Bellow จะทาํ ใหส ลกั ของ Shut

Down เปดอยู ถากาํ ลังนา้ํ มนั หลอ ตก ณ จุดทีไ่ ดต ้ังไว สปรงิ จะชนะกาํ ลงั ดนั ใน Bellow ก็จะปลดสลกั

ปด อากาศเขาเคร่อื ง เครือ่ งกจ็ ะหยดุ

Overspeed Governor ประกอบดวยลน้ิ ซึ่งทาํ งานดว ยชุดของ Spring Loaded Weights นา้ํ

มันหลอท่มี าจาก Temperature Sening Valve จะผานลิน้ น้ีไปยัง Bellow เมอ่ื รอบเครอื่ งเกินทต่ี ้ังไว

ล้ินน้จี ะเปดใหน ํา้ มันหลอในทอไหลลง Sump กําลงั ดันน้ํามันหลอ ในทอ จะตกทาํ ใหกาํ ลงั ดันน้ํามนั ใน

Bellow ตกดว ย สปรงิ กจ็ ะดึงสลักปดอากาศเขา เคร่อื ง Restricted Fitting จะควบคุมกาํ ลงั ดนั นาํ้ มนั

หลอ ในทอ ใหเ พยี งพอทจี่ ะทํางานในระบบ Shut Down

กองฝก การชางกล กองการฝกกองเรอื ยุทธการ


Click to View FlipBook Version