The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มาตราฐานถนน ทางเดินและทางเท้า

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by runn0248, 2022-05-17 01:27:52

มาตราฐานถนน ทางเดินและทางเท้า

มาตราฐานถนน ทางเดินและทางเท้า

Keywords: มาตราฐานถนน ทางเดินและทางเท้า

มาตรฐานถนน ทางเดนิ และทางเทา

1.3 ถังใสน ้ําและยางแอสฟล ตอมิ ัลชัน
1.4 ถังใสสารผสมเพม่ิ
1.5 สายพานลําเลยี งมวลรวมและสารผสมแทรกไปยังเคร่อื งผสม
1.6 เครอื่ งปมแอสฟล ตอ มิ ัลชนั และนาํ้
1.7 เคร่อื งผสม
1.8 เครอ่ื งฉาบ
2. สําหรับเคร่ืองปมแอสฟลต และเคร่ืองลําเลียงมวลรวม จะตองมีมาตรฐานแสดง
ปรมิ าณและสามารถอา นมาตรไดตลอดเวลาในการทําสเลอรซ่ี ีล
3. เครื่องผสม เครื่องผสมจะตองเปนเครื่องชนิดที่ผลิตสวนผสมของสเลอรี่ซีลไดอยาง
ตอเนื่องไมขาดตอนและตองสามารถลําเลียงหิน น้ํา และแอสฟลตอิมัลชันลงสูถังผสมตามอัตราสวนที่
กําหนดไวอยางถูกตอง และสามารถถายวัสดุผสมท่ีเขากันอยางดีแลวลงสูเครื่องฉาบไดอยางตอเนื่อง ไม
ขาดตอนทันทีที่จะลําเลียงหินลงสูเคร่ืองผสมตองทําใหหินเปยกเสียกอน เคร่ืองผสมจะตองมีเคร่ือง
ลําเลียงวัสดุชนิดละเอียด และอุปกรณวัดปริมาณที่สามารถลําเลียงวัสดุชนิดละเอียดในอัตราสวนที่
กําหนดไดอยางถูกตองลงในถังผสมในตําแหนงเดียวกับหินที่กําลังถูกลําเลียงลงสูถังผสม เคร่ืองผสม
จะตองติดต้ังเคร่ืองฉีดนํ้าใหเปนฝอยหรือละอองอยูนําหนาเคร่ืองฉาบท่ีสามารถฉีดนํ้าทําใหผิวทางเปยก
ไดอยา งทว่ั ถงึ
4. เครื่องฉาบ (Spreader) เคร่ืองฉาบติดต้ังอยูดานทายของเคร่ืองผสม จะตองสามารถ
ปรับอัตราการปูไดตามที่กําหนดในมาตรฐาน ปรับความกวางไดไมนอยกวา 1 ชองจราจร ฉาบไดเรียบ
และสมาํ่ เสมอ
5. เคร่ืองกวาดฝุน ตองเปนแบบไมกวาดหมุนโดยเครื่องกล อาจใชรวมกับเคร่ืองเปาฝุน
และไมก วาดมือ ซงึ่ สามารถทาํ ความสะอาดผิวทาง และรอยแตกได
6. อุปกรณอ ่ืนๆ ทจ่ี าํ เปน ในการดาํ เนินงาน เชน เครื่องฉาบดวยมือ พลวั่
7. เครื่องจักรท่ีใชบดทับ ตองเปนรถบดลอยางหนักประมาณ 5 ตัน ยางเรียบ ความดันลม
ยางประมาณ 345 กโิ ลปาสกาล (3.5 กิโลกรมั ตอ ตารางเซนตเิ มตร หรอื 50 ปอนดตอ ตารางนวิ้ )
การเตรียมการกอ นการกอสราง
กอ นทาํ การกอ สรา งใหเ จาหนาที่ท่ีรับผิดชอบดําเนินการ ดงั น้ี
1. พิจารณาตรวจสอบพื้นท่ีท่ีจะกอสราง และแกไขความบกพรองตาง ๆ กอนฉาบผิว เชน
ถาผิวเดิมมีความเสียหายไมแข็งแรงพอเปนแหงๆ ใหทําดีพแพตซ่ิง (Deep Patching) ถาระดับไมดีใหทํา
สกนิ แพตซง่ิ (Skin Patching)

94 บทที่ 4 มาตรฐานงานกอ สรางถนน ทางเดินและทางเทา

กรมสงเสรมิ การปกครองทองถนิ่ กระทรวงมหาดไทย

2. ประชาสัมพันธใหผูที่ใชทาง ชองที่จะทําการฉาบผิวทราบและขอความรวมมือ ถา
ปริมาณการจราจรสูงอาจตองติดตอเจาหนาท่ีตํารวจจราจรไปคอยชวยควบคุมการจราจร ในบริเวณที่จะ
ทาํ การฉาบผวิ

3. ตรวจสอบเคร่ืองวัดปริมาณวัสดุตาง ๆ (Calibrate) กอนเร่ิมทํางาน เพ่ือหาความสัมพันธ
ระหวางจํานวนวัสดุท่เี ปดลงในถังผสมโดยอา นจากเคร่อื งหรอื คูม อื การใชเ ครอื่ งกบั วสั ดทุ ี่ปลอ ยลงไปจรงิ

4. ตรวจสอบอุปกรณเคร่ืองมือ และเครื่องจักรใหอยูในสภาพท่ีพรอมจะนําออกใชงานและ
ผลิตสวนผสมสเลอรี่ซลี ตามทอ่ี อกแบบไว

5. ดําเนินการใหผูรับจางใชเครื่องกวาดฝุน กวาดวัสดุ เชนหินที่หลุด ดินท่ีเกาะติดผิวออก
ใหห มดจนผวิ ทางสะอาด อาจจะใชการลางถาผูควบคุมงานเห็นวา เครื่องกวาดกวาดออกไมหมด ในกรณี
ท่ีผวิ เดิมมีรอยแตกขนาดกวางท่ีเหน็ วา ถา ใชน้ําลา งแลว นํา้ จะแทรกในรอยแตก หามใชน้ําลาง

6. จะตองพจิ ารณาสภาพของดนิ ฟาอากาศใหเหมาะสม หา มทาํ การฉาบผิวในระหวางฝนตก
และอณุ หภมู ิบรรยากาศ ตองไมต ํ่ากวา 10 องศาเซลเซยี ส

การกอ สรา ง
1. วัดสุตางๆ ท่ีจะนํามาผสมเปนสเลอรี่ซีลตองเปนวัสดุที่ผานการทดลอง และคุณภาพ
ใชไ ดแลว
2. ขอกาํ หนดในการกอ สรางทั่วไป

2.1 ในกรณที ่ผี ิวทางเดิมเปนผิวแหงมีหินโผลโดยไมมีแอสฟลตเหลืออยู หรือทางเดิมเปน
ผิวคอนกรีตตอ งทาํ ใหผ ิวทางเปย กอยา งสมา่ํ เสมอดว ยเคร่อื งฉีดน้ําเปน ฝอย หรอื ละอองทนั ทกี อ นฉาบผวิ

2.2 สวนผสมของสเลอร่ีซลี เม่ือฉาบบนผวิ ทางแลว ตองมสี วนผสมคงทตี่ ามตองการ
2.3 วัสดทุ ี่ผสมแลวตองกระจายอยา งสมา่ํ เสมอในเครื่องฉาบ และตองมีปริมาณมากพอ
ตลอดเวลา เพอ่ื ใหส ามารถฉาบไดเ ตม็ ความกวางที่ตองการ
2.4 วัสดุท่ีผสมแลวตองไมจับตัวเปนกอน หรือมีหินท่ีไมถูกผสมกับแอสฟลตอิมัลชั่น
ตองไมมีการแยกตัวระหวางแอสฟลตอิมัลช่ันและสวนละเอียดออกจากหินหยาบและตองไมมีหินหยาบ
ตกอยูสว นลา งของวสั ดุผสม ถา มกี รณดี งั กลา วเกิดขึ้นจะตองตักวสั ดผุ สมนี้ออกจากผวิ ทาง
2.5 ผิวสเลอร่ีซีล ตองไมมีรอยขีด ถาเกิดกรณีเชนน้ีตองทําการตกแตง และแกไขให
เรียบรอ ย ผคู วบคมุ งานอาจส่งั ใหใ ชตะแกรงรอ นมวลรวมกอ นนาํ มาผสม
3. ขอกําหนดของรอยตอ รอยตอตามยาวหรือตามขวางตองไมเปนสันนูนสูงเกินไป หรือ
มองเห็นชัดเจนดูไมเรียบรอย ถาเกิดกรณีดังกลาวเชนนี้ และจําเปนตองใชกระสอบลากหรือเครื่องลาก
ชนิดอืน่ ตอ งไดรับความเหน็ ชอบจากผูควบคมุ งาน

บทที่ 4 มาตรฐานงานกอสรา งถนน ทางเดนิ และทางเทา 95

มาตรฐานถนน ทางเดนิ และทางเทา

4. ขอกําหนดของการฉาบดวยมือ ในกรณีเคร่ืองฉาบทําการฉาบไมไดเพราะสถานที่จํากัด
การใชเ คร่ืองฉาบดวยมือตองไดรบั ความเห็นชอบจากผูควบคมุ งานกอ น

รายละเอียดเพ่มิ เติม
1. การบม

1.1 ใหบมสเลอรี่ซีลไวระยะเวลาหนึ่งกอนเปดใหการจราจรผาน ถามีความจําเปนอาจ
ใชท รายหรอื หินฝนุ สาดเพอ่ื ใหร ถยนตผา นได เชนทางแยก ทางเช่อื ม

1.2 ใหตรวจสอบการแตกตัวของแอสฟลตอิมัลชันในสเลอร่ีซีลโดยการสังเกตการ
เปล่ยี นสขี องสว นผสมจากสีนํ้าตาล เปนสีดํา และปราศจากน้ําในสวนผสม ซ่ึงสามารถตรวจสอบได โดย
ใชกระดาษซับนํ้าบนผิวสเลอรี่ซีล ถาไมมีน้ําเหลือปรากฏใหเปดการจราจรได โดยปกติไมควรเกิน 3 ช่ังโมง
ระยะเวลาในการบมจะกาํ หนดโดยองคก รปกครองสวนทอ งถ่นิ

2. การบดทบั
2.1 การกอ สรา งสเลอร่ีซลี ชนดิ ท่ี 1 ชนิดท่ี 2 และชนดิ ท่ี 3 ไมจาํ เปนตองบดทับสําหรับ

ลานจอดรถ
2.2 การฉาบผิวชนิดที่ 4 ตองบดทับขณะท่ีแอสฟลตกําลังแข็งตัว (ขณะบม) โดยใชรถ

บดลอยางหนกั ประมาณ 5 ตัน ความดันลมยางประมาณ 345 กิโลปาสกาล บดทับเต็มผิวหนา ไมนอยกวา
5 เทย่ี ว ดวยความเรว็ 5-8 กโิ ลกรมั ตอ ช่วั โมง

ขอ ควรระวงั
1. การขนสงแอสฟลตอิมัลช่ัน ในกรณีที่เปนถัง (Drum) โดยเฉพาะการขนขึ้นและลงตอง
ระมัดระวังไมใหถังบรรจุแอสฟลตอิมัลชั่นไดรับการกระทบกระเทือนรุนแรงมาก เพราะอาจจะทําให
แอสฟลตอ ิมลั ชนั แตกตวั ได
2. กอนใชแ อสฟลตอ มิ ัลชัน่ ท่ีบรรจถุ งั ต้งั เกบ็ รอไวนานๆ ควรกล้ิงถังไปมาอยางนอยดานละ
5 คร้งั กอ นบรรจลุ งในเครอ่ื งผสมสเลอร่ีซีล ทัง้ น้ีเพ่ือใหแอสฟลต์มิ ลั ชนั มีลกั ษณะเดียวกันทัว่ ถงึ
3. ทุกคร้ังที่ทําการผสมสเลอร่ีซีลเสร็จแลว ควรลางเครื่องผสมใหสะอาด มิฉะน้ันจะมี
แอสฟลตเกาะติดแนนในเคร่อื ง ทําใหไ มส ะดวกในการทาํ งานครง้ั ตอไป
4. เมื่อเปดถังบรรจุแอสฟลตอิมัลช่ันออกใช ควรใชใหหมดถังหรือตองปดฝาอยางดี
มฉิ ะนนั้ นํา้ ในถังจะระเหยได ซึง่ จะทาํ ใหแอสฟลตอ มิ ัลชัน่ หมดสภาพไมส ามารถใชก ารได

96 บทที่ 4 มาตรฐานงานกอ สรางถนน ทางเดนิ และทางเทา

กรมสงเสริมการปกครองทองถิน่ กระทรวงมหาดไทย

ขอ กําหนดเพ่มิ เติมสําหรบั มาตรฐานการฉาบผวิ ทางแบบสเลอร่ซี ลี
1. กอ นเร่มิ งาน ผูรับจางตองเสนอเอกสารการออกแบบสวนผสมแกผูควบคุมงาน แลวใหผู
ควบคุมงานเก็บตัวอยางวัสดุสวนผสมที่จะใชในการผสมสงองคกรปกครองสวนทองถิ่น เพ่ือตรวจสอบ
พรอ มกับเอกสารการออกแบบสว นผสมดว ย โดยผูรับจางจะตองเปน ผูรับผดิ ชอบคาใชจ า ยทงั้ หมด
2. เมื่อองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ตรวจสอบเอกสาร การออกแบบและวัสดุสวนผสม
และกําหนดคา ผลการทดลองที่เหมาะสมใหแลว องคกรปกครองสวนทองถิ่นจะออกสูตรผสมเฉพาะงาน
(Job Mix Formula) ใหใชสําหรบั ควบคุมงานตอ ไป
3. การทําสเลอร่ีซีล ภาคสนามถาวัสดุมวลรวมหรือวัสดุผสมแอสฟลตผิดพลาดจาก
ขอกําหนดจะถือวาสวนผสมท่ีผสมไวในแตละครั้งนั้นไมถูกตองตามคุณภาพที่ตองการ ซ่ึงผูรับจาง
จะตอ งทาํ การปรับปรุงหรือแกไ ขใหมโ ดยผูร บั จางจะตอ งเปน ผรู ับผดิ ชอบคา ใชจ ายทงั้ หมด
4. หากวสั ดสุ ว นผสมมีการเปล่ียนแปลงเนอื่ งจากวสั ดุมวลรวมก็ดี หรอื เนอ่ื งจากเหตุอื่นใดก็
ดี ผูรบั จางอาจขอเปล่ียนแปลงสูตรสว นผสมเฉพาะงานใหมไ ด ทัง้ น้ีในการเปลี่ยนแปลงทุกคร้ังตองไดรับ
ความเห็นชอบจากองคกรปกครองสว นทอ งถ่นิ กอน
5. คาใชจายในการทดสอบและตรวจสอบการออกแบบ การฉาบผิวทางแบบสเลอร่ีซีล
ทุกครงั้ หรอื ทุกสัญญาจา ง ผรู บั จางตองเปน ผูรับผดิ ชอบ
ขอแนะนําสําหรบั มาตรฐานการฉาบผิวทางแบบสเลอรีซ่ ีล
สําหรับผิวทางที่มีปริมาณการจราจรเฉล่ีย (ADT) เกินกวา 500 คันตอวัน ใหใชมวลรวมเปน
หินโมเทาน้นั
¾ สถ. – มถ. - 029 มาตรฐานงานผิวจราจรแบบเคพซลี (Cape Seal)
หมายถึง การกอสรางผิวทางสองช้ัน ประกอบดวยผิวทางช้ันแรกเปนผิวทางแบบเซอรเฟส
ทรีตเมนตชั้นเดียว (Single Surface Treatment) แลวปูทับดวยสเลอรี่ซีล (Slurry Seal) ลงบนผิวทางหรือ
ผวิ ไหลทางดังกลา วอีกหนึ่งหรือสองชนั้ ผวิ ทางชนดิ นี้ใชท าํ เปน ผวิ ไหลท างไดดวย
ผิวทางชัน้ แรก แบบเซอรเฟสทรตี เมนต (Single Surface Treatment)
วัสดุ
1. แอสฟลตใหเปนไปตามมาตรฐาน สถ. – มถ. – 022 : มาตรฐานงานผิวจราจรแบบ
เซอรเฟซทรตี เมนต (Surface Treatment) และตองมคี ณุ สมบตั ติ ามมาตรฐานผลติ ภณั ฑอ ุตสาหกรรม มอก.
371-2530 แคตอิออนิกแอสฟลตอิมัลช่ันสําหรับถนน และไดรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม
ระบบคุณภาพ มอก. ISO-9002 หรือแอสฟลตอิมลั ชัน่ ชนิดอนื่ ซงึ่ องคกรปกครองสวนทอ งถิ่นเหน็ ชอบแลว

บทที่ 4 มาตรฐานงานกอสรางถนน ทางเดนิ และทางเทา 97

มาตรฐานถนน ทางเดนิ และทางเทา

2. หินยอย ใหเปนไปตามมาตรฐาน สถ. – มถ. – 007 : มาตรฐานวัสดุชนิดเม็ดสําหรับผิว
จราจรแบบเซอรเฟซทรีตเมนต

การกองวัสดุ
1. ใหแยกกองหนิ ยอ ยแตละขนาดไว โดยไมป ะปนกนั
2. ถาบริเวณท่ีกองหินยอยไมเรียบรอย อันอาจจะทําใหมีวัสดุอื่นไมพึงประสงคมาปะปนผู
ควบคมุ งานอาจไมอนญุ าตใหใ ชห นิ ยอยทีม่ ีวสั ดุอน่ื ปะปนนั้นได
3. บรเิ วณท่กี องหนิ ยอ ย ตองมกี ารระบายน้าํ ที่ดี อันเปนการปอ งกันมิใหน ้ําทวมกองหนิ ยอยได

ขนาดของหนิ ยอ ย
ขนาดของหินยอ ยของผิวทางช้ันแรกใหเปน ไปตามตารางท่ี 4-29

ตารางท่ี 4-29 ขนาดของหินยอ ยของผิวทางชน้ั แรก
แบบเซอรเฟสทรีตเมนต (Single Surface Treatment)

ขนาดท่ีใชเ รียก น้ําหนักผานตะแกรงเปน รอยละ
25.0 19.0 12.5 9.5 4.75 2.36 1.18
มิลลิเมตร (นว้ิ ) มม. มม. มม. มม. มม. มม. มม.
19 (3/4) 100 90 - 100 0 - 30 0 - 8 - 0 - 2 0 - 0.5
12.5(1/2) - 100 90 - 100 0 - 30 0 - 4 0 - 2 0 - 0.5

การเลอื กใชขนาดของหินยอย สําหรบั ผวิ ทางชน้ั แรกใหใชข นาด 19.0 มิลลิเมตร (3/4 น้ิว) หรือ
12.5 มิลลิเมตร (1/2 น้ิว) และตองมีคุณสมบตั เิ ปนไปตามมาตรฐาน สถ. – มถ. – 007 : มาตรฐานวัสดุชนิด
เม็ดสําหรบั ผิวจราจรแบบเซอรเ ฟซทรตี เมนต

ปริมาณวัสดุที่ใชโดยประมาณ หินยอย และแอสฟลตโดยประมาณใหใชตามตารางที่ 4-30 สวน
ปริมาณวัสดุทใ่ี ชจริงใหเปนไปตามการออกแบบตามวธิ กี ารองคก รปกครองสว นทอ งถ่ิน

ปริมาณแอสฟลตท่ีออกแบบในชั้นนี้ไดจากคา A.L.D. (Average Least Dimension) ของ
หนิ ยอย

98 บทท่ี 4 มาตรฐานงานกอ สรางถนน ทางเดนิ และทางเทา

กรมสง เสริมการปกครองทอ งถนิ่ กระทรวงมหาดไทย

ตารางที่ 4-30 ปริมาณวสั ดทุ ี่ใชโดยประมาณของผิวทางชนั้ แรก
แบบเซอรเฟสทรตี เมนต (Single Surface Treatment)

ขนาดทีใ่ ชเรยี ก มลิ ลิเมตร (น้วิ ) 19.0 (3/4") 12.5 (1/2")

หนิ ยอ ย กโิ ลกรัมตอ ตารางเมตร 16 – 22 12 - 18
แอสฟลตอิมัลชนั่ ลิตรตอตารางเมตร 1.2 - 3.3 0.8 - 1.6

การลางหินยอย หินยอยไมตองเคลือบผิวแตตองลางใหสะอาดแลวรีบนําไปใชโดยเร็วหาก
ปลอ ยทงิ้ ไวจ นแหงหรอื สกปรกตอ งลางใหม

การใชส ารผสมแอสฟล ต
สารผสมแอสฟลต อาจใชผสมกับสารเคลือบผิวหินยอยหรือผสมกับแอสฟลตโดยตรงก็ได
แลวแตชนดิ และความเหมาะสม โดยใหเปน ไปตามคาํ แนะนาํ ของผูผ ลติ
ถาผสมสารแอสฟลตลงในแอสฟลตโดยตรง ควรผสมกอนใชงานเล็กนอย แลวทําให
แอสฟล ตในถงั บรรจุแอสฟล ตป ระจาํ รถพนแอสฟลตไหลเวียนผสมเขากันดีเสียกอน โดยใชเวลาประมาณ
20นาที แลว นาํ ไปใชงานทันที หามตมแอสฟลตที่ผสมสารแอสฟลตแลวท่ีชวงอุณหภูมิสําหรับพนแอสฟลตทิ้ง
ไวนาน เพราะสารผสมแอสฟลตอ าจเส่อื มคุณภาพไดภ ายในไมก ช่ี ่ัวโมงเทานน้ั
หากจําเปนท่ีจะตองนําแอสฟลตที่ผสมสารผสมแอสฟลต และตมท่ีอุณหภูมิท่ีใชราดทิ้งไวเกิน
กวา 3 ชวั่ โมงมาใชใ หม ตองดําเนนิ การตามขอ เสนอแนะของผผู ลติ สารผสมแอสฟลต โดยความเห็นชอบ
ของผคู วบคมุ งาน

เครื่องจักรและเครือ่ งมอื
เคร่ืองจักร และเคร่ืองมือที่ใชใหเปนตามมาตรฐาน สถ. – มถ. – 022 : มาตรฐานงานผิวจราจรแบบ
เซอรเ ฟซทรตี เมนต (Surface Treatment) เครือ่ งโรยหินจะตองเปน แบบขับเคลอื่ นดว ยตนเอง

การเตรียมการกอ นการกอ สราง
การเตรียมการกอนการกอสราง ใหเปนตามมาตรฐาน สถ. – มถ. – 022 : มาตรฐานงาน
ผิวจราจรแบบเซอรเ ฟซทรตี เมนต (Surface Treatment)

การกอ สราง
การกอสราง ใหเปนตามมาตรฐาน สถ. – มถ. – 022 : มาตรฐานงานผิวจราจรแบบเซอรเฟซ
ทรตี เมนต (Surface Treatment)

บทที่ 4 มาตรฐานงานกอ สรางถนน ทางเดินและทางเทา 99

มาตรฐานถนน ทางเดนิ และทางเทา

รายละเอยี ดเพ่ิมเติม
รายละเอียดเพ่ิมเติมใหเปนตามมาตรฐาน สถ. – มถ. – 022 : มาตรฐานงานผิวจราจรแบบ
เซอรเฟซทรตี เมนต (Surface Treatment)
ขอ ควรระวัง
ขอควรระวังใหเปนตามมาตรฐาน สถ. – มถ. – 022 : มาตรฐานงานผิวจราจรแบบ
เซอรเฟซทรตี เมนต (Surface Treatment)
ผวิ ทางช้นั ท่สี องสเลอรี่ซีล (Slurry Seal)

วสั ดุ
วสั ดุท่ีใชใหเปนไปตามมาตรฐาน สถ. – มถ. – 028 : มาตรฐานการฉาบผิวทางแบบสเลอร่ีซีล (Slurry
Seal) ขนาดของหนิ ยอย ปริมาณแอสฟล ตทีใ่ ช และอัตราการฉาบใหเ ปนไปตาม ตารางที่ 4-31

ตารางที่ 4-31 ขนาดของหนิ ปรมิ าณแอสฟล ตท ี่ใช และอัตราการฉาบ
สาํ หรับงานผิวทางชั้นที่สองแบบสเลอรซี่ ีล (Slurry Seal)

ชนิดของสเลอรี่ซีล 23

ขนาดของตะแกรงรอ น ; มม. ผานตะแกรงรอน ; รอ ยละ

9.5 (3/8 นิ้ว) 100 100
4.75 (เบอร 4)
2.36 (เบอร 8) 90 - 100 70 - 90
1.18 (เบอร 16)
0.600 (เบอร 30) 65 - 90 45 - 70
0.300 (เบอร 50)
0.150 (เบอร 100) 45 - 70 28 - 50
0.075 (เบอร 200)
ปรมิ าณคงคา ง (Residue) ของ 30 - 50 19 - 34
แอสฟลต โดยน้าํ หนกั ของหนิ แหง
(รอ ยละ) 18 - 30 12 - 25
อัตราการปู/ฉาบเปนนํ้าหนกั
10 - 21 7 - 18
ของสวนผสมสเลอร่ซี ลี ;หนิ แหง
(กก./ตร.ม) 5 - 15 5 - 15

7.5 - 13.5 6. 5 - 12.0

5.5 - 10.0 10.0 - 16.0

100 บทที่ 4 มาตรฐานงานกอ สรางถนน ทางเดินและทางเทา

กรมสง เสริมการปกครองทอ งถน่ิ กระทรวงมหาดไทย

การกองหินยอย หรือทราย
การกองหินยอย หรือทรายใหเ ปน ไปตามมาตรฐาน สถ. – มถ. – 028 : มาตรฐานการฉาบ
ผวิ ทางแบบสเลอรซ่ี ีล (Slurry Seal)
ชนิดของสเลอร่ซี ีล
สาํ หรบั งานผิวจราจรแบบเคพซีล ใหใชส เลอรี่ซีล ชนดิ ที่ 2 หรอื ชนดิ ที่ 3 เทานัน้
1. สเลอร่ีซีล ชนิดท่ี 2 ใชฉาบผิวทางชั้นแรกท่ีใชหินยอยหรือกรวดยอย ขนาด 12.5
มิลลิเมตร (1/2 นิว้ ) ตามตารางท่ี 4-29 โดยฉาบครงั้ เดยี ว ใหมีปรมิ าณสว นผสมสเลอรซ่ี ลี ตามตารางที่ 4-31
2. สเลอร่ีซีล ชนิดท่ี 3 ใชฉาบผิวทางชั้นแรกที่ใชหินยอย หรือกรวดยอย ขนาด 19.0
มิลลิเมตร (3/4 นิ้ว) ตามตารางท่ี 4-29 โดยแบงการฉาบเปน 2 คร้ัง ใหมีปริมาณสวนผสมสเลอร่ีซีล
รวมทั้งหมด ตามตารางที่ 4-31
การออกแบบสว นผสมสเลอรีซ่ ลี
การออกแบบสวนผสมสเลอรี่ซีล ใหเปนไปตามมาตรฐาน สถ. – มถ. – 028 : มาตรฐาน
การฉาบผิวทางแบบสเลอรซี่ ลี (Slurry Seal)
เครอื่ งจกั รท่ใี ชในการกอสราง
1. เครื่องจักรท่ีใชในการกอสราง ใหเปนไปตามมาตรฐาน สถ. – มถ. – 028 : มาตรฐาน
การฉาบผวิ ทางแบบสเลอรซ่ี ลี (Slurry Seal)
2. เคร่ืองจักรท่ีใชในการบดทับ ตองเปนรถบดลอยางชนิดขับเคล่ือนไดดวยตนเองมี
นํ้าหนักประมาณ 10 ตัน แบบลอยางผิวหนาเรียบ ความดันลมยางประมาณ 3.5 กิโลกรัม ตอตาราง
เซนติเมตร (50 ปอนดตอตารางนว้ิ )
การเตรยี มการกอ สราง
การเตรียมการกอสราง ใหเปนไปตามมาตรฐาน สถ. – มถ. – 028 : มาตรฐานการฉาบผิวทาง
แบบสเลอรซ่ี ลี (Slurry Seal)
วธิ ีการกอสราง
1. ราดยางแอสฟลตอิมัลชนั ชนิด CSS-1 หรอื CSS-1h ทผ่ี สมนํ้าในอัตราสวน 1:1 ลงบนผิวทาง
ช้ันแรกดวยอัตราไมนอยกวา 0.6 ลิตรตอตารางเมตร โดยวิธีฉีดเปนละอองฝอย (Fog Spray) หลังจากน้ัน
จึงดําเนินการฉาบผิวสเลอรีซ่ ลี ตอไป

บทท่ี 4 มาตรฐานงานกอ สรางถนน ทางเดนิ และทางเทา 101

มาตรฐานถนน ทางเดิน และทางเทา

2. ดําเนินการฉาบผิวสเลอร่ีซีลทับผิวชั้นแรก สําหรับผิวทางชั้นแรกท่ีกอสรางใหม การ
ฉาบสเลอรซ่ี ีลทับ ควรดาํ เนินการภายในระยะเวลาไมนอ ยกวา 4 วัน และไมม ากกวา 4 สปั ดาห ฉะน้ันการ
ราดแอสฟล ตอ ิมลั ชัน ตาม ขอ 1 ควรดําเนินการภายในระยะเวลาท่เี หมาะสมกอนฉาบผวิ สเลอรี่ซลี

3. กอนที่จะฉาบผิวสเลอรี่ซีลใหทําความสะอาดผิวทางท่ีจะฉาบสเลอรี่ซีลทับดวยเครื่อง
กวาดฝุน และถา จําเปนใหใชน้าํ ลา ง เพ่ือกาํ จัดวัสดทุ ห่ี ลุดหลวม สิง่ สกปรกตางๆ ออกใหหมด

4. กอนฉาบผิวสเลอรี่ซีล ถาผิวทางที่ฉาบทับนั้นแหง ใหพนน้ําลงไปเพียงบางๆ พอเปยก
ช้ืนเทา นน้ั อยา ใหมีนํ้าขังบนผิวทางท่จี ะฉาบทับ

5. สวนผสมสเลอรีซ่ ีล เม่ือฉาบบนผิวทางแลวตองมีสว นผสมคงท่ีตามท่ตี องการ
6. วัสดุท่ีผสมแลวตองกระจายอยางสมํ่าเสมอในเคร่ืองฉาบและตองมีปริมาณมากพอ
ตลอดเวลา เพอ่ื ใหฉาบไดเตม็ ความกวางท่ีตอ งการ
7. วัสดุท่ีผสมแลวตองไมจับตัวเปนกอน หรือมีหินที่ไมถูกผสมกับแอสฟลตอิมัลชัน ตอง
ไมมีการแยกตัวระหวางแอสฟลตอิมัลชันกับสวนละเอียดออกจากหินหยาบ ตองไมมีหินหยาบตกอยู
สวนลางของวัสดุผสม ถามีกรณดี ังกลาวเกิดขน้ึ จะตองตักวัสดผุ สมน้อี อกจากผวิ ทาง
8. ตองไมมีรอยขีดปรากฏใหเห็นบนผิวที่ฉาบสเลอร่ีซีลเรียบรอยแลว ถาเกิดกรณีเชนนี้
ตอ งทาํ การตกแตงและแกไ ขใหเรียบรอยผคู วบคมุ งานอาจสงั่ ใหใชต ะแกรงรอนมวลรวมกอ นนาํ มาผสม
9. ขอกําหนดของรอยตอ รอยตอตามยาวควรจัดใหอยูตรงแนวเสนแบงชองจราจร และรอยตอ
ตองไมเปนสันนูนเกินไป หรือมองเห็นชัดเจนดูไมเรียบรอย ถาเกิดกรณีดังกลาวเชนน้ี และจําเปนตองใช
กระสอบลากหรือเคร่ืองราดชนดิ อื่น ตองไดรบั ความเหน็ ชอบจากผคู วบคุมงานกอน
10. ขอกําหนดของการฉาบดวยมือ ในกรณีเครื่องฉาบใชการไมได เพราะสถานที่จํากัด การ
ฉาบดวยมือตอ งไดรับความเหน็ ชอบจากผคู วบคมุ งานกอ น
11. ในการฉาบผิวสเลอรี่ซีล ชนิดที่ 2 ตามขอกําหนดสเลอร่ีซีล ชนิดท่ี 2 หรือ 3 การฉาบผิว
สเลอรซ่ี ีล ใหบดทับดว ยรถบดลอยางชนิดขับเคลื่อนไดดวยตัวเองตามขอกําหนด เครื่องจักรท่ีใชในงาน
กอสรางขอ 2 ใหเต็มผิวหนาไมนอยกวา 5 เท่ียว โดยเร่ิมบดไดเมื่อไมมีสวนผสมสเลอรี่ซีลติดลอรถบด
แตตอ งไมขา มวนั

สาํ หรบั การฉาบผิวสเลอรีซ่ ีล ชนดิ ท่ี 3 ครัง้ ท่ี 2 นน้ั ใหด ําเนินการฉาบผิวใหเ รว็ ท่สี ุดเทาท่ี
จะทําได แตตองไมนานเกิน 4 สัปดาห หลังจากฉาบผิวคร้ังท่ี 1 เสร็จเรียบรอยแลว การฉาบผิวคร้ังท่ี 2 น้ี
ปกติไมตองบดทับ

102 บทที่ 4 มาตรฐานงานกอ สรา งถนน ทางเดนิ และทางเทา

กรมสง เสริมการปกครองทอ งถนิ่ กระทรวงมหาดไทย

รายละเอยี ดเพิม่ เตมิ
การบมใหบม ผิวสเลอรซ่ี ลี ไวระยะเวลาหนง่ึ กอนเปด ใหก ารจราจรผา นจนกวา ผิวสเลอรซ่ี ลี จะแตก
ตัวโดยสมบูรณ แลวจึงเปดใหการจราจรผาน บริเวณท่ีมีความจําเปนตองใหการจราจรผานไดกอน เชน
ทางแยก ทางเชื่อม กอ็ าจใชท ราย หรอื หินฝนุ สาดทับผวิ จราจรไว
ใหตรวจสอบการแตกตัวของแอสฟลตอิมัลชันในสเลอร่ีซีล โดยการสังเกตการเปลี่ยนสีของ
สวนผสมจากสีน้าํ ตาลเปนสีดาํ และปราศจากน้ําในสวนผสม ซ่ึงสามารถตรวจสอบไดโดยใชกระดาษ ซับน้ํา
บนสเลอร่ีซีล ถาไมมีนํ้าเหลือปรากฏใหเปดการจราจรได โดยปกติไมควรเกิน 3 ช่ัวโมงระยะเวลาการบม
ใหอยใู นดุลยพินจิ ของผูควบคมุ งาน
ขอควรระวัง
ขอควรระวังใหเปนตามมาตรฐาน สถ. – มถ. – 022 : มาตรฐานงานผิวจราจรแบบ เซอรเฟซ
ทรีตเมนต (Surface Treatment) และ ตามมาตรฐาน สถ. – มถ. – 028 : มาตรฐานการฉาบผิวทางแบบ
สเลอรซ่ี ีล (Slurry Seal)
ขอกาํ หนดเพม่ิ เตมิ สําหรบั ผวิ ทางแบบเคพซลี
กอนเรมิ่ งาน ผรู บั จา งตองเสนอรายการออกแบบสวนผสมผิวแบบเคพซีลของผูรับจางเอง ท่ีใช
วัสดุชนิด และแหลงเดียวกันกับท่ีเสนอขอใชงานแกผูควบคุมงาน แลวใหผูควบคุมงานเก็บตัวอยางวัสดุ
สวนผสม ที่จะใชในการผสมสงองคกรปกครองสวนทองถ่ิน เพ่ือตรวจสอบพรอมเอกสารการออกแบบ
สวนผสมดว ย โดยผรู ับจางจะตอ งเปน ผรู บั ผิดชอบคา ใชจ า ย
เมื่อองคกรปกครองสวนทองถิ่นตรวจสอบเอกสารการออกแบบและวัสดุสวนผสม และ
กาํ หนดคา ผลการทดลองที่เหมาะสมใหแ ลว องคกรปกครองสว นทองถ่ินจะออกสูตรสวนผสมเฉพาะงาน
ใหใ ชส ําหรับควบคมุ งานตอไป
ในการทําผิวทางแบบเคพซีลในภาคสนาม ถาวัสดุที่ใชผิดพลาดไปจากขอกําหนด จะถือวา
สวนผสมที่ ผสมไวในแตละครั้งนั้นไมถูกตองตามคุณภาพที่ตองการ ซ่ึงผูรับจางจะตองทําการปรับปรุง
หรือแกไ ขใหม โดยผูรบั จา งจะตองเปน ผรู ับผดิ ชอบคาใชจ า ยที่เกดิ ข้นึ ท้ังหมด
หากวัสดุสวนผสมมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากเหตุอื่นใดก็ตาม ผูรับจางอาจขอเปลี่ยนแปลง
สูตรสวนผสมเฉพาะงานใหมได ท้ังนี้การเปล่ียนแปลงทุกคร้ังจะตองไดรับความเห็นชอบจากองคกร
ปกครองสวนทอ งถิ่นกอน
การทดสอบ และการตรวจสอบการออกแบบผิวทางแบบเคพซีลทุกคร้ัง หรือทุกสัญญาจาง
ผูรบั จางตองเปน ผรู ับผิดชอบคา ใชจ า ย

บทที่ 4 มาตรฐานงานกอ สรางถนน ทางเดนิ และทางเทา 103

มาตรฐานถนน ทางเดิน และทางเทา

สว นท่ี 3 มาตรฐานวสั ดทุ ีใ่ ชในการกอ สรา งทางเดิน และทางเทา

¾ สถ. – มถ. - 030 มาตรฐานวสั ดุพน้ื ฐานทางเดนิ และทางเทา
วัสดุพืน้ ฐานทางเทา หมายถึง วัสดุที่ใชทําพ้ืนฐานทางเทาในกรณีท่ีไมไดระบุคุณสมบัติไวเปน

อยา งอื่น

คณุ สมบัติ
1. ปราศจากอินทรยี ว ัตถุ เชน ใบไม รากไม หญา ขยะ และสิง่ ปฏิกูลอน่ื ๆ
2. เปนลูกรัง หนิ คลุก ซ่ึงเปน วัสดุธรรมชาติที่ไดจากแหลงหิน หรือการยอยหิน โดยมีขนาด
คละ แสดงดังตารางท่ี 4-32 และ 4-33

สาํ หรบั ลกู รัง

ตารางที่ 4-32 แสดงขนาดคละของวัสดพุ ื้นฐานทางเดนิ และทางเทาสําหรบั ลูกรัง

ขนาดของตะแกรง นาํ้ หนักทผ่ี า นตะแกรงมีคาเปน รอยละ
มาตรฐาน
2" ชนดิ ก. ชนดิ ข. ชนิด ค. ชนดิ ง. ชนดิ จ.
1" 100 -
3/8" - 100 - - 100
เบอร 4 30 - 65 -
เบอร 10 25 - 55 75 - 95 100 100
เบอร 40 15 - 40 55 - 100
เบอร 200 8 - 20 40 - 75 50 -85 60 - 100 40 - 100
2-8 20 - 50
30 - 60 35 - 65 50 - 85 6 - 20

20 - 45 25 - 50 40 - 70

15 - 30 15 - 30 25 - 45

5 - 20 5 - 15 10 - 25

104 บทท่ี 4 มาตรฐานงานกอสรางถนน ทางเดนิ และทางเทา

กรมสง เสริมการปกครองทองถ่ิน กระทรวงมหาดไทย

สาํ หรบั หินคลุก

ตารางท่ี 4-33 แสดงขนาดคละของวัสดุพน้ื ฐานทางเดนิ และทางเทา สาํ หรบั หนิ คลุก

ขนาดของตะแกรง นํา้ หนักท่ีผา นตะแกรงมีคา เปนรอยละ
มาตรฐาน
2" ชนิด ก. ชนดิ ข. ชนดิ ค. ชนิด ง.
1" 100 -
3/8" - 100 - 100
เบอร 4 30 - 65
เบอร 10 25 - 55 75 - 95 100 60 - 100
เบอร 40 15 - 40 50 - 85
เบอร 200 8 - 20 40 - 75 50 -85 40 - 70
2-8 25 - 45
30 - 60 35 - 65 10 - 25

20 - 45 25 - 50

15 - 30 15 - 30

5 - 20 5 - 15

¾ สถ. – มถ. - 031 มาตรฐานวสั ดปุ ทู างเดนิ และทางเทา โดยสามารถแบง ออกได 3 ประเภท

1. กระเบ้ืองคอนกรตี ปูพ้ืน (Concrete Flooring Tiles)
กระเบ้ืองคอนกรีตปูพ้ืน หมายถึง กระเบื้องที่ทําดวยคอนกรีตอัดเปนแผน มีสีตาม

ธรรมชาติหรืออาจมีผงสีเจือปนอยูทั้งแผน หรือเฉพาะที่ชั้นผิวหนาก็ได ซ่ึงมีขนาดและเกณฑความ
คลาดเคล่ือน สวนประกอบและการทํา คุณลักษณะ และการทดสอบเปนไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ
อุตสาหกรรมกระเบ้อื งคอนกรตี ปพู น้ื มอก.378

คุณสมบตั ิ
1. ลักษณะท่วั ไป

1.1 กระเบื้องท่ีผิวหนาเรียบความหนาตองเทากันโดยตลอดและกระเบื้องที่มี
ผิวหนาเปน ลอน ความหนาของลอนแตล ะลอนตอ งเทา กนั ตลอด

1.2 กระเบอ้ื งตอ งไมร าวมีความไดฉ าก ขอบเรยี บคมและตรง (ยกเวน การลบมมุ )
1.3 สีของชน้ั ผวิ หนา ตอ งสม่ําเสมอ และไมล ะลายนํ้า
2. ความตา นทานแรงดดั ขวาง
ความตานทานแรงดัดตามขวางของกระเบ้ืองแตละแผนตองไมนอยกวา 2.5 เมกะ
พาสคัล และคาเฉลยี่ ตอ งไมนอ ยกวา 3 เมกะพาสคัล

บทท่ี 4 มาตรฐานงานกอ สรางถนน ทางเดนิ และทางเทา 105

มาตรฐานถนน ทางเดนิ และทางเทา

3. การดดู ซึมน้าํ
การดูดซมึ น้ําของกระเบ้อื งแตละหนาแผนตอ งไมเกนิ รอยละ 10

2. คอนกรีตบล็อกประสานปพู น้ื (Interlock Concrete Paving Block)
คอนกรีตบล็อกประสานปูพ้ืน หมายถึง กอนหรือแผนคอนกรีตตันที่สามารถนํามาเรียง

ประสานกันไดอ ยา งตอ เนอ่ื ง มีสตี ามธรรมชาติหรืออาจมีผงสีเจือปนอยูท้ังบล็อก หรือเฉพาะท่ีชั้นผิวหนา
ซ่ึงมีขนาดและเกณฑความคลาดเคล่ือน สวนประกอบและการทํา คุณลักษณะและการทดสอบเปนไป
ตามมาตรฐานผลิตภณั ฑอ ตุ สาหกรรมคอนกรตี บลอ็ กประสานปูพนื้ มอก. 827

คณุ สมบัติ
1. บลอ็ กตองมเี น้อื แนน ไมร า วและสขี องชน้ั ผิวหนา ตองสมํา่ เสมอ
2. ความไดฉาก ความหนาไมเกิน 80 มิลลิเมตร จะมีความเบี่ยงเบนของความไดฉาก
ไมเกิน 2 มิลลิเมตร ถาความหนาเกิน 80 มิลลิเมตร จะมีความเบ่ียงเบนของความไดฉากไดไมเกิน 3
มลิ ลเิ มตร
3. ความ ตานแรงอัดของบล็อกแตละกอนหรือแผน ตองไมนอยกวา 35 เมกะพาสคัล
และคาเฉลี่ยตองไมนอ ยกวา 40 เมกะพาสคัล
3. กระเบอื้ งซีเมนตป พู ้นื (Cement Mortar Flooring Tiles)
กระเบ้ืองซีเมนตปูพื้น หมายถึง กระเบ้ืองที่สวนใหญทําดวยปูนซีเมนตผสมกับมวลผสม
ละเอียดและน้ําอัดเปนแผน มีสีตามธรรมชาติหรืออาจมีผงสีเจือปนอยูท้ังแผนหรือเฉพาะท่ีชั้นผิวหนาก็
ได ซึง่ มีขนาดและเกณฑความคลาดเคลื่อน สวนประกอบและการทํา คุณลักษณะและการทดสอบเปนไป
ตามมาตรฐานผลติ ภัณฑอุตสาหกรรมกระเบ้ืองซเี มนตปพู ้นื มอก. 826
คณุ สมบัติ
1. กระเบอื้ งตองไมร า วหรอื บน่ิ มคี วามไดฉ าก ขอบเรียบคม และตรง (ยกเวนการลบมุม)
และสีของผิวหนา ตองสมาํ่ เสมอ
2. ความตานทานแรงดดั ขวาง

2.1 ในสภาพเปยกตองไมน อยกวา 3 เมกะพาสคลั
2.2 ในสภาพแหงตอ งไมน อ ยกวา 5 เมกะพาสคัล
3. การดูดซึมน้ําของกระเบื้องแตละแผนตองไมเกินรอยละ 10 ความทนการขัดสี เมื่อ
ทดสอบตามมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมกระเบื้องดนิ เผาโมเสก มอก. 38 แลว นํ้าหนักของกระเบื้อง
ที่หายไปตองไมเกนิ 0.1 กรัม

106 บทท่ี 4 มาตรฐานงานกอ สรางถนน ทางเดนิ และทางเทา

กรมสง เสริมการปกครองทอ งถิ่น กระทรวงมหาดไทย

สวนที่ 4 มาตรฐานวธิ กี ารกอ สรางทางเดนิ และทางเทา

¾ สถ. – มถ. - 032 มาตรฐานงานทางเดนิ และทางเทา
งานทางเดิน และทางเทา หมายถึง การกอสรางทางเทาดวยวัสดุท่ีมีคุณภาพตามท่ีกําหนด โดย

การเกลี่ยแตงและบดทับพื้นฐานใหไดตามระดับ รูปราง และสรางผิวอยางใดอยางหน่ึง ตามที่กําหนดไว
ในรูปแบบและรายการกอสราง ในงานสรางทางเทาที่มีการกันแนวชองสําหรับการปลูกตนไม ไมประดับ
หรือการปลูกหญา ผูรับจางจะตองเอาใจใสในเร่ืองของดินท่ีจะนํามาใชและบํารุงรักษาตลอดระยะเวลา
การกอสรา ง เพื่อใหต น ไมหรือไมป ระดับหรอื หญา ท่นี าํ มาปลูกน้นั สามารถเจรญิ งอกงามตอไปไดด ี

วธิ ีการกอสรา ง
1. ทางเดินและทางเทาคอนกรตี เสรมิ เหล็ก

ƒ ใหนําวิธีการสรางคันทาง รองพ้ืนทาง พื้นทาง และผิวทางตามที่กําหนดไวแลวมา
บงั คบั ใชก ับการสรางพนื้ ฐานทางเทาคอนกรีตเสรมิ เหลก็ โดยอนโุ ลม

ƒ วัสดผุ ิว เปนคอนกรตี เสรมิ เหลก็ ตามทกี่ ําหนดไวใ นรปู แบบและรายการกอ สรา ง
2. ทางเดินและทางเทา ปูกระเบอื้ งหนิ เกลด็

ƒ คันทางและพื้นฐานทางเดินและทางเทา ใหใชวัสดุท่ีมีคุณสมบัติตามท่ีกําหนดไว
ในสวนที่ 3 มาตรฐานวัสดุที่ใชในการกอสรางทางเดิน และทางเทา โดยคันทาง
และพ้ืนฐานทางเดินและทางเทาที่สรางข้ึนจะตองมีความแนนของการบดทับไมต่ํา
กวารอยละ 95 ของความแนนแหงสูงสุดที่ไดจากวิธีการทดลอง Compaction Test
แบบมาตรฐาน (AASHTO T99) หรือไมนอยกวาท่ีกําหนดไวในรูปแบบหรือรายการ
กอ สรา ง

ƒ วัสดุผิว ใหปูดวยกระเบื้องหินเกล็ดขนาด 400 X 400 X 50 มิลลิเมตร หรือขนาด
อื่นๆ ตามรูปแบบหรือรายการกอสรางท่ีกําหนดไว แนวตอระหวางกระเบ้ือง
แตละแผน ใหยาดวยปูน : ทรายในอัตราสวน 1:1 และตองแตงใหกลมกลืนกับ
ผิวทางเทา แนวตอของกระเบ้อื งโดยทว่ั ไปตองต้งั ฉากกบั แนวคันหนิ

3. งานทางเดินและทางเทาคอนกรีตบลอ็ กประสานปพู ื้น
ƒ คันทางและพ้ืนฐานทางเดินและทางเทา ใหเปนไปตามท่ีกําหนดไวในสวนท่ี 3
มาตรฐานวัสดุท่ใี ชใ นการกอสรางทางเดนิ และทางเทา
ƒ วัสดุผิวใหใชกอนหรือแผนคอนกรีตบล็อกประสานปูพื้นชนิดท่ีกําหนดใหปูตาม
ลวดลายที่ตอ งการตามวธิ ีการดังนี้

บทที่ 4 มาตรฐานงานกอสรางถนน ทางเดนิ และทางเทา 107

มาตรฐานถนน ทางเดิน และทางเทา

• การเกล่ียทรายรองพื้นใหเกลี่ยเต็มทางเดินและทางเทาตามความลาดที่
ตองการ โดยใหคาํ นงึ ถึงระยะยบุ ตัวของทรายรองพนื้ ภายหลงั การบดอัดดวย

• การปูกอนหรือแผนคอนกรีตประสานปูพ้ืนโดยใหพ้ืนผิวดานขางของกอน
คอนกรตี ประสานปูพ้ืน แตละกอนเรียงชิดติดกันในลักษณะใหเกิด Interlocking
Resistance

• หลงั จากปูกอ นหรือแผน คอนกรตี ประสานปพู ้นื เสรจ็ แลว ใหใชทรายสาดทับ
หนากวาดทรายใหลงไปอุดตามรอยตอระหวางกอนหรือแผนคอนกรีตแลว
ใช Plate Vibrator บดอัดซ้ําอีกครั้งหนึ่ง เพ่ือใหทรายอัดตัวกันแนนตาม
รอยตอระหวางกอนหรือแผนคอนกรีต

4. งานทางเดนิ และทางเทา ปูแอสฟลตคอนกรีต
ƒ คันทางและพื้นฐานทางเดินและทางเทา ใหเปนไปตามที่กําหนดไวในสวนท่ี 3
มาตรฐานวัสดุท่ีใชในการกอสรางทางเดิน และทางเทา การปูแอสฟลตคอนกรีต
ใหใ ชแ รงงานคนแทนการใชง าน Paver ได
ƒ วสั ดุผวิ ใหป ูดว ยแอสฟลตค อนกรตี ตามคณุ สมบัติแอสฟล ตค อนกรตี
ƒ ในกรณีที่สาดหินสีทับหนา ใหใชเกล็ดซ่ึงผานการลางน้ําสะอาดและแหงสนิท
แลวและมีความเขมของสี (Shade)ตามที่กําหนด สาดทับผิวหนาของแอสฟลต
ผสมรอนท่ีปูเปนทางเดินและทางเทาไวแลวนั้น ในขณะที่ยังรอนอยูในอัตรา
3.5 กิโลกรัม/ตารางเมตร แลวใชรถบดหรือเคร่ืองตบ Vibrator ทําการบดทับ
เพ่ือใหหินสีน้ันฝงตัวแนนกับแอสฟลต ผสมรอน รถบดหรือเครื่องตบท่ีใชในการ
บดอัดหินสีน้ีจะตองสะอาด ไมเปรอะเปอนวัสดุแอสฟลตจากการบดทับผิวทางเดิน
และทางเทา ในตอนแรก

108 บทที่ 4 มาตรฐานงานกอสรา งถนน ทางเดนิ และทางเทา

กรมสงเสริมการปกครองทอ งถน่ิ กระทรวงมหาดไทย

บทที่ 5

การตรวจสอบและบํารงุ รกั ษาถนน ทางเดินและทางเทา

ถนนท่ีเปดใชงานแลว จําเปนตองมีการดูแลรักษาใหมีสภาพดีอยูเสมอ ถามีรองรอยการชํารุด
เสียหายหรือเปนหลุมบอ ท้ังบริเวณผิวทางและไหลทางควรรีบดําเนินการซอมแซมใหอยูในสภาพดี
ดงั เดมิ เพ่ือมิใหเ กดิ ความเสยี หายลุกลามตอ ไปอกี ความเสยี หายของผวิ ทางอาจแยกเปน 2 ประการคอื

1. ความเสียหายในดานการใชงาน (Functional Failure) เชน ผิวถนนเปนคล่ืนขรุขระทําให
การสัญจรผานไปมาไมสะดวก ตอ งใชค วามเรว็ ต่ํา

2. ความเสียหายดานโครงสราง (Structure Failure) เชน ผิวถนนเปนหลุมเปนบอ พ้ืนทางดิน
คนั ทางทรดุ

สาเหตุการชํารุดของถนนมีหลายประการ เชน เน่ืองจากความบกพรองในขณะกอสราง ใช
วัสดุมีคุณภาพไมเหมาะสม การบดอัดไมไดความแนนตามมาตรฐาน สวนผสมคอนกรีตหรือแอสฟลตท่ี
ใชทําผิวทางไมเหมาะสม ยานพาหนะมีน้ําหนักบรรทุกเกินกวาถนนท่ีออกแบบไวจะรับน้ําหนักได
ดนิ คนั ทางออ นมาก เพอื่ ใหก ารบรหิ ารจัดการบํารุงรกั ษาถนนท่ีมีอยูเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ จึงควรมี
การศึกษาและกาํ หนดวธิ กี ารบํารงุ รักษา ซ่งึ มขี นั้ ตอนดงั นี้

1. การศกึ ษาความเสียหายตอผวิ ถนนลาดยางและผิวถนนคอนกรีต
2. การเกบ็ รวบรวมขอ มลู
3. การแยกประเภทการบํารุงรักษาถนน ทางเดินและทางเทา
4. การดาํ เนนิ การซอ มแซมผิวถนน ทางเดินและทางเทา

5.1 การศกึ ษาความเสยี หายตอ ผวิ ถนนลาดยางและผวิ ถนนคอนกรตี

5.1.1 ความเสยี หายตอผิวถนนลาดยาง
การชํารุดของถนนลาดยางอาจเน่ืองมาจาก การลาของผิวถนน การทรุดตัวในช้ันดินคัน

ทาง พ้ืนทางหรือผิวทาง เกิดแรงเฉือนสูงเกินความสามารถของโครงสรางทาง สังเกตไดจากรอยยุบและ
การทะลักของดินในบริเวณใกลเคียง กอนทําการซอมแซมจะตองพิจารณาใหละเอียดจึงจะแกไขไดผลดี
โดยสามารถแบง ประเภทความเสียหายได 8 ประเภท ดงั นี้

1. ผิวถนนแตกลายหนงั จระเข (Alligator Crack)
2. เกิดหลุมบอบนผิวถนน (Pot Hole)

บทที่ 5 การตรวจสอบและบํารุงรกั ษาถนน ทางเดินและทางเทา 109

มาตรฐานถนน ทางเดิน และทางเทา

3. ผวิ ทางทรุดเปน รองตามแนวลอ (Ruts)
4. ทางชาํ รดุ เนอ่ื งจากแรงเฉอื น (Shear Failure)
5. ผิวถนนแตกตามความยาว (Longitudinal Cracks)
6. ผิวถนนเกดิ การเยม้ิ (Bleeding)
7. การทรดุ ตวั ในดินลึก (Deep Foundation Consolidation)
8. รอยแตกผลสะทอนจากผิวทางชนั้ ลาง (Reflection Cracking)
5.1.2 ความเสียหายตอ ผวิ ถนนคอนกรตี
การชํารุดของผิวทางคอนกรีตมีสาเหตุ 2 ประการคือ ประการแรก เกิดในตัวคอนกรีต
เอง เชน ใชสวนผสมไมเหมาะสม มีปูนซีเมนตนอยเกินไป หินที่ใชมีความแกรงไมพอ ใชน้ําไมสะอาด
ผสมคอนกรีต มีสารเคมีปะปน การเสริมเหล็กผิดตําแหนง ประการที่สอง เกิดจากพื้นทาง ดินคันทางไม
แข็งแรงพอเพียงเมื่อมีนํ้าหนักยานพาหนะบดทับทําใหเกิดการเสียหาย เชน การอัดทะลัก (Pumping and
Blowing) เกดิ รอยแตกบริเวณมมุ และรอยตอของแผน คอนกรตี ประเภทความเสยี หายแบง ออกไดด งั น้ี
1. ความแข็งแกรง ของคอนกรตี (Durability of Concrete)
2. ผิวหนา คอนกรตี หลุดลอน (Scaling)
3. รอยแตกเนือ่ งจากการหดตวั (Shrinkage Cracks)
4. รอยแตกเน่ืองจากเหลก็ เดือยฝงยดึ แนน (Frozen Dowel Bars)
5. รอยแตกเนอื่ งจากการหอตัว (Warping Cracks)
6. รอยแตกเน่ืองจากการหดตัวเมอื่ อณุ หภมู ติ าํ่ (Contraction Cracks)
7. การอัดทะลัก (Pumping and Blowing)
8. ผิวทางคอนกรีตแตกเนอ่ื งจากโครงสรางไมแขง็ แรง (Structural Breaking)
9. ผวิ ทางโกงแตกเพราะการขยายตวั (Blowup)
10. การเคลือ่ นตัวในชน้ั ใตดนิ ลึก (Deep Foundation Movement)
11. รอยตอระหวา งแผน คอนกรตี ทรุดตวั (Faulted or Depressed Joints)
12. การบดอดั ของลอ เฉพาะแนว (Channelized Traffic)
เม่ือชางหรือผูมีหนาท่ีรับผิดชอบไดทราบถึงปญหาการเสียหายตอถนนผิวทางลาดยาง
และผิวทางคอนกรีตแลว สามารถนํามาวิเคราะหหาสาเหตุและหาแนวทางแกไข โดยอาจจะตอง
ดําเนินการแกไขซอมแซมทันทีในกรณีท่ีมีความเสียหายมาก หรือหากเปนความเสียหายเล็กนอย อาจ
จดั เก็บเปน ขอมลู เพ่ือจดั หางบประมาณซอมแซมในภายหลัง

110 บทที่ 5 การตรวจสอบและบาํ รุงรกั ษาถนน ทางเดนิ และทางเทา

กรมสงเสริมการปกครองทอ งถิ่น กระทรวงมหาดไทย

5.2 การเกบ็ รวบรวมขอมลู

การเก็บรวบรวมขอมูลจากการตรวจสอบหรือไดรับแจงถึงความเสียหายของผิวถนน ทางเดิน
และทางเทาแลว ใหผูท่ีมีหนาที่รับผิดชอบดําเนินการบันทึกขอมูลความเสียหายในแบบฟอรมภาคผนวก
หนา 16 - 17 แลวพิจารณาวาสมควรทําการซอมแซมโดยเรงดวน หรือรวบรวมขอมูลเพื่อใชในการ
แยกประเภทการบํารงุ รกั ษาถนน ทางเดินและทางเทา ตอ ไป

5.3 การแยกประเภทการบํารงุ รกั ษาถนน ทางเดนิ และทางเทา

การแยกประเภทการบํารุงรักษาถนน ทางเดินและทางเทาจะทําใหผูท่ีมีหนาที่รับผิดชอบ
สามารถประเมินความเสียหายที่เกิดข้ึนตามลําดับความสําคัญและเหมาะสมกับงบประมาณขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่นที่มีอยู เพ่ือเปนขอมูลประกอบการตัดสินใจในการดําเนินการบํารุงรักษาตอไป
โดยแบง การบํารงุ รกั ษาไดเ ปน 4 ประเภทดงั นี้

1. งานบาํ รงุ รักษาปกติ
หมายถึง งานบํารุงรักษาถนนท่ีทําเปนประจําตลอดเวลา เพ่ือใหถนนอยูในสภาพใชงานไดดี

และเพ่ือไมใหเกิดความเสียหายลุกลามเพ่ิมข้ึน เชน งานปรับสภาพถนนลูกรัง งานซอมแซมหลุมบอถนน
รอยแตกตา งๆ ที่ผวิ ถนนลาดยางและผิวถนนคอนกรีต รวมทัง้ งานซอมบํารุงไหลทาง ทางเดนิ และทางเทา

2. งานบํารุงรักษาถนนตามกาํ หนดเวลา
หมายถึง งานบํารุงรักษาถนนตามชวงเวลาท่ีกําหนดเพ่ือเปนการตออายุใหถนนอยูใน

สภาพท่ีใชการไดนานข้ึน เชน งานฉาบผิวแอสฟลต งานเสริมผิวลูกรัง และงานบูรณะถนนผิวแอสฟลต
หรอื ผวิ คอนกรตี

3. งานบํารุงพเิ ศษ
หมายถึง งานบํารุงรักษาถนนโดยการเสริมแตงปองกันถนนท่ีชํารุดเกินกวางานซอม

บํารุงปกติสามารถปฏิบัติได เพื่อใหถนนยังคงสภาพเดิม ขนาดและความแข็งแรงทัดเทียมกับตอน
กอสราง แตไมไ ดหมายถงึ งานทีจ่ ะทาํ ใหด ขี ึน้ หรอื แข็งแรงกวาเดมิ ไดแ ก งานปรับระดบั ผวิ ถนนโดยการ
ซอมแซมผิวแอสฟล ต งานซอ มไหลท าง ทางเดนิ และทางเทา ทางเชอื่ มและเกาะกลางถนน

4. งานบํารุงฉกุ เฉนิ
หมายถึง งานซอมบํารุงถนนท่ีชํารุดเสียหายมาก ใหสามารถเปดใชงานในขั้นแรกได

รวมถงึ งานซอมบํารุงใหถนนมีสภาพเหมือนเดิมหรือเปดใชงานได เชน การซอมแซมถนนท่ีเสียหายอัน
เกิดจากอุทกภัย งานแกการลื่นไถลอันเกิดจากผิวจราจรมีความฝดลดต่ําลงจนทําใหเกิดอันตรายกับ
ยวดยานทสี่ ญั จรไปมา เปนตน

บทท่ี 5 การตรวจสอบและบาํ รุงรกั ษาถนน ทางเดินและทางเทา 111

มาตรฐานถนน ทางเดนิ และทางเทา

5.4 การดาํ เนินการซอมแซมผวิ ถนน ทางเดินและทางเทา

การดาํ เนินการซอ มแซมผิวถนน ทางเดนิ และทางเทาจะกระทําข้นึ ไดต อ งไดรับการพิจารณาหา
สาเหตุจากความเสียหายท่ีเกิดขึ้นกอนเปนอันดับแรก เมื่อผูท่ีมีหนาท่ีรับผิดชอบไดประเมินความเสียหาย
แลว สามารถศึกษาหาวธิ กี ารซอ มแซมบาํ รุงรักษาได ดงั ตอ ไปน้ี

วิธีการซอมแซม บํารุงถนนลาดยาง (แยกออกเปนความเสียหายท่ีเกิดขึ้นบอยครั้ง) แบงได 4
ลักษณะ พรอ มวธิ กี ารซอ มแซม ดังน้ี

1. รอยแตกแบบหนังจระเข ไดแก รอยแตกท่ีตอเนื่องกันเปนตารางเล็กๆ คลายหนังจระเข
หรอื ลวดตาขาย

สาเหตุของรอยแตกแบบนี้เกิดจากการทรุดตัวมากเกินไปของถนนท่ีกอสรางบนดินคัน
ทางหรือบนช้ันสวนลางของพื้นทางที่ไมมีเสถียรภาพ ความไมมีเสถียรภาพและการรับน้ําหนักไมไดนั้น
เปน ผลเนือ่ งมาจากพื้นทางและดนิ คนั ทางอ่ิมตัว

วิธีการซอ มแซมแบบถาวรคอื
1.1 ขุดเอาผิวและพ้ืนท่ีที่ชํารุดออกใหลึกท่ีสุดเทาท่ีจําเปน จนถึงชั้นแนนแข็ง และให

ขุดขยายออกไปดา นขา งอีกขา งละ 30 เซนติเมตร รอบๆ บรเิ วณทแี่ ตกรา ว
1.2 ถานํา้ เปนสาเหตุแหง การชํารุดใหจัดระบบระบายนํ้าใหม
1.3 ใหแ ทคโคท (Tack Coat) บรเิ วณผนังขา งของหลุมทกุ ดา น
1.4 เพ่ือใหผลงานที่ดีใหกลบซอมหลุมดวยวัสดุผสมยางแบบผสมรอนจากโรงงาน

ชนิดความหนาแนน(Dence Grade) แลวเกล่ียแตงดวยความระมัดระวังอยาให
สว นผสมแยกตัว
1.5 ถาหลมุ ที่ซอ มลกึ เกนิ 15 เซนติเมตร การบดทับตองทําทีละชั้นใหทั่วถึง การบดอัด
ใหท ําดว ยเคร่ืองมือทีม่ ีขนาดเหมาะสมกบั งาน
2. รอยแตกท่ีรอยตอของพื้นทาง ไดแกรอยแตกตรงขอบรอยตอที่มีลักษณะเปนรอยตะเข็บ
ซ่ึงเปน การแยกขอบรอยตอระหวางขอบพน้ื ทางกบั ไหลทาง
สาเหตุที่ทําใหเกิดการแตกแยกระหวางไหลทางกับพ้ืนทางนี้ อาจเกิดจากวัสดุสวนที่อยู
ในไหลทางบริเวณนั้น สภาวะเปยกแลวแหง แหงแลวเปยกสลับกันไปอยูตลอดเวลา กรณีนี้เปนกรณีท่ี
เกิดข้ึนไดจากไหลทางสูงกวา พนื้ ทาง ทําใหการระบายน้าํ ไมด ีหรือเกิดจากการยุบตวั ของขอบพ้นื ทาง
วธิ กี ารซอมแซมคอื ถา น้ําเปน สาเหตุ ขั้นแรกสิ่งที่ตองทําคือ การปรับปรุงระบบระบาย
นาํ้ ไมใ หขังในรอยตอแลว จงึ ทําการซอมรอยแตกตอ ไป

112 บทท่ี 5 การตรวจสอบและบํารุงรักษาถนน ทางเดินและทางเทา

กรมสงเสริมการปกครองทองถิน่ กระทรวงมหาดไทย

3. รอยแตกที่เกิดจากการหดตัว เปนรอยแตกท่ีเชื่อมโยงติดตอกันเปนตารางใหญๆ โดยมี
มมุ คอนขา งแหลมยาว

สาเหตุท่ีทําใหเกิดรอยแยกแตกแบบนี้ เปนการยากท่ีจะทราบไดวารอยแตกนั้นเกิดขึ้น
จากการเปล่ียนแปลงทางปริมาตรของตัวพื้นทางหรือจากตัวคันทาง มีบอยครั้งท่ีเกิดจากการเปล่ียนแปลง
ทางปริมาตรของสวนผสมละเอียดท่ีมีอยูในยางผสม ซึ่งมีแอสฟลตที่มีความซึมไดนอยผสมอยูเปน
จาํ นวนมาก ถาไมม ีการจราจรผา นไปมาชว ยในการบดทับแลวจะทาํ ใหเ กดิ การแตกแบบน้ีได

วิธีการซอมคือ อุดรอยตอดวยยางมะตอยน้ําและสาดทับดวยผิวทางแบบเซอรเฟสทรีต
เมนตห รอื ฉาบผิวแบบสเลอร่ีซิลใหเ ต็มหนาถนน โดยมีขั้นตอนดงั นี้

(1) กวาดและใชเครื่องอัดลมเปาสวนท่ีหลุดออกจากรอยแตกและผิวหนาของผิวถนน
ใหหมด

(2) ราดผวิ หนาของพนื้ ทางและรอยแตกดวยนํา้ ใหท่วั
(3) เมื่อผิวหนาดังกลาวมีความช้ืนสมํ่าเสมอดีแลวและไมมีน้ําเหลืออยูใหแทคโคท

ดวยยางอมี ลั ช่ันผสมกบั น้ําดว ยอตั ราสวน 1: 1 โดยปริมาตร
ข้นั ตอนการเตรยี มผสมสเลอรซ่ี ลิ
(1) เทยางท่ีเตรียมไว อุดรอยแตกและเกลี่ยแตงดวยไมกวาดและหากมีรอยแตกมาก

ใหส าดสเลอรี่ซลิ ใหเต็มผิวหนา ถนน
(2) เมอื่ สวนผสมสเลอรซ่ี ลิ ระเหยไดทแี่ ลวใหปูผิวแบบเซอรเ ฟสทรีตเมนตเตม็ หนา ถนน
4. การเกิดรองลอบนพื้นทาง ไดแกการทรุดตัวของผิวทางไปตลอดความยาวของรองลอ
เมือ่ ดตู ามขวางจะเปนรปู คลายราง 2 รางไปตามแนวถนน
สาเหตุเกดิ จากการทรุดตัวหรือการเคลื่อนที่ออกไปขางๆ ของวัสดุในชั้นท่ีอยูใตผิวถนน
ซึ่งอาจจะมีช้ันเดียวหรือหลายช้ันเมื่อมีการจราจรวิ่งผาน หรืออาจจะเกิดจากแรงกดของน้ําหนักของผิวถนน
เอง แมแตถนนลาดยางที่สรางเสร็จใหมๆ ก็อาจจะเกิดขึ้นได หากการบดทับในระหวางการกอสรางนอยไป
นอกจากน้อี าจจะเกดิ จากวสั ดุในช้นั ใตผิวทางมีการเคล่อื นไหวอยูเสมอไมอยูตวั ทาํ ใหรบั น้ําหนักไมได
วิธีการซอมคือ ใหปรับระดับพื้นท่ีเกิดรองลอดวยยางผสมรอนจากโรงงาน และปูทับ
ดว ยยางผสมรอ นจากโรงงานอีกช้นั หน่งึ บางๆ ลาํ ดับขัน้ ตอนในการซอ มมีดังนี้คอื
(1) ใหวัดหาบริเวณท่ีเกิดการทรุดตัวดวยไมบรรทัดหรือเชือกขึงระดับ ใหขีดวงรอบ

บริเวณทจ่ี ะตอ งทาํ การเสริมระดับไว
(2) พนแทคโคท (0.25 – 0.75) ลิตร/ 1 ตารางเมตร ดวยยางอีมัลชันที่ผสมน้ําดวย

อัตราสวน 1: 1 โดยปรมิ าตร

บทที่ 5 การตรวจสอบและบํารุงรกั ษาถนน ทางเดนิ และทางเทา 113

มาตรฐานถนน ทางเดิน และทางเทา

(3) ใหเ กล่ยี ผิวถนนดวยแอสฟลตคอนกรีตแบบความหนาแนนใหเต็มรองลอที่ทรุดตัว
ดว ยเครื่องปู

(4) บดอดั ดวยรถบดลอ ยาง
(5) ปทู บั ดวยยางผสมรอนจากโรงงานผสมยางดว ยชน้ั บางๆ
วิธีการซอมแซมบํารุงถนนคอนกรีตน้ัน สามารถซอมแซมดวยแอสฟลตคอนกรีต
โดยยังไมจ าํ เปน ตองทําการร้ือคอนกรีตเดิมท้ิง เพียงแตตองทําความเขาใจในการใชแอสฟลตคอนกรีตใน
การบํารุงรกั ษาถนนคอนกรีตเสียกอ น
ความสําคญั ของแอสฟล ตคอนกรีตในการบํารงุ รกั ษาถนนคอนกรีต
แอสฟลตสามารถใชในการอุดรอยตอและรอยแตกของถนนคอนกรีตได อีกทั้งแอสฟลต
คอนกรีตยังสามารถยกระดับถนนคอนกรีตเดิมไดและชวยในการซอมพ้ืนที่ที่เกิดความเสียหายเปนรอย
แตกขนาดเลก็ ใหส ามารถใชงานตอไปได ตลอดจนปดผิวหนาของถนนที่ชํารุด ประโยชนของแอสฟลต
และแอสฟลตคอนกรีตที่นํามาใชใ นการซอมแซมบาํ รุงรักษาถนนคอนกรีตมดี งั นี้
1. การอุดรอยตอและรอยแตก จําเปนตองยารอยตอและรอยแตกดวยเหตุผลหลายประการ
เชน ปองกันไมใหน้ําจากผิวทางซึมลงไปที่พ้ืนทาง ซึ่งหากน้ําสามารถซึมลงไปในช้ันพื้นทางแลวจะ
กอใหเกิดความเสียหายกับชั้นพ้ืนทางทําใหความสามารถในการรับกําลังของชั้นพ้ืนทางลดลง สงผล
กระทบกับการรับกาํ ลงั กับชั้นผิวถนนคอนกรีตได
ในการยาแนวรอยตอและรอยแตก จะตองทําความสะอาดรอยตอและรอยแตกกอน ดวย
เคร่ืองเซาะรองหรือเครื่องกําจัดทราย เพ่ือชวยใหสะดวกในการทํางานของเคร่ืองอัดลม ควรมีหัวฉีดท่ีได
ขนาดพอดีสามารถเปาเขาไปในรองรอยแตกที่ตองการซอมแซม ในการยาแนวรอยตอจะตองใหวัสดุเขาไป
อุดรอยแตกอยางพอดี ถาใชวัสดุยาแนวรอยแตกแบบรอนในการอุดรอยแตกที่ลึก วัสดุยาแนวรอยแตก
จะยุบตวั เมือ่ เยน็ ตัวลง จาํ เปนทจ่ี ะตอ งใสว สั ดยุ าแนวรอยแตกเพิ่มอีก เพ่ือใหไดระดับกับผิวถนนคอนกรีต
พอดี
ในการยาแนวรอยแตกผิวถนน ทางว่ิงอีกชองทางมักจะเปดใหมีการจราจรปกติ ดังน้ัน
จึงเปนวิธีท่ีดีตอพนักงานซอมบํารุงจะเร่ิมยาแนวรอยแตกจากกึ่งถนนออกไปหาขอบถนน ทั้งนี้เพื่อ
ปอ งกันอนั ตรายอันอาจเกิดขน้ึ ไดจากการหันหลังใหยวดยานที่ว่งิ ไปมา
หากจําเปนตองเปดใชถนนภายหลังยาแนวรอยแตกทันทีจะตองปองกันไมใหวัสดุที่ใช
ยาแนวรอยแตกหลุดออก เพราะแรงท่ีกระทําจากลอรถที่แลนผานไปมา แกไขโดยการโรยทรายละเอียด
ขีเ้ ลื่อยหรอื วัสดุอ่ืนใดท่ีคลา ยคลงึ กันลงทร่ี อยตอและรอยแตก

114 บทท่ี 5 การตรวจสอบและบํารุงรกั ษาถนน ทางเดินและทางเทา

กรมสงเสรมิ การปกครองทองถนิ่ กระทรวงมหาดไทย

2. การทําชั้นผิวถนนลาดยางใหมทับถนนคอนกรีตเดิม (Overlay) เปนการบํารุงรักษาและ
แกไ ขปญ หาความชาํ รุดเสยี หายตา งๆ ทเ่ี กิดข้นึ หลายแหง บนพนื้ ถนนคอนกรตี

วิธีการแกไขท่ีใหผลดี คือ การปูทับผิวหนาถนนคอนกรีตดวยแอสฟลตคอนกรีต เชน
ถนนคอนกรีตที่บิดงอผิดรูปอาจทําใหกลับเรียบไดดังเดิมโดยการใชแอสฟลตคอนกรีตผสมรอนปูทับ
หนาผวิ หนาของผิวถนนท่ีหลดุ รอ น

การทําชั้นผิวถนนทับหนาทางเดิมสามารถแกไขปญหาการล่ืนไถลไดดวย โดยท่ัวไป
การทําเชนนี้เรียกวา การกอสรางมากกวาการซอมแซม แตสําหรับการทําช้ันผิวถนนทับหนาในระยะทาง
สัน้ ๆ นัน้ อาจเปนการซอมแซมบํารุงรักษาก็ได ฉะน้ันขึ้นอยูกับผูมีหนาท่ีรับผิดชอบในการดูแลรักษาเปน
ผตู ัดสินใจในการเลือกประเภทการบํารุงรักษาซอมแซม หรืออาจจะพิจารณาจากงบประมาณท่ีหนวยงาน
มอี ยูเ ปนเกณฑการตัดสินใจ

การซอมแซมถนนคอนกรีตยังมีอีกสาเหตุหน่ึง คือ การเกิดโพรงใตพื้นคอนกรีต
บางคร้ังเมื่อดินคันทางเกิดการทรุดตัวหรือเกิด Pumping ภายใตแผนคอนกรีต จะทําใหเกิดโพรงขึ้น
ภายใตพ ้นื ทางสวนนนั้ ซง่ึ จาํ เปน ตอ งแกไ ขเพื่อชวยใหพ ื้นทางมนั่ คงข้นึ และจะชวยไมใ หเกดิ การพังทลาย
ในชั้นตอไป โดยการใชน้ําซีเมนตอัดเขาไปใตโพรงคอนกรีต เพื่อลดการทรุดตัวของแผนคอนกรีต และ
ปองกันไมใหว ัสดใุ นชั้นพ้ืนทางเกดิ ความเสยี หายและทะลกั ขึน้ มาบนแผน คอนกรีต

5.5 การจดั ทาํ แผนงบประมาณซอ มบํารงุ รกั ษาถนน

งานบํารุงรักษาถนนมีความสําคัญตออายุการใชงานและความม่ันคงแข็งแรงของถนน เมื่อ
กอ สรางเสรจ็ แลว และเปดใชไ ประยะเวลาหน่ึงแลวอาจจะเกิดการชํารุดเสียหายตามมา เน่ืองจากการเส่ือม
ตามสภาพ การบรรทุกน้ําหนักของยวดยานและจากภัยธรรมชาติ เม่ือตรวจพบตองรีบดําเนินการ
ซอมแซมทันทีเพ่ือปองกันมิใหความเสียหายลุกลามแผวงกวางออกไปจนยากตอการซอมบํารุงหรือตอง
ใชงบประมาณจํานวนมากโดยไมจําเปน การจัดทําแผนงบประมาณซอมบํารุงรักษาถนนมีวัตถุประสงค
เพื่อทําใหถนนอยูในสภาพดีและเปนการประหยัดงบประมาณซอมบํารุง นอกจากน้ียังทําใหผูใชถนน
ไดรับความสะดวกในการเดินทางอยางรวดเร็วและปลอดภัย ท้ังนี้การจัดทําแผนงบประมาณซอม
บํารุงรักษาถนนตอ งมกี ารประมาณราคาการดําเนินงานซอมบํารุง ซ่ึงแตกตางกันไปตามลักษณะการซอม
บาํ รุงและประเภทถนน โดยไดกาํ หนดราคาเฉลี่ยตอหนว ยโดยสังเขปตามตารางท่ี 5-1 ดังนี้

บทที่ 5 การตรวจสอบและบาํ รุงรักษาถนน ทางเดินและทางเทา 115

มาตรฐานถนน ทางเดิน และทางเทา

ตารางท่ี 5-1 ตารางแสดงราคางานเฉลย่ี ดา นตา งๆ ของงานบํารงุ รกั ษาถนน ทางเดนิ และทางเทา

ประเภทถนน/การบาํ รุงรักษา หนว ย ราคาตอ หนว ย ดาํ เนินการโดย

งานบํารุงรักษาปกติ อปท.
อปท.
- ผิวถนนลูกรงั กม. 16,000 อปท.

- ผวิ ถนนลาดยาง กม. 24,000 จา งเหมา
จา งเหมา
- ผวิ ถนนคอนกรีตเสรมิ เหลก็ กม. 9,000 จา งเหมา

งานบํารุงรักษาถนนตามกําหนดเวลา จางเหมา
จางเหมา
- เสรมิ ผิวถนนลูกรัง กม. 90,000 จา งเหมา
จา งเหมา
- ฉาบผิวแอสฟลตคอนกรีต กม. 310,000 จางเหมา

- เสริมผิวแอสฟลตค อนกรีต กม. 1,180,000

งานบํารุงพเิ ศษและงานบํารุงฉุกเฉิน

- ซอมสรา งผวิ ลูกรัง กม. 350,000

- ซอ มสรา งผวิ เคปซีล กม. 1,100,000

- ซอมสรา งผิวแอสฟลตคอนกรีต กม. 1,600,000

- ซอมสรางผิวคอนกรีต กม. 3,500,000

- บรู ณะลาดยาง กม. 2,300,000

* อปท. หมายถึง องคก รปกครองสว นทอ งถ่ิน

116 บทที่ 5 การตรวจสอบและบาํ รุงรกั ษาถนน ทางเดินและทางเทา

กรมสงเสริมการปกครองทอ งถิ่น กระทรวงมหาดไทย

ภาคผนวก

ภาคผนวก

กรมสง เสริมการปกครองทอ งถิ่น กระทรวงมหาดไทย

แบบฟอรม การข้นึ ทะเบียนประวัติโครงการกอสราง บูรณะ และซอ มสรางถนน

ถนนองคก รปกครองสว นทอ งถนิ่ ......................

รายละเอยี ดโครงการ ปง บประมาณ......……............

ลักษณะกจิ กรรม ( ) กอ สรา ง ( ) บูรณะ

( ) ซอ มสราง ( ) เสริมผิว

ประเภทถนน ( ) เขตชมุ ชน ( ) นอกเมือง

ผวิ จราจร ( ) คสล. ( ) ลาดยาง ( ) ลกู รงั

( ) อ่นื ๆ (ระบ)ุ .......................................................

ถนนกวา ง..........................เมตร

ไหลทาง ทางเดนิ หรือทางเทา กวาง...................................เมตร

ชอื่ โครงการ....................................................................................สาย.................................................................................................

อําเภอ..............................................................................................จังหวดั ...........................................................................................

ระยะทางตลอดสาย.............................................กม. ดาํ เนนิ การแลว...................................กม. คงเหลือ....................................กม.

ไดร ับงบประมาณปน้รี ะยะทาง...............................................กม. ชว ง กม. ............................. - กม.............................

พรอ ม ( ) สะพาน คสล. ที่ กม. ...................................................รายละเอียด.................................................................................

( ) ทอเหลี่ยม คสล. ที่ กม.................................................รายละเอียด................................................................................

ดาํ เนินการโดย.................................................................................วิธดี ําเนินการ ( ) จา งเหมา ( ) ทาํ เอง

งบประมาณทีไ่ ดร บั / วงเงนิ ตามสัญญา........................................................บาท ใชจ า ยจรงิ ......................................................บาท

(กรณีดําเนินการโดยวิธีจา งเหมาโปรดกรอกที่ ขอ 1 หากโดยวธิ ีจดั ทําเองโปรดกรอกที่ ขอ 2 )

1. สญั ญาเลขท่ี.................................................ลงวันที่ ..........................................ผรู บั จาง................…………………......................

เรมิ่ สัญญาวันท่ี..............................................................................สิ้นสุดสญั ญาวันท.ี่ ..................…………………........................

กอสรา ง / บรู ณะ / ซอม / เสริมผิว / แลวเสรจ็ จริง เมอื่ วนั ที่........................................................................................……………

ตรวจรบั งานงวดสุดทา ย เมือ่ วนั ท.ี่ ...............................................................................................................................………........

2. เร่มิ กอ สรา ง / บรู ณะ / ซอ ม / เสริมผวิ เมือ่ วันท.่ี .........................................................................................................…………….

กอ สราง / บรู ณะ / ซอม / เสรมิ ผิว / แลวเสร็จจรงิ เมอื่ วันท.ี่ .........................................................................................…………...

รายละเอียดการกอสรางจริง

ชว ง กม. ......................................................... - กม. .................................................................ระยะทาง ......................................กม.

เวน ชวงการกอ สรา ง / บรู ณะ / ซอม / เสริมผวิ เนือ่ งจาก........สะพาน .........ทอ เหล่ยี ม.........ทางขามนา้ํ .........ทางเดิม .........หรอื .

อน่ื ๆ (ระบุ).............................................................................................................................................................................................

เวน ........................................ท่ี กม. ...................................... - กม. ................................ความยาว ...........……………............ม.

เวน........................................ที่ กม. ...................................... - กม. ................................ความยาว ....................….…………..ม.

เวน ........................................ท่ี กม. ...................................... - กม. ................................ความยาว .............……..………….....ม.

รวมความยาวทงั้ สน้ิ ทเ่ี วน .........................................ม.

รวมเปน ระยะทางกอ สรางจริง .................................................ม.

ลงช่อื ..................………........................................................
(......................…….......................................................)

ตาํ แหนง .........…………………...........................................................

ภาคผนวก 1

มาตรฐานถนน ทางเดนิ และทางเทา

แผนทสี่ ังเขปการเก็บขอ มูลถนน ทางเดินและทางเทา

วันทีท่ าํ การสาํ รวจขอ มลู .....................................................................
ผบู นั ทกึ ขอมลู ...................................................................................
รายละเอยี ดถนน ทางเดินและทางเทา ....................................................................................
...............................................................................................................................................

รายละเอยี ดเพิม่ เตมิ ..............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................

2 ภาคผนวก

กรมสงเสรมิ การปกครองทอ งถน่ิ กระทรวงมหาดไทย

แบบฟอรม รปู ถายถนน ทางเดินและทางเทา

รูปเลขที่ ...........

รูปเลขที่ .........……

รายละเอยี ดเพม่ิ เติม.............................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

ภาคผนวก 3

มาตรฐานถนน ทางเดิน และทางเทาประมาณราคาคากอ สรางแบบเลขที่แบบ ปร.4 แผนที่ 1/1
สถานท่ีกอสราง เมอ่ื รายการเลขที่
4 ภาคผนวกฝา ยประมาณราคา หนวยงาน
ประมาณการโดย

ลําดบั ท่ี รายการ จาํ นวน หนวย ราคาวสั ดสุ ิง่ ของ คา แรรงงาน คาวัสดแุ ละ หมายเหตุ

ราคาตอหนว ย จํานวนเงิน ราคาตอ หนว ย จาํ นวนเงิน แรรงงาน

1 งานเคลียรพืน้ ท่ี - ม2 - - - - -

2 งานบดอัดดินเดมิ - ม2 - - - - -

3 งานทรายคนั ทาง - ม3 - - - - -

4 งานช้ันรองพน้ื ทาง (ลกู รงั ) - ม3 - - - - -

5 งานชนั้ ทาง (หินคลกุ ) - ม3 - - - - -

6 งานช้ันทรายกรองนํา้ - ม3 - - - - -

7 งานคอนกรีตคุณภาพ 240 กก/ตร.ซม. - ม3 - - - - -

8 งานเหลก็ เสรมิ RB 6 มม. - ตนั - - - - -

9 งานลวดผูกเหล็ก - กก. - - - - -

10 งานไมแบบ - ม2 - - - - -

11 งานรอยตอกันแตกราว -ม - - - - -

12 งานรอยตอ กนั การขยายตัว -ม - - - - -

13 งานรอยตอ ตามยาว -ม - - - - -

รวม

กรมสงเสรมิ การปกครองทองถนิ่ กระทรวงมหาดไทย

สรปุ ผลการประมาณราคาคากอสรา งเบ้อื งตน

หนว ยงาน แบบ ปร. 5
ประเภท

เจาของอาคาร

สถานท่ีกอ สรา ง

หนวยงานออกแบบแปลนและรายการ

แบบเลขที่

ประมาณราคาตามแบบ ปร. 4 จํานวน 1 แผน

ประมาณราคาเม่ือวันที่

ลาํ ดบั รายการ คา วัสดแุ ละคาแรงงาน Factor F คากอ สรางทัง้ หมด หมายเหตุ
ท่ี
รวมเปน เงนิ (บาท) รวมเปนเงนิ (บาท)

สวนท่ี 1 คา งานตน ทนุ - -
1 ประเภทงานอาคาร
2 ประเภทงานทาง
3 ประเภทงานชลประทาน
4 ประเภทงานสะพานและทอเหล่ียม

เงือ่ นไข เงินลว งหนาจาย 0%
เงินประกันผลงานหกั 0%
ดอกเบ้ียเงินกู 6%

สว นที่ 2 คา ใชจ ายพิเศษตาม -
ขอกําหนด
คา ใชจ ายพเิ ศษตามขอ งกาํ หนด (รวมภาษีมูลคาเพิ่มแลว)
รวมคา กอ สรา งเปน เงนิ ทงั้ สน้ิ
คิดเปนเงินประมาณ ตร. ม.
ตัวอกั ษร บาท/ตร.ม.
ขนาดหรือเนือ้ ที่อาคาร
เฉลี่ยราคาประมาณ

ผูประมาณการ......................................................... ความเหน็ ชอบของผอู นุมัติ....................................
()
ผูอ นุมตั ิ.................................................................
ผตู รวจ .................................................................. ()
()

ภาคผนวก 5

มาตรฐานถนน ทางเดนิ และทางเทา

หลกั เกณฑการใชตาราง Factor F

(ปรับปรงุ ตามมตคิ ณะกรรมการควบคมุ ราคากลาง

ในการประชุมครงั้ ท่ี 1/2546 เมื่อวันที่ 30 มิถนุ ายน 2546)

1. กรณีคา งานอยรู ะหวางชวงของคางานตน ทนุ ท่กี ําหนด ใหเ ทยี บอัตราสวนเพ่อื หา Factor F

2. งานสะพานและ/หรือทอเหล่ียม ทางแยกตางระดับท่ีอยูในงานทาง ใหแยกคางานตนทุน

และใชF actor F งานสะพานและทอเหล่ียม

3. กรณพี น้ื ทกี่ อสรา งอยูในพ้ืนทีท่ มี่ ีฝนตกชุกตามที่ปรากฏในตาราง Factor F กรณีฝนตกชุก

(ภาคผนวกหนา 6) ใหนํา Factor F จากตารางดังกลาว มาบวกเพิ่มกับคา Factor F ปกติ (ภาคผนวกหนา 7-8)

ตามตวั อยา ง

โครงการกอสรา งทางหลวงในเขตพื้นที่จังหวัดเชยี งราย

ตน ทนุ คากอ สราง 100 ลา นบาท ไดค า Factor F ปกติ = 1.1767

จงั หวัดเชยี งรายเปนจังหวดั ทมี่ ีปรมิ าณนาํ้ ฝนเฉลี่ยตอป = 1,500 – 2,000 มม.

ซง่ึ ตามตาราง Factor F ใหเพ่ิมคา Factor F อีก 1.5 %

Factor F ฝนตกชกุ = 1.1767 + (1.50/100) = 1.1917

4. ตาราง Factor F น้ี ใชไ ดก บั คา นา้ํ มันเชอ้ื เพลิงทกุ ราคา แตจ ะแปรเปลี่ยนตามอัตราดอกเบ้ีย

เงนิ กธู นาคารพาณิชยอ ตั ราการจายเงินลวงหนา อตั ราการหักเงนิ ประกนั ผลงาน และอตั ราภาษมี ูลคาเพิ่ม

5. อัตราดอกเบี้ยเงินกู เปนอัตราดอกเบ้ียข้ันต่ําในการกูสําหรับลูกคาชั้นดี (MLR) เปนอัตรา

ของธนาคารกรงุ ไทย จาํ กดั (มหาชน) ซงึ่ กระทรวงการคลัง (กรมบัญชีกลาง) จะเปน ผแู จงเวียนใหสวนราชการ

ทราบและนําไปใช

6. กรณีใชเงินกูจากแหลงเงินกู 100 % ใชคา Factor F จากชอง รวมในรูป Factor (ที่ยัง

ไมรวม VAT)

7. กรณีใชเงินกูจากแหลงเงินกูและมีเงินงบประมาณสมทบ ใหใชตาราง Factor F สําหรับ

กรณีเงินกูและกรณีงานกอสรางทาง มีคางานตนทุน 100 ลานบาท ใชเงินกู 70% และเงินงบประมาณ

สมทบ 30 % กําหนดเงนิ จา ยลว งหนา 15% เงินประกันผลงานหัก 10% อัตราดอกเบี้ยเงินกู 7% ตอป และ

ภาษีมลู คาเพ่ิม (VAT) 7%

Factor F กรณใี ชเงินกู จากชอ ง รวมในรูป Factor ของคา งานตนทนุ 100 ลา นบาท = 1.0939

Factor F กรณใี ชเงินงบประมาณ จากชอ ง Factor F ของคางานตนทนุ 100 ลานบาท = 1.1705

Factor F ทใ่ี ชในการคํานวณราคากลาง = (1.0939 x 0.7) + (1.1705 x 0.3) = 1.1169

8. ตาราง Factor F งานกอสรา งสะพานและทอ เหล่ยี ม ไมม ีการคิด Factor F กรณฝี นตกชกุ

6 ภาคผนวก

กรมสงเสริมการปกครองทอ งถิ่น กระทรวงมหาดไทย

Factor F กรณฝี นตกชุก

กรณีทีพ่ นื้ ทกี่ อ สรางอยูในเขตจงั หวดั ที่มปี ริมาณนาํ้ ฝนเฉล่ยี ตอ ปต ั้งแต 1,500 มม.ให
เพิ่มคา Factor F ดังน้ี

ปริมาณนํา้ ฝนเฉลย่ี ตอป เพม่ิ คา Factor F

มม. %
> 3,500 3.5
> 3,000 - 3,500 3
> 2,500 - 3,000 2.5
> 2,000 - 2,500 2
> 1,500 - 2,000 1.5

จังหวดั ทม่ี ปี รมิ าณนํา้ ฝนเฉลยี่ ตอปมากกวา 1,500 มม.

เพม่ิ คา Factor F เพ่ิมคา Factor F เพิม่ คา Factor F เพ่มิ คา Factor F เพิ่มคา Factor F
3.50% 3.00% 2.50%
ตราด - จันทบรุ ี 2.00% 1.50%
พงั งา กระบี่ เชยี งราย
ระนอง ตรงั มกุ ดาหาร
นครศรธี รรมราช ศรษี ะเกษ
นราธิวาส สกลนคร
พัทลงุ หนองคาย
ภเู ก็ต อํานาจเจรญิ
สตลู อบุ ลราชธานี
นครพนม ปราจนี บรุ ี
ยโสธร ชุมพร
ปต ตานี
ยะลา
สงขลา
สุราษฏรธ านี

ภาคผนวก 7

มาตรฐานถนน ทางเดิน และทางเทา

ตาราง Factor F งานกอสรางทาง

เงินลวงหนา จาย 0 % ดอกเบย้ี เงินกู 6 % ตอป
เงินประกันผลงานหัก 0 % คา ภาษีมูลคาเพ่มิ (VAT) 7%

คา งาน คา ใชจายในการดาํ เนินงานกอสรา ง รวม ภาษมี ลู คา เพิ่ม

(ทุน) คา % รวม ในรปู VAT Factor F

ลานบาท อํานวยการ คา คา คาใชจ า ย Factor 1.0700 1.3042
1.0700 1.2666
<5 15.3912 ดอกเบี้ย กําไร 21.8912 1.2189 1.0700 1.2292
10 11.8735 18.3735 1.1837 1.0700 1.2035
20 8.3746 1.0000 5.5000 14.8746 1.1487 1.0700 1.1962
30 5.9774 1.0000 5.5000 12.4774 1.1248 1.0700 1.1957
40 5.7934 1.0000 5.5000 11.7934 1.1179 1.0700 1.1961
50 5.7480 1.0000 5.5000 11.7480 1.1175 1.0700 1.1864
60 5.7812 1.0000 5.0000 11.7812 1.1178 1.0700 1.1811
70 5.3806 1.0000 5.0000 10.8806 1.1088 1.0700 1.1770
80 4.8862 1.0000 5.0000 10.3862 1.1039 1.0700 1.1737
90 4.5016 1.0000 4.5000 10.0016 1.1000 1.0700 1.1657
100 4.1939 1.0000 4.5000 9.6939 1.0969 1.0700 1.1634
110 3.9422 1.0000 4.5000 8.9422 1.0894 1.0700 1.1615
120 3.7324 1.0000 4.5000 8.7324 1.0873 1.0700 1.1599
130 3.5549 1.0000 4.0000 8.5549 1.0855 1.0700 1.1585
140 3.4027 1.0000 4.0000 8.4027 1.0840 1.0700 1.1626
150 3.2709 1.0000 4.0000 8.2709 1.0827 1.0700 1.1611
160 3.6529 1.0000 4.0000 8.6529 1.0865 1.0700 1.1598
170 3.5170 1.0000 4.0000 8.5170 1.0852 1.0700 1.1533
180 3.3963 1.0000 4.0000 8.3963 1.0840 1.0700 1.1562
190 3.2882 1.0000 4.0000 7.7882 1.0779 1.0700 1.1551
200 3.5524 1.0000 4.0000 8.0524 1.0805 1.0700 1.1541
210 3.4519 1.0000 3.5000 7.9519 1.0795 1.0700 1.1532
220 3.3604 1.0000 3.5000 7.8604 1.0786 1.0700 1.1524
230 3.2770 1.0000 3.5000 7.7770 1.0778 1.0700 1.1516
240 3.2005 1.0000 3.5000 7.7005 1.0770 1.0700 1.1509
250 3.1301 1.0000 3.5000 7.6301 1.0763 1.0700 1.1503
260 3.0651 1.0000 3.5000 7.5651 1.0757 1.0700 1.1497
270 3.0049 1.0000 3.5000 7.5049 1.0750
280 2.9491 1.0000 3.5000 7.4491 1.0745 1.0700 1.1491
1.0000 3.5000 1.0700 1.1486
290 2.8971 1.0000 3.5000 7.3971 1.0740 1.0700 1.1475
300 2.8485 7.3485 1.0735
350 2.7463 1.0000 3.5000 7.2463 1.0725
1.0000 3.5000
1.0000 3.5000

8 ภาคผนวก

กรมสงเสรมิ การปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย

ตาราง Factor F งานกอ สรางทาง (ตอ)

เงินลวงหนาจา ย 0 % ดอกเบ้ยี เงนิ กู 6 % ตอ ป
เงนิ ประกนั ผลงานหัก 0 % คา ภาษมี ูลคาเพม่ิ (VAT) 7%

คางาน คาใชจา ยในการดาํ เนินงานกอสรา ง รวม ภาษีมูลคาเพม่ิ

(ทนุ ) คา % รวม ในรูป VAT Factor F
อาํ นวยการ คา คา คาใชจาย Factor
ลานบาท ดอกเบ้ีย กําไร 1.0700 1.1456
2.5636 7.0636 1.0706 1.0700 1.1441
400 2.4216 1.0000 3.5000 6.9216 1.0692 1.0700 1.1428
450 2.3079 1.0000 3.5000 6.8079 1.0681 1.0700 1.1428
500 2.3079 1.0000 3.5000 6.8079 1.0681
> 500 1.0000 3.5000

หมายเหตุ

1. กรณีคางานอยรู ะหวางชว งของคางานตนทุนทก่ี ําหนด ใหเ ทียบอัตราสวนเพือ่ หาคา Factor F
2. ถาเปน งานเงินกู ใหใช Factor F ในชอง "รวมในรปู Factor"

ภาคผนวก 9

มาตรฐานถนน ทางเดนิ และทางเทา

ตัวอยา งแผน ปายแสดงรายละเอยี ดงานกอสราง

โครงการกอสรางของ (ชอื่ องคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ )
โทร........………………………….............

ประเภทของสงิ่ กอสรา ง...........................................................................................................
ปรมิ าณงานกอ สราง (ใหระบรุ ายละเอยี ดใหม ากทสี่ ดุ เทาที่สามารถตรวจสอบได).................
ชือ่ ทอ่ี ยู หมายเลขโทรศัพท ผูรับจาง (ช่อื บุคคลและนติ ิบคุ คล)..............................................
ระยะเวลาเร่มิ ตน และระยะเวลาส้ินสุด รวมเปน ระยะเวลากี่วัน.............................................
วงเงินงบประมาณทีไ่ ดตง้ั ไวห รอื ท่ไี ดรบั ................................................................................
ราคากลาง คากอ สราง..............................................................................................................
วงเงินคากอ สรางตามท่ีไดลงนามในสัญญาจา ง.......................................................................
ชือ่ กรรมการตรวจการจาง และผูควบคมุ งาน พรอมหมายเลขโทรศพั ท. .................................

หมายเหตุ -วัสดทุ ่ใี ชทําแผน ปา ยใหใ ชแ ผนเหล็ก หรือไมอัด
ขนาดกวางไมน อยกวา 1.20 เมตร ยาวไมน อ ยกวา 2.40 เมตร

10 ภาคผนวก

กรมสงเสรมิ การปกครองทองถ่นิ กระทรวงมหาดไทย

องคก รปกครองสว นทองถน่ิ ........................................................................

แบบฟอรม รายงานประจาํ วนั งานกอ สรา ง....................................................

ประจําวันท่ี .....................เดือน ....................................พ.ศ. ................

ช่อื โครงการ...............................................................................................................................................................
ทตี่ ง้ั โครงการกอ สรา ง............................................................................ชวง กม. ...................... – กม. ...........….....
ตาํ บล....................................................อําเภอ...........................................จังหวัด.....................................................
สญั ญาจางเลขท่ี ................................................ลงวันท่ี ...................เดอื น......................................พ.ศ. ...........…...
เริ่มสญั ญาวนั ที่ ...........เดอื น.......................พ.ศ. ...........ส้ินสุดสัญญาวนั ท่ี ...........เดือน ................... พ.ศ. ...........
ผูรับจาง (หจก. / บริษทั )............................................................................................................................................

ลักษณะดนิ ฟาอากาศ.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

งานท่ปี ฏบิ ัติ.............................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

ปญหาอุปสรรค .......................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ...................................................ตัวแทนผูรบั จาง ลงช่ือ....................................................ชางควบคุมงาน

(....................................................) (.......................................................)

ตําแหนง........................................

ภาคผนวก 11

มาตรฐานถนน ทางเดนิ และทางเทา

เรอ่ื ง รายงานประจาํ สปั ดาหท .่ี .............

เรียน ประธานกรรมการตรวจการจา ง

โครงการ.............................................สถานท่กี อสราง....................................…………ตาํ บล................................

สถานที่กอสราง.................……...….......ตําบล.......…..............อําเภอ....……...............จังหวดั ..........….................

ตั้งแตวนั ที่........................................ถงึ วันที่..............................................ราคาคา กอสรา ง..........……….................

เริม่ กอ สรางวันท่ี ...........................สน้ิ สุดการกอสรางวันที่ ...........................รวมระยะเวลากอ สราง..................….

ผูรบั จา ง (หจก. / บริษทั )..................................................………………………………………………………….

ลําดับที่ รายการ หนว ย ปรมิ าณ ผลงานสปั ดาหน ้ี ผลงานสปั ดาหก อ น ผลงานถึงสปั ดาหน้ี

ปรมิ าณ เปอรเซน็ ต ปริมาณ เปอรเซน็ ต ปรมิ าณ เปอรเ ซ็นต

จงึ เรยี นมาเพอ่ื โปรดทราบ ลงชอ่ื .......................................……...............
(...........................…….........................)
ลงชือ่ ............................................................ ผคู วบคุมงาน
(.........................................................)
ตัวแทนผูร ับจา ง ลงชื่อ...........……..........................................
(.................……................................)
ผคู วบคมุ งาน

12 ภาคผนวก

กรมสงเสรมิ การปกครองทองถ่นิ กระทรวงมหาดไทย

ใบสรปุ ปริมาณงานและคา งานทสี่ ง งวด

ที่............................................................
วนั ที่....................เดอื น..............................................พ.ศ. ....................
เรื่อง สง มอบงานจางเหมากอสรางโครงการกอ สราง.......................................งวดที่...................
เรียน ประธานกรรมการตรวจการจาง

ตามคําส่ังท่ี ................. ลงวนั ที่ .......................................แตงตั้งขาพเจา...................................................
เปน ผูควบคมุ งานจา งเหมากอ สรางโครงการ...............................................................ตามสญั ญาท.่ี .........................
ลงวันท่ี.......................................................โดย (หจก. / บรษิ ัทฯ) ............................................................................
เปน ผูรบั จา งกอ สราง ในวงเงนิ คากอ สรา ง.................................................................................บาท นน้ั

บดั น้ี ผูรบั จา งไดสงงาน (งวดท่ี .......) และขา พเจาไดต รวจสอบผลงานแลว ปรากฏวาโครงการดังกลาว

แลว เสร็จตามแบบรูปรายการ และขอกาํ หนดทกุ ประการ เมอ่ื วันที่............เดอื น..............................พ.ศ. ...............

ดังรายการตอไปน้ี

ท่ี รายการ หนว ย ราคา/หนวย ปริมาณ จาํ นวนเงนิ หมายเหตุ
งาน

รวม

จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดพิจารณาดําเนนิ การตรวจรบั ตอไป

ลงชอื่ .....................................................ชางผคู วบคุมงาน ลงชือ่ ..................................................ชา งควบคมุ งาน

(.......................................................) (....................................................)

ตําแหนง.................................................. ตาํ แหนง.................................................

ภาคผนวก 13

มาตรฐานถนน ทางเดนิ และทางเทา

ใบตรวจรับงานจางเหมา

ท่ี.............................................................
วันที่...............เดือน..........................................พ.ศ. ..................
เรอ่ื ง การตรวจรับงานจางเหมากอสรางโครงการกอ สรา ง.............................................
เรยี น ..............................................................................................................................

ตามที่ หางฯ / บรษิ ัทฯ.........................................................ไดทําการกอสราง..........................................
บา น........................ตําบล........................อาํ เภอ..............................จังหวดั ....................ตามสัญญาเลขท.ี่ ...............
ลงวันที่.............เดอื น..........................พ.ศ. ............ โดยเร่ิมสัญญาวันที่..........เดอื น..........................พ.ศ. ..............
ส้ินสุดสญั ญาวนั ที.่ ...........เดอื น.....................พ.ศ. ......... คากอ สรา งทั้งสิ้น..............................................บาท น้นั

บดั น้ี ผูร บั จาง (หางฯ / บรษิ ัทฯ.................................................)ไดท าํ การกอ สรา ง.....................................
โครงการดังกลาว แลวเสร็จ รวมมลู คางานทัง้ ส้ิน จํานวนเงนิ ..............................บาท (.........................................)
ตามสญั ญาขอ ............................... ดงั รายการตอไปนี้

ที่ รายการ หนวย ราคา/หนวย ปริมาณงาน จาํ นวนเงนิ
(บาท) ตามสญั ญา (บาท)

1
2

3
4
5
6
7
8

รวม

รวมเปน เงินท้งั ส้ิน........................................................บาท (..............................................................................)

14 ภาคผนวก

กรมสง เสริมการปกครองทอ งถิ่น กระทรวงมหาดไทย

เสร็จเรยี บรอยตามรายละเอียดสัญญาแบบรูป รายการทุกประการ ต้ังแตวันท่ี............เดือน...................
พ.ศ...................คณะกรรมการตรวจการจาง ตามคําส่ัง........................ที่ ...................................................ลงวันท่ี
..................เดือน.................................พ.ศ..........................ตามผูมรี ายนามทายบันทกึ นี้ ไดพรอมกันตรวจรับงวด
งานโครงการดังกลา วขางตน ไวแ ลว รวมเปนเงินทง้ั ส้ิน.......................บาท (........................................................)

จงึ เสนอมาเพือ่ โปรดพจิ ารณาอนุมัติเบกิ จายเงินใหแ ก หางฯ / บริษัทฯ.......................................ตอ ไป
ลงชอ่ื .......................................................................................ประธานกรรมการตรวจการจาง

(.........................................................................)

ลงช่อื .......................................................................................กรรมการฯ
(.........................................................................)

ลงชื่อ.......................................................................................กรรมการฯ
(.........................................................................)

ลงชอ่ื .......................................................................................กรรมการฯ
(.........................................................................)

ภาคผนวก 15

มาตรฐานถนน ทางเดิน และทางเทา

แบบฟอรม การเกบ็ ขอมลู ถนน ทางเดินและทางเทา
ทเ่ี สยี หาย

วนั ทที่ าํ การสาํ รวจขอมูล....................................................................

ผูบ นั ทกึ ขอ มูล....................................................................................

รายละเอยี ดถนน ทางเดนิ และทางเทา ................................................

.............................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................

ประเภทถนน … ลูกรงั … ลาดยาง … คอนกรีต

ประเภทความเสียหาย ..................................................................

การซอ มแซม … ปกติ … การกําหนดเวลา … พเิ ศษ … ฉุกเฉิน

กําหนดระยะเวลาซอ มแซม............................................................

ประเภททางเดินและทางเทา … คอนกรีตเสริมเหลก็ … กระเบอ้ื งหินเกลด็
… บล็อกประสานปูพื้น … แอสฟลสค อนกรตี

ประเภทความเสียหาย ..................................................................

การซอมแซม … ปกติ … การกําหนดเวลา … พเิ ศษ … ฉุกเฉิน

กาํ หนดระยะเวลาซอมแซม............................................................

รายละเอียดเพิ่มเตมิ .(วธิ กี ารซอ มบํารงุ กําหนดเวลาซอ มแซม)............................................................................
.............................................................................................................................................................................

16 ภาคผนวก

กรมสง เสริมการปกครองทองถนิ่ กระทรวงมหาดไทย

แบบฟอรม การรปู ถา ยถนน ทางเดินและทางเทาท่ีไดรบั ความเสยี หาย

รปู เลขท่ี ...........

รปู เลขที่ ...........
รายละเอยี ด
เพิม่ เติม..............................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

ภาคผนวก 17

มาตรฐานถนน ทางเดนิ และทางเทา

อายุการใชงานท่เี หมาะสมของถนนแตล ะชนดิ

การกําหนดอายุการใชงานของถนนโดยปกติ จะข้ึนอยูกับประเภทของผิวจราจรที่จะกอสราง
โดยพจิ ารณาถงึ สภาพความคงทนตอ สภาวะแวดลอมของอุณหภูมิ พฤติกรรมการรับน้ําหนักบรรทุก การ
ยืดหยุนตัวของวัสดุ การหลุดรอนของวัสดุ เปนตน ดังนั้นการกําหนดอายุการใชงานของถนนแตละ
ประเภท จึงกําหนดไวด ังนี้

1. ถนนผิวจราจรคอนกรตี เสรมิ เหลก็ อายกุ ารใชงาน 20 ป

ถนนผิวจราจรคอนกรตี เสริมเหล็กหรอื เรยี กวา ผิวจราจรแบบแขง็ (Rigid Pavement) จะมสี ภาพ
ท่ีคงทนตอสภาพแวดลอมและการรับน้ําหนักบรรทุกไดดี และโดยปกติของคอนกรีตโครงสรางที่ไมถูก
แรงกระแทกหรือถูกทําใหแอนตัวก็จะมีอายุการใชงานท่ียาวนาน 50-100 ป แตผิวจราจรคอนกรีตเสริม
เหล็กจะมีลักษณะท่ีถูกกระทําใหตัวแผนพ้ืนดวยการแอนตัวและบิดตัวซ้ําๆ กัน ตลอดระยะเวลาท่ีรับ
นาํ้ หนักบรรทุกจากการจราจรและจากการทดสอบ โดยหนว ยงานดานวศิ วกรรมการทางไดขอสรุปวาอายุ
การใชง านท่ใี ชอ อกแบบถนนคอนกรีตเสริมเหลก็ ทีเ่ หมาะสมและประหยัดจะอยทู ่ี 20 ป

2. ถนนผิวจราจรลาดยาง อายุการใชงาน 7 ป

ถนนผิวจราจรลาดยางหรือเรียกวาผิวจราจรแบบยืดหยุน (Flexible Pavement) จะมีสภาพที่
คงทนตอการสัมผัสกับการจราจรไดดี แตเนื่องจากผิวทางชนิดนี้มีลักษณะท่ีเกิดการแอนตัวเม่ือรับ
นํ้าหนักบรรทุก มากกวาผิวจราจรแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก ทําใหนํ้าหนักสามารถผานลงไปยังช้ัน
โครงสรางทางไดงายกวา รวมทั้งวัสดุแอสฟลตท่ีเปนสวนผสมของผิวทางจะมีการเสื่อมสภาพเน่ืองจาก
อุณหภูมิและจากการทดสอบ ทดลอง โดยหนวยงานดานวิศวกรรมการทางไดขอสรุปวาอายุการใชงานที่
ใชออกแบบถนนลาดยางทีเ่ หมาะสมจะอยทู ่ี 7 ป

อนงึ่ อายุการออกแบบทไี่ ดกลา วขา งตน คอื อายกุ ารใชง านของถนนท่กี าํ หนดนบั ตั้งแตก อสราง
แลวเสร็จและเปดการจราจร เมื่อครบอายุดังกลาวจะตองทําการซอมบํารุงตามกําหนดเวลา เชน การเสริม
ผวิ ใหม (Overlay) หรอื บาํ รงุ พเิ ศษ เชน ซอมสรางใหม (Rehabilitation)

18 ภาคผนวก

กรมสงเสรมิ การปกครองทองถ่ิน กระทรวงมหาดไทย

3. ขอสงั เกตเกีย่ วกับถนนคอนกรตี เสรมิ ไมไ ผ

การกอ สรา งถนนคอนกรีตเสรมิ ไมไ ผ เปนถนนทก่ี อสรางดว ยวิธีการ ข้ันตอนเชนเดยี วกบั ถนน
คอนกรีตเสริมเหล็ก เพียงแตเปลี่ยนจากใชเหล็กเสริมกันแตกราว (Temparature Steel) มาเปนใชไมไผ
ซึ่งนิยมใชกับโครงการกอสรางโดยใชแรงงานเปนหลัก (Labor Base) ของกรมโยธาธิการและผังเมือง มี
วตั ถปุ ระสงคในการใชวสั ดุธรรมชาตขิ องทอ งถิน่ ทดแทนเหล็กท่ีตองนาํ เขาจากตา งประเทศซงึ่ มรี าคาแพง
ทําใหวงเงินงบประมาณถูกกวาการกอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก แตอยางใดก็ดีมีขอจํากัดที่สงผลตอ
ความมั่นคงแข็งแรงอนั เน่ืองมาจากขนาดทีไ่ มส มาํ่ เสมอของไมไผ ตลอดจนความชน้ื ของวสั ดไุ มไผ ซ่ึงจะ
ทาํ ใหเส่ือมคุณสมบตั ิการยดึ เกาะของคอนกรตี กบั ไมไ ผ ทําใหถนนเกดิ การแตกรา วได

ภาคผนวก 19

มาตรฐานถนน ทางเดิน และทางเทา

คุณลกั ษณะของผิวทางประเภทตา งๆ

ประเภทผวิ จราจร ขอ ดี ขอเสีย
- ใชร ะยะเวลาในการกอ สรางนาน
ผิวทางคอนกรีตเสรมิ เหลก็ - ไมเกิดรอ งลอ ทําใหไมเ กดิ นํ้าทวมขัง - คากอ สรา งแพงกวาถนนลาดยาง
- เมื่อเสยี หายการซอ มบาํ รุงทําไดยาก
บนผวิ จราจร - ความรูส กึ ราบเรยี บในการขบั ขี่
นอ ยกวาถนนลาดยาง
- การระบายนํ้าบนผวิ ทางควบคมุ ไดงาย
- เกดิ รอ งลอ ไดงา ยทําใหน ํ้าขังบน
- สามารถปรับแตง ระดับผิวทางให ผิวจราจร

ระบายน้ําในทิศท่ตี องการได - ปกติอายุการใชงานประมาณ 7 ป
นอ ยกวาถนนคอนกรีต
- มีความคงทน ปกติออกแบบใหม ีอายุ
- คาบํารุงรักษาสงู
การใชง าน 20 ป - การดําเนินการใหไดผลดีทาํ ได

ถนนลาดยาง - กอ สรา งไดร วดเร็ว ยาก ทั้งนี้เพราะหินมฝี ุนมาก ยาง
แอสฟลตเ กาะติดยาก
- คากอ สรางถูกกวาถนนคอนกรีต - การขับข่ีไมสะดวกสบาย เพราะ
ผิวทาง ความสกึ หรอของยาง
- มคี วามราบเรียบในการขบั ขีด่ กี วา ถนน รถยนตม ีมาก
- หินจะหลุดจากผวิ ทางเปนระยะๆ
คอนกรตี เสรมิ เหลก็ เกือบตลอดอายุการใชงาน ทําให
เกดิ อบุ ตั ิเหตแุ กรถที่ว่งิ สวนทาง
- ซอ มแซมงา ย หรือวิ่งตามมา เชน กระจกแตก
- รถเล็กๆ เชน จกั รยาน
ผวิ ทางลาดยางช้ันเดียว - เหมาะสําหรับลาดยางกําจดั ฝุนและรบั จกั รยานยนตไ มชอบวิ่งเพราะผิว
จราจรกระเทอื นมาก
(Single Surface การจราจรไดพอสมควร - ผิวถนนกักขังนํ้าฝนตามแงหนิ ไว
นานทําใหนํ้าซึมลงสูชั้นลาง และ
Treatment) - ราคาถูก เกดิ Soft Spot ภายหลงั

(SST.) - การดําเนินการกระทําไดงาย

20 ภาคผนวก

กรมสง เสริมการปกครองทองถิน่ กระทรวงมหาดไทย

ประเภทผิวจราจร ขอดี ขอเสีย
ผิวทางลาดยางสองชั้น
Double Surface Treatment - ราคาไมแพงกวา SST. มากนัก - แมจ ะดําเนินการกอสรา งผิวชนิดน้ี
(DBST)
- การดําเนินการทําไดงาย ไดงายแตก็จะทําใหดีไดยาก เพราะ
ผิวทางลาดยางแบบเคพซีล
(Cape Seal) - เหมาะสําหรบั ทาํ ผวิ ทางในที่ พ้ืนมฝี ุนและวธิ ีการลาดยาง ยางจะ

ผิวทางลาดยาง หา งไกลและการจราจรไมมากนัก เกาะหินไมท ั่วถึง
Cold Mix
- ผวิ ถนนยังหยาบอยมู าก รถจักยาน

รถจกั ยานยนต และยวดยานขนาด

เลก็ ไมอยากลงไปวงิ่ ใหเกดิ อบุ ัติเหตุ

- น้ําซึมลงสูชน้ั ลา งไดมาก ทําใหช ัน้

ใตผิวทางออนตัว

- ผวิ เรยี บ - ผิวทางชัน้ บน (Slurry Seal ) จะมี

- หินไมห ลดุ ไมเกดิ อบุ ตั ิเหตุ ลักษณะบางๆ อาจเกิดการลน่ื ไดงาย

- สามารถระบายนํา้ ออกจากผวิ ทางไดเ รว็ - เมอื่ เสียหายจะซอ มไดยากและสขี อง

ผิวทางจึงแหงและนาํ้ ไมซึมลงชั้นลาง ผวิ ทางมักแตกตางกัน

- ผวิ ทางมีความคงทนถาวร - ตองใชเ ครอ่ื งจักรเฉพาะสําหรับ

- สามารถปรบั ปรงุ ใหเปนชนดิ Modified ลาดยาง

ทําใหม คี ณุ สมบัตทิ ี่ดีอน่ื ๆอีกมาก - ตองใชยางแอสฟล ทช นดิ พิเศษ

- เหมาะสําหรบั ใชท าํ ผวิ ทางทรี่ ับแรง สาํ หรับผสม

เฉอื นมากๆ เชน ทางโคง บนเขาชัน

- การดําเนินการทําไดงาย

- มีความแข็งแรงสงู เทากับ Hot Mix - เน่อื งจากผิวทางมีความพรนุ นํ้าซมึ

- ผิวทางไมเกิดอาการเย้ิม (Bleeding) ลงไปไดจ ึงมขี อ จํากดั ในการใชงาน

- ไมมนี ํา้ ขังบนผิวทาง เพราะนํา้ ไมเหมาะท่ีจะใชปูไปบนผวิ ทางที่

สามารถซมึ ผานผวิ ทางแลวไหลออก ทรุดเปนแอง เปนหลมุ เพราะจะทํา

ตาม Crown Slope ได ใหเ กิดอาการนา้ํ ขังใตผิวถนน

- ผิวทางมคี วามฝดมาก

- ดําเนนิ การไดงา ยกวา Hot Mix

- สามารถเคลือ่ นยายไปทํางานในที่

หา งไกล ลดมลภาวะเพราะไมต องตม

ยางแอสฟล ต

ภาคผนวก 21

มาตรฐานถนน ทางเดิน และทางเทา

ประเภทผิวจราจร ขอ ดี ขอเสยี

ผิวทางลาดยางแอสฟลท - ผิวเรยี บ ขบั ขสี่ ะดวกสบาย - เวลาฝนตกจะล่ืนเพราะความเรยี บ
คอนกรตี - ผิวมีความแขง็ แรงทนทาน มมี าก
- ผิวน้ําซึมผานไมไ ด
- ในประเทศที่อากาศรอ นมาก จะเกดิ
การเยิ้มของยางแอสฟล ต (Bleeding)

- บางคร้งั ผิวจะออ นตวั ไหลได(Flow)
- ตองควบคุมอุณหภมู ิในการผลติ

ไมใ หส งู เกินไปหรอื ตํ่าเกินไป
จนกระท่ังทํางานไมไ ด
- เกดิ มลภาวะขณะผลิต
- คาใชจ ายในการติดตั้งดําเนินการสูง
- อปุ กรณก ารทํางานมีมาก การทาํ งาน
ยงุ ยาก
- ราคาแพง

22 ภาคผนวก

กรมสงเสรมิ การปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย

เคร่ืองมอื และอุปกรณส ํารวจทใ่ี ชแ ละบํารุงรกั ษา

เครอ่ื งมือเคร่อื งใชในงานสํารวจมมี ากทง้ั ชนดิ และจาํ นวน ดังนนั้ หนว ยสํารวจควรมีหองพัสดุ
เฉพาะสําหรับเก็บเครื่องมือสํารวจ โดยมีผูที่มีความรูเก่ียวกับการใช การตรวจปรับและการบํารุงรักษา
เปนอยางดีเปนผูควบคุมจายและเก็บเครื่องมือ เครื่องมือที่มีอยูควรจัดไวเปนหมวดหมูสําหรับหนวยงาน
สํารวจแตล ะหนวยงาน ซงึ่ แตล ะหนวยจะไดใ ชเคร่อื งมือของตนเปนประจําสําหรับของใชเล็กๆ นอยๆ ที่
ใชรวมกันไดก็จัดรวมกันไว ของใชที่ส้ินเปลือง ตองจัดหาสํารองเพ่ือใชงานไดตลอดเวลา แตละหนวย
ควรจัดเครือ่ งมือของหนว ยงานใหพรอ มใชงาน

เคร่ืองมอื และอปุ กรณสํารวจโดยท่ัวไปประกอบดวย
1. กลองสํารวจ พรอมขาตั้งกลอง ซ่ึงมีทั้งกลองระดับ กลอง Theodolite และกลอง

Electronic total station
2. เทปวัดระยะขนาด 25 หรอื 50 เมตร และควรเปนเทปแมเหลก็
3. ลูกด่ิง
4. Ranging pole
5. ไมสตาฟ (Rod) ขนาด 3 เมตร, 4 เมตร พรอ มลกู นํา้ หรือเปา เล็ง
6. คอนหงอนขนาด 2 ปอนด
7. คอ นปอนดข นาด 4-6 ปอนด
8. เล่ือย
9. ขวาน
10. มดี ถางปา
11. เหลก็ สกัด
12. สมดุ สนาม (Field book) พรอ มดินสอ ไมบรรทดั
13. ตะปูขนด 1 นว้ิ และ 5 นว้ิ
14. พกู ันเขียนหนงั สือ
15. ไมขนาด 1.5x 1.5 น้วิ และ 1.5x 3.0 นิว้
16. เข็มทิศ
17. เครอื่ งคาํ นวณ หรือคอมพวิ เตอร
18. สี
19. เคร่ืองมอื สองฉาก

ภาคผนวก 23

มาตรฐานถนน ทางเดนิ และทางเทา

รูปตดั คนั ทางแบบดนิ ถม

24 ภาคผนวก

กรมสง เสรมิ การปกครองทอ งถิ่น กระทรวงมหาดไทย

ตวั อยา งการประมาณราคา

ตัวอยาง การประมาณราคาคากอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ถนนองคกรปกครองสวนทองถิ่น
ถนนนอกเขตเมือง ช้ัน 2 กวาง 6.00 เมตร ไหลทางขางละ 1.50 เมตร และไมมีไหลทาง ระยะทาง 100
และ 400 เมตร รายการตัวอยางการคํานวณแสดงในภาคผนวกหนา 25 – 32
โดยใชคา Factor F (ตารางคา Factor F ในภาคผนวก หนา 7-8) ประกอบการคํานวณ

หมายเหตุ ตารางประกอบการคํานวณ ภาคผนวกหนา 25-32

รายละเอยี ดประกอบ :
หนา 26-27 แสดงตัวอยางการคํานวณราคาคากอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ชนิดถนนนอกเขตเมือง
ชัน้ 2 กวาง 6.00 เมตร ไหลท างขา งละ 1.50 เมตร ระยะทาง 100 เมตร
หนา 28-29 แสดงตัวอยางการคํานวณราคาคากอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ชนิดถนนนอกเขตเมือง
ชั้น 2 กวาง 6.00 เมตร ไมม ไี หลท าง ระยะทาง 100 เมตร
หนา 30-31 แสดงตัวอยางการคํานวณราคาคากอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ชนิดถนนนอกเขตเมือง
ช้ัน 2 กวาง 6.00 เมตร มีไหลท างขา งละ 1.50 เมตร ระยะทาง 400 เมตร
หนา 32-33 แสดงตัวอยางการคํานวณราคาคากอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ชนิดถนนนอกเขตเมือง
ชัน้ 2 กวา ง 6.00 เมตร ไมมีไหลทาง ระยะทาง 400 เมตร

ภาคผนวก 25

มาตรฐานถนน ทางเดิน และทางเทา

สรปุ ผลการประมาณราคาคา กอสรางเบอ้ื งตน

หนวยงาน ปร. 5

ประเภท งานถนนมาตรฐานเขตนอกเมอื ง ชั้น 2 กวาง 6 เมตร มไี หลทางขางละ 1.50 เมตร ระยะทาง 100 เมตร

เจาของอาคาร

สถานท่กี อสรา ง

หนว ยงานออกแบบแปลนและรายการ

แบบเลขท่ี

ประมาณราคาตามแบบ ปร. 4 จํานวน 1 แผน

ประมาณราคาเมื่อวนั ท่ี

ลาํ ดับ รายการ คาวสั ดแุ ละคา แรงงาน Factor F คา กอสรางทง้ั หมด หมายเหตุ

ที่ รวมเปนเงิน (บาท) รวมเปน เงนิ (บาท)

สว นที่ 1 คางานตน ทุน

1 ประเภทงานอาคาร

2 ประเภทงานทาง 372,727.78 1.3042 486,111.57

3 ประเภทงานชลประทาน

4 ประเภทงานสะพานและทอ เหล่ียม

เงอื่ นไข เงนิ ลวงหนาจา ย 0%

เงนิ ประกันผลงานหกั 0%

ดอกเบ้ยี เงนิ กู 6%

สวนท่ี 2 คาใชจ า ยพิเศษตามขอกาํ หนด

คาใชจ า ยพิเศษตามขอ งกาํ หนด

รวมคากอสรา งเปนเงินท้ังสน้ิ 486,111.57

คดิ เปนเงนิ ประมาณ 487,000.00 (รวมภาษีมูลคา เพิม่ แลว )

ตวั อกั ษร = ส่แี สนแปดหม่ืนเจ็ดพันบาทถว น =

ขนาดหรอื เนื้อท่ีอาคาร 900.00 ตร. ม.

เฉลยี่ ราคาประมาณ 540.12 บาท/ตร.ม.

ผปู ระมาณการ......................................................... ความเหน็ ชอบของผูอนมุ ัติ....................................
()
ผอู นุมตั ิ.................................................................
ผตู รวจ .................................................................. ()
()

26 ภาคผนวก


Click to View FlipBook Version