The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารอ้างอิงของกองทัพเรือ ๑๐๐๓
การปกครอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by runn0248, 2022-05-07 22:11:36

เอกสารอ้างอิงของกองทัพเรือ ๑๐๐๓ การปกครอง

เอกสารอ้างอิงของกองทัพเรือ ๑๐๐๓
การปกครอง

Keywords: เอกสารอ้างอิงของกองทัพเรือ ๑๐๐๓ การปกครอง

เอกสารอา งองิ ของกองทัพเรอื ๑๐๐๓
การปกครอง

บทนาํ กลาวท่ัวไป
บทท่ี ๑ การมอบอํานาจใหท าํ การแทน และสงั่ การในนาม ผบู ังคบั บัญชา

หลักการในการมอบอํานาจ ของ กห.
เรื่องท่ีมอบอํานาจให ผบ.ทร. ทําการแทน และส่ังการ ในนามของ รมว.กห.
การมอบอาํ นาจใหทาํ การ แทน และส่ังการในนามของ ผบ.ทร.

บทท่ี ๒ การรายงานตนเอง และการรายงานบญั ชีพล

การรายงานตนเอง
กรณีและโอกาสท่ีตอ งรายงานตนเอง
กาํ หนดเวลาของการ รายงานตนเอง
วธิ ีรายงานตนเอง
การแตงกายในการ รายงานตนเอง

การรายงานบญั ชีพล

บทที่ ๓ การเคารพ

การเคารพของทหาร
ขอบังคับทหารวาดว ยการเคารพ
คาํ ช้แี จงเพ่มิ เตมิ ตาง ๆ

การแสดงความเคารพสําหรับพลเรอื น

บทท่ี ๔ การปกครองบงั คบั บญั ชา ของหนวยตนสังกดั และหนวยปกครอง

อธบิ ายศพั ทและการกาํ หนด อํานาจ และความรบั ผดิ ชอบของหนวยตน สังกดั กบั หนว ยปกครอง
แนวทางการปฏบิ ัติเกยี่ วกบั เจา หนาที่ในสายวทิ ยาการตาง ๆ

บทที่ ๕ การพกั ราชการการไมพ กั ราชการและการกลบั เขารับราชการ

หลักเกณฑของ กห.เกย่ี วกับ การสัง่ พกั ราชการ
การส่ังพกั ราชการ ขาราชการทหาร
การสงั่ พกั ราชการลกู จาง ประจํา
การตดั งด และจายเงนิ รายเดอื นของผถู ูกส่ังพักราชการ

หลกั เกณฑของ ทร.เกยี่ วกับ การส่งั พักราชการ และการไมพ กั ราชการ

แนวปฏบิ ตั ใิ นการสั่ง พกั ราชการ ขา ราชการทหาร และลูกจางประจาํ
คณะกรรมการพิจารณา การสงั่ พกั ราชการ หรือปลดออกจากราชการ
การพจิ ารณาเกยี่ วกบั มลทนิ หรอื มวั หมอง
การสั่งพกั ราชการ และ การปลดออกจากราชการ ผูท่ีกระทําความผดิ เกี่ยวกับยาเสพยต ิด
การปลดออกจากราชการ และการถอดยศนายทหาร ประทวน
กฎหมาย ขอบงั คบั ระเบียบ และหลกั เกณฑท ีเ่ กย่ี วขอ ง

บทนาํ
กลา วทว่ั ไป
เปนท่ีเขาใจกันโดยท่ัวไปแลววา ผูบังคับบัญชา หมายถึงบุคคลท่ไี ดรับการแตงตั้งใหมีสิทธิ และอํานาจ ใน
การปกครองบังคับบัญชา และส่ังการแกผูใตบังคับบัญชาได ตามตําแหนงหนาที่อันชอบดวยกฏหมาย และธรรม
เนียมของทหาร ซึ่งผูใตบงั คบั บัญชาจะตองปฏบิ ตั ิตามคาํ ส่งั ของผูบังคับบัญชาเหนือตน อยางเครงครัดโดยหลักการ
ผูบังคับบัญชาแบงออกเปน ๒ ประเภท คือ ผูบังคับบัญชาโดยตรง หมายถึงผูบังคับบัญชาที่ใกลชิดที่สุด มีตําแหนง
สูงกวาผูใตบังคับบัญชา ข้ึนไปอีกตําแหนง และผูบังคับบัญชาตามลําดับช้ัน หมายถึงผูบังคับบัญชาช้ันเหนือ จาก
ผูบงั คบั บญั ชาโดยตรงข้นึ ไปตามลาํ ดับ นอกจากการพิจารณาตามธรรมเนยี มทหาร วาผูใดเปนผูบังคับบัญชาแลว ยัง
มีกําหนดไวในกฎหมาย และระเบียบกําหนดไวดวย เชน พระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการ กระทรวงกลาโหม
พ.ศ.๒๕๐๓ บญั ญตั ไิ วว า ผบ.ทร. เปน ผบู งั คบั บญั ชารับผิดชอบกองทพั เรอื เปนตน ผูบงั คบั บญั ชาจงึ ตอ งบรหิ ารงาน
ในสวนที่มีหนาที่รับผิดชอบ ใหเปนไปดวยความเรียบรอย ปกครองผูใตบังคับบัญชา ใหปฏิบัติตามกฎหมาย
ขอบังคับ ระเบียบ และแบบธรรมเนียมของทหาร การที่ทหารปฏิบัติไดถูกตอง จะทําใหการดําเนินงานตาง ๆ
เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ในท้ังยามปกติและยามสงคราม ดังน้ัน ผูบังคับบัญชาที่ดํารงตําแหนงสูง ยอมมีหนาที่
รับผิดชอบมาก จึงจําเปนตองมอบหมาย ใหผูดํารงตําแหนงรองลงมาปฏิบัติไปตามลําดับ ในสวนของ
ผูใตบังคับบัญชา ควรจะตองมีความรูความเขาใจ ในเร่ืองแบบธรรมเนียมดวยเชนเดียวกัน ซ่ึงจะทําใหสามารถ
ปฏิบตั ิไดถ กู ตอง และหากมไิ ดป ฏบิ ตั ิตามขอกาํ หนดตาง ๆ ก็จะตอ งพจิ ารณาความผิดตามควรแกก รณี เรื่องของการ
ปกครองน้ี ไดกลาวถึงการมอบอํานาจใหทําการแทน และส่ังการในนามของผูบังคับบัญชา การปกครองบังคับ
บัญชาของหนวยตนสังกัด และหนวยปกครอง การรายงานตนเอง และการรายงานบัญชีพล การเคารพ การพัก
ราชการ ไมพ ักราชการ และการกลบั เขารบั ราชการ เพื่อใหข า ราชการ ทร. มคี วามเขาใจในเบ้ืองตนกอน

------------------------------------------------------------

บทที่ ๑

การมอบอาํ นาจและสง่ั การในนามผูบังคับบญั ชา
สวนราชการตาง ๆ ท่ีจัดต้ังขึ้นตามกฎหมาย มีหัวหนาสวนราชการเปนผูบังคับบัญชา มีอํานาจหนาท่ี ใน
การบริหารราชการตามขอบเขต ที่กฎหมายกําหนด รวมทั้งปกครองผูใตบังคับบัญชาดวย การท่ีผูบังคับบัญชามอบ
อํานาจ ใหผูหน่ึงผูใดทําการแทน และมีอํานาจส่ังการได เปนการแบงเบาภาระ ของผูบังคับบัญชา ซ่ึงจะทําใหการ
บริหารราชการ ดําเนินไปดวยความรวดเร็ว และสะดวกในการกํากับดูแล ดังนั้น กฎหมายวาดวยระเบียบบริหาร
ราชการแผนดิน และกฎหมายอื่น เชน กฎหมายวาดวยมหาวิทยาลัย กฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการ พลเรือน จึง
ไดก ําหนดมอบหมาย หรอื มอบอาํ นาจตามกฎหมายไว รวมทงั้ กฎหมายวาดว ย การจัดระเบยี บราชการ กลาโหมดวย

หลกั การในการมอบอํานาจของ กห.
พระราชบญั ญตั ิจัดระเบียบราชการ กระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๐๓ ไดกําหนดเกี่ยวกบั การมอบอํานาจ และ
สั่งการไว สรุปสาระสาํ คัญไดดังนี้
๑. รฐั มนตรีวาการกระทรวงกลาโหม (รมว.กห.) เปนผบู งั คบั บญั ชาขา ราชการ และรบั ผดิ ชอบในการปฏบิ ตั ิ
ราชการ ของกระทรวงกลาโหม และจะใหมีรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงกลาโหม (รมช.กห.) เปนผูชวยสั่งการ
หรอื ปฏิบตั ิราชการแทน รมว.กห.ก็ได
๒. ในกรณีท่ีมี รมช.กห. การสัง่ หรือการปฏิบัตริ าชการของ รมช.กห.ใหเ ปนไปตามท่ี รมว.กห.มอบหมาย
๓. ในกรณีท่ีไมมีผูดํารงตําแหนง รมว.กห. หรือมี แตไมอาจปฏิบัติราชการได ให รมช.กห.เปนผูรักษา
ราชการแทน ถามี รมช.กห.หลายคน ใหคณะรัฐมนตรีมอบหมายให รมช.กห.คนใดคนหน่ึง เปนผูรักษาราชการ
แทน
๔. ในกรณีที่ไมมีผูดํารงตําแหนง รมว.กห. หรือ รมช.กห.หรือมี แตไมอาจปฏิบัติราชการได ให ปล.กห. มี
อาํ นาจในการสัง่ การอนุญาต การอนมุ ตั ิ และการปฏิบตั ริ าชการประจาํ แทน รมว.กห.ได
๕. อํานาจในการส่ัง การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการ หรือการปฏิบัติหนาที่ รมว.กห. จะพึง
ปฏิบัติหรือดําเนินการตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หรือคําส่ังใด หรือมติของสภากลาโหมหรือมติของคณะ
รัฐมนตรีในเร่ืองใด รมว.กห.จะมอบอํานาจโดยทําเปนหนังสือให รมช.กห. ปล.กห. ผบ.ทหารสูงสุด ผบ.ทบ.
ผบ.ทร. หรือ ผบ.ทอ. ทาํ การแทนในนามของ รมว.กห.กไ็ ด
๖. อํานาจในการสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ หรือการปฏิบัติราชการประจําท่ีผูบังคับบัญชาทหาร ไมวาจะ
ชั้นใด ซ่ึงรองลงมาจาก รมว.กห.จะพึงปฏิบัติหรือดําเนินการตามกฎหมายใด ๆ จะมอบอํานาจโดยทําเปนหนังสือ
ใหผูบังคับบัญชาทหารตําแหนงอื่น ทําการแทนในนามของผูบังคับบัญชาทหาร ผูมอบอํานาจก็ไดทั้งนี้ ใหเปนไป
ตามหลักเกณฑ และเงื่อนไขท่ี กห.กาํ หนด
๗. ในตําแหนงประจําใด ๆ ใหผูรักษาราชการ ผูรักษาราชการแทน หรือผูทําการแทนมีอํานาจ และหนาที่
ตามตําแหนงท่ี รักษาราชการ รักษาราชการแทน หรือทําการแทนน้ัน ๆ กห.ไดอาศัยอํานาจตามความ ใน

พระราชบัญญัติ จัดระเบียบราชการ กระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๐๓ ออกขอบังคับ กห. วาดวยการสั่งการ และ
ประชาสัมพนั ธ และไดม ีการแกไขปรบั ปรงุ หลายครั้ง และยกเลิกไป โดยใหใชขอบังคับ กห. วาดวยการสั่งการและ
ประชาสัมพันธ พ.ศ.๒๕๒๗ ซึ่งไดใชอยูจนถึงปจจุบันขอบังคับ กห. ฉบับน้ี มีสาระที่สําคัญในเรื่อง ของการมอบ
อาํ นาจ ใหท าํ การแทน และสง่ั การในนามของผบู ังคับบัญชา ที่จะนํามากลา วถงึ ไดแ ก

๑. การส่ังการโดยอาศัยอํานาจตามกฎอัยการศึก ใหเปนอํานาจของ รมว.กห. หรือผูบังคับบัญชาทหาร ผู
ประกาศใชก ฎอัยการศึก หรอื ผทู ไี่ ดร บั มอบอํานาจจาก รมว.กห. หรือผูบงั คับบัญชาทหารผูประกาศใชก ฎอัยการศกึ

๒. รมช.กห.มีอํานาจส่ังการในนามของ รมว.กห.ตามที่ไดรับมอบหมายได โดยใชความในการลงตําแหนง
วา "รฐั มนตรีชว ยวาการ ฯ ทําการแทนรัฐมนตรวี าการกระทรวงกลาโหม"

๓. ในกรณีที่ไมมีผูดํารงตําแหนง รมว.กห. หรือมีแตไมอาจปฏิบัติราชการได ให รมช.กห. เปนผูรักษา
ราชการแทน ถามี รมช.กห.หลายคน ให รมช.กห.คนใดคนหน่ึงเปนผูรักษาราชการแทน ตามมติคณะรัฐมนตรี แต
ถากรณีที่ไมมีผูดํารงตําแหนง รมว.กห.และ รมช.กห. หรือมีแตไมอาจปฏิบัติราชการได ให ปล.กห.ทําการแทนใน
นามของ รมว.กห. เกยี่ วกับการสั่ง การอนุญาต การใหอนมุ ัติ และการปฏิบตั ริ าชการประจํา เปนการช่ัวคราว

๔. ถาตําแหนงในสวนราชการ หรือหนวยใดวางลง และยังมิไดแตงตั้งขาราชการผูใด ใหดํารงตําแหนงน้ัน
ผูบังคบั บัญชาจะสง่ั ใหขา ราชการ ทีเ่ ห็นสมควรรกั ษาราชการในตําแหนง น้นั เปนการชั่วคราวกไ็ ด

๕. ถาผูดํารงตําแหนงในสวนราชการ หรือหนวยใดไมสามารถปฏิบัติหนาท่ีได เปนคร้ังคราว
ผูบังคบั บัญชาจะสงั่ ใหข าราชการ ทีเ่ หน็ สมควรรกั ษาราชการแทน เปนการช่วั คราวกไ็ ด

๖. ปล.กห. ผบ.ทหารสูงสุด ผบ.ทบ. ผบ.ทร. ผบ.ทอ. มีอํานาจหนาที่ทําการแทน และสั่งการในนามของ
รมว.กห. ตามท่ไี ดรับมอบหมายได

ผูดํารงตาํ แหนง รอง ผูชวย เสนาธิการ รองเสนาธิการ หรือผูชวยเสนาธิการของสวนราชการ หรือหนวยใด
มีอํานาจหนาท่ีทําการแทน และส่ังการในนาม ของผูบังคับบัญชาสวนราชการ หรือหนวยน้ัน ๆ ตามท่ีไดรับ
มอบหมายได

หน.นขต.กห. ผบ.ทบ. ผบ.ทร. ผบ.ทอ. หรือ หน.นขต.สป. หน.นขต.บก.ทหารสูงสุด หน.นขต.ทบ. หน.
นขต.ทร. หน.นขต.ทอ. ที่เทียบเทาตําแหนงช้ันแมทัพ จะมอบหมายเปนลายลักษณอักษร ใหขาราชการตําแหนงใด
ในสังกัด มีอํานาจหนาที่ทําการแทน และส่ังการในนามของหัวหนาสวนราชการ หรือหัวหนาหนวยนั้น ๆ ในบาง
กรณกี ็ได

การส่งั การในนามของผูบงั คบั บญั ชา ใหใชความวา "รับคําสง่ั ..." ลงทา ยเรอ่ื งท่ีสงั่ น้ัน
๗. ถาตําแหนงในสวนราชการ หรือหนวยใดวางลง หรือผูดํารงตําแหนงในสวนราชการ หรือหนวยใด ไม
สามารถปฏิบัติหนาที่ไดเปนคร้ังคราว และยังมิไดแตงตั้งขาราชการผูใด รักษาราชการหรือรักษาราชการแทนให
รอง ผชู ว ย หรือ เสนาธิการ ทําการแทน เปนการช่ัวคราว

ในกรณีที่ตําแหนงนั้นไมมี รอง ผูชวย หรือเสนาธิการ หรือมี แตวา รอง ผูชวย หรือ เสนาธิการ ไมสามารถ
ปฏบิ ตั หิ นา ท่ไี ดเ ปน คร้งั คราว ใหผ ูมีตําแหนงยศหรืออาวุโส ในยศรองจากตําแหนงที่วางลงน้ัน ทําการแทนเปนการ
ชั่วคราว เวนแตสวนราชการหรือหนวยใด จัดกําลังประกอบดวยหนวยกําลังรบ และหนวยบริการ ใหนายทหารชั้น
สญั ญาบตั ร ที่เปน ผูบ ังคับบญั ชาหนวยกําลงั รบซึง่ เปน กาํ ลงั หลัก และมตี าํ แหนง ยศ หรอื อาวโุ สในยศสูงเปนผูทําการ
แทน เปนการชั่วคราว และถาสวนราชการหรือหนวยใด เปนสวนราชการ หรือหนวยสําหรับดําเนินการ ในหนาที่
ทางเทคนิคโดยเฉพาะ หรือจัดกิจการรวมหลายเทคนิค ก็ใหขาราชการชั้นสัญญาบัตร ซ่ึงมีตําแหนง ยศ หรืออาวุโส
ในยศสงู ในเทคนคิ หลกั เปนผทู าํ การแทนเปนการชั่วคราว

จากขอบังคับ กห.ฯ ขางตน สามารถเปรียบเทียบเรื่องการรักษาราชการ การรักษาราชการแทน และการทํา
การแทน สรุปไดดังน้ี

การรกั ษาราชการ - ตําแหนง วาง
การรกั ษาราชการแทน - ยงั มิไดแ ตง ตั้งผูใดดํารงตาํ แหนงน้นั
- ผบู ังคบั บัญชาสั่งแตงตงั้ ใหร กั ษาราชการ
การทาํ การแทน
- ตําแหนงไมว าง แตผ ดู ํารงตาํ แหนงไมส ามารถปฏิบตั ิราชการ ไดเ ปน คร้งั คราว
- ผบู ังคบั บญั ชาส่งั แตง ตง้ั ใหรักษาราชการแทน

- ตาํ แหนง วาง แตยงั มิไดแตงตั้งผรู ักษาราชการ หรอื ตาํ แหนง ไมว า ง ซ่งึ ผดู าํ รง
ตาํ แหนง น้นั ไมส ามารถปฏบิ ัติหนาที่ไดเ ปนครง้ั คราว แตยังมิไดแ ตงต้งั ผรู ักษา
ราชการแทน

- รอง ผชู ว ย เสนาธกิ าร หรือผมู ีตําแหนง ยศ หรอื อาวโุ สยศรองจากตําแหนง ท่ี
วา งทําหนาท่ีแทน

ดงั ไดกลา วแลว วา การสั่งการในนามของผบู ังคับบัญชา ใหใชความวา "รบั คําสัง่ ..." ลงทา ยเรอ่ื งท่ีสัง่ นั้น
เนอ่ื งจากการมอบอํานาจใหท าํ การแทน และสงั่ การในนามของผูบงั คบั บญั ชาโดยทวั่ ไป มิไดใ หม กี ารมอบอาํ นาจ
ชว งตอ มาไดมกี ารมอบอาํ นาจชวงได เฉพาะบางเร่อื ง ทาํ ใหเกิดปญ หาในการลงนาม และตาํ แหนงของผูร ับมอบ
อาํ นาจ สม.จงึ ไดช ้ีแจงเหลาทพั เพื่อใหป ฏบิ ัติเปน แนวทางเดียวกนั

๑. กรณีทมี่ ไิ ดใ หม อบอาํ นาจชวง
กรณที ผี่ บู ังคบั บัญชามไิ ดใ หอํานาจผรู ับมอบอาํ นาจ ในการมอบอาํ นาจชวงใหแ กผ หู นึง่ ผูใ ด การสงั่

การ จะใชค วามวา "รับคาํ สงั่ ..." แลว ตอ ทา ยดว ยช่อื และตําแหนงของผรู ับมอบอาํ นาจ

ตวั อยาง กรณที ่ี รมว.กห. มอบอํานาจให ผบ.ทร. โดยมไิ ดใหอาํ นาจ ผบ.ทร.ในการมอบอํานาจชวง การสัง่
การใหใชค วามวา

รับคาํ สง่ั รมว.กห.
พล.ร.อ.
ผบ.ทร.

๒. กรณที ใ่ี หมอบอํานาจชว ง
กรณที ผี่ ูบงั คบั บัญชาไดใ หอาํ นาจ ผรู บั มอบอาํ นาจ ในการมอบอํานาจชวงใหผูหนึ่งผใู ด ผรู ับมอบ

อํานาจชว งมหี นา ทที่ าํ การแทน ผูม อบอาํ นาจใหตนเทา นน้ั มใิ ชเปน การรับมอบอาํ นาจโดยตรง จากผบู งั คบั บญั ชา
การ สัง่ การจะใชค วามวา "รบั คาํ สั่ง..." แลว ตอทายชอ่ื และตําแหนงของผรู บั มอบอาํ นาจชวง โดยการทาํ การแทนผู
มอบอํานาจ

ตวั อยา ง กรณที ่ี รมว.กห.มอบอํานาจให ผบ.ทร. และใหอ าํ นาจ ผบ.ทร.ในการมอบอํานาจชวงได ซง่ึ
ผบ.ทร.ไดม อบอาํ นาจชวงใหแก ผช.ผบ.ทร. การสง่ั การจะใชความวา

รบั คําสงั่ รมว.กห.
พล.ร.อ.

ผช.ผบ.ทร.ทาํ การแทน
ผบ.ทร.

------------------------------------------------------------

เรือ่ งท่มี อบอํานาจให ผบ.ทร.ทาํ การแทน และส่งั การในนามของ รมว.กห.
จากการที่กฎหมายวาดวย การจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม ไดกลาวถึงการมอบอํานาจไวแลวนั้น
รมว.กห.จึงไดมอบอํานาจให รมช.กห. ปล.กห. ผบ.ทหารสูงสุด ผบ.ทบ. ผบ.ทร. และ ผบ.ทอ.ทําการแทนและ สั่ง
การในนามของ รมว.กห. โดยออกเปนคําส่ัง กห. (เฉพาะ) ที่ ๙๑/๓๖ ลง ๒๔ ส.ค.๓๖ เรื่อง มอบอํานาจให ปล.กห.
ผบ.ทหารสูงสุด ผบ.ทบ. ผบ.ทร. และ ผบ.ทอ.ทําการแทนในนามของ รมว.กห. และฉบับแกไข ในท่ีน้ีไดนํามา
กลาวถึง เฉพาะเร่อื งทม่ี อบอาํ นาจให ผบ.ทร. ทําการแทนและส่งั การในนามของ รมว.กห. ไดแ ก
๑. เร่ืองเก่ียวกับงานกาํ ลงั พลและงานธุรการทั่วไปในเร่อื งตา ง ๆ ดงั น้ี

๑.๑ เรื่องการอนุมัติใหเล่ือนชั้นเงินเดือน ๒ ข้ัน เปนบําเหน็จประจําปของขาราชการกลาโหม ช้ัน
สัญญาบัตร ภายในโควตาท่ีกําหนดไว รวมทั้งการอนุมัติใหเลื่อนชั้นเงินเดือน ๑ ขั้น เปนบําเหน็จประจําป ของ
ขา ราชการ กลาโหม ท่ีบรรจเุ ขา รบั ราชการใหม ซงึ่ มีเวลารับราชการ นบั ถึงวนั สนิ้ ปไ มน อ ยกวา ๖ เดือน

๑.๒ เรื่องการอนุมัติใหขาราชการในสังกัดเปนกรรมการ กรรมการท่ีปรึกษาทางดานวิชาการ หรือ
เพ่ือรวมปฏิบัติงาน ในสายอาชีพที่เกี่ยวของ เมื่อสวนราชการ หรือหนวยงานนอกกระทรวงกลาโหมขอมา และตน
สงั กดั ไดพจิ ารณาเหน็ ความจําเปน (เวนกรรมการและกรรมการทีป่ รึกษา ของรฐั วิสาหกิจ)

๑.๓ เร่ืองท่ีขาราชการกลาโหมขออนุมัติไปประชุม ดูงาน หรือแขงขันกีฬา ณ ตางประเทศ โดยไม
ถอื เปนวนั ลา ตามมติคณะรฐั มนตรี หรือคําสั่งนายกรัฐมนตรี และมิไดใชง บประมาณ ของกระทรวงกลาโหม

๑.๔ เรื่องที่ขาราชการกลาโหมท่ีไปทํางานทางองคการ หรือรัฐวิสาหกิจขออนุมัติไปตางประเทศ
ในกิจการขององคการหรอื รัฐวสิ าหกิจนั้น

๑.๕ เรอ่ื งการใหขา ราชการกลาโหมลากิจ หรือพกั ผอนไปตางประเทศ
๑.๖ เร่ืองการไปตา งประเทศ ตามขอ ๑.๓ ถึงขอ ๑.๕ ของนักเรียนทหาร ทหารกองประจําการ และ
ลกู จา ง
๑.๗ เร่ืองการใหทหารประดับแผนติดไหล และกําหนดรูปสัญลักษณของแผนติดไหล ตามความ
ในขอ ๓ แหง กฎกระทรวง ฉบับที่ ๒ (พ.ศ.๒๕๑๖) ออกตามความในพระราชบัญญัติเครื่องแบบทหาร พุทธศักราช
๒๔๗๗ วา ดว ยการใชเสอื้ ครุย เส้ือปรญิ ญา และเครื่องหมายพเิ ศษบางอยา ง
๑.๘ เร่อื งการอนมุ ัติใหหนว ยทหารในสวนภูมภิ าคยิงสลุต
๒. เร่ืองเกี่ยวกับงานดานการขาว คือ เรื่องเรอื รบตางประเทศเขามาเยือนประเทศไทย ในลักษณะปกติเปน
การประจํา มอบให ผบ.ทร.เปน ผูพิจารณาอนญุ าต
๓. เรอื่ งเกีย่ วกับงานดานการฝก ศึกษา และการจัดอัตราในเรอ่ื งตา ง ๆ ดังน้ี
๓.๑ เร่ืองการยายสถานศึกษา ของขาราชการท่ีทางราชการสงไปศึกษา ณ ตางประเทศ ภายใต
เงอื่ นไขดงั ตอ ไปนี้

๓.๑.๑ การยายสถานศึกษาน้ันตองไมเปลี่ยน แผนการศึกษา วิชา ระยะเวลาศึกษา และ
งบประมาณทไี่ ดรบั อนมุ ตั ไิ วเดมิ

๓.๑.๒ สถานศกึ ษาใหมท่ียายไปศึกษา ตองไดรับการรับรองจากสํานักงาน ก.พ.แลว และ
เฉพาะการศึกษาวิชาแพทย เมื่อสอบเปนแพทยผูเช่ียวชาญเฉพาะโรค ตองไดรับความเห็นชอบ หรือการรับรองจาก
แพทยผูเชี่ยวชาญเฉพาะโรค ของประเทศที่ไปศึกษาอกี ดว ย

๓.๒ เรื่องการสงขาราชการกลาโหมไปศึกษา ดูงาน หรือฝกงาน ณ ตางประเทศ ตามโครงการ
ศกึ ษา ดูงาน หรอื ฝกงาน ณ ตา งประเทศ ประจําป ซ่งึ รมว.กห.ไดอนุมัติโครงการไวแลว ท้ังนี้ เมื่อ ผบ.ทร.ไดอนุมัติ
แลว ใหสงสําเนาเร่ืองรวมท้ังคาใชจายตาง ๆ ให กง.กห.ทราบ ๑ ชุด เพื่อตรวจสอบอัตราคาใชจายที่ ไดจายไปแลว
ใหเ ปน ไปตามระเบียบแบบแผน ของทางราชการดว ย

๓.๓ เรื่องขาราชการกลาโหมไปศึกษา ดูงาน หรือฝกงาน ณ ตางประเทศนอกโครงการ รวมทั้ง
กรณีที่บุคคล บริษัทหางรานเอกชน เชิญขาราชการกลาโหมไปตางประเทศ โดยไมใชงบประมาณของ
กระทรวงกลาโหม

๓.๔ เรื่องการไปตางประเทศทุกกรณีตามหมายเลข ๓.๒ และ ๓.๓ ของนักเรียนทหาร ทหารกอง
ประจําการ และลกู จาง ตลอดจนการอนมุ ัติใหน ักเรยี นทหาร และนักเรียนทุนของ กห.ท่ีไปศึกษา ณ ตางประเทศ ลา
กลับประเทศไทยเปน การช่วั คราวได

๓.๕ เร่ืองการเรียกตัวขาราชการกลาโหม ซ่ึงไดรับอนุมัติใหไปศึกษาตางประเทศ กลับมารับ
ราชการ

๔. เร่ืองเกย่ี วกับงานดา นสงกาํ ลงั บาํ รงุ ในเรอื่ งตาง ๆ ดงั นี้
๔.๑ เร่ืองการอนุญาตและการระบุเงื่อนไขไวในใบอนุญาต ตามมาตรา ๕ แหงพระราชบัญญัติวา

ดว ย เขตปลอดภัยในราชการทหาร พุทธศกั ราช ๒๔๗๘ คอื บริเวณเขตปลอดภยั ในราชการทหารแหง ทร. และสว น
ราชการของ ทร.ให ผบ.ทร.ทําการแทนในนามของ รมว.กห.

๔.๒ เร่ืองการอนุมัติเก่ียวกับยุทโธปกรณท ี่สําคัญอ่ืน ๆ ในแตละสายงานของเหลาทัพตางประเทศ
จะนําเขามาหรือสวนราชการของ กห.จะนําออกไปนอกราชอาณาจักร และหากเปนเร่ืองสําคัญใหรายงานให
รมว.กห.ทราบดว ย

เรื่องท่ีมอบอํานาจให ผบ.ทร.ทําการแทนและสั่งการในนาม รมว.กห.ขางตนน้ี ไมใหมี
การมอบชวง ยกเวนขอ ๑.๕ ขอ ๓.๒ และขอ ๓.๓ รมว.กห.ให ผบ.ทร.มีอํานาจมอบอํานาจชวงให รอง ผูชวย
เสนาธิการ และ รองเสนาธิการไดตามทเี่ ห็นสมควร แตถ า เปน กรณีของนายพลเรอื ไมส ามารถมอบอํานาจชว งได

------------------------------------------------------------

การมอบอํานาจใหทาํ การแทน และส่ังการในนามของ ผบ.ทร.
ผบ.ทร.ไดอาศัยอํานาจตามความในขอบังคับ กห.วาดวยการสั่งการและประชาสัมพันธ พ.ศ.๒๕๒๗ มอบ
อํานาจเปนลายลักษณอักษร ใหนายทหารสัญญาบัตรตําแหนงตาง ๆ เชน รอง ผบ.ทร. ผช.ผบ.ทร. หน.นขต.ทร.
เปนตน ทําการแทนและส่ังการในนามของ ผบ.ทร. ผูไดรับมอบอํานาจ มีอํานาจในการอนุมัติ อนุมัติหลักการ
เหน็ ชอบ อนุญาต ลงนามในคําส่งั รวมท้ังรบั ทราบในนามของ ผบ.ทร. เรอ่ื งท่มี อบอํานาจใหมี ๓ ลกั ษณะ คอื
๑. เรื่องท่เี ปนไปตามกฎหมาย กฎ ขอ บังคับ และระเบียบ
๒. เร่ืองทตี่ องปฏบิ ตั ิเปนการประจําตามปกติ
๓. เรอ่ื งท่ี ทร.อนมุ ัตหิ ลักการหรอื โครงการไวแลว
ตอมา ทร.ไดอนุมัติหลักการเมื่อป ๓๘ ใหมีการปรับปรุงการบริหารงานระดับ ทร. โดยมอบหมายงานตาม
ประเภทของกลมุ งาน ใหแ กนายทหารชั้นผูใ หญร ะดับ พล.ร.อ. กํากับดแู ลและรบั ผดิ ชอบดังน้ี
๑. รอง ผบ.ทร. กํากับดูแลและรับผิดชอบ รวมท้งั รบั มอบอาํ นาจการสงั่ การ ในงานดา นการสงกําลงั บาํ รุง
๒. ปธ.คปษ.ทร.กํากบั ดแู ลและรับผดิ ชอบ รวมทง้ั รับมอบอาํ นาจการส่ังการ ในดานกิจการพิเศษ
๓. ผช.ผบ.ทร.กาํ กบั ดแู ลและรบั ผดิ ชอบ รวมท้ังรบั มอบอํานาจการสัง่ การ ในดา นกาํ ลงั พลและการศกึ ษา
ดังน้ัน ในปจจุบัน ผบ.ทร.จึงไดมอบหมายใหผูดํารงตําแหนงตาง ๆ มีอํานาจทําการแทนและสั่งการ โดย
กําหนดไวเ ปน คาํ สัง่ ทร. มสี าระสําคัญ คอื
๑. การสั่งการตามคําส่ัง ทร. เร่ือง การมอบอํานาจสั่งการและทําการแทน ในนามผูบัญชาการทหารเรือ
หมายถึง การอนุมัติ อนุมัติหลักการ เห็นชอบ อนุญาต ลงนามในคําส่ัง ใหใชคําวา "รบั คําส่ัง ผบ.ทร." การ ลงนาม
ในหนงั สอื และการรบั ทราบ ใหใ ชค าํ วา "ทาํ การแทน ผบ.ทร."
๒. ใหผูดํารงตําแหนงตาง ๆ มีอํานาจในการสั่งการ และทําการแทนในนาม ผบ.ทร. โดยกําหนดไว เปน
ผนวก
๓. การมอบอํานาจสั่งการ และทําการแทนในนามของ ผบ.ทร. เปนการมอบอํานาจเฉพาะตัว ผูอ่ืนไมมี
อํานาจ "รับคําส่ัง ผบ.ทร." อีกทอดหน่ึง เวนแตผูที่ทางราชการ ไดมีคําสั่งแตงต้ังให "รักษาราชการ" หรือ "รักษา
ราชการแทน" ในตาํ แหนง ตามท่รี ะบุไว จึงมอี ํานาจหนา ที่ "รบั คาํ ส่งั ผบ.ทร."
๔. ในกรณีที่ รอง ผบ.ทร. ปธ.คปษ.ทร. ผช.ผบ.ทร. เสธ.ทร. รอง เสธ.ทร. ผช.เสธ.ทร.ฝกพ. ผช.
เสธ.ทร.ฝขว. ผช.เสธ.ทร.ฝยก. และ ผช.เสธ.ทร.ฝยบ. จําเปนตองไปราชการลากิจหรอื ลาปวย ไมสามารถจะปฏิบัติ
ราชการ ตามปกตไิ ด ใหป ฏิบตั ิดงั น้ี

๔.๑ รอง ผบ.ทร. และ ผช.ผบ.ทร. สั่งการและทําการแทน ในอํานาจท่ไี ดร ับมอบอํานาจแทนกนั ได
๔.๒ รอง ผบ.ทร. หรือ ผช.ผบ.ทร. สั่งการและทําการแทน ในอํานาจท่ี ปธ.คปษ.ทร. ไดรับมอบ
อาํ นาจตามลําดับ

๔.๓ ปธ.คปษ.ทร. ส่ังการและทําการแทนในอํานาจที่ รอง ผบ.ทร. หรือ ผช.ผบ.ทร. ไดรับมอบ
อํานาจได เมอ่ื ท้งั ๒ ทาน ไมสามารถปฏิบัตริ าชการได ตามปกตพิ รอ มกันในคราวเดยี ว

๔.๔ เสธ.ทร. และ รอง เสธ.ทร. สง่ั การและทาํ การแทน ในอาํ นาจทไ่ี ดร บั อํานาจแทนกันได
๔.๕ เสธ.ทร.หรือ รอง เสธ.ทร. ส่ังการและทําการแทน ในอํานาจที่ไดรับมอบอํานาจแทน ผช.
เสธ.ทร.ฝกพ. ผช.เสธ.ทร.ฝขว. ผช.เสธ.ทร.ฝยก. และ ผช.เสธ.ทร.ฝยบ. แลว แตก รณี
๕. ในกรณีท่ีหัวหนาหนวยใดตามท่ีระบุไว ไมสามารถปฏิบัติราชการได เปนคร้ังคราวหรือวางลง โดยที่
ทางราชการยังมิไดมีคําสั่งแตงตั้ง ใหผูใดรักษาราชการแทน หรือดํารงตําแหนงแทนให เสธ.ทร. เปนผูส่ังการแทน
ผบ.ทร. ตามอาํ นาจท่ี ผบ.ทร.ไดมอบอํานาจใหแ กห ัวหนา หนว ยน้ันเปน การชว่ั คราว
๖. ในการเสนอขออนุมัติเรื่องใด หากเร่ืองน้ันมีหลายกรณี และ ผบ.ทร. ไดมอบอํานาจใหผูบังคับบัญชา
ระดับรอง ๆ ลงมา ส่ังการในแตละกรณีซ่ึงจะตองขออนุมัติหลายทาน ใหผูที่รับมอบอํานาจ ทด่ี ํารงตําแหนงอาวุโส
สูงสดุ เปน ผูพ ิจารณาอนุมตั ิในเร่อื งนน้ั โดยสวนรวมเพยี งผเู ดียว
๗. ให สลก.ทร.เสนอเร่ืองที่ รอง ผบ.ทร. ปธ.คปษ.ทร. ผช.ผบ.ทร. เสธ.ทร. รอง เสธ.ทร. ผช.เสธ.ทร.ฝกพ.
ผช.เสธ.ทร.ฝขว. ผช.เสธ.ทร.ฝยก. และ ผช.เสธ.ทร.ฝยบ.ไดสั่งการ และทําการแทนในนามของ ผบ.ทร.แลว เฉพาะ
เรื่องที่มีความสําคัญให ผบ.ทร.ทราบในโอกาสแรก ในกรณีที่ไมสามารถเสนอไดในวันใด ใหจัดทาํ บัญชีสรุปเรื่อง
ดงั กลา ว รายงานให ผบ.ทร.ทราบในวนั ถัดไป
๘. หัวหนา หนวยตา ง ๆ ที่ไดร บั มอบอํานาจสง่ั การ และทาํ การแทนในนาม ผบ.ทร. รายงานเร่ืองทป่ี ฏบิ ตั ไิ ป
แลว เฉพาะเรอื่ งที่มีความสําคัญให ผบ.ทร.ทราบในโอกาสแรก โดยเสนอรายงานผาน สลก.ทร.

------------------------------------------------------------

บทท่ี ๒
การรายงานตนเองและการรายงานบญั ชพี ล
การรายงานตนเอง
การรายงานตนเองมีความมุงหมาย เพ่ือใหผูบังคับบัญชารูจักตัวผูรายงาน และไดทราบกิจการ หรือ
เหตุการณท ่ีผูรายงาน มีหนาท่ีจะตองรายงาน ใหผูบังคับบัญชาของตนทราบ ในขณะเดียวกันผูบังคับบัญชา อาจถือ
โอกาส ช้ีแจง แนะนํา ใหโอวาท หรอื แสดงความยินดี ตอผรู ายงานดวยก็ได
กห.ไดก าํ หนดหลักเกณฑเกย่ี วกับ การรายงานตนเองไวเฉพาะกรณีที่ ขาราชการชัน้ สัญญาบตั รยา ยตาํ แหนง
สรุปไดวา ขาราชการชั้นสัญญาบัตรผูใดยายตําแหนง ใหรายงานตอผูบังคับบัญชาเดิม ซึ่งขาดจากการบังคับบัญชา
ทุกตําแหนง ตามลําดับชั้นตั้งแตชั้นตํ่าขึ้นไป และรายงานตอผูบังคับบัญชาใหม ทุกตําแหนงตามลําดับช้ัน ตั้งแต
ชั้นสูงลงมา จนถึงผูบังคับบัญชาโดยตรงของตน โดยปกติตองรายงานภายใน ๒๔ ชั่วโมง นับตั้งแต ไดทราบ
เหตุการณ ที่จะตองรายงานเปนตนไป หรือนับตั้งแตเวลาท่ีไดทราบ จากสําเนาคําส่ังเปนตนไป การรายงานตนเอง
ใหรายงานดวยวาจา โดยบอกยศ นาม และตําแหนง แลวบอกเร่ืองราวซ่ึงมีการเปลี่ยนแปลง ใหผูรับรายงานทราบ
ถามขี อ ขัดขอ งทจี่ ะรายงานดว ยวาจาไมได ใหรายงานดวยหนงั สือหรอื เขียนลงในสมุด
ในสว นของ ทร.น้ัน ไดถ ือปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑที่ กห.กําหนด และยังไดกําหนดกรณี และโอกาสท่ีจะตอง
รายงานตนเอง เพิม่ เติมรวมทั้งการแตง กาย สําหรบั ผรู ายงานตนเองดว ย ดงั น

------------------------------------------------------------

๑. กรณแี ละโอกาสทตี่ อ งรายงานตนเอง
๑.๑ เมื่อยายตําแหนง ขาราชการช้ันสัญญาบัตรผูใดยายตําแหนง ใหผูนั้นไปรายงานตนเองตอ

ผูบังคับบัญชาเดิม ซ่ึงขาดจากการบังคับบัญชาทุกตําแหนง ตามลําดับช้ัน ต้ังแตช้ันต่ําขึ้นไป แลวรายงานตอ
ผบู งั คับบญั ชาใหมท กุ ตําแหนงตามลาํ ดับชั้น ตัง้ แตชน้ั สงู ลงมาจนถึงผูบ ังคับบญั ชาโดยตรงของตน

๑.๒ เมือ่ ผบู งั คบั บัญชามารบั ตาํ แหนง ใหม
๑.๒.๑ ถาผูรับตําแหนงเปนผูบังคับการเรือ ใหนายทหารสัญญาบัตรประจําเรือทุกนายรายงาน

ตนเอง
๑.๒.๒ ถาผูรับตําแหนงเปนผูบังคับบัญชาหนวยเรือ ตั้งแตชั้นผูบังคับหมูเรือข้ึนไป หนวยนาวิก

โยธิน ตงั้ แตชัน้ ผูบ งั คบั กองพันข้ึนไป และหนวยบกอื่น ๆ ตั้งแตชั้นผูบังคับการกรมข้ึนไป ใหนายทหารสัญญาบัตร
ทุกนาย ที่สังกัดกองบังคับการของหนวยนั้น และผูบังคับหนวยที่ขึ้นตรง ไปประชุมพรอมกันเพ่ือรายงานตนเอง
โดยใหกระทําในวันแรก ท่ีผูบังคับบัญชาใหมผูนั้นมารับตําแหนง หรือตามเวลาท่ีผูบังคับบัญชาใหมนั้นจะไดนัด
หมาย

๑.๓ เมอื่ กลบั จากการปฏิบตั ริ าชการ ขาราชการชั้นสญั ญาบตั รทีม่ ีคาํ สั่ง ใหไ ปราชการพเิ ศษเปน การ
เฉพาะตวั เปน ผบู งั คบั การเรอื ไปราชการอิสระ หรอื เปน ผบู ังคับบญั ชาสูงสุดของหนวยเรือ หรอื หนว ยทหาร ทไี่ ป
ปฏบิ ตั ริ าชการนอกสถานทตี่ งั้ ปกติ เมื่อกลับจากการปฏิบัตริ าชการนน้ั แลว ใหผ ูน นั้ ไปรายงานตนเอง ตอ
ผูบังคบั บัญชาตามลําดบั ชน้ั จนถึงผูสัง่

๑.๔ เม่อื ทําหนา ทย่ี ามรักษาการณ หนวยรกั ษาการณซ ่ึงมหี นา ทร่ี ักษาการณ ณ ทใี่ ด ๆ ก็ตาม เมือ่ มี
ผบู ังคับบญั ชาของหนวยนน้ั ตั้งแตช้ันผบู งั คับการเรอื หรอื ผบู งั คับกองพนั ขึ้นไปไดม า ณ ท่ีนน้ั ใหผูบงั คับหนว ย
รกั ษาการณร ายงานตนเอง พรอมดว ยเหตุการณทผี่ ูบงั คับบัญชาควรทราบ ในโอกาสแรกและตามปกติ ใหรายงาน
ตอ ผบู ังคับบัญชาผนู ั้นเพยี งครั้งเดยี ว ตลอดเวลาทต่ี นกระทาํ หนาที่

๑.๕ เมอ่ื เขา รบั หนา ทเี่ ปนนายทหารยามพรรคนาวินประจําเรอื
๑.๕.๑ ถาเขารับหนาที่เปนนายทหารยามพรรคนาวิน ขณะเรือจอด และในเวลาน้ันมีผูบังคับการ

เรือ หรือผูบังคับหนวยเรืออยูในเรือ ใหนายทหารยามผูนั้นรายงานตนเอง ตอผูบังคับการเรือ หรือผูบังคับหนวยเรือ
ในโอกาสแรกที่ตนเขา รบั หนา ที่

๑.๕.๒ ถาเขารับหนาที่เปนนายทหารยามพรรคนาวิน ในเวลาเรือเดิน เม่ือผูบังคับบัญชาตั้งแตผู
บังคับการเรือข้ึนไป มาบนสะพานเดินเรือ ใหนายทหารยามผูนั้นรายงานตนเอง ตลอดจนเหตุการณตาง ๆ ท่ี
ผบู ังคบั บัญชาควรทราบ

๑.๖ เม่ือทําหนาที่ควบคุมแถวทหาร ผูควบคุมแถวทหารในระหวางทําการฝกหัด หรือในระหวางไปปฏิบัติ
ราชการใด ๆ เมื่อผูบังคับบัญชาของตน ตั้งแตชั้นผูบังคับการเรือหรือผูบังคับกองเรือขึ้นไป ไดมา ณ ท่ีน้ัน ใหผู

ควบคุมแถวทหารรายงานตนเอง พรอมดวยกิจการท่ีกําลังปฏิบัติอยู ในขณะนั้น และตามปกติใหรายงานตอ
ผบู งั คับบัญชาผนู ้ัน เพียงครงั้ เดียวตลอดเวลาที่ตนกระทาํ หนาท่ี

๑.๗ เมื่อผบู งั คบั บัญชาไปที่เรอื หรือหนวยทหาร
๑.๗.๑ ผูบังคับหนวยเรือรายงานตนเอง และบัญชีพลของหนวยเรือ และผูบังคับการเรือรายงาน

ตนเอง และบัญชพี ลของเรือ สําหรับหนว ยบกใหปฏิบัติเชน เดียวกนั
๑.๗.๒นายทหารยาม หรือนายทหารเวรรายงานตนเอง และเหตุการณ ถาผูบังคับการเรือ หรือผู

บงั คับหนวยไมอยู และไมมผี ูท ําการแทนใหน ายทหารยาม หรือนายทหารเวร รายงานบัญชพี ลดว ย
๑.๗.๓ ถาผูบังคับบัญชาคนเดียวกันมาที่เรือ หรือหนวยทหารนั้นอีกในระหวางวันเดียวกัน จนถึง

เวลา ๐๘๐๐ ของวันรุง ข้นึ ใหรายงานตนเองคร้งั เดียว เฉพาะโอกาสแรกทม่ี า
๑.๘ เม่ือผูบังคับบัญชาชั้นสูงไปตรวจราชการ หรือไปเย่ียมเปนทางการ ในโอกาสท่ีผูบังคับบัญชาช้ันสูง

ตั้งแต ผบ.ทร.ขึ้นไป ไปตรวจราชการหรือไปเยี่ยมเปนทางการที่เรือ หนวยเรือ หรือหนวยทหารบนบก ให ผบ.เรือ
ทุกลํา ผูบังคับหนวยเรือ หรือผูบังคับบัญชาของหนวยทหารนั้น และหัวหนาหนวยขึ้นตรงที่มีตําแหนง ตั้งแตช้ันผู
บังคับกองพันขึ้นไป ไปรายงานตนเองในโอกาสแรก ท่ผี ูบังคับบัญชาชน้ั สูงน้ันมาถึง

๑.๙ เม่ือนายทหารช้ันผูใหญไปตรวจราชการ เม่ือนายทหารชั้นผูใหญที่ไดรับมอบหมาย หรือแตงต้ังจาก
ทร. หรือจากหัวหนา หนว ยท่ีขึน้ ตรง ทร. ไปตรวจการฝกหดั ศกึ ษา หรือตรวจราชการในหนว ยใด ใหผ บู งั คบั หนว ยท่ี
จะตองรับการตรวจนั้น ไปรายงานตนเองในโอกาสแรกที่ผูตรวจไปถึง เพื่อฟงขอราชการหรือรับคําช้ีแจงตาง ๆ
เกี่ยวกับการตรวจราชการท่ีมีแกหนวยของตน ถาผูบังคับหนวยท่ีจะตองรับการตรวจ มีอาวุโสสูงกวาผูตรวจ ใหจัด
ผูแทนท่มี ีอาวโุ สตํ่ากวา ผตู รวจไปรายงานแทน

๑.๑๐ เม่ือเรือหรือหนวยเรือจอดรวมกัน เม่ือเรือหรือหนวยเรือไปจอดรวมอาวกับเรือ หรือหนวยเรืออื่น ผู
บังคับการเรือ หรือผูบังคับหนวยเรือ ผูมีอาวุโสต่ํากวา จะตองไปรายงานตนเองตอผูบังคับการเรือ หรือผูบังคับ
หนวยเรือ ผูมีอาวุโสสูงสุด ณ ท่ีน้ันในโอกาสแรก เวนแตเม่ือเรือออกไปจากอาวไมเกิน ๒๔ ชม. แลวกลับเขามา
จอดรว มอาวใหม

๑.๑๑ เมอ่ื เรือไปจอด ณ ตําบลทีม่ หี นวยทหารเรอื ต้ังอยู เมื่อเรือหรือหนว ยเรือไปจอดนอกเขตท่ีตง้ั ปกติ ซงึ่ มี
หนวยทหารเรือต้ังอยู ใหผูบังคับบัญชาสูงสุดของหนวยเรือ หรือหนวยบกผูมีอาวุโสตํ่ากวา ไปรายงานตนเองตอผู
บังคับหนวย ทีมีอาวุโสสูงกวา ในโอกาสแรก เวนแตเมื่อเรือออกไปจากอาวไมเกิน ๒๔ ชั่วโมง แลวกลับเขามาจอด
ใหม

ในกรณีที่เรือที่หนวยเรือเขาไปจอดรวมอาว กับเรือที่มีผูบังคับบัญชาของตนซึ่งจอดอยูกอน หรือ
ในกรณีที่มีบังคับบัญชาของตน มาจอดรวมอาวในภายหลัง ใหผูบังคับการเรือไปรายงานตนเอง ตอผูบังคับบัญชา
ตามลําดบั ชั้นในโอกาสแรก

๑.๑๒ เมื่อจอดเรอื บรรดาเรอื และหนวยเรือ ท่ีเดนิ ทางเขา จอดรวมอาวพรอมกบั เรือธง หรอื เรือหัวหนา ถามี
เหตุการณสําคัญในระหวางเดินทาง ท่ีควรตองรายงานใหทราบดวยตนเอง ใหผูบังคับการเรือรายงานตนเอง และ
เหตุการณที่เกิดข้ึนตอผูบังคับหนวยเรือ ที่เปนผูบังคับบัญชาโดยตรงของตนในโอกาสแรก แลวใหผูบังคับบัญชา
หนวยเรือน้ัน รายงานตนเองและเหตุการณ ตอผูบังคับบัญชาโดยตรงของตนตอไป จนถึงผูบังคับบัญชาสูงสุดของ
หนว ยเรือนั้น

๑.๑๓ เมื่อไปราชการตางจังหวัดซึ่งมีหนวยทหารเรือตั้งอยู เมื่อนายทหารสัญญาบัตรไปราชการตางจังหวัด
และไปพักอยู ณ ตําบลที่มีหนวยทหารเรือตั้งอยู ถาจะพักอยูในตําบลนั้นเกินกวา ๒ วัน ตองไปรายงานตนเอง ตอ
ผูบงั คบั บญั ชาของหนวยทหารน้นั ภายในกําหนด ๒๔ ช่วั โมง นับแตเ วลาไปถงึ และถาพกั อยูนานกวา ๗ วัน เม่ือจะ
ไปจากตาํ บลนัน้ ตอ งไปรายงานตนเองอีกครั้งหน่ึง แตถาผูท่ีไปพักมียศหรืออาวุโสสูงกวา ผูบังคับบัญชาของหนวย
ทหารนัน้ กไ็ มตอ งไปรายงานตนเอง แตควรจะแจงใหทราบถึงการมาของตนดวย ถาผูไปพักเปนผูบังคับบัญชาของ
หนวยทหารน้ัน ใหผูบังคับบัญชาของหนวยทหารน้ัน ไปรายงานตนเองตอผูบังคับบัญชา ท่ีไปพัก การรายงาน
ตนเองดังกลาวน้ี ถามีความจําเปนอันเนื่องจาก การคมนาคมไมสะดวก หรือจะตองเดินทางไกลเกินสมควร จะงด
การรายงานตนเองเสยี ก็ได

๑.๑๔ การรายงานตนเองของนายทหารสัญญาบัตรใหม นายทหารใหมช้ันสัญญาบัตร ที่สําเร็จการศึกษา
จากโรงเรียนทหารในประเทศ หรือตางประเทศ หรือสําเร็จการศึกษาจากตางประเทศ หรือผูเพิ่งไดรับยศเปน นาย
ทหารสัญญาบัตร หากเปนการสมควรที่จะใหผูบังคับบัญชาช้ันสูงรูจัก ใหผูบังคับบัญชาชั้นตนของนายทหารใหม
เปนผูนําตัวนายทหารใหมทุกนาย ไปรายงานตนเอง พรอมกันตอผูบังคับบัญชา แลวผูรับรายงาน เปนผูนําไป
รายงานผูบังคับบัญชาชัน้ ถัดขึ้นไป จนถึงผูบังคับบัญชาหัวหนาหนวยข้ึนตรงกองทัพเรือ หรือผูบัญชาการทหารเรือ
แลวแตจะเห็นสมควร เวนแตนายทหารใหมที่สังกัดหนวยในตางจังหวัด ใหไปรายงานตนเอง เพียงผูบังคับบัญชา
สูงสุด ณ ที่น้นั

๒. กําหนดเวลาของการรายงานตนเอง
ปกติใหรายงานในระหวางเวลาราชการ เวนแตในกรณีใดซึ่งไดมีกําหนดไว ใหรายงานเมื่อใด หรือใน

โอกาสใดกใ็ หปฏบิ ัตติ ามที่กําหนดไว สาํ หรบั กรณีน้นั ๆ
การรายงานตนเองตามปกติซ่ึงมใิ ชเปน การดวน ใหรายงานภายใน ๒๔ ช่ัวโมง พนจากเวลาที่ไดรับคําส่ัง มี

เหตุ หรือมเี ร่อื งทจี่ ะตองรายงานใหท ราบ ถาเปนเรื่องดวนหรือจําเปนใหรายงานไดทุกขณะ ท้ังน้ี ใหอยูในดุลยพินิจ
ของผรู ายงานดวย วากรณีนน้ั ๆ เปน เรอ่ื งดว น หรือจําเปนมากนอยเพยี งใด

๓. วิธีรายงานตนเอง
๓.๑ ใหรายงานดวยวาจา โดยรายงานยศ นาม ตําแหนง ของตนกอน แลวจึงรายงานเร่ืองราวของ กิจการ

หรอื เหตกุ ารณท ่ผี รู ายงานมหี นา ท่ตี องรายงานใหทราบ

๓.๒ ถาผูรับรายงานไมอยูหรือไมสามารถรับรายงานได และการรายงานนั้น เปนเรื่องปกติไมสําคัญอยาง
ใด ก็ใหผ รู ายงานเขียนรายงาน ลงในสมดุ รายงานตนเอง ประกอบดวยขอความ เชน เดียวกบั การรายงานดว ยวาจา แต
ถาผูรายงานมีราชการสําคัญ และจําเปนจะตองรายงานดวยวาจา ก็ใหติดตอแจงเร่ืองใหนายธง นายทหารคนสนิท
หรอื นายทหารธรุ การ เสนอความประสงคใหผรู ับรายงานทราบ เพ่อื กาํ หนดเวลาวาจะใหไปรายงานเมือ่ ใด

๓.๓ การรายงานในกรณีท่ี มีผูบังคับบัญชาอยูพรอมกันหลายคน ใหรายงานเฉพาะผูบังคับบัญชาสูงสุด แต
ผเู ดยี ว ทร.มิไดก ําหนดรายละเอยี ดของขอความ ในการรายงานตนเองไว แต กร.ไดกาํ หนดเกี่ยวกบั คํารายงานตนเอง
ตามตวั อยา งดังน้ี

เม่ือยายตาํ แหนง
"เรือเอก นาวี รักชาติ ผูบังคับการเรือหลวงตองปลิว ตามคําสั่งกองทัพเรือที่ สองรอยสามสิบทับ

สองพันหารอยยี่สิบสาม ใหกระผมเปนตนเรือ เรือหลวงโพสามตน กองเรือทุนระเบิดน้ัน บัดนี้ กระผมไดปฏิบัติ
ตามคาํ ส่ังนน้ั แลว "

เม่อื เรอื ยา ยขาดสังกดั ไปขึ้นอยกู ับผูบงั คับบัญชาคนใหม หรือเมอ่ื ไปหรอื กลบั จากราชการ
"เรือเอก รัก ชาตินาวี ผูบังคับการเรือหลวงสารสินธุ ตามคําสั่งกองเรือยุทธการท่ี ย่ีสิบเจ็ดทับสอง

พันหารอยย่ีสิบสาม ใหเรือหลวงสารสินธุ ไปสังกัดหมวดเรือลาดตระเวนชายแดนนั้น กระผมไดปฏิบัติตาม คําสั่ง
น้ันแลว "

เม่ือเปน นายทหารยามพรรคนาวนิ เรอื จอด หรอื นายทหารยามพรรคนาวินประจาํ วนั
"เรือโท เกียรติ กลาหาญ ตนปน ไดรับหนาท่ีเปนนายทหารยามพรรคนาวิน ประจําวันต้ังแตเวลา

ศูนยแปดศนู ยศนู ย จนถึงบดั น้ีเหตกุ ารณป กติ"

๔. การแตง กายในการรายงานตนเอง
๔.๑ ระเบียบ ทร.วาดวยการรายงานตนเอง กําหนดเรื่องการแตงกาย ในการรายงานตนเองไววา ตามปกติ

ใหแตง เคร่ืองแบบปกตขิ าว เวนแต
๔.๑.๑ เม่ือเรือจอดในทะเลหรือในอาว ใหแตงเครื่องแบบปกติขาวคอพับ (แขนสั้น) สําหรับการ

รายงานตนเอง ระหวา งหนว ยบกกับหนว ยเรอื ในโอกาสเชนน้ี ใหแตงเครอื่ งแบบปกตขิ าวคอพับ (แขนสนั้ ) ดวย
๔.๑.๒ ในโอกาสท่ีมีการฝกทํานองยุทธ หรือการฝกราชการสนาม และเปนการรายงานตอ

ผบู งั คบั บัญชาของตน ท่ไี ปฝก ดวยกนั จะแตง เคร่อื งแบบตามที่ใชก ัน ในขณะทาํ การฝก กไ็ ด
๔.๑.๓ ในเวลาที่ปฏิบตั ิหนาที่ราชการบางอยาง เชน ในเวลาควบคุมแถวทหาร เปนนายทหารยาม

นายทหารเวร หรอื เปนผบู ังคับหนว ยรักษาการณ ใหแ ตงเครื่องแบบตามหนา ทใ่ี นขณะน้นั
๔.๑.๔ ในการเดินทางไปตางจังหวัด ซ่ึงจะตองรายงานตนเองตอผูบังคับหนวยทหาร ณ จังหวัด

น้ัน ถาไมสามารถหาเครื่องแตง กาย ใหถ กู ตองตามท่ีกาํ หนดไว กใ็ หแตง เครื่องแบบอยางอืน่ เทาทีม่ ีอยู ในขณะน้ัน

๔.๒ เน่ืองจาก ทร.ไดกําหนดใหมีการรายงานตนเอง เม่ือผูบังคับบัญชาช้ันสูงต้ังแต ผบ.ทร. ขึ้นไป ไป
ตรวจราชการ หรือไปเย่ียมเปนทางการ (ดูขอ ๑.๘) แตมิไดกําหนดไว ในกรณีท่ีผูบังคับบัญชาช้ันสูงไปเยี่ยมหนวย
หรือเขาไปในพ้ืนที่ของหนวย อยางไมเปนทางการ ทร.จึงไดกําหนดการปฏิบัติไวเฉพาะกรณีท่ี ผบ.ทร.ไปตรวจ
เยย่ี มหนวย หรือเขาไปในพื้นที่ของหนว ย ดังนี้

๔.๒.๑ เมื่อเปนทางการใหผูรายงานตนเอง แตงเคร่ืองแบบตามระเบียบ ทร.วาดวยการรายงาน
ตนเอง พ.ศ.๒๕๑๒

๔.๒.๒ เม่ือไมเปนทางการ และเขาไปในพื้นที่หนวย ในเวลาราชการ แตงเครื่องแบบปฏิบัติงาน
ตามปกติ หรือเชน เดียวกับ ผบ.ทร. นอกเวลาราชการใหห ัวหนาหนว ย หรอื ผูทาํ การแทนตอนรบั โดยไมต อ งรายงาน
ตนเอง แตง กายเคร่ืองแบบชดุ ปฏบิ ัตงิ าน หรอื พิจารณาตามความเหมาะสม

------------------------------------------------------------

การรายงานบญั ชพี ล
ในโอกาสที่ผูบังคับบัญชาไปที่เรือ หรือหนวยทหารนั้น นอกจากผูบังคับหนวยจะรายงานตนเองแลว
จะตองรายงานบัญชีพลดวย (ดูขอ ๑.๗) ซึ่ง ทร.ไดอนุมัติใหหนวยตาง ๆ ถือปฏิบัติเก่ียวกับการรายงานบัญชีพล ไว
ดังนี้
"(ยศ ชื่อ ช่ือสกุล ตําแหนง) ขอรายงานบัญชีพล คงกอง/คงเรือ ... นายทหาร... พันจา ... จา ... พลทหาร ...
ลูกจา ง ... จําหนาย ... คงสังกัด ..."
ทั้งนี้จํานวน คงกอง/คงเรือ เปนจํานวนกําลังพลท่ีมีอยูในขณะรายงาน และจํานวนคงสังกัด เปนยอดกําลัง
พลที่บรรจไุ วป ระจาํ มกี ารเปลี่ยนแปลงนอย

------------------------------------------------------------

บทที่ ๓

การเคารพ
การเคารพเปนกิริยาที่แสดงการทักทาย เมื่อผานหรือพบกัน แสดงความเปนมิตรกัน ท้ังผูแสดง และผูรับ
นบั เปน ธรรมเนยี ม และจรรยาอันดงี ามทบ่ี ุคคลพงึ ปฏบิ ตั ิ การแสดงการเคารพ เปน การแสดงความนับถือ ซึ่งกันและ
กัน กอใหเกิดความสามัคคีทางจิตใจ เปนการฝกใหทหาร มีลักษณะทหารอยางสมบูรณ และการแสดงการเคารพ
ของหมูทหารเปนเคร่ืองบอกถึง ความมีระเบียบวินัยของทหาร และความเอาใจใสในการปกครอง ของ
ผูบังคับบัญชาทหารดวย จึงเปนเครื่องเชิดชูเกียรติของทหาร อยางไรก็ตามในแตละหนวยทหาร มิไดมีแตเฉพาะ
ขาราชการทหาร และทหารกองประจําการเทาน้ัน ยังประกอบดวย ขาราชการกลาโหมพลเรือน และลูกจางท่ี
ปฏบิ ตั งิ านรว มกนั ดว ย จงึ จําเปน ทีจ่ ะตองมี หลักเกณฑในการเคารพ สําหรับทหารขาราชการกลาโหมพลเรือน และ
ลูกจาง

การเคารพของทหาร
การเคารพของทหารน้ัน ถือปฏิบัติตามขอบังคับทหารวาดวยการเคารพ นอกจากนี้ยังมีคําช้ีแจง

เพม่ิ เตมิ ตาง ๆ ดวย

ขอ บังคับทหารวาดวยการเคารพ
๑. กระทรวงกลาโหมไดออกคําส่ังเม่ือ ๑๒ มี.ค.๗๘ ใหบรรดากรมกองใน กห.ปฏิบตั ิตามขอบังคับทหาร
วาดว ยการเคารพ โดยแบง ออกเปน ๓ ตอน คือ

ตอนท่ี ๑ วาดว ยการเคารพบนบก
ตอนที่ ๒ วาดว ยการเคารพในเรือ
ตอนท่ี ๓ เบ็ดเตลด็ ไดแ กก ารเคารพผูแ ทน ขาราชการพลเรือน ธงประจํากองลูกเสือ และตารางการ
เคารพ
ขอ บงั คบั ทหารนี้ไดม กี ารแกไขจนถงึ คร้ังสดุ ทา ยเมอ่ื ป ๒๕๒๖ และใชอ ยูจนถงึ ปจจบุ นั ดงั นี้

(สาํ เนา)
ขอ บังคบั ทหาร
วา ดว ยการเคารพ

ตอนที่ ๑
วา ดว ยการเคารพบนบก

มาตรา ๑
การเคารพเม่อื อยูตามลําพัง

ทา เคารพ ขอ ๑ ทาเคารพของทหารเมอื่ อยูตามลาํ พังมีดงั นี้
(๑) สวมหมวกมไิ ดถ อื ปน ทาํ วนั ทยหัตถ
(๒) มไิ ดส วมหมวกและมิไดถ ือป
ก. อยูกบั ที่ ทาํ ทาตรง แลวทําแลขวา(ซา ย)
ข. กาํ ลังเคล่ือนที่ ทาํ ทา เดิน แลวทาํ แลขวา(ซา ย)
(๓) ถอื ปน
ก. อยกู บั ทที่ าํ ทา วันทยาวธุ
ข. อยูกบั ท่เี ม่ือสะพายอาวธุ อยู ทาํ ทาตรง แลว ทําแลขวา(ซาย)
ค. เคลอื่ นที่ ทําทา เดนิ แลว ทาํ แลขวา(ซาย)
(๔) ขมี่ า
ก. มไิ ดส ะพายปน ถา สวมหมวกทําวันทยหัตถ มิไดส วมหมวกทําแลขวา (ซาย)
ข. สะพายปน ทาํ แลขวา(ซา ย)
(๕) เม่ือมิไดสวมหมวกใหนายทหารช้ันสัญญาบัตรแสดงการเคารพดว ยวิธกี ม ศรี ษะ

ผรู บั การเคารพ ขอ ๒ ทหารตอ งแสดงการเคารพตอ ผหู รือส่ิงซง่ึ จะกลา วตอไปน้ีคอื
(๑) พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั
(๒) สมเด็จพระบรมราชนิ ี
(๓) สมเด็จพระบรมราชชนนี
(๔) รชั ทายาท
(๕) พระเจาแผนดนิ และพระราชนิ ีตางประเทศ
(๖) พระบรมวงศซึ่งเสด็จโดยมีธงราชวงศ
(๗) เจาตา งประเทศซงึ่ เปนเอกราชและเสดจ็ โดยมีธงราชวงศ
(๘) ผสู าํ เรจ็ ราชการแทนพระองค
(๙) นายกรฐั มนตรี
(๑๐) รัฐมนตรวี าการกระทรวงกลาโหม
(๑๑) ทหารตอ ทหารหรอื ตํารวจ
(๑๒) ทหารตางประเทศซึ่งแตงเครือ่ งแบบ
(๑๓) พระบรมศพและพระบรมอัฐิ
(๑๔) พระศพและพระอัฐพิ ระบรมวงศ
(๑๕) ศพซึง่ มีกองทหารแหเปนเกียรตยิ ศ
(๑๖) ธงประจาํ กองทหาร
(๑๗) ธงประจาํ กองยวุ ชนทหาร
(๑๘) ธงชาตปิ ระจาํ สํานกั งานของรฐั บาลในขณะข้ึนลง, ธงหมายยศ และตาํ แหนง ตัง้ แต ชั้นผู
บัญชาการทหารเรอื ขึน้ ไป และธงราชนาวปี ระจําเรือใหญ ในขณะทาํ พธิ ขี ้ึนลง
(๑๙) ธงมหาราช, ธงราชิน,ี ธงบรมราชวงศ, ธงเยาวราช และธงราชวงศ เวลา ผา นหรือชกั ขึ้นลง
(๒๐) อนสุ าวรียร ปู บคุ คลซง่ึ หลอ, ปน หรอื ทําดวยหนิ ตงั้ ไวขณะเมือ่ รฐั บาลมีงานฉลอง
(๒๑) หัวหนาคณะผูแทน ทางทูตของตางประเทศที่เขาไปปฏิบัติหนาที่ เปนทางราชการใน
พระบรมมหาราชวัง โดยรถยนตท่ีมีธงประจําตําแหนง หรือโดยรถยนตหลวง ท่ีไดมีธงประจํา
ตําแหนง

ผหู รอื ส่ิงทตี่ องหยุดทํา ขอ ๓ ทหารกําลังเดินอยู ใหห ยดุ ทาํ การเคารพตอผู หรอื ส่ิงซ่ึงจะกลา วตอ ไปนี้ ซึง่ กําลงั เคลือ่ นท่ี

การเคารพ คือ

(๑) พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู ัว

(๒) สมเดจ็ พระบรมราชนิ ี

(๓) สมเด็จพระบรมราชชนนี

(๔) รัชทายาท

(๕) พระเจา แผน ดนิ และพระราชนิ ีตา งประเทศ

(๖) พระบรมวงศซึ่งเสด็จโดยมีธงราชวงศ

(๗) เจา ตางประเทศซึ่งเปนเอกราชและเสดจ็ โดยมธี งราชวงศ

(๘) ผูสาํ เรจ็ ราชการแทนพระองค

(๙) นายกรัฐมนตรี

(๑๐) ผูบังคบั บัญชาของตนทุกชนั้

(๑๑) พระบรมศพและพระบรมอฐั ิ

(๑๒) พระศพและพระอัฐพิ ระบรมวงศ

(๑๓) ศพซ่ึงมกี องทหารแหเปน เกียรตยิ ศ

(๑๔) ธงประจาํ กองทหารและกองยวุ ชนทหาร

ทงั้ น้ี ใหทําการเคารพเม่ือถึงระยะประมาณ ๓ กาว จากผูห รือซง่ึ ตอ งทําการเคารพ และเลกิ เคารพ

เมือ่ ผานไปแลว ประมาณ ๒ กาว

(๑๕) ธงชาตปิ ระจําสาํ นกั งานของรฐั บาล ธงราชนาวปี ระจาํ เรอื ใหญ ธงมหาราช ธงราชินี ธงบรม

ราชวงศ ธงเยาวราช และธงราชวงศ ในขณะชักข้นึ ลง

เคารพกอนและหลัง ขอ ๔ ผูม ยี ศตํ่าตอ งทําการเคารพผูม ยี ศสงู นักเรยี นทหารตองทําการเคารพซ่ึงกนั และกนั ผเู รยี น

ชั้นตํา่ ตอ งทาํ การเคารพผูเ รยี นชนั้ สูง และพลทหารตองทําการเคารพ พลทหารซึง่ เขารับราชการ

กอ น ผูม ยี ศหรอื อาวโุ สสงู กวา ตอ งเคารพตอบ ถา ยศเสมอกนั หรอื เปน นกั เรยี นทหารช้ันเดียวกนั

หรอื เปนพลทหารปเดียวกนั หรือถา ไมแนใจวา ใครจะมีอาวโุ สสูงกวา กัน ตองทาํ การเคารพซ่งึ กนั

และกันโดยไมเ กีย่ งงอน

ขอ ๕ ใหเทียบชัน้ การเคารพสาํ หรับนักเรียนทหารไวดังน้ี

การเทยี บช้ันการเคารพ (๑) นักเรยี นทหารในโรงเรยี นทหาร ท่ีจะเปนนายทหารชน้ั สญั ญาบตั รเทยี บเทา สบิ เอก จาเอก

สําหรับนักเรียนทหาร หรือจาอากาศเอก

(๒) นกั เรยี นทหารในโรงเรียนทหาร ที่จะเปนนายทหารประทวนเทียบเทา พลทหารอาวโุ ส

การรับการเคารพ ขอ ๖ เมือ่ ทหารอยดู ว ยกนั หลายคน ผมู ยี ศหรืออาวโุ สสงู เปน ผรู บั เคารพแตผ เู ดยี ว

ถอดหมวกเคารพไมไ ด ขอ ๗ ถา ทหารสวมหมวกอยู จะถอดหมวกเคารพแกผ ใู ดมิได

เคารพสถานท่ี ขอ ๘ เมอ่ื ทหารเขาไปในพระทนี่ งั่ , โบสถ, วหิ าร, ท่วี า การ หรอื เคหะสถาน เพอ่ื เคารพตอสถานที่
นนั้ ใหถอดหมวก

เคารพเมื่อไดย นิ เพลง ขอ ๙ เม่อื ทหารอยรู ว มสถานที่ ซ่ึงมีการบรรเลงเพลงเปนเกียรติยศ ตอ งทาํ การเคารพ จนกวา จะสิ้น

เคารพ เพลงเคารพนน้ั

เรม่ิ และเลกิ เคารพ ขอ ๑๐ การเคารพใหเร่มิ และเลกิ ดังตอ ไปนี้

(๑) เม่อื ผานใหเ ร่ิมกระทําในระยะหา งเมอ่ื เหน็ ไดถ นดั และกอ นทจี่ ะผา น ประมาณ ๓ กาว เลกิ

เคารพเม่ือผานไปแลว ประมาณ ๒ กาว

(๒) เมอื่ เขาไปหา ใหเ ร่ิมเคารพกอ นถึงผหู รอื สิ่งซ่งึ ตองเคารพประมาณ ๓ กาว เลกิ เคารพ เมอ่ื

ไดรับอนญุ าตหรือเสร็จกจิ แลว

(๓) เม่อื ผูห รือสิ่งซงึ่ ตอ งเคารพ เขา มายังบริเวณทตี่ นอยใู หเ ริ่ม และเลิกเคารพในโอกาสอันควร

การเคารพ มาตรา ๒
วิธีเคารพ การเคารพดว ยธงประจํากอง

ขอ ๑ ทาเคารพดว ยธง มดี ังนี้
(๑) อยูกบั ท่ี
ก. ใหลดธงลง
ข. ใหถือธงทา ยกธง
(๒) เคลอ่ื นท่ี ใหถ อื ธงทา ยกธง

ขอ ๒ วธิ ีเคารพดวยธง ใหป ฏิบัตดิ งั นี้
(๑) อยูกบั ท่ี ลดธงถวายความเคารพแด พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหวั พระบรมศพพระบรมอัฐิ
และประมขุ ตา งประเทศ ซึ่งมาเยอื นประเทศไทยเปน ทางราชการ นอกจากนไ้ี มตองทาํ การเคารพ
ดว ยธง เวน แตเ ปน ธงประจํากองเกยี รตยิ ศ จัดสาํ หรบั ผหู รือสงิ่ ใด จึงใหท าํ การเคารพดว ยทา ยกธง
แกผ นู ั้นหรือสิง่ นัน้ ดว ย
(๒) เคล่อื นท่ี ถือธงทายกธงถวายความเคารพ แดพ ระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู ัว, พระบรมศพ
และพระบรมอฐั ิ เทา น้นั
(๓) เมื่อธงแสดงการเคารพ ใหน ายทหารรกั ษาธงทาํ วนั ทยาวธุ ดว ยทากระบี่ และผูชว ยผเู ชญิ ธง
ทาํ แลขวา(ซาย)

โอกาสทีต่ อ งเคารพ ขอ ๓ การเคารพดว ยธงประจํากองนน้ั ใหก ระทําเฉพาะเม่อื ธงทเ่ี ชญิ ไดค ลี่ไว

เพลงเคารพ มาตรา ๓
การบรรเลงเพลงเคารพ
วิธีบรรเลง
เครอ่ื งบรรเลงประจาํ ขอ ๑ เพลงเคารพ แบงแยกตามชนดิ ของเครอ่ื งบรรเลงดังนี้
แถว (๑) เพลงเคารพดว ยแตรวง คอื
ก. เพลงสรรเสรญิ พระบารมี
ข. เพลงชาติ
ค. เพลงมหาไชย
ง. เพลงมหาฤกษ
จ. เพลงมารชธงชยั เฉลิมพล
(๒) เพลงเคารพดวยแตรเดีย่ ว คือ เพลงคาํ นบั
(๓) เพลงเคารพดวยขลยุ กลอง คอื เพลงมหาไชย

ขอ ๒ การบรรเลงเพลงเคารพนัน้ มวี ธิ บี รรเลง ๒ วธิ ี
(๑) วิธีบรรเลงเพลงเคารพ ของเครอื่ งบรรเลงประจาํ แถว
(๒) วธิ ีบรรเลงเพลงเคารพ ของเครอ่ื งบรรเลงที่มไิ ดประจาํ แถวการบรรเลงเพลงเคารพทงั้ ๒ วธิ ี
นี้ กระทาํ เฉพาะเมือ่ เครอ่ื งบรรเลงอยูกับที่ และเฉพาะในพธิ เี กยี รติยศ สาํ หรบั พระบาทสมเดจ็
พระเจา อยหู ัว, สมเด็จพระบรมราชิน,ี สมเด็จพระบรม ราชชนนแี ละรชั ทายาท ทัง้ ๔ พระองคนี้
ไมวาในพธิ ีใด ๆ หรือไมก ็ดี ตองบรรเลงเพลงเคารพถวายเสมอ

ขอ ๓ เครื่องบรรเลงประจําแถว บรรเลงเพลงเคารพดวยเพลงตาง ๆ แกผูหรือสิ่ง ซ่ึงรับความ
เคารพดังน้ี
(๑) แตรวง บรรเลง
ก. เพลงสรรเสริญพระบารมี สาํ หรบั
- พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหัว
- สมเดจ็ พระบรมราชินี
- สมเด็จพระบรมราชชนนี
- รัชทายาท
- พระบรมศพและพระบรมอฐั ิ
- ธงมหาราช, ธงราชนิ ,ี ธงบรมราชวงศ, ธงเยาวราช เวลาผานหรอื ชักขนึ้ ลง

ข. เพลงชาติ สําหรับ
- ธงประจาํ กองทหาร
- ธงประจาํ กองยวุ ชนทหาร
- ธงชาติประจําสํานักงาน ของรัฐบาลในขณะข้ึนลง และธงราชนาวี ประจําเรือใหญ ในขณะ

ทําพธิ ธี งขน้ึ ลง
ค. เพลงมหาไชย สําหรับ
- พระบรมวงศ
- ผูสาํ เร็จราชการแทนพระองค
- ธงราชวงศ เวลาผา นหรือขึน้ ลง
- นายทหารทีม่ ยี ศจอมพล จอมพลเรอื หรอื จอมพลอากาศ
ง. เพลงมหาฤกษ สําหรับผหู รือสิ่งอืน่ ซึ่งมไิ ดก ลา วใน ก. ข. ค.
จ. เพลงมารชธงชัยเฉลิมพล สําหรับธงประจํากองทหาร ในงานพิธีกระทําสัตยปฏิญาณตน ตอ

ธงชยั เฉลิมพล
(๒) แตรเดย่ี ว เปาเพลงคาํ นบั อยางเดียวแตต า งกันดวยจํานวนจบ ดงั น้ี
ก. เปา ๓ จบ สาํ หรบั ผู หรอื สิง่ ซ่ึงแตรวงตอ ง บรรเลงเพลงสรรเสรญิ พระบารมี และเพลงชาติ
ข. เปา ๒ จบ สําหรับผู หรอื สง่ิ ซึ่งแตรวงบรรเลงเพลงมหาไชย
ค. เปา ๑ จบ สําหรับผู หรือสิ่งซ่ึงแตรวงบรรเลงเพลงมหาฤกษ และในพิธีเปล่ียนกอง

รักษาการณ
(๓) ขลุยกลอง บรรเลงเพลงมหาไชยถวายพระบาทสมเด็จพระเจา อยูหัว, สมเด็จพระบรมราชินี,
สมเด็จพระบรมราชชนนี, และรัชทายาท และในพธิ เี ปลยี่ นกองรกั ษาการณ

อนงึ่ ถา แถวทหารนน้ั ๆ มเี ครื่องบรรเลงหลายประเภท ใหเปนหนาที่ของแตรวง ถาไมมี
แตรวง ใหเปนหนา ทขี่ องแตรเดีย่ ว สวนขลุยกลองนนั้ ใชบรรเลง แตเ ฉพาะไมมีเครื่องบรรเลงอ่ืน
ๆ เวน แตการบรรเลงเพลงเคารพ เม่อื ขณะเปลีย่ นกองรักษาการณ ถามแี ตรเด่ียวใหเ ปนหนาที่ของ
แตรเดี่ยว ถาไมมีแตรเดี่ยวใหเปนหนาท่ีของขลุยกลอง สวนแตรวงบรรเลงเฉพาะเม่ือ รับสงธง
ประจํากอง

เครอื่ งบรรเลงไมประจํา ขอ ๔ เคร่อื งบรรเลงท่ีมิไดป ระจําแถว บรรเลงเพลงเคารพเชนเดยี วกบั เครอื่ งบรรเลงประจําแถว
แถว แตบ รรเลงเฉพาะ

(๑) ถวายพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหวั , สมเด็จพระบรมราชิน,ี สมเด็จพระบรมราชชนนี และรชั
ทายาท เมอื่ เสดจ็ เขา มายงั ทนี่ ัน้ และเมื่อเสดจ็ กลบั หรือเม่อื เสดจ็ ผา น
(๒) บรรเลงเพลงเคารพอืน่ ๆ เพื่อเปน เกียรตยิ ศตามกาํ หนดการนนั้ ๆ

ทาเคารพ มาตรา ๔
วธิ เี คารพ การเคารพเมื่ออยใู นความควบคุม
เคารพเฉพาะผคู วบคุม
ขอ ๑ ทาเคารพของทหารเมอ่ื อยูในความควบคุม มีดงั น้ี
(๑) แถวทหารถืออาวธุ อยูกับท่ี ทําวนั ทยาวธุ
(๒) แถวทหารสะพายอาวธุ หรอื ไมถ อื อาวธุ อยกู บั ที่ ทาํ ทา ตรง แลว ทาํ แลขวา (ซาย)
(๓) แถวทหารกําลังเดิน ทําแลขวา(ซาย)
(๔) ทหารที่ไมไดอยเู ปน แถว แตต องรวมกันอยูเ ปน กลมุ กอน และมผี คู วบคุมประจํา
ก. อยกู บั ท่ี ทําทา ตรงแลว ทําแลขวา(ซา ย)
ข. กาํ ลังเคลอ่ื นที่ ทาํ ทาเดนิ แลว ทําแลขวา(ซา ย)
การเคารพในหมายเลข (๔) น้ี ผูควบคมุ จะสง่ั ใหทําการเคารพตามลาํ พังกไ็ ด

ขอ ๒ วธิ แี สดงการเคารพของทหารเม่อื อยใู นความควบคมุ มดี งั นี้
(๑) ทหารทอี่ ยใู นความควบคุมตองทําการเคารพ ตามขอ ๑. แหงมาตราน้ี แกผูหรือส่ิงตามขอ ๒.
แหง มาตรา ๑ ตงั้ แตหมายเลข (๑) ถึง (๗) กบั (๑๒) ถงึ (๑๘) และผูบังคบั บญั ชาตง้ั แต ชนั้ ผบู งั คบั
กองรอ ย หรอื ผบู ังคบั การเรือข้นึ ไป
(๒) แถวทหารซ่งึ พักอยู ตอ งเรียกแถว, ทหารมามิไดอยูบนหลังมาตองขึ้นมา, ทหารขี่ขับมา และ
ขับรถมไิ ดอยบู นหลงั มา และบนรถตองขึ้นมา และขึ้นรถ, ถวายความเคารพ พระบาทสมเดจ็ พระ
เจาอยหู วั , สมเด็จพระบรมราชินี และรชั ทายบาท

ขอ ๓ ผคู วบคมุ แถวทหารอยูกับที่ ถาขัดกระบ่ีหรอื ดาบอยู เมอื่ บอกแถวทหาร ทําการเคารพดวยทา
อาวุธ ใหตนทําการเคารพดวยทากระบ่ีหรือดาบ นอกจากที่กลาวแลวนี้ ผูควบคุมทําการเคารพ
อยา งอยตู ามลําพงั และถา ชกั กระบห่ี รอื ดาบยู ตามระเบียบของการบังคับแถว ใหทําการเคารพดวย
ทาอาวุธน้ัน ผูควบคุมแถวทหารพลรบก็ดี หรือผูควบคุมแถวทหาร ผูชวยพลรบท่ีถือปน ในเวลา
ตรวจพลสวนสนามก็ดี ถา ขดั กระบี่หรอื ดาบอยู เมือ่ บอกแถวทําการเคารพ ใหตนทําการเคารพดวย
ทากระบี่หรือดาบ

เร่มิ และเลิกเคารพ ขอ ๔ การเรม่ิ เคารพ ใหกระทาํ เม่ือเหน็ ไดถ นดั หรืออนโุ ลมตามโอกาส และ สถานที่เม่ือผู หรือสง่ิ
ซง่ึ รบั การเคารพผา นพน ไปประมาณ ๓ กา ว หรอื เม่อื จบเพลงเคารพแลว จงึ เลกิ การเคารพ

มาตรา ๕
การเคารพของกองรกั ษาการณแ ละทหารยาม

ทาเคารพ ขอ ๑ ทา เคารพของกองรกั ษาการณ และทหารยาม มดี งั น้ี
วิธเี คารพ (๑) อยกู ับที่ ทาํ วนั ทยาวธุ
(๒) เคลอื่ นท่ี ทําทาเดนิ แลว ทาํ แลขวา(ซาย)
ทา เคารพ
วิธเี คารพ ขอ ๒ วธิ แี สดงการเคารพของกองรกั ษาการณ และทหารยาม มดี ังนี้
(๑) สาํ หรบั กองรักษาการณ เรยี กแถวทาํ วนั ทยาวธุ แกผ ู และส่ิงตามทก่ี ลา วในมาตรา ๑ ขอ ๒
ต้ังแตหมายเลข (๑) ถงึ (๗) กบั (๑๒) ถึง (๑๘) และผูบงั คบั บัญชา ตง้ั แตชั้นผูบังคับกองพนั หรอื
ผบู ังคบั การเรอื ขน้ึ ไป
(๒) สาํ หรบั ทหารยาม
ก. เมือ่ อยกู ับที่ ทาํ การเคารพดว ยวธิ วี นั ทยาวธุ แกผ แู ละสิง่ ตามมาตรา ๑ ขอ ๒ แตไ มต องเคารพ

ทหารซ่งึ ต่าํ กวา ชน้ั สญั ญาบตั ร
ข. เม่ือเคลื่อนที่ ทําการเคารพแกผ แู ละส่ิง เชน หมายเลข ก. ดวยทาํ แลขวา (ซา ย)
ระเบยี บการอยางอนื่ นอกจากท่ีกลา วแลว ในมาตราน้ี ใหป ฏิบตั อิ นุโลมตามทกี่ ลา วไว ในมาตรา


มาตรา ๖
การเคารพของกองเกยี รตยิ ศ

ขอ ๑ ทา เคารพของกองเกยี รตยิ ศ มีทาเดยี ว คอื วันทยาวธุ

ขอ ๒ วธิ ีแสดงการเคารพของกองเกยี รตยิ ศ มดี ังนี้
(๑) กองเกยี รตยิ ศ จดั สําหรบั ผูใ ดหรอื สิง่ ใด ใหทาํ การเคารพแกผ ูนน้ั หรอื ส่งิ น้นั ผูบงั คบั กอง
เกยี รตยิ ศ ปฏบิ ัตกิ ารอนโุ ลมตามวธิ รี บั ตรวจพล กอ นที่ผหู รือสิ่งซงึ่ รบั เกยี รติยศ จะไดร บั การ
เคารพตามระเบียบนั้น กองเกยี รตยิ ศ ถวายการเคารพเฉพาะ พระบาทสมเด็จพระเจา อยูหวั
สมเด็จพระบรมราชนิ ี สมเดจ็ พระบรมราชชนนี และรชั ทายาท แตถ าพระองคซง่ึ ทรงราช
อสิ รยิ ยศสงู กวา เสดจ็ ถึงกอ น ก็ไมตอ งถวายการเคารพแก พระองคซ ่ึงทรงราชอิสรยิ ยศตํ่ากวา อีก
และในการนผี้ บู ังคับกองเกียรตยิ ศ ไมต องปฏบิ ตั ิอยา งการรับตรวจพล

การถวายการเคารพตามความในวรรคกอ น หากเปนกองเกยี รตยิ ศสาํ หรับศพ ใหถวาย
การเคารพเทาน้นั ไมตองบรรเลงเพลงสรรเสรญิ พระบารมี ท้งั ในเวลาเสดจ็ พระราชดําเนนิ มาถึง
และเสด็จพระราชดาํ เนนิ กลบั
(๒) ถาเปนกองเกียรตยิ ศซ่ึงจดั ไปเคารพศพ ใหแ สดงการเคารพในเวลาเผา หรือฝง โดยใหแ ตร
เด่ยี วเปาเพลงนอน ๑ จบแลว ใหห นว ยทหารเคารพศพกระทาํ วันทยาวธุ แตรวง หรือแตรเดย่ี ว
บรรเลงเพลงเคารพ ตามทีก่ าํ หนดในมาตรา ๓ เมือ่ จบแลว ทาํ เรยี บอาวธุ คงอยูใ นทาตรง ตอไปน้ี

ถา มแี ตรวงใหบ รรเลงเพลงโศก ๑ จบ เปน เสรจ็ การ ระเบยี บการอยางอน่ื นอกจากทกี่ ลา วแลว ใน
มาตราน้ี ใหปฏิบัติอนโุ ลม ตามท่กี ลา วไวใ นมาตรา ๔

มาตรา ๗
การผอ นผนั

เมื่อทําวันทยาวธุ ขอ ๑ ถาไมสามารถทาํ การเคารพดว ยทาวนั ทยาวธุ หรอื ทาํ วนั ทยหตั ถไ ดให
หรือวันทยหตั ถ ไมได (๑) อยกู บั ท่ี ทาํ ทา ตรงแลว ทาํ แลขวา(ซา ย)

(๒) เคลือ่ นท่ี ทาํ ทา เดนิ แลว ทําแลขวา(ซา ย)

ไมต อ งเคารพผู มียศต่ํา ขอ ๒ ทหารสนทนาหรอื ตดิ ตอ อยูกับผมู ียศสูงกวา ไมต องแสดงการเคารพผมู ยี ศ ตา่ํ กวาผูซ่ึงตน
กวาผูซง่ึ ตนอยดู ว ย อยดู ว ย แตถาอยูเ ฉพาะพระพักตร พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหวั , สมเด็จพระบรมราชินี, สมเดจ็

พระบรมราชชนนี และรชั ทายาท ไมตอ งทาํ การเคารพแกผ ใู ด นอกจากพระองคน ้ี
ทหารในความควบคมุ อยูต อ หนาผซู งึ่ แถวทหาร ตองทาํ การเคารพให ไมต องทาํ การเคารพผซู ึ่ง
ตาํ่ กวา เวนแตเปน ระเบียบการเคารพ ของกองเกียรตยิ ศ

ถอดหมวกไหวพระได ขอ ๓ ทหารสวมหมวกอยู จะถอดหมวกเพอ่ื ไหวพระกไ็ ด

โอกาสที่ไมต อ งเคารพ ขอ ๔ ในโอกาสตอ ไปนีท้ หารไมต องทาํ การเคารพแกผ ูใด
(๑) เม่ือกําลงั เลน กฬี า
(๒) เมอื่ อยใู นทชี่ มุ นุมซ่งึ ตองการความสงบ
(๓) เมอื่ เจ็บปวยอาการสาหัส
(๔) เม่ือแบกหามของหนัก
(๕) เมื่อกาํ ลังรับประทานอาหารอยู
(๖) เมอื่ มีหนา ท่ตี องประจาํ ในขบวน หรอื พธิ ใี ด ๆ
(๗) กําลังขับขี่ยานหรือสตั วพ าหนะ เคลอ่ื นที่ตามลาํ พงั ในทคี่ บั ขนั หรือเมอื่ กาํ ลงั ขบั ยานพาหนะ
ในความควบคมุ
(๘) เม่ือควบคุมนักโทษเดินไปนอกเรอื นจํา หรอื โดยสารไปบนยานพาหนะ
(๙) เม่อื กาํ ลังทาํ การรกั ษาพยาบาลตามหนา ท่ี

การเคารพ กาํ ลังหัด ขอ ๕ ทหารในความควบคมุ ซึ่งกาํ ลังหัดหนา ท่ีราชการสนาม ผคู วบคมุ ไมต องบอกแสดงการ
หนาท่ี ราชการสนาม เคารพ แตตนเองตองทําการเคารพอยา งอยตู ามลําพงั

แถวเดนิ ตามสบาย หรือ ขอ ๖ แถวทหารกําลังเดนิ ตามสบายหรือว่งิ ไมตอ งทาํ การเคารพ
ว่ิงไมต อ งเคารพ

การเคารพบน ขอ ๗ ทหารซ่งึ อยูบนยานพาหนะ ใหทาํ การเคารพโดยนง่ั หรอื ยืนอยบู นยานนั้นได แตต องสํารวม
ยานพาหนะ อริ ิยาบถ ขณะเคารพใหส มควร

กองรกั ษาการณ ขอ ๘ ถามิไดม ีคําสั่งเปนพเิ ศษ ในระหวางเวลาต้ังแตสวดมนต กอ นนอนไปจนถึง รงุ สวาง (เม่อื
ไมต อ งตั้งแถว เห็นไดถ นัด) หรือเมือ่ ฝนตกจนถงึ ตองเกบ็ อาวธุ กองรกั ษาการณไ มตอ ง แสดงการเคารพแกผ ูใด
เคารพเวลาสวด มนต

หรือฝนตก

กองรกั ษาการณ ไมต อง ขอ ๙ ทหารซึ่งมิไดแ ตงเครือ่ งแบบ กองรักษาการณไ มต อ งเรยี กแถวทาํ การเคารพ

เรยี กแถว เคารพทหารที่

ไมแ ตง เคร่ืองแบบ

ตอนท่ี ๒
วาดว ยการเคารพในเรอื

มาตรา ๘
การเคารพในเรอื ใหญ

วเิ คราะหศ ัพท ขอ ๑ คําวา "เรอื ใหญ" หมายความวา เรือเดนิ ทะเล รวมทง้ั ที่เปนเรอื รบ และเรือชว ยรบ

การเคารพดว ยวิธยี ิงสลตุ ขอ ๒ เรอื ใหญซ ึ่งมีหนา ทยี่ งิ สลตุ ตามพระราชกําหนดยงิ สลุต จะตองแสดงการเคารพ ดว ยวธิ ยี งิ
สลตุ ในโอกาสใดบางนัน้ มรี ะเบียบการแจงอยพู ระราชกําหนดนนั้ โดยละเอยี ดแลว แตถ ึงแมจ ะได
แสดงการเคารพ ดวยวธิ ีสลุตแลวก็ตาม กย็ งั ตอ งทาํ การเคารพ ตามวิธที ่ีจะไดก ลา วตอไป
ประกอบดว ย ในขณะทยี่ ิงสลุตนั้นเสมอไป ตามควรแกเ กยี รตยิ ศของบุคคล และวตั ถซุ ึ่งรบั การ
เคารพ

การเคารพเม่ือ ขอ ๓ เรอื ใหญในเวลาแลน ผา นกนั หรอื แลนมาจอดรวมแหงเดยี วกัน หา งจากกันในระยะซง่ึ อาจ
เรือชกั ธงหมาย ทราบสัณฐาน และลกั ษณะของธงไดด วยจกั ษปุ กต ใหมกี ารเคารพซ่งึ กนั และกนั คือ
อิสสรยิ ยศ (๑) เรือใหญอนื่ ๆ ทาํ การเคารพตอ เรอื ทกุ ชนดิ ทช่ี ักธงมหาราชใหญ หรือนอ ยธงราชนิ ใี หญ
หมายยศและ หรอื นอย, ธงเยาวราชใหญหรือนอ ย ดว ยวธิ ีดังนี้
หมายตําแหนง ก. เรือซึง่ มียามใหญ เรยี กยามใหญเขาแถวทหารอ่นื ๆ แถวรายกราบตงั้ แต หวั ตลอดทา ยเรอื

เฉพาะกราบทผ่ี า น เมือ่ เปาแตรสัญญาณตรง หรอื นายยามบอกตรง ยามใหญกับทหารทถ่ี อื
ปนทําวนั ทยาวุธ ทหารรายกราบทาํ วนั ทยหัตถ ถา มแี ตรวง ๆ บรรเลงเพลงสรรเสรญิ พระ
บารมี แตรสน้ั เปาเพลงคํานบั ๓ จบ
ข. เรือทีไ่ มมยี ามใหญ เรยี กแถวทหารยนื รายกราบ ต้ังแตห วั ตลอดทายเรอื เฉพาะกราบท่ผี าน

เมื่อเปา แตรสญั ญาณตรง หรอื นายยามบอกตรง ทหารทถ่ี อื ปนทาํ วันทยาวธุ ทหารรายกราบ
ทําวนั ทยหตั ถ ถามแี ตรใหป ฏิบตั ิอยา ง ก.
(๒) เรือใหญอ น่ื ๆ ทําการเคารพตอเรอื ทุกชนดิ ทช่ี ักธงราชวงศใหญหรอื นอย ดว ยวธิ ดี ังน้ี
ก. เรือท่มี ยี ามใหญ เรยี กยามใหญเ ขาแถว สวนทหารอน่ื ๆ ผูใ ดอยแู หง ใดกใ็ หคงอยตู รงนั้น โดย
หนั หนาไปหาส่ิงที่รบั การเคารพ เมอื่ เปา แตรสัญญาณตรง หรือนายทหารยามบอกตรง ยาม
ใหญกบั ทหารท่ีถอื ปน ทาํ วนั ทยาวธุ ทหารนอกน้นั ทาํ วนั ทยหตั ถ ถามแี ตรวง ๆ บรรเลง
เพลงมหาไชย แตรสัน้ เปาเพลงคํานับ ๒ จบ
ข. เรอื ทีไ่ มมยี ามใหญ ผใู ดอยบู นดาดฟาแหง ใด ก็คงใหทาํ การเคารพทตี่ รงนน้ั โดยหันหนา ไป
ทางส่ิงทีร่ บั การเคารพ เม่ือเปาแตรสญั ญาณตรง หรอื นายยามบอกตรง ทหารท่ถี อื ปนทํา
วนั ทยาวธุ ทหารนอกน้นั ทําวันทยหัตถ ถามแี ตรใหป ฏิบตั อิ ยาง ก.
(๓) เรอื ใหญอ ื่น ๆ ทําการเคารพตอ เรอื ทุกชนิด ทชี่ กั ธงนายกรฐั มนตรี ธงรฐั มนตรวี าการ
กระทรวงกลาโหม, ธงผูบัญชาการทหารเรอื , ธงผูบงั คับการกองเรอื รบ และธงนายพลเรือทกุ ชนั้
ดว ยวธิ ดี งั นี้
ก. เรอื ที่มียามใหญ เรยี กยามใหญเขาแถว สว นทหารอนื่ ๆ ผูใดอยูแ หง ใด กใ็ หคงอยตู รงนนั้
โดยหนั หนา ไปทางสง่ิ ทีร่ ับการเคารพ เมอื่ เปา แตรสัญญาณตรง หรอื นายยามบอกตรง ยาม
ใหญก ับทหารที่ถือปน ทําวนั ทยาวธุ ทหารนอกนัน้ ทําวันทยหตั ถ ถามแี ตรวง ๆ บรรเลงเพลง
เดนิ มหาฤกษ แตรสนั้ เปาเพลงคํานบั ๑ จบ
ข. เรอื ที่ไมม ยี ามใหญ ผใู ดอยบู นดาดฟา แหงใด ก็คงใหท ําการเคารพท่ตี รงน้นั โดยหนั หนาไป
ทางสิ่งทรี่ บั การเคารพ เมือ่ เปา แตรสญั ญาณตรง หรือนายยามบอกตรง ทหารท่ีถอื ปน ทํา
วนั ทยาวธุ ทหารนอกนัน้ ทาํ วันทยหตั ถ ถา มีแตรใหป ฏิบตั ิตาม ก.
(๔) เรือใหญซ งึ่ ชกั ธงประจาํ เรอื ตามปกติ และจะมีธงนายเรือช้ันใดกต็ าม ใหท าํ การเคารพซึ่งกนั
และกนั คือนายยามสงั่ ใหเปา แตรสญั ญาณตรง หรือบอกตรง บรรดาทหาร ซ่ึงอยบู นดาดฟา เรือ ท่ี
ถอื ปนทําวนั ทยาวธุ ทไี่ มไ ดถ ือปนทาํ วนั ทยหตั ถ ใครอยทู ใ่ี ดใหทาํ การเคารพที่ตรงนนั้ โดยหนั
หนา ไปทางสิ่งที่รบั การเคารพ และการทเี่ รือใดจะตองทาํ การเคารพซง่ึ กัน และกันกอ นหรือหลัง
อยางใดนัน้ ใหปฏบิ ตั ดิ งั น้ี
ก. เรือชน้ั ท่ี ๓ เคารพเรือพระทน่ี ่ัง, เรือชน้ั ที่ ๑ และเรอื ชน้ั ที่ ๒ กอน
ข. เรอื ชั้นท่ี ๒ เคารพเรือพระทน่ี ั่งกับเรือชนั้ ท่ี ๑ กอ น
ค. เรอื ชัน้ ที่ ๑ เคารพเรือพระท่ีนง่ั กอน
ง. เรอื ชนั้ เดยี วกนั ใหเ รอื ทผ่ี ูบงั คบั การเรอื มยี ศนอ ยกวา เคารพเรือทเี่ คารพเรือ ทผี่ ูบังคบั การเรือ
มยี ศสูง หรอื อาวุโสกวา ถา ผบู ังคับการเรือมยี ศเสมอกนั ใหตา งฝา ยตา งทาํ การเคารพ พรอ ม

ๆ กนั
จ. เรอื ชว ยรบ ถงึ จะอยใู นลําดับชัน้ สูงกวา เรือรบกต็ าม ใหทําการเคารพเรอื พระท่นี งั่ และเรือรบ

กอ นเสมอไป

การเคารพ ขอ ๔ เรอื หลวงกับเรอื รบตา งประเทศใหทาํ การเคารพซ่ึงกันและกนั ดังนี้
ระหวา งเรือ (๑) ถา เรอื รบตางประเทศชกั ธงราชตระกลู ใหเ รือหลวงทําการเคารพ โดยวธิ เี ดยี วกนั กบั ทาํ ความ
หลวงกับเรอื เคารพ เรือทช่ี กั ธงราชตระกลู ฝา ยสยาม แตถ า กาํ หนดใหแตรวงบรรเลง เพลงสรรเสรญิ บารมไี ทย
รบตา งประเทศ ตองเปลย่ี นเปน บรรเลง เพลงสรรเสรญิ บารมี ของชาติตา งประเทศน้นั ๆ
(๒) ถา เรือรบตางประเทศ ชกั ธงตําแหนง ขา ราชการช้ันสงู หรอื ธงนายพลเรือ ใหเรอื หลวงทําการ

เคารพ โดยวธิ เี ดียวกนั กับทําความเคารพ เรอื ท่ชี ักธงหมายตาํ แหนง หรอื ธงนายพลเรือฝายสยาม

แตรวงคงบรรเลงเพลงเดนิ มหาฤกษเ หมือนกนั

(๓) ถาเรือรบตา งประเทศมไิ ดช ักธงตาม (๑) และ (๒) ใหเ รอื หลวงทําการเคารพ อยา งเรือรบฝา ย

สยาม ตามขอ ๓.(๔) แตใหท ําการเคารพพรอ มกันกบั เรือรบตางประเทศนัน้ โดยไมตอ งคาํ นึงถงึ

ชนั้ ของเรือ หรือยศและอาวโุ สของผบู ังคบั การเรอื

(๔) ถาเรอื ตา งฝายตางชกั ธงหมายเกยี รตยิ ศดวยกัน เรอื ทชี่ กั ธงหมายเกยี รตยิ ศ ตา่ํ กวาทาํ การ

เคารพเรือทช่ี กั ธง หมายเกียรตยิ ศสูงกวา ถา ธงหมายเกยี รติยศนัน้ เสมอกัน ใหท ําการเคารพพรอ ม

ๆ กนั

(๕) ถา เรอื รบตางประเทศ ทาํ การเคารพเรอื หลวงกอน ไมว าระยะใด ๆ ใหเ รอื หลวงทําการเคารพ

ตอบทันที โดยไมตอ งคาํ นึงถงึ วา ในระยะนัน้ ๆ จะอาจทราบสัณฐาน และลกั ษณะของธงไดด ว ย

จักษปุ กติ หรือไมก ็ตาม

การเคารพ ขอ ๕ ถา เรือคาขายหรือเรือรบคนโดยสารจะเปน ของสยาม หรือของตา งประเทศ ตา งประเทศก็

ระหวา งเรือหลวง กบั เรือ ตาม ลดธงเคารพเรือหลวง ใหเรือหลวงลดธงทายเรอื รบั การเคารพ ๑ ครัง้ แลวชักขนึ้ ทตี่ ามเดิม

คา ขาย กอนทเ่ี รอื น้ัน จะหยุดทําการเคารพ หามมใิ หเ รอื หลวง ลดธงเคารพเรือของบรษิ ทั หรอื เอกชนกอ น

เปน อนั ขาด

การเคารพธง ขอ ๖ เมอ่ื เรอื หลวงแลนผา นท่ซี ึง่ มีธงมหาราช, ธงราชิน,ี ธงเยาวราช, ธงราชวงศ, ธง

หมายเกยี รตยิ ศ นายกรฐั มนตร,ี ธงรฐั มนตรวี า การกระทรวงกลาโหม, ธงผบู ญั ชาการทหารเรือ และธงายพลเรือ

ทช่ี กั ไวบนบก ทกุ ช้นั ซึ่งชักขนึ้ ไวย อดเสาบนบก ใหก ระทําการเคารพแกธงนน้ั โดยนยั เดยี วกันกบั ทก่ี ลาวไวใ น

ขอ ๓. (๑), (๒) หรือ (๓) ตามควรแกเกยี รตยิ ศของธง

โอกาสทีเ่ รอื หลวง ขอ ๗ การเคารพในเรือใหญซ ึง่ ไดกลา วมาแลว นั้น ใหง ดเวน ไดในโอกาสตอไปน้ี

งดเวน การ เคารพ (๑) เรอื ซึง่ ชกั ธงมหาราชไมต อ งเคารพธง อยา งหน่ึงอยางใดทตี่ าํ่ กวา เรือซงึ่ ชักธงราชนิ เี คารพธง

การเคารพ มหาราช เรอื ซึง่ ชกั ธงเยาวราชเคารพธงมหาราชและธงราชนิ ี เรอื ซ่ึงชักธงราชวงศเ คารพธง
บุคคล และวตั ถุ มหาราช ธงราชนิ แี ละธงเยาวราช สวนเรอื ซึง่ ชักธงนายกรฐั มนตรี ธงรฐั มนตรวี าการ
ทค่ี วรเคารพ กระทรวงกลาโหม ธงผูบญั ชาการทหารเรอื ตลอดจนธงนายพลเรือทกุ ชนั้ เคารพธงหมายราช
ตระกูลทกุ ธง แตไมเ คารพธงซึ่งหมายยศหรือ ตาํ แหนงตา่ํ กวา ชนั้ ของตนลงไป เฉพาะเรือท่ชี ักธง
การเคารพเมือ่ นายพลเรือน้นั เมอื่ ฝายทธ่ี งตา่ํ กวา ทาํ การเคารพแลว ใหฝ า ยที่สูงกวา ทําความเคารพตอบดว ย
เสด็จเปน ขบวน (๒) ถามธี งทเ่ี รอื จะตองทําการเคารพอยใู นท่ีเดยี ว ใกลช ดิ กันหลายธง ใหท ําการเคารพเฉพาะธง
ที่หมายเกียรตยิ ศสงู สดุ ธงเดยี ว
(๓) ในระหวา งเวลาธงลงแลว ไมม ีการเคารพอยา งหนง่ึ อยางใด นอกจากนอกจากทหารในเรอื
ทาํ การเคารพอยา งเดยี วกับ เวลาทไี่ มม ีผคู วบคมุ เวน ไวแ ตเมอื่ มคี าํ สัง่ พิเศษช่วั ครง้ั คราว หรือเมื่อ
เรอื นนั้ ตอ งมีหนาท่ียงิ สลตุ

ขอ ๘ เรือหลวงตอ งทําการเคารพแกบคุ คล และวตั ถตุ าง ๆ ในเวลาทผี่ านกนั หรอื มาหยดุ อยดู งั นี้
(๑) นายยามสงั่ ใหเ ปาแตรสญั ญาณตรง หรือบอกตรง ทหารทีถ่ ือปนทาํ วันทยาวธุ ทไี่ มไ ดถ ือปน
ทําวันทยหัตถ ยามใหญไ มเ ขา แถว แตรสน้ั ไมตองเปา เพลงคํานับ ใหแกบ คุ คลและวตั ถุ คือ
ก. พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหวั , สมเด็จพระบรมราชนิ ,ี รัชทายาทพระบรมวงศ, สมเด็จพระ

ราชชนน,ี พระเจา แผน ดิน และเจาตา งประเทศ ในเมอื่ ไมม ีธงหมายพระเกยี รตยิ ศ
ข. นายกรัฐมนตร,ี รัฐมนตรวี าการกระทรวงกลาโหม, ผบู ญั ชาการทหารเรือ, ผูบังคับการกอง

เรือรบ และนายพลเรอื ทเ่ี ปนผมู ีอํานาจบังคบั บัญชาแหงเรอื นน้ั ในเวลาทไ่ี มมีธงหมายยศ
ค. พระบรมศพ, พระบรมอฐั ,ิ ขบวนแหพระศพ
ง. ธงจุฑาธชุ , ธงประจํากองทหาร, ธงประจาํ กองยุวชนทหาร
(๒) ทหารซงึ่ อยบู นดาดฟา เรือ ตา งคนตา งทําความเคารพ อยางเวลาอยูต ามลาํ พัง ทหารยามทาํ
การเคารพ ใหแ กบ รรดานายพลเรอื ทกุ ชนั้ ซง่ึ ไมม อี าํ นาจบังคบั บญั ชาแหง ตนนั้น เม่ือไมมีธง
หมายยศ และบคุ คลอืน่ ๆ ซง่ึ มหี นา ทีร่ บั การเคารพ ตามระเบยี บทหาร ในเวลาอยูต ามลําพัง และ
ระเบียบสาํ หรบั ยามรกั ษาการณ
(๓) ทหารซ่ึงอยูในระหวางควบคมุ เพอื่ ฝก หัดหรือสอน ใหท าํ การเคารพ ตามระเบยี บทหารเวลา
อยใู นความควบคมุ
(๔) ถา เปน เวลาธงลงแลว การเคารพตามทกี่ ลา วใน(๑) นน้ั ใหป ฏิบัตอิ ยา ง (๒)

ขอ ๙ พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูห ัว สมเด็จพระบรมราชินกี ็ดี หรอื รัชทายาทก็ดี เม่อื เสด็จเปน
ขบวน มขี บวนแหนาํ ตามเสด็จเปน พระเกียรติยศ โดยทางราชการจะเปน ทางชลมารคกด็ ี ทาง
สถลมารคก็ดี ถงึ หากจะไมม ธี ง หมายพระเกยี รตยิ ศมาดวย กใ็ หเ รือหลวง ทําการเคารพดงั กลา ว

แลว ในขอ ๓ (๑) และ (๒)

มาตรา ๙

การเคารพศพในเรอื

ขอ ๑ ทหารทถี่ งึ แกกรรมในเรือใหญ ใหไ ดรบั เกียรตยิ ศในการเคารพศพ ดงั นี้

การเคารพศพ (๑) ในขณะยกศพไปจากเรอื นน้ั ใหน ายทหารช้ันสญั ญาบตั รทัง้ หมด สงศพเพยี งบันไดเรอื ทหาร

ทหารถงึ แกก รรม ประจําเรอื ต้งั แถวหนา บันไดเรอื ถามียามใหญ ใหยามใหญเขาแถวทําวนั ทยาวธุ แตรเดยี่ วเปา

ในเรือใหญ เพลงคาํ นับตามช้ันยศ ถาผทู ช่ี นั้ ยศไมถ ึงกําหนดเปาเพลงคาํ นับ กใ็ หแตรเดย่ี วเปา เพลงคํานับ ๑

จบ ทหารนอกนัน้ ทําวนั ทยหตั ถ

(๒) ถา ทาํ การปลงศพอยางชาวทะเล ในเวลาหยอ นศพลงทะเล กใ็ หมกี ารเคารพศพอยา งเดยี วกับ

ทก่ี ลาวแลวใน (๑) กับใหมีทหารถือปนอยา งนอย ๑ หมู และอยางมาก ๑ หมวด ตามชนั้ ของเรือ

เพิ่มขึน้ หรอื ยามใหญน ้นั เอง ตั้งแถวรมิ กราบเรือ ยิงปน ตบั ดว ยกระสุนซอมรบคาํ นบั ศพ ๓ ครั้ง

ในขณะท่ศี พจมลงไป

ถา มีแตรวงใหเ ปา เพลงคํานบั ใหแกศพนายทหารสญั ญาบตั รดว ย

อนง่ึ ถา ผตู ายเปน นายพล ใหยิงสลตุ ดว ย ตามเกยี รติยศซ่ึงบญั ญตั ไิ ว ในพระราช

กาํ หนดการยิงสลุต

การลดธงเรอื คาํ นบั ศพ ใหเปน ไปตามขอบงั คบั ทหาร วาดว ยการไวท ุกข

เวลารบั ศพ ลงเรอื ใหญ ขอ ๒ เรือใหญท ่จี ัดไปรบั ศพ ใหมกี ารเคารพในเวลารบั ศพลงเรอื ครัง้ หนงึ่ และเวลาสง ศพไปจาก
เรอื อกี ครัง้ หนง่ึ โดยวิธเี ดยี วกับท่กี ลา วแลว ในขอ ๑. (๑) แตเ ฉพาะศพนายทหารสญั ญาบัตร สวน

ศพนอกนน้ั ไมม ีพิธีอยา งใด

การแตง กายของหนว ย ขอ ๓ การแตงกายในเวลาเคารพ ดงั กลาวไวใ นขอ ๑ และ ๒ นนั้ ใหแ ตง เคร่ืองแบบเตม็ ยศ
ทหารท่ีเคารพศพ

มาตรา ๑๐

การรับรองในเรือใหญ

การรบั รองและ สงเสดจ็ ขอ ๑ เม่ือพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู ัว หรอื สมเดจ็ พระบรมราชินี หรือรัชทายาท เสดจ็ ข้นึ หรือ
พระบาทสมเดจ็ พระ ลงจากเรอื หลวง ใหผ บู ังคบั การเรอื และนายทหารท้ังหมด รบั สง เสดจ็ ท่บี ันได พนั จา เปานกหวดี
เจา อยูห วั , สมเดจ็ พระ ยามใหญใ นบงั คบั นายทหารชนั้ สญั ญาบัตร เขา แถวถวายวนั ทยาวธุ ทหาร อื่น ๆ ยืนรายกราบ
บรมราชิน,ี รชั ทายาท ตง้ั แตห วั ตลอดทา ยเรอื ทางกราบที่เสดจ็ และถวายวนั ทยาหัตถ ถา มีแตรวง ๆ บรรเลงเพลง
สรรเสรญิ พระบารมี แตรสั้นเปาเพลงคํานบั ๓ จบ

การรับรองและ สง เสดจ็ ขอ ๒ เม่ือพระบรมวงศ หรอื สมเดจ็ พระราชชนนี เสดจ็ ขึน้ หรือลงจาก เรอื หลวง ใหท ําการ

พระ บรมวงศานุวงศ รับรอง และสง เสด็จเชน เดยี วกบั ขอ ๑. เวน แตทหารไมต อ งยืนรายกราบ และแตรวงเปล่ยี นเปน
บรรเลงเพลงมหาไชย

การรับรองและ สง นาย ขอ ๓ เมื่อนายทหารเรือช้ันสัญญาบัตรทุกช้ัน มาข้ึนหรือลงจากเรือหลวง ใหทําการรับรอง และ

ทหาร ชน้ั สญั ญาบตั ร สงดังแจงในตารางหมายเลข ๑ ตอ ทายขอบงั คับน้ี

การรับรองและ ขอ ๔ เมื่อนายทหารบกมาลงเรือ หรือไปจากเรือหลวง โดยหนาท่ีราชการเปน เกียรติยศโดยอิสระ
สง นายทหารบก ใหมีการรับและสงอนุโลม ตามยศนายทหารเรือ คือ นายพลเหมือน นายพลเรือ นายพันเหมือน

นายนาวา นายรอยเหมือนนายเรือ แตถามาหรือไปจากเรือหลวง โดยไมใชหนาท่ีราชการ เปน

เกยี รติยศแลว ใหท ําการรับรองอยางนายทหารเรือ แตเ วน การเปา นกหวีดทกุ ช้นั

การรบั รองและ สง ขอ ๕ เม่อื ขาราชการฝายพลเรือนมาลง หรือไปจากเรือหลวง โดยหนาท่ีราชการเปน เกียรติยศโดย

ขา ราชการพลเรือน อสิ ระ ใหท าํ การรบั และสง ดงั แจง ในตารางหมายเลข ๒ ตอทา ยขอ บังคับน้ี

การรับรองและ ขอ ๖ เมอื่ พระเจาแผน ดนิ และรชั ทายาทตางประเทศ เสดจ็ มาข้นึ หรอื ลงจากเรือหลวง ใหท ําการ
สง พระเจา แผน ดิน และ รับรองอยางเดยี วกบั ในขอ ๑ แตแ ตรวงเปลย่ี นเปน บรรเลงเพลงสรรเสรญิ บารมี ของประเทศน้ัน
เจานาย ตา งประเทศ
ถา เจา นายตา งประเทศ ที่ไมใ ชรชั ทายาทเสดจ็ มาขน้ึ หรอื ลงจากเรือหลวงใหทําการ
รับรองอยา งเดยี วกบั ในขอ ๒ แตแ ตรวงเปลยี่ นเปนบรรเลง เพลงสรรเสรญิ พระบารมี ของประเทศ

นัน้

การรับรองและ ขอ ๗ เมือ่ ขาราชการชัน้ สญั ญาบตั รแหง รัฐบาลตา งประเทศ คือ นายทหารเรอื นายทหารบก และ

สงขา ราชการ ขา ราชการพลเรือน มาขน้ึ หรอื ลงจากเรอื หลวง ใหทาํ การรับรอง เหมอื นเชนขาราชการสยาม ซึ่งมี

ตางประเทศ ตาํ แหนง เทียบชน้ั ตรงกัน แตเ ฉพาะนายทหารตางประเทศนน้ั ตองไดรบั นกหวีด ในการรบั รอง

ดวยเสมอ ไมเลือกวาจะมยี ศชนั้ ใด ถาผูใดท่ีเทียบช้นั ขาราชการสยาม ซ่งึ กําหนดใหแตรวง บรรเลง

เพลงเดินดว ย ก็ใหแตรวงบรรเลงเพลงเดินมหาฤกษ รบั รองเชนเดยี วกัน เวน ไวแตถ า ขา ราชการ

ตางประเทศผนู ัน้ เปน ผแู ทนของรฐั บาลดว ย แลว ใหแตรวงเปลย่ี นเปน บรรเลงเพลงชาติของ

ประเทศน้ัน

อนง่ึ ถา ในเรอื หลวงลําน้ันมีผูท ่ีมีเกยี รติยศสงู อยกู อ นแลว การรับรองผมู าใหม โดยเตม็

เกียรตยิ ศของผูน ้นั จะทาํ ไดต อ เมอื่ ไดร บั อนญุ าต จากผทู ม่ี เี กียรตยิ ศสูง ในเรือเสยี กอน

มาตรา ๑๑

พิธธี งขึ้นและธงลง

การเคารพธง ขอ ๑ ในการชกั ธงประจาํ เรอื ข้นึ เมื่อเวลา ๐๘๐๐ และชักลง เมือ่ เวลาพระอาทิตยอ ัสดงคตนั้น ใหม ี

ประจําเรือสําหรับ ทหาร การเคารพแกธ งดังนี้

ในเรอื (๑) บรรดาเรือหลวงท่ีไมมยี ามใหญ ใหทหาร และพลเรอื นท่อี ยใู นเรอื นนั้ ทําการเคารพแกธ ง ใน
เวลาธงขึน้ หรอื ธงลงจนกวาจะเสรจ็ พธิ ี คอื เมื่อนายยาม หรือนายเรอื บอกตรง ใหท หารที่ถอื ปน
ทาํ วนั ทยาวธุ นอกน้นั ทาํ วนั ทยหตั ถ หรอื ยืนตรง นกหวดี เปา เพลงธงข้นึ หรือธงลง แตรสน้ั เปา
เพลงคาํ นบั ๓ จบ แตเฉพาะการเคารพธงลงนัน้ เม่ือเสรจ็ การเคารพแลว ใหเปา เพลงยาํ่ คา่ํ ตอ ดวย
(๒) ถา เปนเรอื ทม่ี ียามใหญ ใหย ามใหญเ ขา แถวทาํ วนั ทยาวธุ แตรสั้นเปาเพลงคาํ นบั ๓ จบ ถา มี

ขลุยและกลอง ขลุย เปาเพลงมหาไชย กลองตตี ลอดเวลา ถา มแี ตรวง ๆ บรรเลงเพลงชาติ
นอกจากน้ใี หท ําการเคารพอยาง (๑)

การเคารพธง ขอ ๒ ในเวลากระทาํ พธิ ธี งขึ้น และธงลงในเรอื น้ัน ถาทหารอยูนอกเรือ ในระยะซง่ึ อาจทราบ

ประจาํ เรือ สัณฐาน และลักษณะของธง ไดดว ยจกั ษุปกติแลว ใหทําการเคารพตามวธิ ทีไ่ ด กาํ หนดไว

สําหรบั ทหาร สําหรับทหาร และกองทหารทุกประเภท ทง้ั นใ้ี หท าํ การเคารพตลอดถึง ขา ราชการพลเรอื น และ

นอกเรอื คนงานในสงั กดั กองทัพเรอื โดยใชว ธิ ถี อดหมวกยนื ตรง

พิธธี งประจาํ เรือ ขอ ๓ เม่อื เรอื หลวงทอดอยูใ นอา วตา งประเทศใด ๆ ก็ดี การทาํ พธิ ธี งขน้ึ และธงลงนน้ั ใหปฏิบัติ

ขน้ึ และลงใน อยา งขอ ๑. แตถ า มแี ตรวงดว ย เม่อื แตรวงบรรเลงเพลงชาติไทยจบลงแลว ใหบ รรเลงเพลงชาตขิ อง

อาวตางประเทศ ชาติ ทเ่ี ปน เจา ของอาวตอตดิ กันไปอีกจบหนง่ึ ทหารในเรือคงทาํ การเคารพตลอดเวลา

พธิ ธี งประจําเรือ ขน้ึ และ ขอ ๔ ถา เรือหลวงทอดอยแู หงเดียวกนั กับ เรอื รบตางประเทศในนา นน้ําของเรา ใน ระยะซ่ึงอาจ

ลงเม่อื จอดรวมกบั ทราบสัณฐาน และลกั ษณะของธงไดด ว ยจกั ษปุ กติแลว ในการทําพธิ ธี งขึน้ และธงลงนัน้ ถาเปน

เรือรบตา งประ เรอื ท่ีมีแตรวง เมอ่ื แตรวงบรรเลงเพลงชาตไิ ทยจบแลว ใหบรรเลงเพลงชาติของชาติ ทีเ่ ปนเจาของ

เทศในอา วเรา เรือรบนั้นอกี จบหนง่ึ ถามเี รอื ของหลายชาตใิ หเรยี งลาํ ดบั ทีจ่ ะบรรเลงเพลงชาตใิ หชาตใิ ดกอน

และหลังตามลาํ ดบั ยศทหาร และอาวโุ สของผูบงั คับการเรอื หรอื กองเรอื ชาตติ า งประเทศนน้ั ๆ

ทหารในเรือคงทาํ การเคารพตลอดเวลา จนกวา จะสุดเสียงแตร

พธิ ธี งประจาํ เรือ ขอ ๕ ถา เรือหลวงทอดอยแู หง เดียวกนั กับเรอื รบตา งประเทศในอาวตา งประเทศ ในระยะซ่ึงอาจ
ขน้ึ และลงเมื่อ ทราบสณั ฐาน และลักษณะของธงไดด ว ยจกั ษุปกตแิ ลว ในการทาํ พธิ ธี งขนึ้ และธงลงนนั้ ให
จอดรวมกบั เรอื รบ ปฏบิ ัติอยางขอ ๓. กอน เมื่อจบเพลงชาติ ของชาติทเ่ี ปนเจา ของอา วแลว จงึ ใหป ฏิบตั อิ ยางขอ ๔
ตางประเทศใน ตอ ไปจนจบ เวนไวแ ตเ รอื รบตางประเทศ ทีไ่ มมีสญั ญา ทางพระราชไมตรกี บั ประเทศสยาม
อาวตา งประเทศ อนงึ่ ถา ในหมูเรือรบตางประเทศ ท่ีจอดรว มอาวกันนี้ มเี รอื รบของชาติ เจาของอาวดวยแลว ใหง ด

เวน ไมต องบรรเลงเพลงชาติ ใหแ กธ งเรือรบ ทเ่ี ปนของชาตเิ จาของอาวนนั้ อีก

พธิ ธี งหมาย ขอ ๖ การชกั ธงหมายเกยี รติยศ หรอื หมายตําแหนงขน้ึ หรอื ลงในเรอื หลวงลาํ หนึ่งลําใด ถา บังเอิญ

เกยี รตยิ ศและ พอ งกบั การรบั หรือสงผซู ึง่ ธงนนั้ หมายข้นึ เรือ ลงจากเรอื ดว ยแลว ใหเ รอื หลวงลํานน้ั ถอื เอาการ

ตําแหนงขึ้น เคารพในการรบั หรอื สงดังกลา วแลว ในมาตรา ๒ นนั้ เปนการเคารพ พธิ ีธงขึน้ ลงดว ยในตวั

และลง ถา การชกั ธงซงึ่ กลาวมานี้ ไมพ อ งกับการรบั หรอื สงดังเชน เวลาเปลยี่ นธงนอ ย เปนธงใหญ หรอื
ตรงกนั ขาม หรอื เปลย่ี นธงนายพลเรือ โดยเหตเุ ล่ือนยศเปนตน ใหท หารในเรอื นนั้ ทาํ การเคารพ
อยางเดยี วกันกบั พธิ ธี งประจาํ เรือขน้ึ และลง เวนแตถ าเปน เรือทม่ี แี ตรวง ๆ บรรเลงเพลงสรรเสรญิ
พระบารมี หรือมหาไชย หรือเพลงเดินมหาฤกษ ตามควรแกเกยี รติยศของบคุ คล ทธี่ งนั้นหมาย
โดยเกณฑเดยี วกนั กับ การรบั รองในเรอื หลวง

การเคารพของ ขอ ๗ ถามีการชกั ธงหมายเกยี รตยิ ศ หรอื หมายตาํ แหนง ขึน้ ลงในเรอื ลําใด ใหเรอื หลวงลําอน่ื ๆ
เรอื อ่ืน ๆ ใน ซ่ึงอยใู นระยะทอี่ าจทราบสณั ฐาน และลกั ษณะของธง ไดดวยจกั ษปุ กติ ทําการเคารพใหแกธง
พิธธี งหมาย นน้ั โดยวธิ ีเดยี วกนั กบั ทีก่ ลา วดว ย การเคารพในเรือใหญ
เกยี รตยิ ศและ
ตาํ แหนงขนึ้ ลง อน่งึ ถาเรอื หลวงจอดรว มอาว กับเรอื รบตา งประเทศ ในระยะซงึ่ อาจทราบสณั ฐาน และ
ลกั ษณะของธง ไดด ว ยจักษปุ กติแลว เมื่อเรือรบตา งประเทศนัน้ ๆ ชักธงหมายเกยี รตยิ ศ หรือ
หมายตาํ แหนง ข้ึนลง ใหเ รอื หลวงทําการเคารพ ดังกลาวขางบนนีด้ ว ย

การเคารพธงหมาย ขอ ๘ ในการชักธงหมายเกียรติยศ หรือหมายตําแหนงชาติไทยก็ตาม ตางประเทศ ก็ตาม ข้ึนลงใน
เกียรตยิ ศและตาํ แหนง เรือลําหนึ่งลําใดนั้น ใหทหารท่ีอยูนอกเรือ ในระยะซึ่งอาจทราบสัญฐาน และลักษณะของธง ได
สาํ หรับทหารนอกเรอื ดวยจักษุปกติ ทําการเคารพใหแกธงนั้น ตามควรแกเกียรติยศซ่ึงธงน้ัน หมายตามวิธีที่ไดกําหนด
ไว สําหรับทหาร และกองทหารทุกประเภท

การเคารพเมอื่ ธงหมาย ขอ ๙ ถา การชกั ธงหมายเกียรติยศ หรือหมายตําแหนง ขึ้นลงน้ัน พอ งกบั เวลาทําพิธธี งประจาํ เรอื ขนึ้
เกียรตยิ ศ และตาํ แหนง ลงแลว ใหทําการเคารพ สําหรับพิธีธงประจําเรือข้ึนลง แตอยางเดียว แตถาการน้ัน จะตองยิงสลุต
ข้ึน ลงพอ งกบั ธงประจํา ตามพระราชกาํ หนด การยงิ สลุตดวย ก็ใหเตมิ การยิงสลตุ ข้ึนอีกอยา งหนงึ่
เรอื

งดเวนการเคารพ ขอ ๑๐ ในการชกั ธงประจาํ เรอื ขึน้ นอกเวลาปกติ คอื กอนเวลา ๐๘๐๐ เพ่อื ประโยชน ใหร ชู าตขิ อง
เรือชว่ั คร้งั คราว เปนพเิ ศษนนั้ ไมตองทาํ การเคารพอยางใด

มาตรา ๑๒

การเยย่ี มคาํ นบั

การเยยี่ มระหวา ง ขอ ๑ ในเวลาท่ีเรอื หลวงลาํ เดยี ว หรือหลายลาํ ไปถงึ และจอดอยใู นอา วหนึ่งอาวใด ใหมีการเย่ียม

เรอื หลวงกับ เยอื นในระหวางนายทหาร กบั ขาราชการตาง ๆ ดังจะกลา วตอ ไปนี้

เรือหลวง (๑) เม่ือไปจอดรวมอา วเดยี วกัน กับเรือหลวงอีกลําหน่ึง หรือหลายลํา ใหผูบังคบั บัญชาที่มียศตํ่า

กวา ไปรายงานตนตอ ผบู ังคับบญั ชา ทม่ี ียศสงู กวา โดยวิธรี ายงานตนเอง ไมเปน การเยีย่ มคาํ นับ

(๒) เม่ือเรือหลวงกับเรือรบตางประเทศ ไปรวมอาวกันเขาแหงใด ใหมีการเยี่ยมคํานับตอกัน

ตามวธิ ซี ่งึ นานาประเทศ ไดป รองดองพรอ มกันปฏบิ ตั อิ ยู เปน ธรรมเนียม คอื

การเยี่ยม ก. ในขณะที่เรือฝายหน่ึงมาถึง ใหผูบังคับบัญชาเรือฝาย ซึ่งทอดอยูในอาวกอนแลวนั้น จัดนาย
พนักงานทตู ทหารชั้นสัญญาบัตร ๑ นาย ไปเยี่ยมคาํ นบั ในเรือซ่ึงมาถึง ถาหากวา เรือซ่ึงมาถงึ นน้ั มจี าํ นวน
หลายลําเปนกองเรือ หรือขบวนเรือ ก็ใหไปเย่ียมคํานับในเรือลําซ่ึง ผูบังคับบัญชากองเรือ
หรือขบวนเรอื นั้นอยู
เรือฝายมาถึงลําใด ไดรับเย่ียมคํานับดังวามานี้แลว ใหผูบังคับบัญชาเรือน้ัน จัดนาย

ทหารสัญญาบัตร ๑ นาย ไปเยี่ยมคํานบั ตอบทนั ที
ข. เมื่อเสร็จการเยี่ยมคํานับเบ้ืองตน ซ่ึงไดกลาวมาใน ก. แลวนั้น ใหมีการเยี่ยมคํานับ ระหวาง

ผบู งั คบั บัญชาเรือ หรือกองเรือ หรือขบวนเรือท้ัง ๒ ฝายอีกตอไป คือ ถามียศทหารเสมอกัน
ทั้ง ๒ ฝาย ใหผูบังคับบัญชาฝายท่ีไปถึง ไปเย่ียมกอน ถายศไมเสมอกัน ใหฝายขางยศตํ่าไป
เย่ียมฝายขางยศสูงกอน การเยี่ยมคํานับตอนน้ี ใหไปภายใน ๒๔ชั่วโมง นับต้ังแตเรือไปถึง
อาวเดียวกันนั้น เปนตนไป และเม่ือผูบังคับบัญชา หรือกอง หรือขบวนเรือฝายใด ไดรับ
เย่ียมคํานับดังท่ีวามาแลวน้ี ตองไปเย่ียมคํานับตอบภายใน ๒๔ ชั่วโมง นับตั้งแตเวลา ซึ่ง
ไดร ับเยย่ี มคํานบั แลวนนั้ เปน ตน ไป
ค. การเยี่ยมระหวางผูบังคับบัญชา ซ่ึงมียศทหารตางกัน ดังไดวามาใน ข. นั้น ถาหากวาผูรับ
เย่ยี มกอน เปนนายทหารช้นั นายพลเรือ นับทั้งนายพลเรือจัตวาดวย และ ผูเยี่ยมมียศเปนนาย
นาวาเอก หรือสูงกวานั้นข้ึนไปไซร นายพลเรือผูรับเยี่ยมกอนตองไป เยี่ยมตอบดวยตนเอง
แตถาหากวาผูเย่ียมกอนนั้น มียศต่ํากวานายนาวาเอกลงมา นายพลผูรับเย่ียมกอน จะจัดนาย
ทหารชั้นนายนาวา ไปเยี่ยมตอบแทนตนก็ได ถาผูรับเย่ียมกอนมียศเปน นายนาวาเอก หรือ
ตํ่ากวานั้นลงมา และผูเย่ียมกอนมียศชั้นใด ๆ ก็ตาม ผูรับเยี่ยมกอน ตองไปเยี่ยมตอบดวย
ตนเองเสมอไป จะจดั ใหผูห นึง่ ผูใดไปแทนตนเองไมได
ง. เมื่อไดมีการเยี่ยมคํานับ ระหวางผูบังคับบัญชาเรือ หรือกองเรือ ขบวนเรือดังไดวามาใน ข.
และ ค. น้ันแลว ใหมีการเย่ียมคํานับ ระหวางผูบังคับการเรือเฉพาะลําท้ัง ๒ ฝายตอไป คือ
ใหฝา ยมาถึงไปเย่ยี มกอน แลวฝายอยใู นอาวเยยี่ มตอบ
จ. ตามวิธเี ยย่ี มคาํ นบั ดังไดกลา วมาแลว นี้ ใหนายเรือฝายสยาม พงึ หวังไดว า นายเรอื ตางประเทศ
จะปฏบิ ัติโดยวิธีเดยี วกัน และรกั ษาธรรมเนยี มน้ีโดยกวดขนั เพ่ือแสดงความเคารพตอกันทั้ง
๒ ฝาย เพราะเปนธรรมเนียม ซ่ึงนานาประเทศ ไดรับรองปฏิบัติตอกัน ดังไดวามาขางตน
แลว

ขอ ๒ ถาเรอื หลวงไปทอดในอา วตางประเทศ และในอาวน้ัน เปนที่ต้ังแหงสถานทูตสยามดวย ให
มีการเยยี่ มคาํ นับ ระหวางผูบังคับบัญชาเรือหลวง กับขาราชการซึ่งเปนหัวหนาในสถานทูต คือ ถา
ผูบังคับบัญชาเรือหลวง มียศตั้งแตนายนาวาเอกข้ึนไป และหัวหนาสถานทูต มีตําแหนงเปนอัคร

การเยี่ยมพนกั งาน ราชทูต หรืออุปทูตผูรักษาราชการสถานทูต ผูบังคับบัญชาเรือหลวง เปนผูไปเย่ียมคํานับกอน ถา
กงสลุ หากหัวหนาสถานทูต มีตําแหนงตํ่ากวานั้นลงมา ใหผูบังคับบัญชาเรือหลวงรอ ใหฝายทูตลงมา
เยี่ยมกอน แลวจึงไปเยี่ยมตอบ ถามีความสงสัยวา หัวหนาสถานทูต เปนผูมีตําแหนงช้ันใด ก็ให
การเยยี่ ม ผูบังคับบัญชาเรือหลวง จัดนายทหารช้ันสัญญาบัตร ๑ นาย ขึ้นไป สืบสวนใหไดความกอน ถา
กรรมการจงั หวัด ผูบ งั คับบญั ชาเรอื หลวง มยี ศตํา่ กวา นายนาวาเอก ใหไปเยี่ยมคํานบั กอ น

ขอ ๓ ถาเรอื รบหลวงไปทอด ในอาวตางประเทศ ซง่ึ มกี งสุลสยามประจําอยูในที่นั้น ใหมีการเยี่ยม
คํานับ ระหวางผูบังคับบัญชาเรือหลวง กับกงสุล โดยใหฝายซึ่งมีเกียรติยศตํ่ากวา เยี่ยมฝายซ่ึงเปน
เกยี รติยศสงู กวากอนโดยอตั ราเทยี บตอไปนี้
(๑) กงสลุ เยเนอราล เทยี บเสมอกบั นายนาวาเอก แตเปน รองนายนาวาเอก
(๒) กงสลุ เทียบเสมอ แตเ ปน รองนายนาวาโท
(๓) ไวซกงสลุ เทยี บเสมอ แตเปนรองนายนาวาตรี

ขอ ๔ เม่ือเรือหลวงไปทอด ในอาวใดอาวหนึ่ง ภายในพระราชอาณาเขต เปนที่ต้ังแหงศาลาวา
การจังหวัด ใหมีการเย่ียมระหวาง ผูบังคับบัญชาเรือหลวง กับผูวาราชการจังหวัด โดยปฏิบัติ
ดงั ตอไปน้ี
(๑) การเยีย่ มในโอกาสแรก
ก. ถา ผบู งั คบั บญั ชาเรอื หลวง มยี ศชัน้ นายพลเรอื ผวู า ราชการจังหวดั จะเปน ผูมาเย่ียมทเ่ี รอื กอ น
ข. ถาผบู ังคบั บญั ชาเรือหลวง มยี ศนาวาเอก ผวู า ราชการจงั หวัด ทเ่ี ปน ขาราชการตา่ํ กวาช้ัน

พเิ ศษ จะเปนผมู าเย่ยี มทเ่ี รือกอ น หากผวู า ราชการจงั หวดั เปน ขา ราชการชนั้ พเิ ศษ
ผบู งั คับบญั ชาเรอื หลวงตองไปเยีย่ ม ผวู า ราชการจงั หวัดกอ น
ค. ถาผบู ังคบั บญั ชาเรอื หลวง มยี ศต่ํากวา นาวาเอก ตอ งไปเยย่ี มผวู าราชการจังหวดั กอน
(๒) การเยย่ี มตอบ
ก. ถา ผูบังคบั บญั ชาเรือหลวง มยี ศชั้นนายพลเรอื หรือผูว า ราชการจงั หวดั เปน ขาราชการชน้ั
พเิ ศษ จะเยี่ยมตอบดวยตนเอง หรอื จดั ผอู นื่ ไปแทนกไ็ ด
ข. ถาผบู งั คับบญั ชาเรือหลวง มยี ศนาวาเอกตอ งไปเยย่ี มตอบดว ยตนเอง
ค. ถา ผบู งั คบั บญั ชาเรือหลวง มยี ศนาวาโท หรือนาวาตรี ผวู าราชการจงั หวดั ที่เปน ขา ราชการ
ตา่ํ กวาช้นั พเิ ศษ จะมาเยยี่ มตอบดว ยตนเอง
ง. ถาผบู ังคับบญั ชาเรอื หลวง มยี ศชน้ั นายเรอื ผวู า ราชการจังหวดั จะมาเยี่ยมตอบดว ยตนเอง
หรือจัดผอู นื่ มาแทนก็ได

ในกรณีที่ผวู า ราชการจงั หวดั ไมอยู หรอื ไมอาจปฏบิ ตั ริ าชการได คงใหมกี ารเยยี่ ม

ระหวาง ผูบงั คับบัญชาเรือหลวง กับผรู กั ษาราชการแทน ผวู าราชการจงั หวดั ดว ย โดยถือชัน้ และ
ตําแหนง เดมิ ของ ผรู กั ษาราชการแทนผวู า ราชการจงั หวดั เปน หลกั ปฏบิ ัติในการเยยี่ ม อนโุ ลม
ตามความในวรรคแรก

การเยย่ี มตอบ ขอ ๕ การเยย่ี มระหวาง ผบู งั คบั บัญชาเรอื หลวง และเจาหนาทฝ่ี า ยปกครอง ซึง่ ไดกลา วมาแลว ใน
ขอ ๔ นั้น เมอ่ื ฝา ยใดฝายหนงึ่ ไดเยยี่ มแลว ตองมกี ารเยยี่ มตอบภายใน ๒๔ ชว่ั โมง ถาหากวา ฝา ยใด

ฝา ยหนึง่ มรี าชการสาํ คญั จะละทิ้งไปเยย่ี มคํานบั ดวยตนเองไมไ ด กใ็ หจัดขา ราชการชัน้ สญั ญาบัตร

ผูห นง่ึ ผใู ดไปเย่ียมแทนได และถา ผบู ังคับบัญชาเรอื หลวง ไมไ ดไปเยย่ี มคาํ นบั ขาราชการฝา ย

ปกครองดว ยตนเอง ตามขอบงั คับนีเ้ ม่ือใด ตอ งรายงานช้แี จงเหตุผล ที่ไมไดไปนน้ั ใหก องทัพเรือ

ทราบตามทางราชการ

การจัดพาหนะ ขอ ๖ การเยยี่ มคาํ นับ ระหวา งผูบงั คับบัญชาเรือหลวง กบั ขา ราชการสยาม ดงั ไดก ลาวมาในขอ ๕

รบั สง น้ัน ถาหากวา การท่ขี าราชการ ซ่ึงอยูบนบกจะลงมาเยย่ี มคาํ นบั ทเ่ี รือไมได เพราะขดั ของดวย

พาหนะ กใ็ หเรือหลวงจัดเรอื รบั สงตามสมควร

การเยี่ยม ขอ ๗ การเยยี่ มคาํ นบั ขาราชการตา งประเทศ ซ่งึ มหี นาทป่ี ระจาํ อยบู นบก ในอา วตา งประเทศแหง
ขา ราชการ ตางประเทศ ใด จะควรมเี พยี งใด จะมขี อบังคับ หรือคาํ ส่งั เฉพาะคราว หรอื มิฉะนั้น กใ็ หป ฏบิ ัตกิ ารอนโุ ลม ตาม
ธรรมเนยี มทเ่ี รอื รบตา งประเทศ เคยปฏบิ ตั กิ นั อยใู นท่นี น้ั ตามท่ีจะสืบสวน ไดความเปนหลกั ฐาน

อยา งใด

มาตรา ๑๓

การเคารพในเรอื กระเชียง

การเคารพเวลา ขอ ๑ เรือกระเชยี งซงึ่ กาํ ลังเดนิ อยู ใหท าํ การเคารพแกบ ุคคล และวตั ถดุ ังจะไดกลาวตอไปน้ี

เรอื เดนิ (๑) ต้ังกระเชียงหรือหยุดกระเชียง ตามชนิดของเรือ แลวแลไปทางบุคคล และวัตถุควรรับการ

เคารพ นายทา ยไมตอ งทําการเคารพ ใหระวงั ทา ยเรอื ไปตามเดิม เปน การเคารพแก

ก. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว, สมเด็จพระบรมราชินี, รัชทายาท, พระบรมวงศ เฉพาะท่ีมีธง

หมายเกียรติยศ, สมเด็จพระราชชนนี, พระเจา แผน ดนิ และเจา ตา งประเทศ

ข. นายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรวี าการกระทรวงกลาโหม ผูบัญชาการทหารเรือ และนายพลทุกชั้น

ผูบังคับบัญชา ตั้งแตผูบังคับการเรือใหญ ซึ่งตนสังกัดนั้นข้ึนไป ถาเปนเรือของกองทหาร

ตงั้ แตผ บู ังคบั กองทหารนน้ั ข้ึนไป

ค. พระบรมศพ, พระบรมอัฐ,ิ ขบวนแหพระศพ

ง. ธงมหาราช, ธงกระบี่ธุชครุฑพาห, ธงราชินี, ธงเยาวราช, ธงราชวงศ, ธงจุฑาธุช, ธงราชนาวี

ประจําเรือใหญ, ธงประจํากองทหาร, ธงประจํากองยุวชนทหาร, ธงนายกรัฐมนตรี, ธง

การเคารพเวลา รฐั มนตรีวา การกระทรวงกลาโหม, ธงผูบัญชาการทหารเรือ, ธงผูบังคับการกองเรือรบ, และ
เรือจอด ธงนายพลเรือ ในเวลาท่ีชักธงข้ึนลงหรือผานไป สวนธงราชนาวี ประจําเรือใหญน้ัน ให
กระทาํ เฉพาะแตใ น ขณะที่ทําพธิ ธี งขึน้ ธงลงเทา นน้ั
การเคารพเวลา (๒) คํานับโดยวิธีเดียวกันกับใน (๑) แตไมตองต้ังกระเชียง เปนแตเพียงหยุดกระเชียง เปนการ
เรือเดนิ เคารพแก
ก. บรรดาทหารชน้ั นายนาวา ชัน้ นายพันทหารบก
ข. ขบวนแหศ พ ซ่งึ มกี องทหารเขา ขบวนแหด วย
(๓) ไมตอ งหยดุ กระเชยี ง เปนแตน ายทายบอกแลขวา หรอื แลซาย ไปทางผรู บั การเคารพ เปน การ
เคารพแกบรรดา ผูร ับการเคารพอื่น ๆ นอกจากท่ไี ดกลา วแลวใน (๑) และ (๒) นั้น
(๔) การเคารพดว ยวิธตี ัง้ กระเชียง ซ่งึ ไดว าไวใ น (๑) นัน้ ถา เปนเวลาทเ่ี รอื ขงึ เพดานอยู ไมตอ งตั้ง
กระเชยี ง และใหใ ชว ธิ ีทําการเคารพ อยางท่ีวา ไวใ น (๒) น้ันแทน

อนึ่งบรรดาเรอื กระเชยี งหู จะขงึ เพดานหรือมไิ ดขงึ ก็ตาม ไมตองทาํ การเคารพ ดว ยวิธตี ้ัง
กระเชียงเลย ใหทําการเคารพตอบุคคล และวัตถุที่ระบุไวใน (๑) โดยวิธีเดียวกันกับท่ีวาไวใน
(๒) น้ันทุกประการ

ขอ ๒ การเคารพในเรือกระเชียง ซ่งึ ไดก ลา วมาแลวในขอ ๑ ขา งบนนี้ ถา เปน เวลาเรอื จอดอยู ให
ทหารประจําเรอื ทําการเคารพพรอ มกนั โดยผูมยี ศสูงในทน่ี น้ั เปนผสู ั่งใหแ ลขวาหรือซา ย

มาตรา ๑๔
การเคารพในเรอื ใบ

ขอ ๑ เรอื ใบซึ่งกาํ ลงั เดินอยู ใหท ําการเคารพแกบ ุคคล และวัตถดุ งั จะกลาวตอไปนี้
(๑) ปลอยดามนั และนายทายบอกแลขวาหรือซาย เวน แตนายทาย คงระวังหางเสืออยู เปน การ
เคารพแก
ก. พระบาทสมเด็จพระเจา อยหู ัว, สมเดจ็ พระบรมราชนิ ี, รัชทายาท, พระบรมวงศ เฉพาะท่มี ีธง
หมายเกียรตยิ ศ, สมเด็จพระราชชนนี พระเจา แผนดิน และเจาตางประเทศ
ข. นายกรฐั มนตร,ี รัฐมนตรวี าการกระทรวงกลาโหม, ผบู ญั ชาการทหารเรือ, นายพล, นายทหาร
ช้นั นายนาวา และชั้นนายพนั ทหารบก, ผบู งั คับบญั ชาตง้ั แต ผบู งั คับการเรอื ใหญ ซึ่งตนสังกดั นนั้
ข้ึนไป ถาเปนเรือของกองทหาร ต้ังแตผบู ังคบั กองทหารนั้นขนึ้ ไป
ค. พระบรมศพ, พระบรมอฐั ,ิ ขบวนแหพ ระศพ, ขบวนแหศ พซ่งึ มี กองทหารเขาขบวนแหด ว ย
ง. ธงมหาราช, ธงกระบธี่ ุชครฑุ พาห, ธงราชนิ ,ี ธงเยาวราช, ธงราชวงศ, ธงจุฑาธชุ , ธงราชนาวี
ประจาํ เรอื ใหญ, ธงประจาํ กองทหาร, ธงประจาํ กองยวุ ชนทหาร, ธงนายกรัฐมนตร,ี ธง

การเคารพเวลา รฐั มนตรวี าการกระทรวงกลาโหม, ธงผูบ ญั ชาการทหารเรอื , ธงผูบังคบั การกองเรอื รบ, และธงนาย
เรือจอด พลเรอื ในเวลาท่ชี กั ขน้ึ ลงหรือผา นไป สว นธงราชนาว ปี ระจําเรือใหญน น้ั ใหก ระทาํ เฉพาะแตใ น
ขณะท่ที าํ พธิ ธี งขนึ้ ลงเทา นน้ั
หยดุ เครื่องจักร (๒) ไมปลอ ยดามนั เปน แตใ หค นประจาํ เรือกระทาํ การเคารพอยางใน (๑) (เวน แตน ายทาย) เปน
ทําการเคารพ การเคารพ แกบ คุ คลควรรับการเคารพอนื่ ๆ นอกจากทไี่ ดว า มาใน (๑) ขางบนน้ี

ขอ ๒ การเคารพในเรอื ใบ ซ่ึงไดก ลา วแลว ในขอ ๑ นน้ั ถา เปนเวลาเรอื จอดอยู ใหท หารประจาํ เรือ
ทาํ การเคารพอยางขอ ๒ มาตรา ๑๓

มาตรา ๑๕
การเคารพในเรือกลเลก็

ขอ ๑ เรอื กลเล็กกําลังเดนิ อยู ใหหยุดเครอ่ื งจักร ทหารในเรอื ทําวนั ทยหตั ถ (เวนนายทา ย, ชา งกล
และชา งไฟ) ทาํ การเคารพดงั นี้
(๑) แกบุคคล คอื
ก. พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูห วั
ข. สมเดจ็ พระบรมราชินี
ค. รชั ทายาท
ง. พระบรมวงศ และสมเด็จพระราชชนนี
จ. พระเจา แผน ดนิ และเจา ตางประเทศ
ฉ. นายกรฐั มนตรี
ช. รัฐมนตรวี า การกระทรวงกลาโหม
ซ. นายทหารและนายตาํ รวจท่มี ยี ศช้ันนายพล
ฌ. ผูบ งั คบั บญั ชาโดยตรงต้งั แตผ บู ังคบั กองขนึ้ ไป
(๒) แกว ตั ถุ คอื
พระบรมศพและพระบรมอฐั ิ
พระศพและพระอฐั พิ ระบรมวงศ
ธงหมายพระอสิ สริยยศ
ธงประจํากองทหาร
ธงประจํากองยุวชนทหาร
ธงราชนาวีประจําเรือใหญ
ธงนายกรฐั มนตรี

ธงรฐั มนตรวี า การกระทรวงกลาโหม
ธงผูบญั ชาการทหารเรือ
ธงนายพลเรือ
การเคารพธงเหลาน้ี ใหก ระทาํ เม่ือเวลาทชี่ ักข้ึน หรือชกั ลง หรอื ผา นไป สําหรับธงราชนาวี
ประจําเรอื ใหญ ใหทําเฉพาะพธิ ธี งขึ้นลง

เบาเครอ่ื งทาํ ขอ ๒ เรอื กลเลก็ กาํ ลงั เดินอยู ใหเบาเครื่องจักร ทหารในเรอื ทาํ วันทยหัตถ (เวนนายทา ย, ชา งกล

การเคารพ และชา งไฟ) ทาํ การเคารพแกบ คุ คล และวตั ถุดังนี้

นายทหารชน้ั นายนาวา และนายพนั ทหารบก

ศพซงึ่ มกี องทหารแหเ ปน เกยี รตยิ ศ

เรอื เดนิ ตามปกติ ขอ ๓ เรือกลเลก็ กาํ ลังเดนิ อยู ใหท หารในเรือ (เวนนายทา ย ชางกล และชางไฟ) ทําวนั ทยหตั ถ

ทําการเคารพ แตเ รอื คงเดนิ ตามปกติ ทําการเคารพแกบ รรดาผรู บั การเคารพอื่น ๆ นอกจากทก่ี ลาวแลว ในขอ

๑ และขอ ๒

ทาํ การเคารพ เมื่อเรอื ขอ ๔ เรอื กลเล็กเวลาจอดอยู ใหท หารในเรือทาํ การเคารพ อยางเวลาอยูตามลาํ พงั
จอด

ทําการเคารพเม่อื ขอ ๕ การเคารพดว ยวธิ หี ยดุ เคร่ืองจกั รนนั้ ถาเปน เวลาที่เรอื นนั้ ตองจูงเรอื อน่ื ๆ อยูดว ย ให

เวลาเปนเรอื จงู เปลี่ยนเปน เบาเคร่ืองจกั ร ทาํ การเคารพ

ตอนที่ ๓

เบด็ เตลด็

เคารพผูแทน ขอ ๑ การแสดงความเคารพ ตอ ผแู ทนพระองค หรอื ผแู ทนผูบงั คับบัญชา ถา มคี ําสง่ั แสดงให

ปรากฏ วาผใู ดเปนผแู ทน ก็ใหแ สดงความเคารพ ตอผนู น้ั ดจุ เดียวกบั ท่ตี อ ง แสดงถวายพระองค

หรอื แกผ ูบ ังคบั บัญชานน้ั ๆ ตลอดเวลาทแ่ี ทน

การเคารพขาราชการ พล ขอ ๒ ทหารตอ งแสดงการเคารพตอ ขาราชการพลเรอื นซงึ่ เปนผบู งั คบั บัญชา
เรือน

การเคารพธง ขอ ๓ ทหารทไี่ ปในงานพธิ ีของลกู เสอื ใหแสดงการเคารพตอ ธงประจาํ กองลกู เสอื เฉพาะไปใน

ประจํากองลูกเสือ โอกาสนนั้ ตามเวลาอนั สมควร

หมายเลข ๑

ยศ และตําแหนง อาการทม่ี า ผรู บั รอง เปานกหวีด ยามใหญ หมายเหตุ

รัฐมนตรวี าการ มีธงหมาย นายทหาร พนั จา เขาแถวในบงั คบั แตรสนั้ เปา เพลงคาํ นบั

กระทรวงกลาโหม ตําแหนง ท้งั หมด นายทหารสญั ญา ๑ จบ

ผบู ญั ชาการทหารเรือ บัตร แตรวงเปา เพลงเดนิ

มหาฤกษ

รฐั มนตรวี าการ ไมม ธี งหมาย ผูบังคับการเรือ พนั จา ไมมี แตรไมเปา

กระทรวงกลาโหม ตาํ แหนง ตน เรือ, นายยาม

ผูบญั ชาการทหารเรอื

รองผบู ญั ชาการ มีธงหมายยศ, ผบู ังคับการเรอื จา เขา แถวในบังคบั แตรสั้นเปา เพลงคํานบั

ทหารเรือ หรือตําแหนง ตน เรือ, นายยาม นายทหารสญั ญา ๑ จบ

ผูบังคบั การกองเรอื รบ บตั ร แตรวงเปาเพลงเดนิ

นายพลเรือทกุ ชั้น มหาฤกษ

ถา เปนนายพลเรอื ซึ่ง

บังคบั บัญชาโดยตรง

ใหรับรองอยา งผู

บัญชาการทหารเรือ

รองผบู ญั ชาการ ไมม ธี งหมาย ผบู ังคับการเรอื จา ไมม ี

ทหารเรือ ยศ, หรือ ตน เรือ, นายยาม

ผูบังคบั การกองเรอื รบ ตาํ แหนง

นายพลเรือทกุ ช้นั

ผบู ังคับหมวดเรอื ของ มธี งหมาย ผูบังคบั การเรอื จา เขา แถวในบงั คับ ไมมกี ารเปาแตร

ตน ตําแหนง ตนเรอื , นายยาม

ผูบังคับหมวดเรอื ของ ไมมีธงหมาย ผูบงั คับการเรอื จา ไมมี

ตน ตําแหนง

ผูบ ังคบั การเรอื ของตน มธี งหมาย ตน เรอื , นายยาม จา เขาแถวในบงั คับ ไมม กี ารเปา แตร

ตําแหนง

ผูบังคับการเรอื ของตน ไมมีธงหมาย นายยาม จา ไมม ี

ตําแหนง

ผบู ังคบั การเรอื อื่น มธี งหมาย ผูบ งั คับการ, นาย จา ไมมี

และ นายทหารชัน้ นาย ตาํ แหนง ยาม

นาวา

ผูบ งั คับการเรอื อ่ืน ไมม ีธงหมาย ผบู งั คับการ, นาย จา ไมมี

และ นายทหารชนั้ นาย ตําแหนง ยาม
นายยาม
นาวา

นายทหารชน้ั นายเรือ - ไมมี ไมมี ถา เปน นายทหารเรือ
ตางประเทศ ตอ งไดร บั
หมายเลข ๒ นกหวีดดวย

ยศ และตําแหนง ผรู บั รอง เปานกหวดี ยามใหญ หมายเหตุ
นายกรัฐมนตรี แตรสนั้ เปาคาํ นบั ๑ จบ แตรวง
นายทหาร พันจา เขาแถวในบงั คับ นาย เปาเพลงมหาฤกษ
รัฐมนตรวี าการ ทง้ั หมด
กระทรวง อัครราชทูต ทหารสัญญาบตั ร
ชน้ั อธบิ ดี ผบู ังคบั การ, ตน
เรอื , นายยาม พนั จา เขา แถวในบงั คบั พนั
หัวหนา กรม ขา หลวง
ประจาํ จังหวดั กงสลุ ผูบงั คบั การ, นาย จา
เยเนอราล และกงสุล ยาม
ไวซกงสลุ พนั จา ไมม ี
ผบู ังคบั การ, นาย
ยาม จา ไมมี

ตนเรอื , นายยาม จา ไมมี

------------------------------------------------------------

คาํ ชแ้ี จงเพม่ิ เตมิ ตาง ๆ
นอกจากขอบังคับทหาร วาดวยการเคารพแลว หนวยเหนือและ ทร.ไดชี้แจงเร่ืองการเคารพเพ่ิมเติม หลาย
ประการดงั น้ี
๑. การแสดงการเคารพในงานพธิ ตี าง ๆ

๑.๑ การเปาแตรนอนในงานศพทหาร ไมต อ งทาํ วนั ทยหัตถ คงเพยี งแตใหย ืนไวอาลัย เมอ่ื แตรนอน
จบ จะเปน เพลงเคารพศพ จงึ จะทาํ วันทยหตั ถ

๑.๒ งานพิธีเปดปาย เปดงาน เปดพระบรมราชานุสาวรีย หรือพระบรมรูป การแสดงการเคารพ มี
ดงั น้ี

๑.๒.๑ งานพิธเี ปด ปาย เปดงาน จะมเี พลงมหาฤกษ ไมตอ งแสดงการเคารพ
๑.๒.๒ งานพิธีเปดพระบรมราชานุสาวรีย หรือพระบรมรูป ถาพระบาทสมเด็จพระ
เจาอยูหวั ทรงถวายการเคารพ ก็ใหแ สดงการเคารพดว ย
๒. การแสดงการเคารพของทหาร เมื่อมิไดแตงเคร่ืองแบบ ในขณะที่แตงเคร่ืองแบบทหาร จะตองทําการ
เคารพตาม ขอ บงั คับทหารวาดวยการเคารพ แตถ า มไิ ดแ ตง เครอ่ื งแบบ ทร. กําหนดใหป ฏบิ ัตดิ ังน้ี
๒.๑ การทําความเคารพตอ ผูท่ีมีอาวุโสสูงกวานายทหารสัญญาบัตร ทําความเคารพดวยวิธีกม
ศีรษะ หรือดวยการไหว นายทหารประทวน และลูกจางทําความเคารพดวยวิธีทาตรง หรือดวยการไหว แตถาอยูใน
สถานทที่ ํางาน ในโรงงาน หรือในเรือ ใหแ สดงความเคารพ ดวยวธิ ีกม ศีรษะ หรือยืนตรงตามฐานะของตน
๒.๒ การรับความเคารพตอ ผูที่มีอาวุโสตํ่ากวา นายทหารสัญญาบัตรรับความเคารพ ดวยวิธีกม
ศรษี ะ หรอื ดว ยการไหวก ็ได
๓. การทาํ ความเคารพในเรือดวน และเรือขามฟาก ปฏบิ ัติตามแบบธรรมเนียมประเพณี ท่ีใชกันมานานแลว
คอื
๓.๑ เรือขา มฟาก
๓.๑.๑ เมื่อนายพลลงเรือ นายทายเรือใหสัญญาณส่ันกระด่ิง ๑ ที ทุกคนในเรือ (เวนชาง
เคร่ือง) ยนื ตรง ผูทีแ่ ตง เครือ่ งแบบ สวมหมวกทาํ วันทยหตั ถ เมื่อนายพลผูน้ันรับการเคารพ และน่ังลงแลว ทุกคนใน
เรอื น่ัง นายทายเรือ ใหส ัญญาณส่งั เครอื่ งจักรตอ ไป
๓.๑.๒ เมื่อนายพลขึ้นจากเรือ คงทําความเคารพเชนเดียวกับ ขอ ๓.๑.๑ เวนแตไ มตองส่ัน
กระดิง่
๓.๑.๓ เม่ือเรือแลนสวนกัน หรือผานไป นายทายเรือ ลําท่ีไมมีนายพลนั่งไปกับเรือ ให
สัญญาณส่ันกระด่ิง ๑ ที หยุดเคร่ือง ทุกคนในเรือ (เวนชางเคร่ือง) ยืนตรง ผูท่ีแตงเครื่องแบบ สวมหมวกทํา
วันทยหัตถ เมอ่ื นายพลรับการเคารพแลว ทกุ คนในเรือนง่ั นายทา ยเรอื ใหสัญญาณเรือแลนตอ ไป
๓.๒ เรอื ดว น

ใหทุกคนในเรือ ทําความเคารพตามลําพัง นายทายเรือไมตองใหสัญญาณ และคนในเรือ
ไมต องยนื ทาํ ความเคารพ

๔. การแสดงการเคารพของทหารยาม
ทหารยามตองทําการเคารพ นายทหารสัญญาบัตรทุกนายท่ีผาน เมื่อทหารยามผูนั้นรูจัก หรือรูวา

เปน นายทหารสญั ญาบตั ร ถึงแมว านายทหารสัญญาบตั ร จะไมไดแตง เคร่ืองแบบก็ตาม
๕. การเปา เพลงคํานับของกองรกั ษาการณ
๕.๑ เหลาทัพตาง ๆ ไดรวมพิจารณาแนวทางปฏิบัติ ในการเปาเพลงคํานับ ของกองรักษาการณ

และใชปฏิบัติดังนี้
๕.๑.๑ ตามขอบังคบั ทหารวา ดวยการเคารพ กองรักษาการณ จะตองเรียกแถวทาํ วนั ทยาวธุ

แสดงการเคารพแกผูบังคับบัญชา ตั้งแตชั้นผูบังคับกองพัน หรือผูบังคับการเรือข้ึนไป รวมท้ังผูบังคับบัญชา ชั้นผู
บังคับฝูงบินขึน้ ไปดวย

๕.๑.๒ การเปาเพลงคํานับ ของกองรักษาการณ ใหเปาเฉพาะในพิธีเกียรติยศ (ยกเวนขอ
๕.๑.๓) ซ่ึงจะตองมีกําหนดการ หรือคําสั่งเฉพาะคราว และใหเปาเพลงคํานับแก ผูบังคับบัญชาตั้งแตชั้น ผู
บัญชาการกองพล ผูบังคับการกองเรือ หรือผูบัญชาการกองพลบิน ขึ้นไป เม่ือไดเปาเพลงคํานับแก ผูบังคับบัญชา
ชน้ั สงู แลว กไ็ มตอ งเปา เพลงคาํ นบั แก ผูบังคับบญั ชาช้นั ตาํ่ กวา ซงึ่ มาในงานพธิ ีเดียวกันนน้ั อกี

๕.๑.๓ กองรักษาการณ จะตองเรียกแถวทําวันทยาวุธ แตรเดี่ยวเปาเพลงคํานับ แก
ผูบังคับบัญชา ตั้งแตช้ันผูบัญชาการทหารบก ผูบัญชาการทหารเรือ หรือผูบัญชาการทหารอากาศข้ึนไป ในกรณีท่ี
ไปราชการ หรือตรวจเยย่ี มหนว ยรองของตน

๕.๑.๔ การเรียกแถวทําวันทยาวุธ และการเปาเพลงคํานับ ของกองรักษาการณ ใหปฏิบัติ
ต้ังแตเวลา ๐๖๐๐ - ๑๘๐๐ สําหรับ ทร.ตั้งแตเวลา ๐๘๐๐ ถึงพระอาทิตยอัสดงคต สวนการแสดงการเคารพ แก
ผูบังคับบัญชานอกเวลาดังกลาว ใหผูควบคุมบอกทหาร กองรักษาการณที่นั่ง เปนผลัดหนุนท้ังหมด แสดงการ
เคารพโดยการยืนตรง ยกเวนเม่ือมีพิธีเกียรติยศหรือมีคําส่ังเฉพาะคราว ใหเรียกแถวทําวันทยาวุธ และแตรเดี่ยวเปา
เพลงคํานบั ดวย

------------------------------------------------------------

การแสดงความเคารพสาํ หรบั พลเรอื น

การแสดงความเคารพสําหรับพลเรือน ไดแก ขาราชการกลาโหมพลเรือน และลูกจาง ถือปฏิบัติ ตาม

ขอบงั คับทหารวาดว ย การแสดงความเคารพสําหรับ พลเรือน ซึง่ ใชบงั คบั ต้ังแต ๑๒ ม.ค.๘๑ ดังน้ี

(สาํ เนา)

ขอ บังคบั ทหาร

วา ดว ยการแสดงความเคารพสําหรบั พลเรอื น

ความมงุ หมาย ขอ ๑ การแสดงคารวะดว ยการเคารพ เปน ธรรมเนยี ม และจรรยาอนั ดีงามยอ ม เปน เครือ่ งปลูกฝง

ความสามัคคี และทวีความผกู พนั ธ ใหส นิทสนมแนนแฟนย่ิงขน้ึ โดยเฉพาะขาราชการกลาโหม

พลเรือน และคนงานซง่ึ รบั ราชการรว ม อยใู นวงการของทหารดว ยแลว การแสดงความเคารพ กย็ ่ิง

มีความสาํ คญั มากขนึ้ จงึ ตราขอบังคบั ไว เพื่อเปน ทางปฏบิ ตั ดิ ังตอ ไปน้ี

วิธแี สดงความเคารพ ขอ ๒ ขา ราชการกลาโหมพลเรือน และคนงานใหแ สดงความเคารพ ตามวธิ ดี ังน้ี

(๑) แตงเครอ่ื งแบบซ่ึงทางราชการกําหนด

ก. สวมหมวก ใหท ําวนั ทยหตั ถท ง้ั เวลาอยกู ับที่และเคลอ่ื นที่

ข. ไมสวมหมวก สาํ หรับเสมยี นพนกั งาน และคนงานอยกู บั ท่ี ใหท ําทา ตรง ถาเคล่ือนทใ่ี หท ํา

แลขวา(ซาย) ไปทางผู หรือส่ิงซง่ึ ตอ งเคารพ สําหรับขาราชการกลาโหมพลเรือน ตาํ แหนง

ชน้ั สัญญาบตั ร ใหทําการเคารพดว ยวธิ กี ม ศรี ษะ

(๒) ชายแตง เคร่ืองลาํ ลอง ใหทําการเคารพตามประเพณีนิยม

(๓) หญิงเม่อื ไมไ ดแตง เคร่อื งแบบใหท าํ การเคารพตามประเพณนี ิยมใน (๒) และ (๓) นั้น ถาอยู

ในแถว หรือในบริเวณโรงงาน ใหท ําการเคารพดว ยวธิ ียนื ทา ตรง

ผูห รอื สง่ิ ซ่งึ ขอ ๓ ขาราชการกลาโหมพลเรือน และคนงาน ตองแสดงความเคารพตอผู หรือสิ่ง ซ่ึงจะกลาว

ตองทําการเคารพ ตอ ไปน้ี คอื

(๑) พระบาทสมเด็จพระเจาอยหู ัว

(๒) สมเด็จพระบรมราชินี
(๓) สมเดจ็ พระราชชนนี
(๔) รชั ทายาท
(๕) พระเจาแผนดนิ และพระราชินีตา งประเทศ
(๖) พระบรมวงศซ ึ่งเสด็จโดยมธี งราชวงศ
(๗) เจา ตางประเทศซ่ึงเปนเอกราช และเสดจ็ โดยมีธงราชวงศ

(๘) ผูสําเร็จราชการแทนพระองค

(๙) นายกรฐั มนตรี
(๑๐) รฐั มนตรวี าการกระทรวงกลาโหม
(๑๑) ผูบังคับบัญชาของตน
(๑๒) พระบรมศพและพระบรมอฐั ิ
(๑๓) พระศพและอัฐพิ ระบรมวงศ
(๑๔) ศพซ่ึงมกี องทหารแหเ ปน เกยี รติยศ
(๑๕) ธงประจาํ กองทหาร
(๑๖) ธงประจํากองยุวชนทหาร
(๑๗) ธงประจํากองลูกเสือ
(๑๘) ธงชาติในขณะชักขึ้นลง ประจําสํานักงานของรัฐบาล ธงหมายยศนายพล หรือตําแหนง
ตง้ั แตช ้นั ผูบญั ชาการทหารขึน้ ไป และธงราชนาวี ในขณะทาํ พิธีชกั ข้นึ ลง
(๑๙) ธงมหาราช ธงราชนิ ี ธงเยาวราช และธงราชวงศ เวลาผานหรือชกั ขนึ้ ลง
(๒๐) อนุสาวรยี รปู บคุ คล ขณะเม่อื รฐั บาลมงี านฉลอง
(๒๑) พลเรอื นตอ พลเรอื น หรอื พลเรือนตอ ทหาร

เคารพกอนและหลัง ขอ ๔ ผูมตี ําแหนงต่าํ ตอ งทําการเคารพ ผมู ตี ําแหนงสูงกอน ผูมีตําแหนง สงู ตองทําการเคารพตอบ

ถา ตาํ แหนง เสมอกนั ตองทําการเคารพซง่ึ กนั และกนั โดยไมเ กย่ี งงอน

ขอ ๕ เม่ือผูหรือส่ิงซึ่ง จะตองทําการเคารพตามขอ ๓. เขาไปในสํานักงาน หรือโรงงานใหปฏิบัติ

ดังนี้

(๑) ถา เขาไปในสาํ นักงาน ใหผูทีอ่ ยใู นสํานกั งานน้นั ทําการเคารพโดยลําพงั

(๒) ถาเขาไปในโรงงานหลังใด ซึ่งเปนเวลาที่คนงาน กําลังทํางานอยู ใหผูบังคับบัญชาสูงสุด ณ

โรงงานหลงั นัน้ ทาํ การเคารพแตผ ูเ ดียว

(๓) เม่ือมีการสนทนา หรือสอบถามขอความใด ๆ ซ่ึงกันและกัน ใหผูมีตําแหนงตํ่า ยืนสนทนาใน

ทา ตรง จนกวาจะไดรับอนญุ าต

สว นนอกสาํ นักงานหรอื โรงงาน ใหท าํ การเคารพโดยลําพงั โดยวธิ ีทีก่ ลาวไวใ นขอ ๒

การรบั เคารพ ขอ ๖ เมอ่ื อยูดว ยกันหลายคน ผมู ตี ําแหนง สูง เปนผรู บั การเคารพแตผ ูเ ดยี ว

เคารพไมได ขอ ๗ ขา ราชการกลาโหมพลเรอื น และคนงานแตง เคร่ืองแบบ ซง่ึ ทางราชการกําหนด และสวม

หมวกอยู จะถอดหมวกเคารพ แกผ ูใ ดมไิ ด

เคารพสถานท่ี ขอ ๘ เมอื่ เขา ไปในพระท่นี งั่ โบสถ วิหาร ทว่ี าการ หรอื เคหะสถาน เพือ่ เคารพตอ สถานที่นนั้ ให

ถอดหมวก

เคารพเมือ่ ได ยนิ ขอ ๙ เมื่ออยรู ว มสถานที่ ซ่งึ มกี ารบรรเลงเพลงเปน เกยี รติยศ ตองทาํ การเคารพ จนกวา จะสน้ิ เพลง

เพลง เกยี รตยิ ศ เคารพนน้ั

เริม่ และเลิก เคารพ ขอ ๑๐ การเคารพใหเริ่มและเลิกดังตอไปน้ี

(๑) เมื่อผานใหเร่ิมกระทํา ในระยะหางท่ีเห็นไดถนัด และกอนท่ีจะผาน ประมาณ ๓ กาว เลิกทํา

การเคารพ เมอื่ ผา นไปแลว ประมาณ ๒ กาว

(๒) เม่ือเขาไปหา ใหเริ่มทําการเคารพกอนถึงผู หรือสิ่งซ่ึงตองเคารพ ประมาณ ๓ กาว เลิกทํา

การเคารพเม่ือ ไดร ับอนุญาต หรือเสรจ็ กิจแลว

(๓) เมื่อผูหรือส่ิงซ่ึงตองเคารพ เขามายังบริเวณที่ตนอยูใหเร่ิม และเลิกทําการเคารพ ในโอกาส

อันควร

การผอนผัน ขอ ๑๑ ใหผ อนผนั การแสดงความเคารพดงั น้ี

แสดงความ (๑) ขาราชการกลาโหมพลเรอื น และคนงานแตง เครื่องแบบ ซ่งึ ทางราชการกาํ หนด และสวม

เคารพ หมวกอยู จะถอดหมวกเพอื่ ไหวพระกไ็ ด หรือถา ไมสามารถทาํ การเคารพ ดว ยทาวนั ทยหัตถไ ด

ในเวลาอยูกบั ท่ีใหท ําทาตรง ในเวลาเคลอื่ นที่ใหท าํ แลขวา(ซา ย)

(๒) เม่ือสนทนาอยกู ับ ผูมตี าํ แหนง สูงกวาตนไมตอ งทําการเคารพ ผูม ตี ําแหนง ต่ํากวา ผซู ึ่งตนอยู

ดวย แตถ า อยูเฉพาะพระพกั ตร พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหัว สมเดจ็ พระบรมราชนิ ี สมเดจ็ พระ

ราชชนนี และรชั ทายาท ไมต อ งทําการเคารพแกผ ูใ ด นอกจากพระองคน ้ี

(๓) เวลาอยบู นยานพาหนะ ใหทาํ การเคารพโดยน่งั หรือยนื อยูบนยานนนั้ ได แตตอ งสํารวม

อิรยิ าบถ ขณะเคารพใหสมควร

(๔) แถวกาํ ลงั เดนิ ตามสบาย หรอื วงิ่ ไมตองบอกทาํ การเคารพ

(๕) เวลากําลงั ปฏิบตั หิ นา ท่ี อันเกยี่ วกับเครอื่ งจักร เครอ่ื งยนต ซึ่งถาละหนา ที่นนั้ อาจเกิด

อนั ตราย หรือเสียหายแกก ารงานข้นึ ได กไ็ มตองทาํ การเคารพ ถา ตอ งตอบคาํ ถาม ใหน ัง่ หรือยืน

อยูในทา ซ่ึงกาํ ลงั ทํางานนน้ั ๆ

โอกาสท่ีไม ตอ งทาํ ขอ ๑๒ เมอื่ อยูใ นโอกาสตอ ไปนี้ ไมต อ งทาํ การเคารพแกผใู ด

การเคารพ (๑) กาํ ลงั เลนกฬี า

(๒) อยใู นทช่ี มุ นุมซ่งึ ตองการความสงบ

(๓) เจ็บปวยอาการสาหัส

(๔) แบกหามของหนกั

(๕) กาํ ลงั รับประทานอาหาร

(๖) มีหนาที่ตองประจําในขบวนหรอื พธิ ใี ด ๆ
(๗) กําลังขับข่ยี านหรือสัตวพาหนะ เคลือ่ นทตี่ ามลําพงั ในท่คี บั ขนั หรอื เม่อื กาํ ลงั ขบั ยานพาหนะ
ในความควบคุม
ใหใ ชขอ บงั คับน้ี ตง้ั แตบ ดั นเ้ี ปน ตนไป

(ลงนาม) พ.อ.พรหมโยธี
สัง่ ราชการแทนรัฐมนตรีวา การกระทรวงกลาโหม

ศาลาวา การกลาโหม พระนคร
๑๒ ม.ค.๘๑

-----------------------------------------------------------


Click to View FlipBook Version