The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by runn0248, 2022-04-17 02:49:19

อทร.๗๑๐๑คู่มือการใช้กระบี่

อทร

Keywords: อทร

จดั ทําเมอ่ื ส.ค.๔๓

อทร.๗๑๐๑
คูม อื การใชกระบ่ี

พ.ศ.๒๕๔๓

เอกสารอา งองิ ของกองทพั เรอื หมายเลข ๗๑๐๑

คมู อื การใชก ระบี่

จดั ทําโดย
คณะทํางานพจิ ารณาและจดั ทาํ อทร.ดา นอนื่ ๆ

สิงหาคม ๒๕๔๓

พิมพคร้งั ท่ี ๑
สงิ หาคม ๒๕๔๓

บนั ทกึ ขอ ความ

สวนราชการ คณะกรรมการาพิจาณาและจดั ทํา อทร. (กวพ.ยก.ทร. โทร.๔๙๔๘)

ท่ี กห ๐๕๑๕.๓/๕๙๗ วันที่ ๒๗ ส.ค.๔๗

เร่ือง ขออนุมตั ใิ ช อทร. ดา นการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน

เรยี น ประธานกรรมการพิจารณาและจดั ทาํ อทร. และรอง เสธ.ทร.

๑. คณะทํางานพิจารณาและจัดทํา อทร. ดานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เสนอขออนุมัติใชเอกสาร เรื่อง “คูมือการ
ใชกระบี่” (อทร.๗๑๐๑) ท่ีคณะทํางาน ฯ ไดจัดทําขึ้นเพื่อใชเปนเอกสารอางอิงสําหรับขาราชการ ทร. ท่ัวไปในการใช
กระบ่ี รวมทั้งเสนอขอเล่ือนการจัดทํา อทร.ในสวนที่ อศ. เปนหนวยควบคุมเอกสารที่ตองดําเนินการภายในป งป.๔๓
จํานวน ๓ เร่ือง ไดแก รายชื่อภูมิศาสตรในนานนํ้าไทย นํารองนานน้ําไทย เลม ๒ (อันดามัน) และ เคร่ืองรับประกาศ
ชาวเรืออัตโนมัติ อกไปดําเนินการในแผนงานป งป.๔๔ เนื่องจากมีรายการท่ีตองแกไขจํานวนมาก รายละเอียดตาม
บนั ทึก คณะทาํ งาน ฯ ที่ อ.๓/ ๔๓ ลง ๑๗ ส.ค.๔๓ (สงิ่ ทส่ี งมาดว ย)

๒. กระผมพิจารณาแลวเห็นวา เอกสารเร่ือง “คูมือการใชกระบี่” ท่ีคณะทํางาน ฯ ไดจัดทําขึ้น ตามขอ ๑. เปน
เอกสารที่ไดป รับปรงุ จากเอกสารเดิม ท่ใี ชป ระกอบการเรียนการสอนของ รร.พจ.ยศ.ทร. และไดรับการตรวจสอบแกไข
ในรายละเอียดพรอมจดั ทําภาพประกอบใหมใหม ีความเหมาะสมย่ิงขึ้น รวมทั้งไดเสนอให กพ.ทร. ตรวจสอบความถูก
ตองกับระเบียบขอบังคับที่เกี่ยวของเรียบรอยแลว จึงเปนประโยชนสําหรับขาราชการ ทร. โดยท่ัวไปใหสามารถใช
อางอิงในการปฏิบัติราชการไดเปนอยางดี การเสนอขออนุมัติใชเอกสารเร่ือง “คูมือการใชกระบี่” เปน อทร.จึงมีความ
เหมาะสม เห็นควรอนุมัติใชเอกสารเร่ือง “คูมือการใชกระบี่” เปน อทร. โดยกําหนดหมายเลขเปน อทร. ๗๑๐๑ ตามที่
คณะทาํ งาน ฯ เสนอ กบั ใหคณะทาํ งานฯ ประสาน สบ.ทร.เกีย่ วกับรายละเอียดคาใชจ ายเปนในการพิมพเอกสารดังกลาว
เสนอประธานกรรมการพิจารณาและจัดทํา อทร.เพื่อขออนุมัติจัดพิมพตอไปทั้งนี้ กระผมไดรางใบอนุมัติบัตร เพื่อ
อนุมัติใชเอกสารดังกลาวแนบมาดวยแลว สําหรับการเสนอขอเลื่อนการจัดทํา อทร. ในสวนท่ี อศ. เปนหนวยควบคุม
เอกสารท่ตี องดําเนนิ การภายในป งป.๔๓ จํานวน ๓ เร่ือง ไดแก รายชื่อภูมิศาสตรในนานน้ําไทย นํารองนานนํ้าไทยเลม
๒ (อนั ดามนั ) และ เคร่ืองรบั ประกาศชาวเรืออัตโนมัติ อกไปดําเนินการในแผนงานป งป.๔๔ นั้น กระผมจะไดแยกเร่ือง
เพื่อเสนอเปน ความกา วหนาในการจดั ทํา อทร. และแผนการดาํ เนนิ งานในป งป.๔๔ รว มกับคณะทาํ งานอนื่ ๆ ตอไป

๓. เห็นควร
๓.๑ ใหใชเอกสารเร่ือง “คูมือการใชกระบ่ี” เปน อทร. โดยกําหนดหมายเลขเปน อทร.๗๑๐๑ ตามที่

คณะทาํ งานพจิ ารณาและจัดทาํ อทร. ดา นการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน เสนอ
๓.๒ ใหค ณะทํางานฯ ประสาน สบ.ทร.เก่ยี วกบั รายละเอยี ดคาใชจา ยในการจัดพิมพเอกสารตามขอ ๓.๑

เสนอประธานกรมการพิจารณาและจัดทํา อทร.เพอ่ื ขออนมุ ตั ิจัดพมิ พตอไป

จึงเรียนมาเพอื่ โปรดพจิ ารณาอนมุ ตั ติ ามขอ ๓. และกรุณาลงนามในอนุมัตบิ ัตรตามทีแ่ นบ

น.อ.
เลขานุการ อทร. และ ผอ.กวพ.ยก.ทร.

อนุมัติบตั ร
เรอ่ื ง อนมุ ัติใชเอกสารอา งอิง ทร. หมายเลข ๗๑๐๑ เร่อื ง “คูมอื การใชกระบ”ี่ (อทร. ๗๑๐๑)

ตามคําส่ังกองทพั เรือ (เฉพาะ) ท่ี ๑๑/๒๕๔๑ ลงวันท่ี ๒๒ ม.ค.๔๑ เร่อื ง แตงตั้งคณะกรรมการ
และคณะทํางานพิจารณาและจดั ทาํ เอกสารอา งอิงของ ทร. ใหประธานกรรมการพิจารณาและจดั ทํา
เอกสารอา งอิงของ ทร. มีอาํ นาจในการอนมุ ตั ใิ ชเ อกสารอา งอิงของ ทร. (อทร.) นัน้ เพ่ือใหก ารดาํ เนนิ การ
เปนไปดว ยความเรียบรอย จงึ ใหใชเ อกสารอา งองิ ของ ทร. หมายเลข ๗๑๐๑ เรื่อง “คูมือการใช
กระบ”ี่ (อทร.๗๑๐๑) เปน เอกสารประกอบการปฏิบัตริ าชการใน ทร. โดยให ยศ.ทร. เปนหนว ยควบคุม
เอกสาร ตั้งแตบดั นเี้ ปนตน ไป

ประกาศ ณ วันท่ี ๒๘ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๔๓

รับคาํ สั่ง ผบ.ทร.

พล.ร.ท. ทวีศกั ดิ์ โสมาภา
(ทวศี ักด์ิ โสมาภา)

ประธานกรรมการพจิ ารณาและจัดทํา อทร. และ รอง เสธ.ทร.

อทร.๗๑๐๑ บนั ทึกการเปล่ยี นแปลงแกไ ข
ลาํ ดับที่
รายการแกไ ข วนั เดือนป ผูแกไข หมายเหตุ

ทท่ี าํ การแกไ ข (ยศ – นาม – ตาํ แหนง)

สารบัญ หนา

บทท่ี ๑ กลาวท่ัวไป ๑

- ความมงุ หมาย ๒
- สวนประกอบของกระบ่ี
- เคร่อื งประกอบ ๔
- โอกาสทีจ่ ะใชเ คร่อื งประกอบกระบ่ีรว มกบั กระบี่ในการแตง กายดวยเครื่องแบบ ๔

ชุดตา ง ๆ ๖
- การขัดกระบี่ ๖
- การคาดกระบี่
- โอกาสท่ตี องชกั กระบ่ี ๘
- เมือ่ จดั กองทหารเกียรติยศ ๙
๑๐
บทท่ี ๒ วิธีปฏิบัติในการถอื กระบ่ี และถงุ มอื ในโอกาสตาง ๆ ๑๐
๑๑
- ในโอกาสยืนสวมหมวดในทาตรง ๑๒
- ในโอกาสยืนมไิ ดสวมหมวกในทาตรง ๑๓
- ในโอกาสน่งั บนทน่ี งั่ เม่อื มีหมวกอยูในมือ ๑๔
- ในโอกาสนั่งบนทีน่ ่ัง มไิ ดม ีหมวกอยูในมือ
- ในโอกาสนั่งบนทีน่ งั่ น่งั ไหวพ ระในพธิ ีสงฆ ๑๕
- ในโอกาสเคล่ือนที่ระยะใกล ๑๖
- ในโอกาสเคลื่อนทีร่ ะยะไกล ๑๗
- ในโอกาสใชมอื ท้ังสองขา งจบั หรอื ถือสิ่งของ โดยยกกระบี่ ๑๘
- ในโอกาสใชมอื ท้งั สองขางจบั หรือถอื สงิ่ ของ โดยในโอกาส

ถือหนงั สืออานถวายงาน รายงานหรือใหโ อวาท
- ในโอกาสท่คี กุ เขา ทาคกุ เขาท้งั สองขา งหรอื เดนิ เขา
- ในโอกาสท่คี กุ เขา ทาคุกเขา ขางเดยี ว
- ในโอกาสทีค่ ุกเขา นัง่ คุกเขาแลวกราบ

บทท่ี ๓ วธิ ีปฏิบตั ใิ นการถอื กระบแี่ ละถุงมอื ในโอกาสตาง ๆ ในการปฏิบตั หิ นาที่ ๑๙
๒๐
ราชองครักษ ๒๑
๒๑
- ในโอกาสยนื สวมหมวกในทาตรง ๒๒
- ในโอกาสยนื มไิ ดสวมหมวกในทา ตรง ๒๓
- ในโอกาสน่ังบนที่นัง่ เมื่อมหี มวกอยใู นมอื ๒๔
- ในโอกาสน่งั บนทีน่ ่งั มไิ ดม หี มวกอยูใ นมือ ๒๕
- ในโอกาสน่ังบนท่นี ั่ง นง่ั ไหวพ ระในพธิ พี ระสงฆ ๒๖
- ในโอกาสเคล่อื นทร่ี ะยะใกล ๒๗
- ในโอกาสเคล่ือนทใ่ี นระยะไกล ๒๘
- ในโอกาสใชมอื ท้ังสองขางจบั หรือถอื สิง่ ของ โดยยกกระบี่ ๒๙
- ในโอกาสใชมอื ทัง้ สองขา งจับหรอื ถอื สิง่ ของ
- ในโอกาสทค่ี ุกเขาท้งั สองขางหรอื เดนิ เขา ๓๐
- ในโอกาสทีค่ ุกเขาขา งเดียว ๓๑
- ในโอกาสทีค่ กุ เขาแลวกราบ ๓๒

บทที่ ๔ ทาอาวธุ ๓๓
๓๔
- ทาบา อาวุธ ๓๔
- ทาสวมกระบี่ ๓๕
- ทา พัก

บทที่ ๕ ทาทาํ ความเคารพดว ยอาวุธ

- ทาวนั ทยาวธุ จากทา บา อาวุธ
- ทาวันทยาวธุ เม่ือกระบีส่ วมในฝก
- ทา เรียบอาวุธ
- ทา วันทยาวุธในเวลาเคลอ่ื นที่

บทที่ ๑

กลา วทัว่ ไป

๑. ความมุงหมาย
ความมุงหมายของแบบฝกทากระบี่ มุงท่ีจะอํานวยความสะดวกในการฝกการใชกระบ่ี

และเปนคูมือในการตรวจสอบความถูกตอง ในการใชทากระบี่ ในโอกาสตาง ๆ เน่ืองจากกระบี่เปน
สว นประกอบของการแตงเครอื่ งแบบของทหาร และเปน สงิ่ ประดบั เกยี รติยศ

ฉะนั้น นายทหารจงึ ตองรูจักและมีความชาํ นาญในการจบั ถือและใชกระบ่ีเปน อยา งดสี มที่
จะเปนส่ิงเชิดชูเกียรติยศนายหารไดจริง เหตุนี้นายทหารจึงตองไดรับการฝกทากระบี่โดยตลอดจนสามารถ
จับถือและใชกระบ่ีดวยความถูกตองเรียบรอย มีสงา ผึ่งผาย เปนหนาที่ของผูบังคับบัญชาซ่ึงจะตอง
สอดสองกาํ กับดูแล ใหน ายทหารในบงั คบั บญั ชาของตนสามารถจับถือและใชกระบ่ีไดถูกตอง เรียบรอยถา
เปนการสมควรก็ใหจัดการฝกซอมเปนครั้งคราวเพื่อใหเคยชินและเกิดความระมัดระวังในการจับถือ หรือ
แสดงทา กระบ่ีอยเู นือง ๆ ทาํ ใหมที าทางเปนสงานาดูและเปน ระเบยี บอันเดียวกัน

๒. สว นประกอบของกระบ่ี
กอนท่ีจะเริ่มฝกความชํานาญในการใชกระบ่ี เราควรมาเร่ิมทําความเขาใจใหรูจักคุนเคย

กับสวนประกอบและชื่อช้ินสวนของกระบ่ีเสียกอน ท้ังนี้ก็เพ่ือใหไดทราบถึงสวนประกอบพรอมทั้งชื่อ
ชน้ิ สว นตาง ๆ ของกระบที่ ี่ควรทราบ ซึ่งจะเปน ประโยชนและใชเปนพ้นื ฐานในการฝกตอไป

โดยท่ัวไปแลวกระบี่ของทหารเหลาทหารเรือมีลักษณะตามแบบราชนาวี ยาวประมาณ
๘๕ เซนติเมตร มีโกรงทําดวยโลหะสีทอง มีลายฉลุ มีพูประกอบ ปลายดามเปนรูปหัวชางทําดวยโลหะสี
เดียวกับ โกรง ฝกทําดวยหนังหรือวัตถุเทียมหนัง มีเคร่ืองประกอบ มีหวงทําดวยโลหะสีทอง ๒ หวง
สว นประกอบของกระบแี่ บง ออกเปนสวนใหญ ๆ ได ๒ สวน คือ

๒.๑ ตัวกระบ่ี
๒.๑.๑ ใบกระบ่ี (ตวั ดาบ)
๒.๑.๒ โกรง กระบ่ี
๒.๑.๓ ดา มกระบี่
๒.๑.๔ หวั ชา ง
๒.๑.๕ แผนเหล็กยึดฝกกระบี่

๒.๒ ฝก กระบ่ี (รูปที่ ๒)
๒.๒.๑ ตัวฝก
๒.๒.๒ ปลายหมุ ฝก
๒.๒.๓ ปลอกยดึ หวงแขวนกระบ่ี



๒.๒.๔ หวงแขวนกระบ่ี
๒.๒.๕ หมดุ ยดึ ฝก กระบี่

รปู ท่ี ๑ รูปท่ี ๒
๓. เครื่องประกอบ หมายถึงชน้ิ สว นบางอยา งทใ่ี ชร วมกับกระบ่ี ตามระเบียบการใชกระบ่ีท่ี

กําหนดไวท้ังชนั้ พันจา และชั้นสญั ญาบัตร ดงั น้ี
๓.๑ พกู ระบ่ี
๓.๑.๑ ชัน้ พันจา ไหมสีเหลอื ง (รูปที่ ๓)
๓.๑.๒ ช้นั สญั ญาบัตร ไหมทองขัดไหมสนี ้าํ เงินดํา (รูปที่ ๔)

รปู ที่ ๓ รูปท่ี ๔



๓.๒ สายทิ้งกระบ่ี เปนสาย ๒ สาย ตอนบนมีขอสําหรับแขวนกับเข็มขัด ตอนลางมีขอ
ชนิด
แหนบสําหรับเกีย่ วทหี่ วงแขวนกระบี่ สายกระบี่มี ๒ ชนิด

๓.๒.๑ สายหนังสีดํา ขนาดกวางสายละ ๑.๕ เซนตดิ เมตร (รปู ท่ี ๕)
๓.๒.๒ สายสักหลาด กวาง ๑.๕ เซนติเมตร มีแถบไหมทองหรือวัตถุเทียมไหม
ทองกวา ง ๑.๒ เซฯตเิ มตร ตรงึ ตรงกลางตามแนวดา นนอก (รปู ท่ี ๖)

รปู ที่ ๕ รปู ที่ ๖

๓.๓ ซองกระบี่
๓.๓.๑ หนงั สีขาว (รูปที่ ๗)
๓.๓.๒ หนังสีดาํ (รปู ท่ี ๘)
๓.๓.๓ ผาหรือสักหลาดหรือเสิรจสีนํ้าเงินดํา ดานนอกติดแถบไหมทองวัตถุ

เทียมไหมทอง (รปู ท่ี ๙)

รปู ที่ ๗ รปู ที่ ๘ รปู ที่ ๙



๔. ในโอกาสทจี่ ะใชเ คร่ืองประกอบกระบ่ีรวมกบั กระบใ่ี นการแตง กายดว ยเครือ่ งแบบชุดตาง ๆ
๔.๑ สายกระบี่
๔.๑.๑ สายหนังสีดําใชประกอบกับเคร่ืองแบบปกติขาว และเคร่ืองแบบปกติ

กากี คอแบะ
๔.๑.๒ สายสักหลาดมีแถบไหมทองหรือวัตถุเทียมไหมทอง ใชสําหรับนาย

ทหารสัญญาบัตร เมื่อแตงเครื่องแบบครึ่งยศ เครื่องแบบครึ่งยศรักษาพระองค เครื่องแบบเต็มยศ และ
เคร่ืองแบบ เต็มยศรกั ษาพระองค

๔.๒ ซองกระบ่ี
๔.๒.๑ หนังสีขาว ใชประกอบกับเครื่องแบบเต็มยศรักษาพระองค สําหรับ

นักเรียนนายเรือผูท่ีทําหนาท่ีบังคับบัญชาในการสวนสนาม เครื่องแบบเมื่อทําการสวนสนามในกรณีพิเศษ
เครอ่ื งแบบ เมือ่ ทาํ หนา ท่ีกองทหารเกยี รตยิ ศสําหรบั บุคคล

๔.๒.๒ หนังสดี าํ ใชประกอบกับเคร่ืองแบบเม่ือทาํ หนา ทย่ี ามใหญในเรอื หรอื ยาม
ใหญของหนวยบก เครื่องแบบเมื่อทําหนาท่ีรักษาการณบนบกหรือยามใหญ เคร่ืองแบบเม่ือทําหนาท่ีกอง
ทหารเกยี รติยศสาํ หรับศพ

๔.๒.๓ ผาสักหลาดหรือเสิรจสีน้ําเงินดํา ดานนอกติดแถบไหมทองหรือวัตถุ
เทียม ไหมทอง ใชป ระกอบกับเครือ่ งแบบเตม็ ยศรกั ษาพระองคส าํ หรบั นายทหารสัญญาบัตร

๔.๓ ถุงมือ
ใชประกอบกับกระบ่ที กุ โอกาส

๕. การคาดกระบี่ หมายถึง การใชกระบ่ีประกอบกับเครื่องแบบโดยสอดกระบ่ีลงในซอง
กระบี่ใหหัวชางอยูขางบน โกรงกระบ่ีหันไปทางดานหนา การสอดกระบี่ในซองกระบ่ี ใหสอดถึงหวง
กระบ่ีอนั บน

๖. การคาดกระบี่ หมายถึง การใชกระบ่ีประกอบกับเคร่ืองแบบ โดยแขวนกระบี่กับสาย
กระบใ่ี หห ัวชางอยขู า งบน โกรงกระบ่หี นั ไปทางดา นหนา

ในโอกาสตอ ไปน้ี ใหน ายทหารชน้ั สัญญาบตั ร พันจา คาดกระบี่ดวยเสมอ เมอื่
๖.๑ คุมหรอื ประจําแถวเปน กองทหารเกียรติยศ หรอื เวลาแหน ํา หรือแหตามเสด็จ
๖.๒ คุมหรือประจาํ แถวรับการตรวจพลสวนสนาม ซึง่ กระทาํ เปน พิเศษและมิไดตอเน่ือง
กบั การฝกอยางอืน่
๖.๓ ไปในงานพิธี หรือรัฐพิธี ตามหมายกําหนดการ หรือเฝาทูลละอองธุลีพระบาทหรือ
เฝาทลู ละอองพระบาทในโอกาสตาง ๆ ทเ่ี ปน ทางราชการ เวน แตในงานสโมสรสนั นิบาต
๖.๔ ไปในงานพธิ ีกระทําสตั ยปฏญิ าณตนของทหาร
๖.๕ เปน ตุลาการศาลทหารเวลาพิจารณาคดี ณ ท่ตี ั้งศาลปกติ



๖.๖ ไปในงานพระราชทานเพลงิ ศพ หรืองานฌาปนกิจศพทหารหรือตํารวจ หรืองานฝง
ศพทหารหรือตาํ รวจตามประเพณลี ทั ธิหรอื ศาสนาทีไ่ มเผา ศพ เม่ือแตงเครื่องแบบปกติขาว เคร่ืองแบบคร่ึงยศ
หรือเครื่องแบบเต็มยศ

นอกจากนี้ถาเปนกิจการภายใน รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม หัวหนาสวน
ราชการขึ้นตรงตอกระทรวงกลาโหม ผูบัญชาการทหารบก ผูบัญชาการทหารเรือ หรือผูบัญชาการทหาร
อากาศ จะส่ังใหคาดกระบ่ีเปนการเฉพาะการกไ็ ด

๖.๗ งานพระราชทานเพลิงศพพลเรือน แมพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ขาราชการ
ทหารท่ีไปรวมงานศพไมตองคาดกระบ่ี เพราะเจาภาพเชิญไปงานศพ ยกเวนขาราชการที่มีหนาท่ีถวาย
อารักขา ราชองครกั ษ และผูท ีโ่ ปรดเกลา ฯ จึงตองคาดกระบี่

๖.๘ งานพระราชทานเพลิงศพพลเรือน ที่มีหมายกําหนดการใหแตงเคร่ืองแบบครึ่งยศ
หรอื เคร่ืองแบบเต็มยศ ตองคาดกระบ่ี

๖.๙ งานสโมสรสันติบาตที่ทําเนียบรัฐบาล หรืองานพระราชทางเลี้ยงที่พระท่ีน่ังบรม
พิมานท่ีส่ังงดการคาดกระบ่ี ท้ังที่แตงเครื่องแบบเต็มยศก็ตาม แตผูท่ีทําหนาที่เขาเวรตามเสด็จตองคาดกระบ่ี
และถอดหมวกไมไ ด เพราะเปนผูปฏบิ ตั ิหนาท่ี

๖.๑๐ ในงานตาง ๆ ซึ่งมิใชงานของทางราชการ โดยทางราชการกระทรวงทบวงกรมตาง
ๆ มิไดเปนผูจัดงานน้ันข้ึนโดยตรง แมพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวหรือสมเด็จพระนางเจา
พระบรมราชินีนาถจะเสด็จพระราชดําเนินทรงเปดงานหรือไปในงานน้ัน นายทหารที่ไดรับเชิญไป
เฝาทูลละอองธุลีพระบาทในงานดังกลาวก็ไมตองคาดกระบ่ี เพราะมิใชเปนการเฝาทูลละออกะลีพระบาทที่
เปน ทางราชการ

อยางไรก็ดี สําหรับในบางงานแมจะมิใชงานของทางราชการแตทางราชการก็ไดเขาไป
เก่ียวของรวมดําเนินงานอยูดวยเปนอันมาก พอจะอนุโลมถือวาเปนงานของทางราชการได และ
กระทรวงกลาโหม พิจารณาเหน็ เปน การสมควร ใหน ายทหารท่ีไดรับเชิญไปเฝาละอองธุลีพระบาท ในงาน
ดังกลาวคาดกระบี่ กระทรวงกลาโหม ก็จะไดออกหนังสือเวียนแจงใหทราบเปนงาน ๆ ไป
ตวั อยางเชน พธิ ีเปด งานวันกาชาดของสภากาชาดไทย ซ่ึงเปนงานขององคการท่ีสําคัญของประเทศชาติงาน
หน่ึง แมจะมิใชงานของทางราชการโดยตรง แตทางราชการก็ไดเขาไปเกี่ยวของรวมดําเนินงานอยูดวยเปน
อันมาก กอปรท้ังสมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถทรงเปนองคสภานายิกาของสภาพกาชาดไทย พอ
อนุโลมถือวาเปนงานของทางราชการได กระทรวงกลาโหมก็จะไดออกหนังสือเวียนแจงใหนายทหารที่
ไดร ับเชญิ ไปเฝาทูลละอองธลุ ีพระบาท ในพิธเี ปดงานวนั กาชาดของสภากาชาดไทย คาดกระบี่ เปน ตน

๖.๑๑ ในงานพระราชทางเพลิงศพซึ่งผูตายมิใชทหารหรือตํารวจ แมพระบาทสมเด็จพระ
เจาอยูหัวหรือสมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถ จะเสด็จพระราชดําเนินไปพระราชทานเพลิงศพ นาย
ทหารทไ่ี ดรับเชิญไปเฝาทลู ละออกธุลีพระบาทในงานพระราชทางเพลงิ ศพดังกลาวก็ไมต องคาดกระบี่ เพราะ
มิใชเ ปน การเฝาทูลละอองธุลพี ระบาททเี่ ปนทางการ



๖.๑.๒ ในงานท่ีมีหมายกําหนดการใหแตงเคร่ืองแบบเต็มยศ ครึ่งยศ หรือเคร่ืองแบบปกติ
ประดบั เครื่องราชอสิ ริยาภรณ ใหนายทหารคาดกระบ่ดี ว ยเสมอ เวน แตใ นงานสโมสรสันติบาต

๖.๑.๓ ในการลงนามถวายพระพรพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวหรือสมเด็จพระนางเจา
พระบรมราชินีนาถในสมุดซ่ึงสํานักพระราชวังจัดเตรียมไวเนื่องในพิธีตาง ๆ ถือวาเปนการไป
เฝาทูลละอองธุลพี ระบาททเี่ ปนทางราชการ จึงใหนายทหารคาดกระบี่ดว ย

๗. โอกาสท่ีตอ งชกั กระบี่
๗.๑ เมอ่ื ประจาํ แถวทหารในการตรวจพลสวนสนาม
๗.๒ เม่อื ประจาํ แถวทหาร กองเกยี รตยิ ศ กองรักษาการณ หรอื ยามใหญ
๗.๓ เมื่อเชิญธงชัยเฉลมิ พล
๗.๔ เมื่อมีคําสง่ั ของผูบ ังคับบญั ชาใหช ักกระบ่ี

ในโอกาสตรวจพลสวนสนาม เมื่อมีคําบอกคําสั่งใหทหารติดดาบ นายทหารซ่ึงประจําแถว
ตองทําทา “บาอาวุธ” และถือกระบ่ีอยูในทาบาอาวุธ จนกวาจะมีคําสั่งเปล่ียนแปลงเม่ือส่ัง “ปลดดาบ” จึง
สวมกระบเี่ ขา ฝก

ในโอกาสเชิญธงชัยเฉลิมพล นายทหารรักษาธงจะตองถือกระบ่ีในทางบาอาวุธกอนจะเขาไป
รับธง เม่ือถึงท่ีเก็บธงใหหยุดและกระทําวันทยาวุธ เม่ือผูเชิญนําธงออกมาแลวนายทหารรักษาธงถือกระบ่ี
ในทาบาอาวุธ แลวออกเดินขนาบท้ังสองขางของผูเชิญธงไปยังหมดเชิญธง เมื่อถึงก็เขาประจําที่และแสดง
การเคารพ และเมื่อส่ัง “เรียบอาวุธ” ใหอยูในทาบาอาวุธ คงถือกระบ่ีอยูในทาบาอาวุธ ตลอดเวลาที่ทําหนาท่ี
นายทหารรักษาธง เมื่อกองทหารทําการเคารพธง ตองทําการเคารพดวย ใหนายทหารรักษาธงทําวันทยาวุธ
กรณอี ื่น ๆ นายทหารรักษาธงไมต อ งแสดงการเคารพ

๘. เม่อื ตองจดั กองทหารเกยี รติยศ
๘.๑ การรายงานของผบู งั คับบญั ชากองทหารเกยี รติยศ
๘.๑.๑ สรรพนาม……ยศ ชอื่ ชอ่ื สกลุ ของ ผบ.กองทหารเกียรติยศ
๘.๑.๒ เปนผูบ งั คบั กองทหารเกยี รติยศสําหรับผใู ด
๘.๑.๓ มีกําลังทหารกองเกียรติยศเทาใด (บอกเปนจํานวนหนวย เชน ทหาร ๑

กองรอย เปนตน และถาจัดกําลังผสมจาก ทหารบก ทหารเรือ หรือทหารอากาศ ก็ใหจําแนกจํานวนหนวย
ทหารตามเหลา นน้ั ๆ ดวย)

๘.๑.๔ กลา วเชิญตรวจกองทหารเกียรตยิ ศ เปน ใจความวา ขอเชิญใหเกียรติตรวจ
แถวกองทหารเกยี รติยศ ตอ ไป

๘.๑.๕ คําลงทายรายงาน เชน “ครับ” หรือคําอ่ืนใดตามฐานันดรศักด์ิของผูรับ
รายงาน



๘.๒ การแสดงการเคารพ
๘.๒.๑ การว่ิงไปรายงาน และการหันเปลี่ยนทิศทาง จะตองอยูในทาวันทยาวุธ

จงั หวะที่ ๑
๘.๒.๒ ขณะกลาวรายงาน และเดินตามประธานตรวจแถวกองทหารเกียรติยศอยู

ในทาวันทยาวธุ จงั หวะที่ ๒



บทที่ ๒
วธิ ปี ฏิบัติในการถอื กระบแ่ี ละถุงมอื ในโอกาสตางๆ

ในโอกาสยืนสวมหมวกในทาตรง

การปฏิบตั ิ

- ใหจ บั ดามกระบดี่ ว ยมอื ซาย โดยใหน ว้ิ หวั แมมืออยบู นหัวชา ง สว นนว้ิ อน่ื เรียงชิดตดิ กนั จับ
ดา มกระบไี่ ว

- ถงุ มอื วางทาบอยูใตห ัวแมม ือ ปลายถุงมือหอยลงลงมาทางกับโกรง กระบี่
- กุมกระบี่ใหตง้ั ตรงตามแนวขาซาย ปลายฝกกระบจ่ี ดตงั้ บนพน้ื ใกลเ ทา ซายหนาสนรองเทา
- ขอศอกซายงอไปขางหลังขนานขางลําตวั
หมายเหตุ
วิธีปฏิบัติในการถือกระบี่และถุงมือท่ีกําหนดไวน้ี เพ่ือใหผูเขารวมงานพระราชพิธี รัฐพิธี และ
พิธีตาง ๆ อาทิ งานพิธีพระราชทานปริญญาบัตร วุฒิบัตร ประกาศนียบัตร และเข็มวิทยฐานะ การเขารับ
พระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ และพิธีประดับเคร่ืองหมายยศนายทหารสัญญาบัตร ฯสลฯ ถือเปน
หลักปฏิบัติในแบบเดียวกนั ทั้งสามเหลาทัพ เนื่องจากความยาวกระบ่ีของทหารเหลา ทร. และ ทอ. สั้นกวา
ของทหารเหลา ทบ. (ทบ. กระบ่ียาว ๙๐ ซม., ทร. กระบ่ียาว ๗๕ ซม., และ ทอ. กระบ่ียา ๘๕ ซม.)
และเพอ่ื ความสะดวกในการเคลอ่ื นทใี่ นพธิ นี ้ัน ๆ



ในโอกาสยนื มิไดส วมหมวกในทา ตรง

การปฏิบัติ

- ใหมอื ซายจบั ที่ดามกระบ่ี
- หมวกที่ถอดแลว วางตะแคงใหข อบหมวกเกาะบนโกรง กระบ่ี
- หนั หนา หมวกไปทางขวา
- นวิ้ หัวแมมือกดทับขอบหมวกไว
- ถงุ มอื สอดอยใู นขอบลา งหมวก



ในโอกาสนัง่ บนที่นั่ง เม่อื มหี มวกอยใู นมือ

การปฏิบตั ิ

- ใหถ ือกระบแี่ ละถุงมือเชน เดียวกบั ทา ยนื มิไดสวมหมวก
- กมุ กระบีใ่ หตัง้ ตรง ปลายกระบจ่ี ดพ้ืนอยขู า งขา

ในโอกาสนง่ั บนทน่ี ั่ง มิไดมีหมวกอยูในมือ

การปฏิบัติ

- ใหถ อื กระบ่โี ดยใหนวิ้ หวั แมมอื อยูบ นโกรงกระบีท่ าบบนหวั ชา ง
- ถุงมือสอดอยรู ะหวา งนิ้วหัวแมม ือกับโกรง กระบี่

๑๐

ในโอกาสนัง่ บนทน่ี ั่ง น่ังไหวพระในพธิ ีสงฆ

การปฏิบตั ิ

- ใหวางกระบพ่ี งิ ไวกบั ทน่ี ั่ง โดยหนั โกรงกระบ่อี อกนอกตวั
- ปลายกระบ่ที อดไปขา งหนา และถามถี งุ มอื และหมวกใหว างไวบนหนาตกั ใหห นั หนา หมวก

ออกทางขวา

๑๑

ในโอกาสเคล่อื นทร่ี ะยะใกล

การปฏิบัติ

- กระทําตอ จากทาตรง มไิ ดส วมหมวก โดยยกกระบข่ี น้ึ ใหป ลายกระบพี่ น พ้ืนประมาณ ๑ ฝา
มือ

๑๒

ในโอกาสเคล่ือนทร่ี ะยะไกล

การปฏิบัติ

- กระทาํ ตอจากทา ยืนในทาตรงสวมหมวก
- ใชมือซายจับกาํ ฝก กระบโ่ี ดยรอบ แลว ยกปลายกระบีไ่ วข างหนา
- ใหป ลายกระบสี่ ูงจากพื้นประมาณ ๑ คืบ
- พลกิ ฝกกระบใ่ี หดา มแบนขนานกับพนื้
- ใหโกรง กระบี่อยูน อกลาํ ตัว
- แกวงแขนซายไดพอสมควร

๑๓

ในโอกาสใชมือท้งั สองขางจบั หรือถือส่งิ ของ โดยยกกระบ่ี

การปฏบิ ัติ

- ใชมือซายจับที่ดามกระบี่ ใหน้ิวหัวแมมืออยูบนโกรงกระบ่ี สวนนิ้วอื่นเรียงชิดติดกันจับดาม
กระบไ่ี ว

- กุมกระบ่ตี งั้ ตรง
- ถุงมือสอดอยูระหวา งนวิ้ หวั แมม ือกับโกรงกระบี่
- ใชน ว้ิ หวั แมมอื ซา ยชวยประคองสิง่ ของ

๑๔

ในโอกาสใชม อื ทั้งสองขา งจบั หรอื ถือสงิ่ ของ หรือในโอกาสถือหนงั สอื
อา นถวายรายงาน รายงานหรอื ใหโอวาท

การปฏบิ ัติ

เหลา ทหารบก

- ใหปลอ ยกระบลี่ งขา งตัว โดยเกย่ี วกระบดี่ ว ยสายโลหะ
- ถือถงุ มือไวด ว ยมอื ซา ย

เหลาทหารเรอื และเหลา ทหารอากาศ

- ปรบั สายกระบ่เี พ่ือใหก ระบต่ี งั้ พอเหมาะเสยี กอน แลว จึงปลอยกระบล่ี งขา งตวั
- ถอื ถงุ มือไวดวยมือซา ย

๑๕

ในโอกาสทค่ี กุ เขา ทา คกุ เขา ทัง้ สองขา งหรือเดนิ เขา

การปฏบิ ัติ

- ใชม ือซา ยจับที่ดา มกระบ่ี โดยใหน ว้ิ หวั แมม อื อยบู นโกรง กระบ่ี สว นนิ้วอ่นื เรยี งชดิ ตดิ กนั จบั
ดา มกระบีไ่ ว

- ถงุ มอื สอดอยูระหวา งนวิ้ หัวแมม ือกับโกรง กระบ่ี
- ดา มกระบ่ีอยขู า งลําตัว งอขอศอกซายพอควร
- ปลายกระบ่ีจดพื้นทอดไปขา งหลงั

๑๖

ในโอกาสที่คุกเขา ทาคุกเขา ขา งเดียว

การปฏิบตั ิ

- ใหคุกเขา ขา งซายตดิ พ้ืน
- ถือกระบีแ่ ละถุงมอื เชนเดียวกบั ในโอกาสทีค่ กุ เขา ทงั้ สองขา ง

๑๗

ในโอกาสที่คุกเขา นงั่ คกุ เขา แลว กราบ

การปฏิบัติ

- ใหปฏิบัติตอ เนอ่ื งจากทาคกุ เขาทง้ั สองขา ง โดยวางกระบี่ไวขางซา ย
- ใหโกรงกระบอี่ ยูดานนอก
- ใหดา มกระบีอ่ ยูแ นวหวั เขา
- วางถุงมอื บนดา มกระบ่โี ดยใหป ลายถุงมืออยทู างหวั กระบี่

๑๘

บทท่ี ๓
วิธปี ฏิบัตใิ นการถือกระบแ่ี ละถุงมอื ในโอกาสตางๆ

ในการปฏิบตั ิหนา ทีร่ าชองครกั ษ

ในโอกาสยืนสวมหมวกในทาตรง

การปฏิบตั ิ

- ใหจบั กระบ่ีดวยมอื ซา ย โดยใหน ้ิวหวั แมม ืออยบู นหวั ชา ง สว นนิว้ อน่ื เรยี งชิดตดิ กนั จบั ดาม
กระบไ่ี ว

- ถงุ มอื วางทาบอยูใตห ัวแมมือ ปลายถงุ มือหอ ยลงมาทาบกับโกรง กระบี่
- กุมกระบ่ใี หต ้ังตรงตามแนวขาซาย ปลายฝก กระบีจ่ ดตงั้ บนพื้นใกลเทา ซายหนาสนรองเทา
- ขอ ศอกซา ยงอไปขา งหลังขนานขางลําตวั

๑๙

ในโอกาสยนื มไิ ดสวมหมวกในทาตรง

การปฏบิ ัติ

- ใชม ือซา ยจับดา มกระบ่ี
- หมวกทถี่ อดแลววางตะแคงใหขอบหมวกเกาะบนโกรง กระบี่
- หนั หนาหมวกไปทางขวา
- วางถงุ มือทบั ขอบหมวกดา นบน ใหป ลายนิว้ ถงุ มอื หันไปทางเดยี วกบั หนาหมวก
- ใชน้ิวหวั แมม อื กดทับถงุ มอื ไว

๒๐

ในโอกาสนั่งบนทนี่ ัง่ เมือ่ มหี มวกอยใู นมือ

การปฏิบตั ิ

- ใหถือกระบแี่ ละถงุ มอื เชนเดยี วกับทา ยนื มไิ ดสวมหมวก
- กมุ กระบใ่ี หตงั้ ตรง ปลายฝกกระบ่จี ดพนื้ อยูขางขา

ในโอกาสนงั่ บนทน่ี ัง่ มิไดมหี มวกอยใู นมือ

การปฏบิ ัติ

- ใหถ ือกระบโี่ ดยใหนว้ิ หวั แมมอื อยูบ นโกรงกระบท่ี าบบนหวั ชา ง
- ถงุ มอื สอดอยรู ะหวางนวิ้ หวั แมม ือกบั โกรง กระบี่
- กุมกระบใ่ี หตงั้ ตรง ปลายกระบจ่ี ดพน้ื สอยูข างขา

๒๑

ในโอกาสนั่งบนทน่ี ่งั น่งั ไหวพ ระในพธิ ีสงฆ

การปฏบิ ตั ิ

- ใหถือกระบี่และถุงมือเชนเดียวกับทาน่ังเมื่อมีหมวกอยูในมือ แลวประนมมือไหวพระโดยมี
กระบแ่ี ละหมวกอยใู นมอื

- การประนมมือกระทําเฉพาะกรณีที่พระสงฆสวด นะโมตัสสะฯ ทุกโอกาส พระใหศีล พระ
ข้ึนเทศน ประนามือตั้งแตบท นะโมตัสสะฯ ไปจนจบนิเขปบท เม่ือทานลงดวย “ติ” เปน
คาํ สดุ ทายจึงลดมอื ลง หามประนมมอื เมือ่ พระสงฆก ลา วขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต
ถวายพระธรรมเทศนากอนขึ้นบท นะโมตสั สะฯ หรอื เมอ่ื พระสงฆสวดถวายพระบาทสมเด็จ
พระเจาอยูหัว หรือ สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ คือ ตอนพระสงฆถวาย
อนุโมทนา ถวายดเิ รก และถวายพระพรลา

๒๒

ในโอกาสเคลื่อนทร่ี ะยะใกล

การปฏบิ ัติ

- ใหก ระทําตอ จากทา ตรง มิไดส วมหมวก โดยยกกระบข่ี ึ้น ใหป ลายฝกกระบี่พน พนื้ ประมาณ
๑ ฝามอื

๒๓

ในโอกาสเคลอ่ื นทร่ี ะยะไกล

การปฏิบัติ

- ใหก ระทําตอ จากทาตรงและสวมหมวก
- ใหเ ลอื่ นมอื พรอ มถงุ มอื จากท่ีจบั ดา มกระบ่ลี งไปจับกําฝก กระบ่ีโดยรอบ ใหปลายถงุ มือไปทาง

เดยี วกบั ปลายฝก กระบ่ี แลวยกปลายฝก กระบีไ่ วข างหนา สงู จากพืน้ ประมาณ ๑ คบื
- พลกิ ฝกกระบใี่ หด านแบนขนานกบั พน้ื
- ใหโ กรงกระบีอ่ ยนู อกลาํ ตวั
- แกวง แขนซายไดพ อสมควร

๒๔

ในโอกาสใชมือทัง้ สองขางจบั หรือถือสิ่งของ โดยยกกระบี่

การปฏบิ ัติ

- ใหใชมือซายจบั ทีด่ ามกระบี่ ใหนวิ้ หวั แมมอื อยบู นโกรงกระบี่ สว นนวิ้ อ่ืนเรยี งชิดตดิ กนั จบั
ดามกระบไ่ี ว

- กุมกระบใ่ี หต ง้ั ตรง
- ถงุ มือสอดอยรู ะหวางนว้ิ หวั แมมือกับโกรงกระบี่
- ใชนิว้ หัวแมม อื ซา ยชว ยประคองส่ิงของ

๒๕

ในโอกาสใชม อื ทั้งสองขางจบั หรือถอื สง่ิ ของ

การปฏิบตั ิ

เหลา ทหารบก

- ใหปลอยกระบีล่ งขางลําตวั โดยเกยี่ วกระบด่ี ว ยสายโลหะ
- ถอื ถุงมือไวดว ยมือซาย

เหลาทหารเรอื และเหลา ทหารอากาศ

- ใหปรับสายกระบี่เพอ่ื ใหกระบี่ตง้ั พอเหมาะเสียกอ น แลวจงึ ปลอยกระบล่ี งขา งตวั
- ถอื ถงุ มือไวดวยมอื ซาย

๒๖

ในโอกาสทคี่ กุ เขา ทง้ั สองขา ง หรือเดนิ เขา

การปฏิบตั ิ
- ใหใชม อื ซายจบั ท่ดี า มกระบี่ โดยใหน ว้ิ หวั แมมอื อยบู นโกรง กระบี่ สว นนิ้วอน่ื เรยี งชดิ ติดกนั
จับดา มกระบไี่ ว
- ถงุ มอื สอดอยูระหวา งนวิ้ หวั แมมอื โกรง กระบี่
- ดามกระบอี่ ยูข า งตัว งอขอศอกซายพอควร
- ปลายกระบี่จดพน้ื ทอดไปขา งหลงั

๒๗

ในโอกาสทค่ี กุ เขา ขา งเดยี ว

การปฏิบัติ

- ใหค กุ เขาขางซา ยตดิ พื้น
- ถอื กระบ่แี ละถงุ มอื เชน เดยี วกับในโอกาสที่คกุ เขาท้ังสองขา ง

๒๘

ในโอกาสท่คี ุกเขา แลว กราบ

การปฏบิ ตั ิ

- ใหถอื ปฏิบตั ิตอ เน่อื งจากทาคุกเขาท้งั สองขา งโดยวางกระบ่ไี วขา งซา ย
- ใหโกรงกระบอี่ ยดู านนอก
- ใหด า มกระบอี่ ยูแ นวขา งเขา
- วางถุงมอื บนดา มกระบโี่ ดยใหป ลายถงุ มอื อยทู างขางกระบ่ี

๒๙

บทที่ ๔
ทา อาวุธ
๑. ทา บาอาวุธ

แบง เปน ๓ จงั หวะ จากทาถือกระบ่ี ดังนี้

จังหวะท่ี ๑ มือซายเอนปลายกระบี่ไปขางหลัง หรือเล่ือนโกรงกระบี่ไปขางหนาเล็กนอย

พรอมกับใชมือขวาจับดามกระบี่ควํ่าฝามือ น้ิวหัวแมมือขวาเปดสลักยึดฝกกระบ่ี ชักกระบ่ีออกมาจากฝก
ประมาณ ๑ ฝา มอื (ดรู ปู ที่ ๑)

จังหวะที่ ๒ ชักกระบ่ีออกจากฝก ยกปลายกระบี่ข้ึนขางบน กระบ่ีต้ังตรงในแนวเสนด่ิงให

คมกระบี่อยูทางซายยกมือขวาข้ึนใหโกรงกระบ่ีดานบนเสมอคาง และหางจากคางประมาณ ๑ ฝามือ
น้ิวหัวแมมือกดท่ีดามกระบ่ีดานสลักยึดฝกกระบี่ น้ิวอื่น ๆ เรียงชิดติดกันกําดามกระบี่ มือซายนําฝกกระบี่
เขา ทีเ่ ดมิ (ดรู ูปท่ี ๒)

รูปท่ี ๑ รูปท่ี ๒
๓๐

จังหวะที่ ๓ ลดกระบี่ลงมาดวยมือขวา โดยใหกระบี่ตั้งตรงลงมาอยูทาตรง (อยางใชวิธีเอาสัน

กระบพ่ี าดกับไหลขวาแลวดึงรูดลงมา) มือขวาจับดามกระบ่ีไวในระหวางนิ้วชี้กับน้ิวหัวแมมือ ใหกระบี่เขา
รองไหลข วาปลายกระบ่ีชข้ี ึ้นขา งบน โกรงกระบี่หันไปขางหนา สันกระบ่ีเขารองไหลขวา แขนขวาเหยียด
ตรง (ดรู ปู ที่ ๓)

รปู ที่ ๓
๒. ทาสวมกระบี่

แบงเปน ๓ จงั หวะ ตอจากทา บาอาวุธ ดงั น้ี

จังหวะที ๑ เม่ือส้ินคําวา “ปลดดาบ” หรือ “เรียบอาวุธ” มือขวาชูกระบี่เหนือศีรษะสุด

ปลายแขน กระบีต่ ัง้ ตรงในแนวดิง่ ปลายกระบีข่ ึ้นบน หนั คมกระบไี่ ปทางซาย (ดูรูปท่ี ๔)

๓๑

จังหวะที่ ๒ ลดปลายกระบี่ลงไปหาชองฝกกระบี่ มือซายเอนปลายฝกกระบ่ีไปขางหลังหรือ

เลอื่ นชอ งฝกกระบ่อี อกไปขา งหนาเล็กนอย (แลวแตโอกาสนั้นจะขัดกระบี่หรือคาดกระบ่ี) สอดปลายกระบี่
เขา ฝกประมาณ ๑ คบื (โอกาสนใ้ี หก ม ศรี ษะเพอื่ ดูชองฝกกระบ่ไี ด) (ดูรูปท่ี ๕)

จงั หวะท่ี ๓ สวมกระบ่เี ขา ฝกใหถ งึ ทผี่ ิดหลกั ยึดกระบี่ ลดมอื ขวาลงมาอยูในทาตรงพรอมกบั มือ

ซา ยนาํ กระบ่เี ขา ท่ีตามเดมิ (ดรู ปู ที่ ๖)

รูปท่ี ๔ รูปท่ี ๕ รปู ที่ ๖
๓. ทาพกั

โอกาสท่จี ะกระทํา เม่ือกระบี่อยูในฝก หรอื อยูใ นทาบา อาวุธ เม่อื มคี าํ บอกใหพกั ตามระเบียบ
หรือพกั ตามปกติก็ตาม ใหผ ใู ชก ระบ่ตี ามปกตอิ ยา งทา มือเปลา แตการถอื กระบีพ่ ยายามรกั ษาทาเดมิ ไว

นายทหารกํากบั ธง คงอยูในทาตรงตลอดเวลา

๓๒

บทที่ ๕
ทาทําความเคารพดวยอาวุธ

๑. ทาวันทยาวุธจากทา บา อาวธุ

จังหวะท่ี ๑ เม่ือส้ินคําวา “วันทยาวธุ ” ใหย กกระบด่ี วยมอื ขวาขึ้นขา งบนในแนวเสนดิ่ง

หนั คมกระบไ่ี ปทางซา ยใหโ กรงกระบ่ีดา นบนอยเู สมอคางและหา งจากคางประมาณ ๑ ฝา มือ น้ิวหวั แมม ือวาง
ทางดามกระบด่ี า นหลกั ยึดฝก กระบ่ี น้ิวนอกน้นั กําดา มกระบี่ (ดรู ูปท่ี ๗)

จงั หวะที่ ๒ สลัดปลายกระบ่ลี งขา งหนา ปลายกระบ่ีเฉียงลงลางในแนวปลายเทา ขวา

สงู จากพ้ืนดนิ ประมาณ ๑ คบื คมกระบหี่ นั ไปทางซา ย มือขวาอยูขา งขาขวา โกรง กระบด่ี า นหนาชดิ กบั ขา
ขวา น้วิ หวั แมม ือกดแนบกบั ดามกระบี่ เชน เดียวกับจังหวะท่ี ๑ แขนขวาเหยยี ดตรง (ดรู ปู ที่ ๘)

รปู ท่ี ๗ รูปที่ ๘
๓๓

๒. ทาวันทยาวุธ เม่อื กระบี่สวนในฝก

เมอ่ื สิน้ คําวา “………….ระวงั ” ใหทาํ ทา บาอาวธุ เมอ่ื สิ้นคาํ วา “วันทยาวุธ” ให
ทําทาวนั ทยาวุธ เชนเดียวกบั ขอ ๑.

๓. ทาเรยี บอาวุธ

เม่ือสิ้นคําวา “เรียบ…………” ใหทําทาเรียบอาวุธอยูในทาบาอาวุธเลย และเมื่อส้ินคําวา

“อาวธุ ” ใหน ํากระบ่ีสวมเขา ฝกในทา สวมกระบี่

เม่ือมีผูรับการเคารพและมีคําบอกวา “ทางขวา (ซาย) ระวัง

“………………….……..” วันทยา………….วุธ” ใหสลัดหนาไปทางผูรับการเคารพในจังหวะท่ี ๒ ของ

ทาวันทยาวุธพรอมกับลูกแถวตามองตามผูรับการเคารพ เม่ือผูรับการเคารพผานไปแลว ๒ กาว ใหหันหนา

กลับมาอยใู นทา ตรง

๓๔

๔. ทาวนั ทยาวธุ ในเวลาเคล่อื นท่ี (เดินสวนสนามหนวยทหารตดิ ดาบ)

๔.๑ เมอ่ื ขดั กระบี่ (กระบอ่ี ยใู นทา บา อาวธุ )
ทั้งในกรณีท่ีผูรับการเคารพอยูทาง “ขวา” หรือ “ซาย” (ปกติการสวนสนาม ผูรับ

การเคารพจะอยทู างขวาเสมอ) ทําจากทา บาอาวธุ เปน ๒ จงั หวะ ดังนี้
จังหวะที่ ๑ เม่ือสั่ง “………..ระวัง” ตองใหพอดีกับเทาขวาตกถึงพื้น ใหยกกระบี่

ข้ึนมาอยูใ นทาวนั ทยาวุธ จังหวะท่ี ๑ เมอ่ื ตกเทาซายในกาวตอไป
จังหวะที่ ๒ เม่ือสั่ง “แลขวา (ซาย)……ทํา” คําวา “………ทํา” จะตกเทาขวาแลว

จึงสลัดกระบ่ีลงในทาวันทยาวุธ จังหวะท่ี ๒ พรอมท้ังสลัดหนาไปทางผูรับการเคารพใหพอดีเทาซายตกถึง
พื้นในกา วตอ ไป

การเลกิ ทาํ ความเคารพ แบง เปน ๒ จงั หวะ ดงั นี้

จังหวะที่ ๑ เมื่อผานผูรับการเคารพไปแลว ๒ กาว (หรือ ๕ กาว จากจังหวะท่ี ๒ ของทา
วนั ทยาวุธ) สะบดั หนากลับพรอ มกับทาเรียบอาวุธ จงั หวะที่ ๑ ใหต กเทา ซา ย

จังหวะที่ ๒ นํากระบี่ลงมาอยูในทาบาอาวุธในจังหวะที่ ๒ ของทาเรียบอาวุธใหตกเทาขวา
ในกาวตอ ไป

๔.๒ เม่อื คาดกระบ่ี
แบง เปน ๒ จงั หวะ ดงั นี้
จังหวะท่ี ๑ เหมือนกับจังหวะที่ ๑ ในขอ ๔.๑ แตใหมือซายกดและพลิกฝกกระบ่ี

จากทา เดิมมาอยใู นทาตรง
จังหวะที่ ๒ เหมอื นกับจังหวะที่ ๒ ในขอ ๔.๑

การเลิกทาํ ความเคารพ แบง เปน ๒ จังหวะ ดังนี้

จงั หวะที่ ๑ เหมอื นกับการเลกิ ทาํ ความเคารพจงั หวะที่ ๑ ขอ ๔.๑
จังหวะที่ ๒ เหมือนกบั จงั หวะที่ ๒ การเลิกทาํ ความเคารพ ขอ ๔.๑ พรอมกับมือซายพลิกฝก
กระบ่ีกลบั ไปอยใู นทา เดนิ

๓๕

เอกสารอา งอิง

๑. กฎกระทรวง (พ.ศ.๒๕๐๐) ออกตามความในพระราชบัญญัติเคร่ืองแบบทหาร

พทุ ธศักราช ๒๔๗๗ วาดวย การคาดกระบี่ การใชถุงมือ และการใชผาพันแขนทุกข ซึ่งแกไข

เพมิ่ เตมิ โดย ฉบบั ที่ ๒ (พ.ศ๒๕๐๖), ฉบบั ท่ี ๓ (พ.ศ.๒๕๒๕) และ ฉบบั ที่ ๔ (พ.ศ.๓๕๒๙)

๒. กฎกระทรวง (พ.ศ.๒๕๑๘) ออกตามความในพระราชบัญญัติเคร่ืองแบบทหาร

พุทธศักราช ๒๔๗๗ วาดวยเครื่องแบบทหารเรือ ฉบับที่ ๑๖ แกไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที ๑๗,

ฉบับท่ี ๑๘, ฉบบั ท่ี ๑๙, ฉบบั ท่ี ๒๐, ฉบบั ท่ี ๒๑ และฉบับท่ี ๒๒ (ขอ ๑๗, ๑๘, และ ๑๙)

๓. ระเบียบกรมราชองครักษ วาดวย การถือกระบ่ีและถุงมือในการปฏิบัติหนาที่ราช

องครักษ พ.ศ.๒๕๓๘ ประกาศ ณ วนั ท่ี ๓ พฤษภาคม ๒๕๓๘

๔. บันทึกขอความ สม. (กรมสม.) ท่ี (ฉบับ กห. เลขรับ ๖๕๖๖/๓๔) ลง ๗ พฤษภาคม

๒๕๓๔ เร่อื ง การคาดกระบ่แี ละการแสดงความเคารพ

๕. บันทึกขอความ สม. ที่ กห ๐๒๑๐/๑๗๐ ลง ๗ พฤษภาคม ๒๕๓๔ เร่ือง การถือกระบี่และถุง

มอื ในโอกาส ตาง ๆ และการปฏิบตั เิ นอื่ งในพระราชพธิ ี

รายการแจกจาย ๒ เลม
๒ เลม
สลก.ทร. ๒ เลม
กพ.ทร. ๒ เลม
ขว.ทร. ๒ เลม
สบ.ทร. ๒ เลม
ยก.ทร. ๒ เลม
สส.ทร. ๒ เลม
สปช.ทร. ๒ เลม
จร.ทร. ๒ เลม
กบ.ทร. ๒ เลม
กพร.ทร. ๓๕ เลม
สตช.ทร. ๒ เลม
กร. ๓๐ เลม
กปฝ. ๒๐ เลม
นย. ๑๐ เลม
สอ.รฝ. ๑๐ เลม
ฐท.สส. ๒ เลม
ฐท.กท. ๕ เลม
ฐท.พง. ๖ เลม
กรม สห.ทร. ๒ เลม
อร. ๒ เลม
อล.ทร. ๔ เลม
ชย.ทร. ๒ เลม
สพ.ทร. ๖ เลม
พธ.ทร. ๒ เลม
พร. ๒ เลม
ขส.ทร. ๒ เลม
กง.ทร. ๒ เลม
อศ. ๒ เลม
สก.ทร. ๒ เลม
วศ.ทร.
สวพ.ทร.

สรส. ๑๐ เลม
ยศ.ทร. ๑๐๐ เลม
รร.นร. ๑๐๐ เลม
ศปก.ทร. ๒ เลม
ศปชล.ทพ. ๒ เลม
ฉก.นย.ภต. ๒ เลม
นปข. ๔ เลม
กปช.จต. ๒ เลม
นปต. ๒ เลม
คณะกรรมการพิจารณาและจดั ทําเอกสารอางอิงของ ทร. ๒ เลม
คณะกรรมการพิจารณาและจดั ทาํ เอกสารอางอิงของ ทร.-
ดานการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ๒ เลม
ดานการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ๒ เลม
สาํ รอง (คลังตํารา กวช.ยศ.ทร.) ๓๐ เลม
๔๓๐ เลม
รวม


Click to View FlipBook Version