The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการเรียน
หัวข้อวิชา ระบบเพลาใบจักร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by runn0248, 2022-05-09 01:20:46

เอกสารประกอบการเรียน หัวข้อวิชา ระบบเพลาใบจักร

เอกสารประกอบการเรียน
หัวข้อวิชา ระบบเพลาใบจักร

Keywords: เอกสารประกอบการเรียน หัวข้อวิชา ระบบเพลาใบจักร

ซลี เพลาใบจักร 47

เกิดการรวั่ ไหลสูงเกิน น้ําทะเลเกดิ การอุดตัน หรือ ตรวจสอบหนา สัมผัส FACE
เกณฑ (มากกวา 3 GPM) ไหลผานผวิ หนาสัมผัสไม INSERT และทําใหแรงดนั นํา้ ที่
สะดวก เซาะรองไหลสะดวก
ซีลไมไ ดศ นู ย ปรบั ใหมใหไ ดศนู ยต ามคูม อื

(OUT OF ALIGNMENT)

กําลังดนั ท่ผี วิ สมั ผัสนอ ยเกนิ ไป ตรวจสอบระยะการทาํ งานของ
(TOO LITTLE COMPRESSION) ผิวสมั ผัสกบั ทีไ่ ดจ ดบนั ทึกไวเม่ือ

คร้ังตดิ ต้ัง ปรบั แตงใหมถ า จาํ เปน

O-RINGS หรอื SEALING เปล่ยี นสวนประกอบท่ชี าํ รดุ
STRIPS ชํารุด
FACE INSERT ชํารดุ เปล่ียน FACE INSERT และ
ปรับแตง ผิวสัมผัส SEAT
ความส่นั สะเทือนสูงเกนิ เกณฑ ซีลไมไ ดศนู ย ปรบั ใหมใหไดศูนยตามคมู อื

( EXCESSIVE VIBRATION ) (OUT OF ALIGNMENT)

3. RUBBER-LIP FACE SEALS
เปนซลี ท่ีใชง านในเรอื รนุ เกา ของ ทร.อม.ผลิตโดยหลาย ๆ บรษิ ัท ใชชอ่ื วา SYNTON SEAL
3.1.โครงสรางสวนประกอบของ SYNTON SEAL ตามภาพท่ี 5-3 แสดงโครงสรางแยกสวน

ของ SYNTON SEAL ประกอบดวยตัวเรือน (HOUSING) สรางดวยโลหะหลอ (BRONZE CASTING)
ภายในตวั เรอื นประกอบดว ยซลี ยางหรือ RUBBER-LIP SEAL ELEMENT จํานวน 2 ชุด ซึ่งซีลยางแตละ
ชุดสามารถสับเปลี่ยนกันได ผิวสัมผัสระหวางซีลยางและปลอกเพลาใบจักรระบายความรอนและ
หลอล่ืนดวยนํ้าทะเล (น้ําทะเลไหลจากชองทางภายในฝาอัด (GLAND RING) ผานซีลชุดหนาเขาไป
ภายในตัวเรอื น) ซลี พองลมเปน สวนประกอบท่ตี ิดต้ังอยภู ายในชองวา งของตัวเรือน การอัดซีลพองลม
โดยใชลมกําลังดันต่าํ จากเคร่ืองอัดลม ซงึ่ การงานในกรณีซอมทําซลี ขณะทเ่ี รือลอยลําอยใู นน้ําเทาน้ัน

3.2. การใชงาน (OPERATION) ซีล SYNTRON ทํางานอัตโนมัติในทันทีที่มีนํ้าทะเลไหลผาน
เขาไประบายความรอนในหองซีล และมีนํ้าทะเลไหลผาน GLAND RING (ดูภาพที่ 5-3) โดยเปดลิ้น
นํ้าและตรวจสอบกําลังดันนํา้ ทะเลใหไ ดตามเกณฑ (เมอื่ ปฏบิ ตั กิ ับระบบน้าํ ทะเลดังกลาวเรยี บรอยแลว
จึงจะสามารถหมุนเพลาใบจักรได) สวนการเลิกใชงานใหปฏิบัติดวยวิธีเลิกระบบน้ําทะเลท่ีเก่ียวของ
ท้ังหมด การร่ัวไหลของนํ้าทะเลท่ีซีลเพลากระบอกดีฟุตตามตารางที่ 5-1 รายละเอียดดานการใชงาน
และการเลิกใหป ฏิบัติตามคูมือเรอื

เอกสารประกอบการเรียนหลกั สูตร พันจา เอกอาชีพ กฝล.กฝร.

ซีลเพลาใบจักร 48

ภาพที่ 5-3 แสดงโครงสรางสว นประกอบ SYNTON SEAL RUBBER - LIP SEAL

3.3. การใชงานกรณีฉุกเฉิน (EMERGENCY SEAL OPERATION) ในกรณีเกิดการชํารุด
การเปลี่ยนเปนซีลแบบแปกกิ้งธรรมดา (STUFFING BOX) ขณะเรือลอยลําอยูในน้ํากระทําโดย อัดซีล
พองลม เปดตัวเรือนและถอดชุดซีล SYNTRON ออกแลวเปลี่ยนใสแปกก่ิงลงไปแทน ตอจากน้ันปดฝา
ตัวเรือน ระบายลมออกจากซีลพองลม ตรวจสอบและปรับแตงการรั่วไหลของน้ําทะเลผานซีลใหอยู
ในเกณฑ การปฏิบตั ิในการเปลี่ยนซีลกรณีฉกุ เฉนิ ดงั กลา วใหศ กึ ษาโดยละเอยี ดจากคูมอื เรือเทา นัน้

3.4. การควบคุมและอุปกรณควบคุม (CONTROL AND INDICATORS) ตารางที่ 5-4 เปน
ตารางปฏิบัติ และกลาวถึงอุปกรณท่ีเกี่ยวของในการควบคุมการใชงานซีล SYNTRON ซึ่งไดแกระบบ
นํ้าทะเลและระบบอากาศอัดซีลพองลม และภาพท่ี 5-4 เปนรายละเอียดของระบบนํ้าทะเลและ
ระบบอากาศอดั ซีลพองลมของซลี SYNTRON

ตารางท่ี 5-4 RUBBER-LIP- SEAL การควบคุมและอุปกรณควบคุม

ช่อื วัตถุประสงค หรือ การใชง าน ตาํ แหนง หรือ
สถานทตี่ ิดตง้ั คาทต่ี องการใชงาน
อปุ กรณค วบคุม เปด เม่อื เรม่ิ ใชง าน
การทํางาน และ เปด
STERN TUBE
FLUSH INLET เปด-ปด น้ําทะเล ทอทางน้ําทะเลเขา ปด เมอ่ื เลิกใชงาน เปด
VALVE เปด เม่อื เรม่ิ ใชงาน
SEAL CAVITY หลอกระบอกดีฟุต กระบอกดฟี ุต
FLUSH INLET และ
VALVE เพลาใบจักร ปด เมอ่ื เลิกใชง าน

เปด -ปด น้ําทะเล ทอทางน้ําทะเลเขา

หลอภายในหองซลี หอ งซลี

(SEAL CAVITY)

เอกสารประกอบการเรียนหลักสูตร พันจาเอกอาชพี กฝล.กฝร.

ซีลเพลาใบจักร 49

NEEDLE REDUCE ลดกําลังดันน้ําทะเล ระหวางระบบนํ้าทะเล ปรับแตงกําลงั ดนั นํ้า 15-18 PSI
15-18 PSI
VALVE หลอภายในหองซีล และทอทางน้ําทะเล ทะเลเขา GLAND
สูงสดุ 3 GPM /หรือ
(SEAL CAVITY) เขาหองซลี RING และ หอ งซีล

เกจวัดกาํ ลงั ดนั แสดงกาํ ลังดันน้าํ ทะเล ทอ ทางระหวาง ขณะใชง าน

ทีท่ อทางออกของ REDUCE VALVE
REDUCE VALVE และตวั เรอื นซลี

น้ําทะเลรั่วออกจาก แ ส ด ง นํ้ า ท ะ เ ล ดา นใตของซลี ขณะใชง าน

ซลี ร่วั ไหลผา นซลี 1 ปน /นาที เม่ือ

ซลี ตดิ ต้ังใหม

ภาพท่ี 5-4 ระบบนาํ้ ทะเล และระบบอากาศอัดซลี พองลมซีล SYNTRON

เอกสารประกอบการเรียนหลกั สูตร พันจา เอกอาชีพ กฝล.กฝร.

ซีลเพลาใบจักร 50

3.5.การซอมบาํ รุง (MAINTENANCE) ซลี SYNTRON ถกู ออกแบบสาํ หรับการใชงานทีย่ าวนาน
และปราศจากขอขัดของใดๆ ถามีการซอมบํารุงปองกันตามระยะเวลาที่ถูกตอง อัตราการรั่วไหลของ
นํ้าทะเลท่ีรั่วผานซีลจะบอกใหทราบถึงสภาพของซีลภายใน เฉพาะงานการซอมทํา(CORRECTIVE
MAINTENANCE)ท่ีสามารถทําได เชน การเปล่ียนซีล เปลี่ยนสปริงนัตหรือสกรู และเปลี่ยนหรือซอม
ทําผิวสัมผัสของ GLAND RING เปนตน ถามีการสึกมากเกินไป รวมทั้งมีการร่ัวไหลของน้ําทะเลเกิน 3
แกลลอน/นาที ใหเปล่ียนชุดซีลยางใหม งานการซอมบํารุงปองกัน (PREVENTIVE MAINTENANCE)
เชน การรว่ั ไหลของอากาศและน้ําท่ีซีลพองลม เปล่ียนไสกรองของหมอกรองน้ําทะเล (ถามี) ตรวจร่ัว
ตามระยะเวลาของซีลกระบอกดีฟุตและทอทางนํ้าทะเล เปนตน ตารางท่ี 5-5 แสดงตัวอยางรายการ
ซอมบํารงุ ปองกนั ซีล SYTRON รายละเอยี ดของขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิใหศ กึ ษาจาก PMS หรอื คูมือเรอื

หมายเหตุ (NOTE) ไมควรเปดตัวเรือซีลกระบอกดีฟุตเพลาใบจักร เพียงเพ่ือตองการ
ตรวจสอบหนา สัมผัสของซีลเทาน้ัน

ตารางท่ี 5-5 ตารางการซอ มบาํ รุงปอ งกันซีล SYTRON

รายการซอ มบาํ รุง เวลา
ตรวจสอบอตั ราการรัวไหลของนา้ํ ทะเลผา นซลี ทุกวนั
ตรวจสอบและปรับแตง กําลงั ดันน้าํ ทะเลท่ี NEEDLE REDUCE VALVE ทุกวนั
ตรวจสอบและทําความสะอาดไสก รองหมอ กรองน้าํ ทะเล ทกุ 3 เดือน
ทดลองซลี พองลมและอปุ กรณที่เกย่ี วของ ทุก 6 เดอื น

3.6. การปรับซอมใหญ (SEAL OVERHAUL) การปรับซอมใหญของซีลกระบอกดีฟุตแบบ
SYNTRON เปนการซอมทําเมื่อเรือเขาอู งานที่สําคัญคือการเปลี่ยนซีลพองลมและชุด SYNTRON SEAL
รายละเอียดตามคูมือเรือ

3.7. การตรวจสอบ (INSPECTION) การตรวจสอบ RUBBER-LIP- SEAL เปนส่ิงที่ตองทําเมื่อ
พบวาอัตราการรั่วไหลเกินเกณฑ (ดูตารางที่ 5-1) ซึ่งในการน้ีจะตองทําการถอดชิ้นสวนภายในออก
ตรวจดวย แนวทางและขั้นตอนการปฏิบัติกลาวคือ อัดซีลพองลม ถอดนัต (HEX NUT) ยึด GLAND
RING และเลื่อน GLAND RING ออกไปตามเพลาใบจักร (เพ่ือปองกันน้ําทวมเรือใหเตรียมปมหรือ
เคร่ืองสูบน้ําพรอมสายสูบติดตั้งไวใหพรอม กรณีซีลพองลมขัดของหรือชํารุดขณะกําลังถอดซีล
ตรวจสอบ) ขั้นตอนตอไปใหถอดซีลยางออกจากตัวเรือน ถาผลการตรวจพบวาชํารุด อาจซอมทํา
ฉุกเฉินดวยการใชแปกก้ิงก็ได แตใหเปล่ียนไปใชซีลยางใหมใหเร็วที่สุด และปรับผิวสัมผัสของ
GLAND RING ใหต ัง้ ฉากรับกับผิวสัมผัสของซีลยางท่ีเปลี่ยนใหมดวย (ระยะหางระหวางผิวสัมผัสควร
อยูท่ีประมาณ 0.006 – 0.120 น้ิว หรือตามคูมือกําหนด ซีลจึงจะทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ)
นอกจากนั้น ถา ปลอกเพลาใบจักรมลี กั ษณะเปนรองเกิดข้ึน แสดงถึงซีลยาง SYNTRON ทํางานผิดปกติ
เกิดจากปลอกเพลาและเพลาใบจักรเล่ือนหรือเกิดการขยับตัวได ซ่ึง ทร.อม.ไดดําเนินการแกไขโดย

เอกสารประกอบการเรียนหลกั สูตร พันจา เอกอาชีพ กฝล.กฝร.

ซลี เพลาใบจักร 51

เสริมดวยเรซิน (EPOXY INSERT) เพื่อเพ่ิมความยึดเกาะเขาไปภายในปลอกเพลาใบจักร และปดลิ้นน้ํา
ทะเลผาน GLAND RING เพราะซีลมกี ารหลอ ลนื่ อยูภายในตัวเองแลว

3.8 การแกไขขอขัดของ (TRUBLESHOOTING) ตาราง 5-6 แนวทางแกไขขอขัดของของ
RUBBER-LIP- FACE SEAL ทบี่ อกถงึ อาการ สาเหตุ และการแกไ ข

ตาราง 5-6 การแกไ ขขอขดั ขอ ง RUBBER-LIP- FACE SEAL

อาการ สาเหตุ การแกไข /ซอ มทาํ

ผิวสัมผัสของซลี สกึ หลอเรว็ กวา น้ําทะเลหลอ ลนื่ และระบายความ ตรวจสอบ /ซอ มทาํ ระบบน้าํ ทะเล

กาํ หนด รอ นนอ ยกวาเกณฑ

(PREMATURE WEAR OF SEAL หอ งซลี (SEAL CAVITY) สกปรก ถอด GLAND RING ออก ตรวจ
FACE) สภาพภายในและทาํ ความสะอาด

ผวิ สมั ผัสของ GLAND RING ถอด GLAND RING ตรวจสภาพ

ชาํ รดุ ขณะทําการตดิ ตัง้ ผิวสมั ผสั ของชดุ ซลี

ตวั เรือนซลี มอี ุณหภมู ิสงู เกินเกณฑ กวดฝาอดั แปกกิง้ แนนเกนิ ไปจน คลายฝาอดั แปก ก้งิ หรือเพม่ิ อัตรา

ขณะใชง านดว ยซีลแบบแปกกงิ้ นํา้ ทะเลไหลผา นซีลไมได การไหลของนํ้าทะเล หรอื ปฏิบตั ิ
ทัง้ 2 อยา งท่ีไดก ลา ว
(OVERHEATING)

อัตราการรั่วไหลของน้ําทะเลนอ ย หมอกรองนํา้ ทะเลอุดตัน เปล่ยี น /ทําความสะอาดไสกรอง

หรือน้ําทะเลหยุดรวั่ ไหล ปรบั แตง NEEDLE REDUCE ปรบั แตง ใหม เพิ่มอตั ราการไหล
VALVE ไมถูกตอ ง ของนาํ้ ทะเลใหสงู ขึน้
(LITTLE OR NO LEAKAGE)

อตั ราการร่ัวไหลของนาํ้ ทะเลสูงเกนิ ผวิ สัมผสั ของซลี สึก ถอด /ตรวจสภาพซลี (ผิวสัมผัส)

เกณฑ ซลี O-RINGS ชํารดุ เปลี่ยนใหมถ า สึกหลอเกินเกณฑ
ปรับแตงระยะระหวาง GLAND เปลยี่ น O-RINGS
(EXCESSIVE LEAKAGE) RING กบั ชดุ ซลี ไมถ ูกตอ ง ปรบั แตงใหม ใหไดระยะ 0.006 -

0.120 น้วิ

4. ซลี พองลม (INFLATABLE SEAL)
ซีลพองลมเปนสวนประกอบภายในของซีลกระบอกดีฟุตเพลาใบจักร เชน ซีลพองลมของ

ซลี MX9 มีลกั ษณะเปนยางยืดหยุนขนาดเล็ก-แคบ ตดิ ตง้ั รวมอยูภ ายใน MOUTING RING ดา นใตติดกับ
เพลาใบจักร (ดูภาพท่ี 1-1) ท่ีตัวเรือนซีลพองลมมีชุดขอตอลมสําหรับตอกับระบบลมกําลังดันต่ํา
(หรือขวด CO2) เม่ือทําการอัดลมเขาซีลพองลม แรงดันจะทําใหซีลพองลมเกิดการขยายตัวลงไป
สัมผัสกับเพลาใบจักร เกิดเปน STATIC SEAL ปองกันน้ําเขาเรือได การใชงานซีลพองลมจะตองใช
ในขณะเพลาใบจักรหยุดนง่ิ เทาน้ัน ท้ังน้ี ถาใชใ นขณะเพลาหมุน แรงดันภายในจะทําใหสวนประกอบ
ของซลี พองลมท่เี ปน ยางชํารดุ การเปลี่ยนซลี พองลมทช่ี าํ รุดตองกระทําขณะเรือเขาอูเทาน้ัน การติดตั้ง
และการใชงานซีลพองลมใหป ฏบิ ตั ิตามคมู ือเรอื เทานน้ั

เอกสารประกอบการเรยี นหลกั สตู ร พันจา เอกอาชีพ กฝล.กฝร.

ซีลเพลาใบจักร 52

4.1 การใชง าน (OPERATION) รายละเอยี ดเกยี่ วกบั การใชง านซลี พองลมใหปฏิบัติตามคูมือเรือ
เฉพาะลํา และมีขอระมัดระวังอันตรายที่ตองปฏิบัติอยางเครงครัด เชน ตองระบายลมออกจากซีล
พองลมกอนหมุนเพลาใบจักร และใหใชงานซีลพองลมเฉพาะเวลาที่ทําการซอมทํา SEAL ELEMENT
เทานั้น /ไมควรอัดลมเกิน 125 PSI หรือตามที่คูมือกําหนด รวมท้ังตองไมหมุนเพลาใบจักรขณะอัด
ซีลพองลม เพราะการหมุนเพลาใบจกั รจะทาํ ใหซ ลี พองลมชํารุดและไมส ามารถใชง านตอ ไปได

5. ซีลแบบแปก กิ้ง (PACKING-TYPE STUFFING BOX)
5.1 กลาวโดยท่ัวไป (GENERAL) เปนซีลท่ีงายในการออกแบบ ไมตองการน้ําหรือกลไกใดๆ

เขามาเกี่ยวของขณะใชงาน การซอมบํารุงนอยเพียงคอยดูแลเปล่ียนแปกก้ิงตามระยะเวลาเทานั้น
สําหรับการกระตุนใชงานกระทําโดยกวดฝาอัดกระบอกซีล (STUFFING BOX) ใหวงแปกกิ้งสัมผัสกับ
เพลาใบจักร การใชงานกับเรือเล็ก และเปนซีลที่ใชงานฉุกเฉินของเรือขนาดกลางหรือขนาดใหญ
บางประเภท

5.2 โครงสราง/สวนประกอบ (DESCRIPTION) ซีลแบบแปกก้ิงมีสวนประกอบสําคัญ คือ
กระบอกซีล (STUFFING BOX) ภายในกระบอกซีลมีชอง (GROOVE) สําหรับประกอบวงแปกก้ิง ซ่ึง
เม่อื ไดประกอบแปกก้ิงเขาไปในชองวางกระบอกซีลรอบเพลาใบจักรเรียบรอยแลว จะทําใหกระบอก
ซีลและเพลาใบจกั รไดศ ูนยกนั โดยอัตโนมัติ แปกกิง้ ท่ีถกู อดั ไวภ ายในกระบอกซีลทําหนาที่กําหนด
และควบคุมระยะหางจากเพลาใบจักรขณะใชงานปกติ แปกก้ิงท่ีใชเปนวัสดุประเภทเทฟลอน หรือ
เอสเบททอส

5.3 การใชงาน (OPERATION) การใชงานซีลเพลาใบจักรแบบแปกก้ิงดวยการกวด หรือ
คลายนตั ฝาอดั กระบอกซลี เพื่อปอ งกนั หรือควบคมุ น้ําเขา เรือ ทง้ั ขณะเรือจอดและเรือเดนิ

5-4 การแกไขขอขัดของ (TROUBLE SHOOTING) ปญหาขอขัดของของซีลเพลาใบจักรมัก
เกิดข้ึนเม่ือระยะหาง (CLEARANCE) ระหวางเพลาใบจักรและแปกก้ิงมากหรือนอยเกินไป กอใหเกิด
ปญหาเกี่ยวกับอัตรานํ้าเขาเรือ หรือเพลาใบจักรรอนขณะเรือเดิน ดังน้ันควรมีการตรวจสอบตาม
ระยะเวลา และปฏิบตั ิตามคูมือการใชภายในเรอื

ซีลเพลาใบจักแบบแปกกง้ิ (PACKING-TYPE STUFFING BOX)

.....................................................

เอกสารอา งองิ NSTM CHAPTER 244 SECTION 6 PROPULSION BEARINGS AND SEALS

เอกสารประกอบการเรียนหลักสูตร พันจา เอกอาชพี กฝล.กฝร.

เพลาใบจกั รและใบจักร 53

เพลาใบจกั รและใบจกั ร (MAIN PROPULSION SHAFTING AND PROPELLER)
เคร่ืองจักรใหญ (ดีเซล เทอรไบน หรือมอเตอรไฟฟา) และเฟองทดรอบ ทําหนาที่เปล่ียน

พลังงานความรอนของเช้ือเพลิงเปนพลังงานกล ซ่ึงพลังงานกลที่ไดน้ี ถูกนําไปใชงานผานเพลาและ
ใบจักร
1. เพลาใบจักร (MAIN PROPULSION SHAFTING)

เพลาใบจักรท่ีใชงานในระบบขับเคล่ือนเรือ อาจจะมีขนาดเสนผาศูนยกลางใหญประมาณ 30
นิ้ว ถูกแบงสวนประกอบออกเปน 2 สวน ตามสถานท่ีติดตั้ง คือ เพลาใบจักรสวนที่อยูภายในตัวเรือ
(IN BOARD หรือ LINE SHAFTING) และเพลาใบจักรสวนที่อยูภายนอกตัวเรือ (OUT BOARD หรือ
WATER BONE SHAFTING) (ภาพที่ 6-1) เพลาใบจักรสรางดวยเหล็กดวยวิธีตีขึ้นรูป (FORGET STEEL)
และถา มีขนาดเสนผาศนู ยกลางต้งั แต 6 น้ิว ข้นึ ไป มกั สรางภายในกลวง (HOLLOW)

เพลาใบจักรอยูภายในตัวเรือ หรือ LINE SHAFTING ประกอบดวยเพลาหลายสวน อาจ
รวมท้ังเพลากันรุน (THRUST SHAFT) ถาแบร่ิงกันรุนเพลาใบจักรไมไดติดตั้งรวมอยูภายในตัวเรือน
ของหมเู ฟองทดรอบเพลาใบจักรของเรือบางประเภท

ภาพท่ี 6-1 แสดงสว นประกอบเพลาใบจกั ร
เพลาใบจักรท่ีอยูภายนอกตัวเรือ หรือ OUT BOARD ประกอบดวย PROPELLER SHAFT หรือ
TAIL SHAFT โดยมี STERN TUBE SHAFT ซ่ึงเปนเพลาใบจักรสวนที่สอดผานกระบอกดีฟุตผนังตัวเรือ
และทําหนาท่ีสงกําลังอยูระหวาง IN BOARD และ OUT BOARD SHAFT หรือในเรือบางประเภท
เพลาใบจักรสวนท่ีอยูนอกตัวเรืออาจมีเพลาใบจักรท่ีเรียกวา INTERMEDIATE SHAFT หรือ DROP OUT
SHAFT ติดต้ังอยูระหวาง PROPELLER SHAFT และ STERN TUBE SHAFT อีกดวยก็ได สําหรับเรือผิวนํ้า
บางประเภทที่ใชเพลาใบจักรเดี่ยว และเรือดําน้ําเพลาใบจักร (PROPELLER SHAFT) ยังทําหนาทีเปน
STERN TUBE SHAFT อีกดวย (เรือเล็ก) เพลาใบจักรท่ีอยูภายนอกตัวเรือนี้ ถูกเคลือบไวดวยพลาสติก

เอกสารประกอบการเรยี นหลักสตู ร พันจาเอกอาชีพ กฝล.กฝร.

เพลาใบจกั รและใบจักร 54

หรือยาง เพื่อปองกันการสึกกรอนเนื่องจากนํ้าทะเล ยกเวนบริเวณที่ติดตั้งแบร่ิงรับเพลาใบจักร ซึ่ง
มีปลอกเพลา (SLEEVES) ทาํ ดวย BRONZE หรอื COPPER-NICKLE หมุ ไว สว นการเช่ือมตอเพลาใบจักร
ที่อยูภายนอกตัว (ระหวาง TAILS SHAFT และ STERN TUBE SHAFT) น้ัน เชื่อมตอกันดวยหนาแปลน
(FLANGES) หรือขอตอชนิด MUFF-TYPE (MUFF-TYPE OUT BOARD COUPLING) และเชื่อมตอระหวาง
LINE SHAFT และ STERN TUBE SHAFT ดวยขอตอท่ีเรียกวา IN BOARD STERN TUBE COUPLING ชนิด
ถอดได

2 ใบจักร (PROPELLER)
ใบจกั รแบบสกรู (SCREW – TYPE PROPELLER) ประกอบดว ย ดมุ (HUB) และใบจักร (BLADE)

วางทํามุมกับแกนเพลาจักรดวยระยะท่ีเทากัน ใบจักรท่ีดุมและใบจักรหลอเปนช้ินสวนเดียวกัน
เรียกวา SOLID PROPELLER และใบจักรท่ีดมุ และใบจกั รประกอบตดิ กนั ดวยสลกั เรยี กใบจักรชนดิ นี้วา

BUILT – UP PROPELLER

ภาพท่ี 6-2 แสดงสวนประกอบของใบจักรแบบสกรู (บางสวน) ดานหนาหรือดานกําลังดัน
(FACE หรือ PRESSURE FACE) คือดานที่อยูดานหลังของใบจักรเมื่อเรือเคล่ือนที่ในทิศทางเดินหนา
ดานหลังหรือดานทางดูด (BACK หรือ SUCTION BACK) คือดานที่อยูตรงขามดานหนา เม่ือใบจักร
หมุน ดานหนาของใบจักรจะเพิ่มกําลังนํ้าและทําใหน้ําเกิดการเคลื่อนที่ไปทางทายเรือ แรงดันกลับ
(THRUST หรือ REACTION FORCE) ที่กระทํากับใบจักรใหเรือเคลื่อนท่ีในทิศทางเดินหนาเกิดจาก
ความเรว็ ของนํ้าท่ีเคลอ่ื นท่ีไปทางทา ยเรอื

ปลายใบจักร (TIP OF THE BLADE) คือสวนท่ีอยูไกลสุดจากดุมใบจักร (ดูภาพประกอบ) โคน
ใบจักร (ROOT OF THE BLADE) คือบริเวณพ้ืนที่เชื่อมตอใบจักรกับดุมใบจักร ขอบนํา (LEADING
EDGE) คือขอบใบจักรดา นที่ตัดนา้ํ เม่อื เรือเคล่ือนท่ีในทิศทางเดินหนา ขอบตาม (TRAILING EDGE หรือ
FOLLOWING EDGE) คือขอบใบจกั รดา นตรงขา มกบั ขอบนาํ

มุมเอียง (RAKE ANGLE) เกิดขึ้นเม่ือปลายใบจักรไมไดอยูในแนวต้ังฉากกับดุมใบจักร มุม
เอียงเปนมุมที่เกิดจากระยะระหวางตําแหนงจริงของปลายปก (ท่ีอาจอยูคอนไปทางดานหนาหรือ
ดา นหลงั ดุมใบจักร) และตําแหนงของปลายปกท่ีควรจะเปน ถา มันอยใู นตาํ แหนง ตงั้ ฉากกับดมุ ใบจกั ร

ใบจกั รแบบสกรู แบงประเภทออกเปนใบจักรแบบพิทชคงที่ (FIXED PITCH) และใบจักรแบบ
ปรับพิทชได (CONTROLLABLE PITCH) โดยใบจักรแบบพิทชคงที่ไมสามารถเปลี่ยนแปลงมุมบิดของ
ใบจกั รไดใ นขณะใชงาน สว นใบจักรแบบปรบั พิทชไดสามารถเปล่ียนมุมบิดของใบจักรไดตลอดเวลา
ดวยอุปกรณบนสะพานเดินเรือหรือจากหองควบคุมเครื่องจักร และใบจักรแบบปรับพิทชไดยัง
สามารถใชงานในการเปล่ียนทิศทางการเคลื่อนท่ีของเรือจากเดินหนาเปนถอยหลังโดยไมตองเปลี่ยน
ทิศทางในการหมุนของอุปกรณสงกําลังไดอีกดวย โครงสรางของใบจักรแบบปรับพิทชไดและการ
ทํางานตามท่ีแสดงในภาพ 6-3

เอกสารประกอบการเรยี นหลกั สูตร พันจาเอกอาชีพ กฝล.กฝร.

เพลาใบจกั รและใบจกั ร 55

ภาพท่ี 6-2 แสดงสวนประกอบของใบจักร

ภาพ 6-3 ใบจักรแบบปรบั พิทชไ ด แสดงการทาํ งาน
ตาํ แหนงปก ใบจักเสน ทึบ ผลกั น้าํ ใหเ รือไปในทิศทางเดนิ หนา
ตาํ แหนง ปก ใบจกั เสนทบึ เสน ประ ผลกั นาํ้ ใหเ รอื ไปในทศิ ทางเดินถอยหลัง

เพลาใบจักรหมุนทางเดยี ว

. ........................................................................
เอกสารอา งองิ FIREMAN (NAVEDTRA 14104)

เอกสารประกอบการเรยี นหลกั สตู ร พันจาเอกอาชีพ กฝล.กฝร.


Click to View FlipBook Version