The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มาตราฐานถนน ทางเดินและทางเท้า

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by runn0248, 2022-05-17 01:27:52

มาตราฐานถนน ทางเดินและทางเท้า

มาตราฐานถนน ทางเดินและทางเท้า

Keywords: มาตราฐานถนน ทางเดินและทางเท้า

กรมสงเสริมการปกครองทองถ่นิ กระทรวงมหาดไทย

คาํ นาํ

องคกรปกครองสวนทองถ่ินทุกรูปแบบ จัดตั้งขึ้นเพ่ือทําหนาที่ในการจัดทํา บํารุงรักษา และ
ใหบ ริการสาธารณะแกประชาชน ซ่ึงตอมาไดมีการถายโอนภารกิจการจัดบริการสาธารณะจากสวนราชการ
ใหองคก รปกครองสว นทอ งถิน่ เปนหนว ยงานดําเนินการมากย่ิงข้ึน โดยยึดหลักการวา “ประชาชนจะตอง
ไดรับบริการสาธารณะที่ดีขึ้นหรือไมตํ่ากวาเดิม มีคุณภาพมาตรฐาน การบริหารจัดการขององคกรปกครอง
สวนทองถ่ินมีความโปรงใส มีประสิทธิภาพและรับผิดชอบตอผูใชบริการใหมากข้ึน รวมท้ังสงเสริมให
ประชาชน ภาคประชาสังคม และชมุ ชนมีสว นรว มในการตัดสินใจ รว มดําเนนิ งานและตดิ ตามตรวจสอบ”

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ในฐานะหนวยงานสงเสริมสนับสนุนองคกรปกครองสวน
ทองถิ่น และดวยความรวมมือจากสมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ
(ว.ส.ท.) ไดจัดทํามาตรฐานการบริหารและการบริการสาธารณะขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน พรอมกับ
ไดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อระดมความคิดเห็นและขอเสนอแนะตางๆ จากผูแทนองคการบริหารสวน
จังหวัด เทศบาล องคการบริหารสวนตําบล สมาคมองคกรปกครองสวนทองถ่ิน รวมท้ังสวนราชการท่ี
เก่ียวของ เพ่ือใหไดมาตรฐานท่ีองคกรปกครองสวนทองถ่ินสามารถนําไปใชเปนแนวทางในการบริหาร
และใหบริการอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เกิดประโยชนและความพึงพอใจแกประชาชน รวมทั้งเพ่ือ
เปนหลักประกันวาประชาชนไมวาจะอยูสวนใดของประเทศ จะไดรับบริการสาธารณะในมาตรฐานขั้นต่ํา
ท่เี ทาเทยี มกนั สงผลใหประชาชนมคี ุณภาพชวี ติ ทีด่ ีขึน้

หวังเปนอยางยิ่งวา มาตรฐานฉบับนี้จะเปนประโยชนตอองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการ
เพิ่มศักยภาพการบริหารและการบริการสาธารณะ สนองตอบความตองการ และสรางความผาสุกแก
ประชาชน สมดังคําทว่ี า “ทองถนิ่ กาวไกล ชาวไทยมีสุข”

(นายสาโรช คชั มาตย)
อธบิ ดกี รมสง เสรมิ การปกครองทองถิ่น

คาํ นํา

กรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน กระทรวงมหาดไทย

สารบญั หนา

บทท่ี 1 บทนาํ 1
1.1 ความเปน มา 2
1.2 ขอบเขตของมาตรฐาน 2
1.3 วัตถปุ ระสงค 3
1.4 คาํ นิยาม 3
1.5 มาตรฐานอางองิ และกฎหมายท่ีเกี่ยวของ
5
บทที่ 2 การขึน้ ทะเบยี นถนน 5
2.1 การขน้ึ ทะเบยี นถนนองคก รปกครองสวนทอ งถิน่ 5
2.1.1 ข้ึนทะเบียนถนนเดิม
2.1.2 ขน้ึ ทะเบยี นถนนใหม 7
8
บทท่ี 3 การบรหิ ารจดั การกอสรา งถนน ทางเดินและทางเทา 8
แผนผงั การบรหิ ารการจดั การและข้ันตอนการดําเนนิ งานดา นถนน 9
3.1 การศกึ ษาความเหมาะสมการกอสรา งถนน ทางเดินและทางเทา 9
3.1.1 ขอมูลทางดานวศิ วกรรมจราจร 9
3.1.2 ขอมูลดา นเศรษฐกจิ และสงั คม 10
3.1.3 ขอ มูลดานสง่ิ แวดลอ ม 10
3.1.4 ขอมลู ดา นยุทธศาสตร 11
3.2 การออกแบบถนน ทางเดนิ และทางเทา 12
3.3 หลักเกณฑท วั่ ไปในการออกแบบถนน 14
3.4 มาตรฐานที่ใชในการออกแบบสาํ หรบั ถนนเขตเมือง 16
3.5 มาตรฐานท่ีใชใ นการออกแบบสาํ หรับถนนนอกเขตเมอื ง 18
3.6 ข้นั ตอนการออกแบบถนน ทางเดนิ และทางเทา 18
3.7 ขั้นตอนการจัดทําแบบแปลนถนนองคกรปกครองสว นทองถนิ่ 18
3.8 การประมาณราคาคา กอ สราง บรู ณะ ขยาย และบํารงุ รกั ษา 19
3.8.1 แบบรวมยอด (Lump Sun Bid)
3.8.2 แบบราคาตอหนว ย (Unit Price Bid) สารบญั ก
3.8.3 สญั ญาแบบปรับราคาได (คาK)

มาตรฐานถนน ทางเดิน และทางเทา หนา
19
3.9 การควบคมุ งาน 23
3.10 การตรวจรบั / ตรวจการจางงานกอ สราง 23
3.11 การกาํ หนดบุคลากร
บทท่ี 4 มาตรฐานงานกอสรางถนน 25
สวนท่ี 1 มาตรฐานวสั ดุที่ใชในการกอสรา งถนน 25
26
สถ. – มถ. – 001 มาตรฐานวสั ดคุ นั ทาง (Subgrade) 27
สถ. – มถ. – 002 มาตรฐานวสั ดุรองพ้นื ทาง (Subbase) 28
สถ. – มถ. – 003 มาตรฐานวสั ดพุ นื้ ทาง (Base) 29
สถ. – มถ. – 004 มาตรฐานวสั ดคุ ดั เลอื ก (Selected Material) 30
สถ. – มถ. – 005 มาตรฐานวสั ดไุ หลทาง (Shoulder)
สถ. – มถ. – 006 มาตรฐานวสั ดลุ กู รงั ชนิดทาํ ผวิ จราจร 30
สถ. – มถ. – 007 มาตรฐานวสั ดชุ นดิ เม็ดสาํ หรับผวิ จราจร
31
แบบเซอรเ ฟซทรีตเมนต (Surface Treatment)
สถ. – มถ. – 008 มาตรฐานวสั ดุชนดิ เม็ดสาํ หรับผิวทางแมคคาดัม 34

(Penetration Macadam) 35
สถ. – มถ. – 009 มาตรฐานวสั ดชุ นดิ เมด็ (Aggregate) 36

สําหรบั ผิวจราจรแบบแอสฟล ทค อนกรีต 38
(Asphaltic Concrete)
สถ. – มถ. – 010 มาตรฐานวัสดุยางคทั แบคแอสฟล ทช นดิ บมชา 41
(Slow Curing Cut Back Asphalt) 41
สถ. – มถ. – 011 มาตรฐานปูนซีเมนต
สถ. – มถ. – 012 มาตรฐานวัสดชุ นิดเม็ด (Aggregates)
สําหรบั ผิวจราจรคอนกรีต
สถ. – มถ. – 013 มาตรฐานเหล็กเสนเสรมิ คอนกรตี
สวนท่ี 2 มาตรฐานวธิ กี ารกอ สรางถนน
สถ. – มถ. – 014 มาตรฐานงานถางปา ขดุ ตอ (Clearing and Grubbing)
สถ. – มถ. – 015 มาตรฐานงานตกแตงเกลย่ี คันทางเดมิ
(Reshaping and Levelling)

ข สารบัญ

กรมสงเสริมการปกครองทอ งถ่ิน กระทรวงมหาดไทย

สถ. – มถ. – 016 มาตรฐานงานดินถมคนั ทาง (Embankment) หนา
สถ. – มถ. – 017 มาตรฐานงานดินตัดคันทาง (Roadway Excavation) 42
สถ. – มถ. – 018 มาตรฐานงานช้ันรองพ้ืนทาง (Subbase) 43
สถ. – มถ. – 019 มาตรฐานงานพ้ืนทาง (Base) 44
สถ. – มถ. – 020 มาตรฐานงานไหลท าง (Shoulder) 45
สถ. – มถ. – 021 มาตรฐานงานไพรมโคท (Prime Coat) 46
สถ. – มถ. – 022 มาตรฐานงานผิวจราจรแบบเซอรเ ฟซทรตี เมนต 47
52
(Surface Treatment)
สถ. – มถ. – 023 มาตรฐานงานแทคโคท (Tack Coat) 68
สถ. – มถ. – 024 มาตรฐานงานซีลโคท (Seal Coat) 70
สถ. – มถ. – 025 มาตรฐานงานผวิ จราจรแบบเพเนเตรชนั่ แมคคาดมั 72

(Penetration Macadam) 76
สถ. – มถ. – 026 มาตรฐานงานผิวจราจรแบบแอสฟล ทคอนกรีต
80
(Asphaltic Concrete) 90
สถ. – มถ. – 027 มาตรฐานงานผวิ จราจรแบบคอนกรีต 97
สถ. – มถ. – 028 มาตรฐานการฉาบผวิ ทางแบบสเลอรี่ซลี (Slurry Seal)
สถ. – มถ. – 029 มาตรฐานงานผวิ จราจรแบบเคพซลี (Cape Seal) 104
105
สวนท่ี 3 มาตรฐานวสั ดทุ ีใ่ ชในการกอ สรางทางเดิน และทางเทา 105
สถ. – มถ. – 030 มาตรฐานวสั ดพุ น้ื ฐานทางเดินและทางเทา 106
สถ. – มถ. – 031 มาตรฐานวัสดุปูทางเดิน และทางเทา
กระเบือ้ งคอนกรีตปูพน้ื (Concrete Flooring Tiles) 106
คอนกรีตบลอ็ กประสานปูพน้ื (Interlock Concrete
Paving Block) 107
กระเบ้ืองซเี มนตป ูนพื้น (Cement Mortar Flooring Tiles)

สวนท่ี 4 มาตรฐานวธิ ีการกอ สรางทางเดิน และทางเทา
สถ. – มถ. – 032 มาตรฐานงานทางเดนิ และทางเทา

สารบญั ค

มาตรฐานถนน ทางเดนิ และทางเทา หนา

บทท่ี 5 การตรวจสอบและบํารงุ รักษาถนน ทางเดนิ และทางเทา 109
5.1 การศึกษาความเสยี หายตอผวิ ถนนลาดยางและผวิ ถนนคอนกรตี 109
5.1.1 ความเสยี หายตอ ผวิ ถนนลาดยาง 110
5.1.2 ความเสียหายตอ ผิวถนนคอนกรีต 111
5.2 การเกบ็ รวบรวมขอ มูล 111
5.3 การแยกประเภทการบํารงุ รักษาถนน ทางเดนิ และทางเทา 112
5.4 การดําเนินการซอ มแซมผิวถนน ทางเดนิ และทางเทา 115
5.5 การจัดทําแผนงบประมาณซอมบาํ รุงรกั ษาถนน
1
ภาคผนวก 2
แบบฟอรม การข้ึนทะเบยี นประวัตโิ ครงการกอ สราง บูรณะ และซอมสรางถนน 3
แผนท่ีสังเขปการเกบ็ ขอ มลู ถนน ทางเดนิ และทางเทา 4
แบบฟอรมรปู ถายถนน ทางเดนิ และทางเทา 5
แบบประมาณราคาคากอ สราง (แบบ ปร.4) 6
แบบสรุปผลการประมาณราคาคากอสรางเบื้องตน(แบบ ปร.5) 7
หลกั เกณฑใ ชต าราง Factor F 8
ตารางคา Factor F กรณฝี นตกชุก 10
ตารางคา Factor F งานกอ สรา งทาง 11
ตวั อยา งแผนปายแสดงรายละเอยี ดงานกอ สราง 12
แบบฟอรมรายงานประจาํ วนั งานกอ สราง 13
แบบฟอรมรายงานประจําสัปดาห 14
ใบสรปุ ปริมาณงานและคา งานทีส่ ง งวด 16
ใบตรวจรับงานจางเหมา 17
แบบฟอรมการเก็บขอ มลู ถนน ทางเดินและทางเทา ท่ีเสียหาย 18
แบบฟอรม รปู ถายถนน ทางเดินและทางเทาที่ไดร บั ความเสยี หาย 20
อายกุ ารใชง านท่ีเหมาะสมของถนนแตละชนดิ 23
คณุ ลกั ษณะของผิวทางประเภทตางๆ
เครอ่ื งมอื และอปุ กรณส ํารวจทีใ่ ชแ ละบาํ รงุ รักษา

ง สารบัญ

กรมสงเสริมการปกครองทอ งถ่นิ กระทรวงมหาดไทย

รูปตัดคันทางแบบดินถม หนา
ตวั อยา งการประมาณราคา
แบบมาตรฐานถนนแอสฟล ตค อนกรตี 24
แบบมาตรฐานถนนแบบ Double Surface Treatment 25-33
แบบมาตรฐานถนนลูกรงั
แบบมาตรฐานถนนแบบเคพซีล 34
แบบมาตรฐานถนนคอนกรตี เสริมเหลก็ 35
แบบมาตรฐานการเสริมเหล็ก ถนนคอนกรตี เสริมเหล็ก Treatment 36
แบบมาตรฐานเครอื่ งหมายจราจร 37
การตรวจสอบการจัดทาํ แผนพัฒนาสามป (Check List) 38
39
40
41

สารบญั จ

กรมสง เสริมการปกครองทอ งถนิ่ กระทรวงมหาดไทย

บทท่ี 1

บทนํา

1.1 ความเปนมา

ตามแผนและข้ันตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น ไดกําหนดใหสวน
ราชการถายโอนภารกิจการจัดบริการสาธารณะใหแกองคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล และองคการ
บริหารสวนตาํ บล

ทั้งน้ี การถายโอนภารกิจงานโครงสรางพ้ืนฐาน ดานการคมนาคมและการขนสงที่สําคัญ
ภารกิจหนึ่ง คืองานกอสราง และบํารุงรักษาถนน ซึ่งสวนราชการตางๆ เชน กรมทางหลวง กรมทางหลวง
ชนบท กรมสงเสริมสหกรณ ไดดําเนินการถายโอนภารกิจดังกลาวใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินแลว
นอกจากน้ีภารกิจดังกลาว ยังเก่ียวกับภารกิจหนาที่ขององคกรปกครองสวนทองถ่ินตามที่กฎหมาย
กาํ หนด ดงั นี้

z พระราชบัญญัตสิ ภาตาํ บลและองคก ารบรหิ ารสวนตําบล พ.ศ. 2537
มาตรา 67 ภายใตบังคับแหงกฎหมายใหองคการบริหารสวนตําบล มีหนาท่ีตองทําใน

เขตองคก ารบริหารสวนตาํ บล ดงั ตอ ไปน้ี
(1) จดั ใหมแี ละบาํ รงุ รักษาทางนา้ํ และทางบก

z พระราชบัญญัตเิ ทศบาล พ.ศ. 2496
มาตรา 50 ภายใตบังคับแหงกฎหมายเทศบาลตําบล มีหนาท่ีตองทําในเขตเทศบาล

ดงั ตอไปน้ี
(2) ใหมแี ละบาํ รงุ ทางบกและทางนา้ํ

มาตรา 53 ภายใตบังคับแหงกฎหมาย เทศบาลเมืองมีหนาที่ตองทําในเขตเทศบาล
ดงั ตอไปนี้

(1) กิจการตามที่ระบไุ วในมาตรา 50
มาตรา 56 ภายใตบังคับแหงกฎหมาย เทศบาลนคร มีหนาที่ตองทําในเขตเทศบาล
ดงั ตอไปนี้

(1) กิจการตามที่ระบุไวใ นมาตรา 53

บทท่ี 1 บทนํา 1

มาตรฐานถนน ทางเดนิ และทางเทา

z พระราชบัญญัติกําหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวน
ทอ งถิ่น พ.ศ. 2542

มาตรา 16 ใหเ ทศบาล เมืองพัทยา และองคก ารบริหารสวนตําบล มีอํานาจและหนาท่ีใน
การจัดบริการสาธารณะเพือ่ ประโยชนข องประชาชนในทองถนิ่ ของตนเอง ดังนี้

(2) การจดั ใหม แี ละบํารุงรักษาทางบก ทางนํ้า และทางระบายนา้ํ
มาตรา 17 ใหอ งคก ารบริหารสว นจงั หวดั มอี าํ นาจและหนาท่ีในการจัดบริการสาธารณะ
เพอื่ ประโยชนของประชาชนในทองถ่นิ ของตนเอง ดงั นี้

(16) การสรางและบํารุงรักษาทางบกและทางน้ําที่เช่ือมตอระหวางองคกร
ปกครองสวนทองถน่ิ อืน่

(24) จดั ทาํ กิจการใดอันเปนอํานาจและหนาที่ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นอ่ืน
ท่ีอยูในเขตและกิจการน้ันเปนการสมควร ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นอ่ืนรวมกันดําเนินการหรือให
องคการบริหารสวนจงั หวัดจัดทาํ ทงั้ นต้ี ามที่คณะกรรมการประกาศกาํ หนด

ดังน้ัน เพ่ือใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นไดดําเนินภารกิจตามอํานาจหนาที่ไดอยางมี
มาตรฐานข้ันพ้ืนฐาน และประชาชนมีหลักประกันการไดรับบริการสาธารณะอยางเทาเทียมกัน จึงได
จัดทํามาตรฐานน้ขี ้ึน

1.2 ขอบเขตของมาตรฐาน

มาตรฐานนี้กําหนดแนวทางในการออกแบบ กอสรา งและบํารงุ รกั ษาถนน ทางเดินและทางเทา
ขององคการบริหารสว นตําบล เทศบาล และองคก ารบรหิ ารสวนจังหวัด

1.3 วัตถุประสงค

1.3.1 เพ่ือใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น ใชเปนคูมือและแนวทางในการดําเนินงานดาน
ถนน ทางเดนิ และทางเทา ไดอยา งมปี ระสิทธิภาพ

1.3.2 เพือ่ ใหผูบรหิ ารทอ งถนิ่ ใชเปน เครื่องมือและแนวทางประกอบการตัดสนิ ใจสําหรับการ
ดาํ เนินงานดานถนน ทางเดินและทางเทา

1.3.3 เพ่ือใหประชาชนไดรับบริการสาธารณะจากองคกรปกครองสวนทองถิ่นอยางมี
มาตรฐาน

2 บทท่ี 1 บทนํา

กรมสง เสริมการปกครองทองถ่ิน กระทรวงมหาดไทย

1.4 คํานิยาม

“องคกรปกครองสวนทองถ่ิน” หมายถึง องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล และองคการ
บรหิ ารสว นตําบล

“ผูบริหารทองถ่ิน” หมายถึง นายกองคการบริหารสวนจังหวัด นายกเทศมนตรี นายกองคการ
บรหิ ารสว นตําบล

1.5 มาตรฐานอางองิ และกฎหมายทีเ่ ก่ียวขอ ง

1.5.1 กรมโยธาธิการ (2539) มาตรฐานงานกอ สราง งานทาง กรมโยธาธกิ าร กระทรวงมหาดไทย
1.5.2 กรมโยธาธิการ (2543) คูมอื การลงทะเบียนทางหลวงชนบทและทางหลวงเทศบาล

สวนแผนโครงการและประเมนิ ผล สํานักวศิ วกรรมทางหลวงชนบท
กรมโยธาธิการ กระทรวงมหาดไทย.
1.5.3 กรุงเทพมหานคร (2542) รายการมาตรฐานงานทาง สาํ นักการโยธา กรงุ เทพมหานคร
1.5.4 กรมการเรงรัดพัฒนาชนบท (2544) คูมือควบคุมการกอสรางและบูรณะทาง กรมการ
เรง รัดพฒั นาชนบท กระทรวงมหาดไทย
1.5.5 กรมทางหลวงชนบท (2547) แนวทางการสํารวจ ออกแบบทางหลวงชนบท สํานัก
สาํ รวจและ ออกแบบ กรมทางหลวงชนบท กระทรวงคมนาคม

บทท่ี 1 บทนํา 3

มาตรฐานถนน ทางเดนิ และทางเทา

การจัดทาํ ทะเบียนถนน

4 บทท่ี 2 การจดั ทาํ ทะเบียนถนน

กรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน กระทรวงมหาดไทย

บทท่ี 2

การจดั ทําทะเบยี นถนน

2.1 การจดั ทาํ ทะเบียนถนนขององคก รปกครองสว นทองถน่ิ

เพ่ือเปนขอมูลในการดําเนินงานดานกอสราง บูรณะ ขยาย และบํารุงรักษาถนน ทางเดิน และ
ทางเทา ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น เพื่อเปนขอมูลในการดําเนินงานดานการกอสราง บูรณะ ถนน
ทางเดิน และทางเทา องคกรปกครองสวนทองถ่ินจําเปนตองจัดทําหรือปรับปรุงทะเบียนถนนเดิม และ
ถนนทีก่ อสรางขน้ึ ใหม โดยมแี นวทางดําเนินการดังนี้

2.1.1 ทะเบียนถนนเดมิ
ใหดําเนินการสํารวจแนวเสนทางถนนเดิมท่ีมีอยู โดยรวบรวมขอมูลโครงสรางถนน สิ่งควบคุม
การจราจร และระบบตางๆ ของถนนเพื่อจัดทําเปนทะเบียนประวัติถนน ท้ังน้ีหากมีขอมูลเดิมอยูแลวควร
ตรวจสอบขอมูลและปรับปรุงใหเปนปจจุบันและจัดทําทะเบียนตามแบบฟอรมภาคผนวก หนา 1 – 3
(รูปท่ี 1)
2.1.2 ทะเบยี นถนนใหม

ในการดําเนินการกอสรางถนนใหม ใหจัดทําทะเบียนถนนเพื่อเปนขอมูลในการพัฒนา
โครงขายถนน หรือเพ่ือซอมบํารุงถนน โดยจัดทําทะเบียนประวัติถนนตามแบบฟอรมเชนเดียวกับ
ทะเบยี นถนนเดิม

บทที่ 2 การจัดทําทะเบียนถนน 5

มาตรฐานถนน ทางเดิน และทางเทา

มขี อ มลู เดมิ ไมมีขอ มูล

ตรวจสอบขอ มลู เดิมและ สาํ รวจขอมูล
ปรบั ใหเ ปน ปจ จบุ ัน
- สํารวจเกบ็ รายละเอยี ดถนน เชน
ความกวา งผวิ จราจร, ระยะทางถนน,
ส่ิงควบคมุ การจราจร

จดั ทํารายละเอยี ด

- รายละเอยี ดสว นประกอบถนน
- แบบแปลนถนน

ทะเบยี นประวัติถนน
- รายละเอียดของถนน เชน ความกวางผิวจราจร ระยะทางของถนน
- แบบแปลนถนน
- ขอ มลู การกอสรา ง หรอื บูรณะ

รปู ท่ี 1 ข้ันตอนการจัดทํารายละเอียดถนนเดมิ

6 บทที่ 2 การจัดทาํ ทะเบียนถนน

กรมสง เสรมิ การปกครองทอ งถนิ่ กระทรวงมหาดไทย

บทที่ 3

การบรหิ ารจดั การกอ สรางถนน ทางเดินและทางเทา

การบริหารการจดั การและข้นั ตอน
การดําเนนิ การดานถนน

ถนนเดมิ ถนนใหม

จัดทําทะเบียนถนนเดมิ ศึกษาความเหมาะสม ไมเ หมาะสม
การกอสรา งถนน
ทางเดนิ และทางเทา

กรณตี อ งดําเนินการ เหมาะสม
บูรณะ ซอ มแซม
ประมาณราคา

ควบคมุ งานและกาํ หนด
บุคลากร

ตรวจรับงาน

จัดทําทะเบยี นถนนใหม

แผนผังการบรหิ ารการจดั การและข้ันตอนการดําเนินงานดานถนนสําหรับองคก รปกครองสวนทอ งถนิ่

บทที่ 3 การบรหิ ารจัดการกอ สรางถนน ทางเดินและทางเทา 7

มาตรฐานถนน ทางเดิน และทางเทา

3.1 การศึกษาความเหมาะสมการกอสรางถนน ทางเดนิ และทางเทา

ในการดําเนินงานกอสรางถนน ทางเดิน และทางเทา ใหไดมาตรฐานและคุณภาพ เพ่ือให
ประชาชนไดร บั บริการดานการคมนาคมที่ทั่วถึง สะดวก และปลอดภัย รวมถึงสงเสริมการพัฒนาทองถิ่น
ใหมีศักยภาพเปนเมืองที่สมบูรณในอนาคต ในการกอสรางถนนจึงตองคํานึงถึงความเหมาะสมทางดาน
วิศวกรรม ดานสังคม ดานเศรษฐกิจการลงทุน และตองไมกระทบตอสิ่งแวดลอมหรือเกิดผลกระทบ
นอยทส่ี ุด

กระบวนการสําคัญประการหนึ่งของการกอสรางหรือบํารุงรักษาถนน คือ ตองมีการวางแผน
และศกึ ษาความเหมาะสมในการกอสราง บํารุงรักษา เพอื่ ใหการกอ สรา งถนนสมประโยชน และคุมคา

ในการกอสรางถนน ทางเดินและทางเทาใหเกิดความคุมคาสอดคลองกับความตองการของ
ประชาชนและทิศทางการพัฒนาทองถิ่น จะตองผานกระบวนการประชาคม และตองเปนโครงการท่ี
บรรจุอยูในแผนพัฒนาทองถ่ินตามข้ันตอนการจัดทําแผนพัฒนาทองถ่ินท่ีกระทรวงมหาดไทยกําหนด
เพือ่ ใหแ ผนสามารถรองรับการพัฒนาในระยะส้ัน ระยะยาวไดอ ยา งเปน ระบบ แตหากแผนพัฒนาท่ีวางไว
มีความจําเปนจะตองปรับปรุงหรือทบทวนเพ่ือใหสอดคลองกับยุทธศาสตรการพัฒนา องคกรปกครอง
สวนทองถ่ินก็สามารถพิจารณาดําเนินการตามแนวทางการเปล่ียนแปลงแผนท่ีกระทรวงมหาดไทย
กําหนดไดตามความเหมาะสม โดยผูบริหารทองถิ่นและเจาหนาท่ีควรตรวจสอบโครงการดังกลาววาได
ดําเนินการตามขนั้ ตอนทร่ี ะเบยี บกําหนดหรอื ไม ตามแบบตรวจสอบ(Check list) ในภาคผนวก

ขอมลู สาํ คัญในการศึกษาวเิ คราะหความเหมาะสม

3.1.1 ขอมูลทางดานวิศวกรรมจราจร เปนขอมูลที่แสดงถึงความจําเปนในการกอสราง
แนวสายทาง และใชในการประเมนิ ปริมาณจราจรในอนาคต ดงั น้ี

• แบบกอสรางจริง คือ แบบแนวสายทางโครงการที่จะดําเนินการกอสรางโดย
ศึกษาเปรียบเทียบกับสายทางใกลเคียงเพ่ือแสดงภาพรวมของโครงการและความ
เชือ่ มตอ ของสายทาง

• การนับปรมิ าณจราจรของรถแตละประเภท เชน รถบรรทุก รถยนตนั่งสวนบุคคล
รถจักรยานยนต ฯลฯ โดยการนับปริมาณจราจรในรอบ 24 ช่ัวโมง เพ่ือนํามา
วิเคราะหใ นการออกแบบกอ สรางตอ ไป

• การบันทึกขอมูลรายละเอียดการสํารวจแนวสายทางเบ้ืองตน เพ่ือใชเปนขอมูล
มาประกอบการออกแบบรายละเอยี ดทางวิศวกรรม

8 บทท่ี 3 การบริหารจดั การกอ สรา งถนน ทางเดินและทางเทา

กรมสง เสริมการปกครองทองถิน่ กระทรวงมหาดไทย

• การประสานรวมท้ังช้ีแจงทําความเขาใจและรับฟงความคิดเห็นของประชาชน
หนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อแกไขปญหาตางๆ ท่ีอาจเกิดข้ึนระหวางกอสราง เชน
กรรมสิทธ์ทิ ดี่ นิ การจัดระบบสาธารณปู โภค ไฟฟา แสงสวาง

• การเจาะสํารวจสภาพดินเดิมตามแนวสายทางเพื่อหาคาคุณสมบัติทางปฐพีกลศาสตร
ของดิน โดยเฉพาะคา CBR เพื่อนํามาออกแบบโครงสรางถนน สําหรับกรณี
พ้นื ทดี่ นิ ออ นจะตองทําการเจาะสํารวจหาคุณสมบัติทางวิศวกรรมของช้ันดินตาม
แนวสาํ รวจโดยทาํ Vane Shear Test เพ่ือนําผลมาวเิ คราะหหาเสถยี รภาพของคนั ทาง

• การสํารวจและจัดทําแผนที่แหลงวัสดุท่ีมีคุณสมบัติเปนไปตามมาตรฐานงานทาง
เพอ่ื ใชเปนขอมูลในการประมาณราคาคากอ สรา ง

3.1.2 ขอมูลดานเศรษฐกิจและสังคม เปนการพิจารณาขอมูลดานเศรษฐกิจและสังคมวา
กอใหเกิดประโยชนมากนอยเพียงใด กลาวคือ มีประชาชนไดรับประโยชนแยกเปนจํานวนคน ครัวเรือน
หมูบาน ทําใหเดินทางไดสะดวกรวดเร็วขึ้นหรือเสนทางน้ันเปนเสนทาง เพื่อใชในการขนสงผลิตผล
ทางการเกษตร อุตสาหกรรม หรือเปนเสนทางเขาสูแหลงทองเที่ยว ซึ่งจะสงพอดีตอสภาพเศรษฐกิจของ
ประชาชนในทอ งถน่ิ

3.1.3 ขอมูลดานส่ิงแวดลอม เปนการพิจารณาสิ่งแวดลอมที่อยูในเขตแนวถนนที่จะทําการ
กอสราง และบริเวณใกลเคียงถนน เชน ตนไม ท่ีพักอาศัย วัด โรงเรียน ซ่ึงเปนขอมูลในการตัดสินใจเพ่ือ
พิจารณาวาหลังจากการกอสรางถนนแลว จะทําใหเกิดปญหาดานสิ่งแวดลอมกับชุมชนใกลเคียแนวถนนน้ัน
หรือไม

3.1.4 ขอมูลดา นยทุ ธศาสตร ยุทธศาสตรก ารพฒั นามคี วามสําคัญตอการกําหนดแผนงานและ
โครงการ เพราะเปนเปาหมายวาทองถิ่นจะ แกไขปญหาความเดือดรอนของประชาชนหรือพัฒนาไปสู
ความเจริญ กาวหนาไปในทิศทางใด เชน กรณีกําหนดยุทธศาสตรสงเสริมการทองเท่ียวอาจตองพัฒนา
ถนนเขาสแู หลง ทอ งเท่ียวใหสอดคลองตามแผนยุทธศาสตรพ ัฒนา

ในการศึกษาความเหมาะสมดานตางๆ ดังกลาวใหพิจารณากําหนดคะแนนตามสัดสวน
แตละดาน แลวนําคาคะแนนที่ไดมาจัดเรียงลําดับตามความสําคัญโครงการเพื่อประกอบการตัดสินใจ
จดั ทําโครงการน้นั ๆ ตอ ไป

บทท่ี 3 การบริหารจัดการกอ สรางถนน ทางเดินและทางเทา 9

มาตรฐานถนน ทางเดนิ และทางเทา

3.2 การออกแบบถนน ทางเดินและทางเทา

การออกแบบถนนมีขอมูลประกอบการพิจารณาหลายประการ เชน ปริมาณการจราจร
ประเภทของผิวจราจร ความกวางของผิวจราจร ความกวางของไหลทางซ่ึงจะสอดคลองกับความกวาง
ของทางเดนิ และทางเทา ความสามารถในการรับนํ้าหนักบรรทกุ ความลาดชัน ความสูงของยานพาหนะท่ี
จะเปน ขอจํากัดความสงู ของสงิ่ กอสรา งเหนือผวิ จราจรของถนน

ดังน้ัน ในการออกแบบจําเปนตองเก็บขอมูลดานปริมาณการจราจร ซึ่งเปนหลักการเบื้องตน
ในการออกแบบ ขนาดชอ งจราจร จํานวนชอ งจราจร และดา นกายภาพของถนน แตการเก็บขอมูลปริมาณ
จราจรตามหลกั วศิ วกรรมน้ันเปนการยงุ ยาก และอาจเกดิ ปญหาสาํ หรบั องคก รปกครองสวนทองถิ่นได จึง
กาํ หนดหลักเกณฑท วั่ ไปการออกแบบถนน ทางเดินและทางเทา ขององคก รปกครองสว นทองถนิ่ ดังน้ี

3.3 หลกั เกณฑทว่ั ไปในการออกแบบถนน

3.3.1 ควรหลีกเลี่ยงการออกแบบทางโคงของถนนท่ีมีรัศมีโคงแคบซ่ึงเปนลักษณะโคง
อนั ตราย

3.3.2 ควรหลกี เลี่ยงการออกแบบทางตรงที่ยาวๆ แลว ตามดว ยการออกแบบทางโคงท่ีแคบ
3.3.3 ควรหลกี เลีย่ งการออกแบบถนนท่ีมคี วามชนั แลวมที างโคง
3.3.4 การออกแบบทางโคงควรมีการยกขอบถนน (Superelevation) เพื่อใหเกิดความ
ปลอดภัยกับผขู บั ข่ี
3.3.5 การกอสรางส่ิงท่ีอยูเหนือผิวจราจรของถนนควรมีการจํากัดความสูงข้ันต่ําเทากับ
5.00 เมตร เพื่อปอ งกันอนั ตรายท่ีจะเกิดขึ้นกบั ยานพาหนะท่มี ีความสูง
3.3.6 ควรมีการควบคมุ การเขา – ออก ถนนท่ีจะเชอ่ื มกบั ถนนองคกรปกครองสวนทองถิ่น
3.3.7 ถนนในเขตเมืองอาจลดแนวเขตทาง แตตองกวางพอใหยานพาหนะเคล่ือนที่ผานได
ตามการออกแบบทิศทางการจราจร (ทิศทางเดียว หรือ สองทศิ ทาง)
3.3.8 ในกรณีจําเปน อาจพิจารณาจัดทําผิวจราจรแคบกวาท่ีกําหนด บนคันทางที่ขนาดความ
กวางตางๆ ได แตตองใหยานพาหนะวิ่งสวนกันไดในลักษณะการจราจรสองทิศทาง เชน จัดทําผิวจราจร
กวาง 5 เมตร บนคันทางกวาง 9 เมตร (มาตรฐานความกวางผิวจราจร คือ 6 เมตร ไหลทางกวางขางละ
1.50 เมตร)
3.3.9 การออกแบบปายจราจร สิ่งควบคุมการจราจร ส่ิงอํานวยความสะดวกดานการจราจร
ใหเปน ไปตามมาตรฐานการปองกันอบุ ตั ิภัยทางถนนขององคกรปกครองสว นทองถนิ่
3.3.10 การออกแบบไฟฟาแสงสวา งใหเ ปน ไปตามมาตรฐานไฟฟา สาธารณะ

10 บทท่ี 3 การบรหิ ารจดั การกอสรางถนน ทางเดินและทางเทา

กรมสงเสรมิ การปกครองทอ งถ่ิน กระทรวงมหาดไทย

3.4 มาตรฐานการออกแบบถนนเขตเมอื ง

ถนนเขตเมือง หรือนอกเขตเมืองท่ีไดเปดใชงานไปแลวแตภายหลังความเจริญในเขตเมือง
ขยายตัว มีประชาชนพักอาศัยหนาแนนขึ้นกลายเปนเขตเมือง ทําใหเกิดปญหาดานการจราจรตามมา เชน
ปญหาปริมาณจราจรท่ีเพ่ิมขึ้น การจอดรถริมถนนมากขึ้น การสัญจรจากผูคนสองขางทาง การเช่ือม
ทางเขา – ออกกับถนนเพิ่มมากข้ึน จึงตองมีการออกแบบถนนเพื่อเตรียมการขยายถนนในอนาคตโดยใน
แนวเขตทางกําหนดใหมีส่ิงปลูกสรางนอยท่ีสุดหรือไมมีเลย รวมทั้งตองจัดใหมีทางระบายนํ้าดวย เพื่อ
ปองกันนํ้าทวมขัง ซ่ึงเปนปญหาที่กอใหเกิดความเสียหายตอโครงสรางถนน ดังนั้น มาตรฐานการ
ออกแบบถนนเขตเมอื ง มีดังน้ี

1. มกี ารควบคมุ การเชือ่ มทางเขา - ออกกับถนนเขตเมอื ง
2. ถนนรบั นํา้ หนักไดไ มน อ ยกวา 21 ตัน
3. ติดต้ังระบบควบคมุ การจราจร และอปุ กรณดา นความปลอดภยั ตอ ผใู ชถ นน
4. ออกแบบและจดั ทาํ ทางระบายนาํ้ สองขางถนน
5. ทางแยกหัวมุมถนนซ่ึงเกิดจากการเช่ือมหรือตัดกันของถนนใหขอบผิวจราจรดานในมี

รศั มคี วามโคงไมน อยกวา 5.00 เมตร
6. ชองลอดของถนน ตอ งมรี ะยะลอดในแนวด่ิงไมนอ ยกวา 5.00 เมตร
7. ความกวางผิวจราจรของสะพานไมนอยกวาความกวางของผิวจราจรท่ีออกแบบ โดย

จะตองมีไหลทางหรอื ทางเดนิ และทางเทาประกอบดว ย
8. การยกระดับของถนนบนทางโคง (Super Elevation) ไมเ กิน 0.10 เมตร / เมตร
9. กรณีถนนท่ีมีการตัดกัน หากมีความจําเปนตองกอสรางทางตางระดับ ตองศึกษาถึง

ผลกระทบทางดานเศรษฐศาสตรวิศวกรรม และผลกระทบทางดานสิ่งแวดลอมเพื่อหา
ความเหมาะสมของโครงการกอนการกอ สรา ง
10. การออกแบบดานวิศวกรรมการทาง โดยตองคํานึงถึงลักษณะภูมิประเทศและความลาด
ชนั ของถนน ดังน้ี

ลักษณะภูมปิ ระเทศ ทางราบ ทางเนิน ทางเขา
รอ ยละของความลาดชันสูงสุดท่ียอมให 4 6 8

11. การออกแบบถนนในเขตเมืองขององคกรปกครองสวนทองถิ่น สามารถแบงไดเปน 4 ชั้นทาง
ดังรายละเอยี ดตามตารางที่ 3-1

บทที่ 3 การบรหิ ารจดั การกอสรา งถนน ทางเดินและทางเทา 11

มาตรฐานถนน ทางเดนิ และทางเทา

ตารางที่ 3-1 การออกแบบถนนในเขตเมอื งขององคกรปกครองสวนทองถนิ่

ชัน้ ทางถนนเขตเมอื ง ช้นั ท่ี 1 ชัน้ ท่ี 2 ชน้ั ท่ี 3 ชน้ั ท่ี 4
แอสฟล ตค อนกรีต
ประเภทผิวจราจร แอสฟล ตค อนกรีต ลกู รัง หรอื วสั ดุอน่ื ลกู รงั หรอื วัสดุอน่ื
หรอื คอนกรีต หรือ คอนกรีต ทด่ี กี วา ที่ดีกวา
เขตทางหลวง เสริมเหล็ก เสริมเหลก็
(Right of Way)
(ไมนอยกวา ) เมตร 30.00 20.00 15.00 8.00
ชองจราจร
(ไมนอยกวา ) ชอง 6 4- -
ความกวางชองจราจร
(ไมน อ ยกวา) เมตร 3.00 3.00 - -
ความกวางผิวจราจร
(ไมนอ ยกวา ) เมตร 18.00 12.00 6.00 5.00
ความกวางทางเทา
หรอื ไหลทาง 3.00* 2.00* 1.50* 1.50*
(ไมนอยกวา) เมตร

หมายเหตุ *สามารถปรับไดตามความเหมาะสมกับสภาพพื้นท่ี แตไมนอยกวา 1.50 เมตร หรือเปนไปตาม
มาตรฐานการปอ งกนั อบุ ัติภัยทางถนน

3.5 มาตรฐานการออกแบบถนนนอกเขตเมอื ง

มาตรฐานการออกแบบถนนนอกเขตเมอื ง มีดังน้ี
1. มีการควบคมุ การเชอื่ มทางเขา - ออกกับถนนนอกเขตเมือง
3. ถนนรับนํ้าหนักไดไมน อ ยกวา 21 ตนั
4. ติดตั้งระบบควบคมุ การจราจร และอุปกรณด านความปลอดภัยตอผใู ชถนน

12 บทท่ี 3 การบริหารจัดการกอ สรา งถนน ทางเดินและทางเทา

กรมสงเสริมการปกครองทองถิน่ กระทรวงมหาดไทย

5. ทางแยกหัวมุมถนนซึ่งเกิดจากการเชื่อม หรือตัดกันของถนนใหขอบผิวจราจรดานในมี

รศั มีความโคงไมน อ ยกวา 5.00 เมตร
6. ชอ งลอดของถนน ตองมรี ะยะลอดในแนวด่ิงไมนอ ยกวา 5.00 เมตร
7. ความกวางผิวจราจรของสะพานไมนอยกวาความกวางของผิวจราจรท่ีออกแบบ โดย

จะตอ งมีไหลทาง หรอื ทางเดนิ และทางเทาประกอบดว ย
8. การยกระดับของถนนบนทางโคง (Super Elevation) ไมเกนิ 0.10 เมตร / เมตร
9. ในถนนท่ีมีการตัดกันหากมีความจําเปนตองมีการกอสรางทางตางระดับ จะตองศึกษาถึง

ผลกระทบทางดานเศรษฐศาสตรวิศวกรรม และผลกระทบทางดานส่ิงแวดลอมเพ่ือหา
ความเหมาะสมของโครงการกอนการกอ สราง
10. การออกแบบถนนนอกเมือง สามารถแบงการออกแบบไดเปน 4 ช้ันทาง โดยมี
องคป ระกอบการออกแบบดา นวศิ วกรรมการทางดังแสดงในตารางที่ 3-2,
11. ควรมีการออกแบบทางระบายน้ําสองขางถนนไวลวงหนาโดยพิจารณาถึงความเหมาะสม
ในการกอสราง หรือกอสรางทางระบายน้ําภายหลังท่ีถนนสองขางทางเปล่ียนสภาพเปน
แหลง ชุมชน

ตารางท่ี 3-2 องคประกอบการออกแบบดา นวศิ วกรรมการทางสาํ หรับถนนนอกเขตเมอื ง

ประเภท ลกั ษณะภมู ิประเทศ ลักษณะภูมปิ ระเทศ
ถนนนอกเมือง
ความเร็วทใ่ี ชในการออกแบบ (กม. / ชม.) ความลาดชันสงู สดุ ที่ยอมให (เปอรเ ซ็นต)
นอกเขตเมอื ง
ชน้ั ที่ 1 ทางราบ ทางเนิน ทางเขา ทางราบ ทางเนิน ทางเขา
ชน้ั ท่ี 2
ชนั้ ท่ี 3 90 80 70 4 6 8
ช้ันท่ี 4
90 80 70 4 6 8

70 55 40 4 8 12

60 50 30 4 8 12

หมายเหตุ : ในชวงที่ผานเขตเมืองความเร็วที่ใชในการออกแบบไมนอยกวา 60 กิโลเมตรตอชั่วโมง แต
อาจลดลงไดในกรณีจาํ เปน เน่ืองจากปญ หาแนวเขตทาง ท่ีไมเปนไปตามขอกําหนดมาตรฐาน
การออกแบบ

บทท่ี 3 การบริหารจดั การกอสรา งถนน ทางเดินและทางเทา 13

มาตรฐานถนน ทางเดนิ และทางเทา

ตารางที่ 3-3 การออกแบบถนนนอกเมอื งขององคก รปกครองสว นทอ งถ่ิน
สามารถแบง การออกแบบไดเปน 4 ช้ันทาง

ชน้ั ทางถนนนอกเขตเมือง ช้ันที่ 1 ชน้ั ท่ี 2 ชน้ั ท่ี 3 ชนั้ ที่ 4

ประเภทผิวจราจร แอสฟล ตค อนกรีต หรอื แอสฟลตค อนกรีต หรอื ลาดยาง หรือ ลูกรัง หรือวสั ดุอ่นื
คอนกรตี เสรมิ เหล็กหรือ คอนกรตี เสริมเหลก็ หรือ คอนกรีตเสริม ทีด่ กี วา

เทียบเทา เทียบเทา เหล็ก 15.00

เขตทางหลวง (Right of Way) 20.00 20.00 15.00 -

(ไมน อยกวา) เมตร - -

ชองจราจร 4 - - 8.00 หรือ 6.00
(ลกู รงั หรือ
(ไมนอยกวา) ชอง 6.00 วสั ดุอืน่ ทดี่ ีกวา)

ความกวางชอ งจราจร 3.25 - 1.50* 1.50*

(ไมน อยกวา) เมตร

ความกวา งผิวจราจร 13.00 7.00

(ไมนอ ยกวา) เมตร

ความกวา งทางเทาหรอื ไหลทาง 1.50 1.50
(ไมน อยกวา) เมตร

หมายเหตุ *หากมีปญหาดานพ้ืนที่องคกรปกครองสวนทองถ่ินสามารถปรับไดตามความเหมาะสม

และใหเ ปน ไปตามมาตรฐานการปอ งกนั อบุ ัติภยั ทางถนน

3.6 ขน้ั ตอนการออกแบบ

3.6.1 การออกแบบถนนใหอ อกแบบตามประเภทมาตรฐานถนน 4 ชน้ั ทางดงั กลาว แตในการ
ปฏิบัตใิ นพ้นื ที่จริง อาจมีขอจํากัดบางประการ จึงมีขอแนะนาํ ดงั น้ี

ƒ กรณีมีปญหาแนวเขตทางใหลดความกวางของไหลทาง ตามความเหมาะสมตาม
มาตรฐานการปองกันอุบัติภัยทางถนนขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน (0.90 เมตร)
หากมีความกวางตา่ํ กวา ทก่ี าํ หนดใหพ จิ ารณาเปล่ียนแนวเสนทางใหม ยกเวนกรณี
จาํ เปน

ƒ กรณีลักษณะโครงการเปนถนนในหมูบาน เชน โครงการถนนคอนกรีตใน
หมูบาน ใหออกแบบเปน ผวิ จราจร กวา ง 4.00 เมตร เปนอยางนอ ย

14 บทที่ 3 การบริหารจดั การกอ สรา งถนน ทางเดินและทางเทา

กรมสง เสรมิ การปกครองทอ งถิ่น กระทรวงมหาดไทย

3.6.2 ผิวจราจรและไหลทาง ตองเปนผิวเรียบหรือผิวถาวร เชน ผิวลาดยางหรือผิวคอนกรีต
เสริมเหล็ก ชนิดผิวจราจรเลือกใชใหเหมาะสมกับปริมาณจราจร เวนแตถนนที่ตองดําเนินการกอสราง
แบบเปนข้ันตอน (Stage Construction) เน่ืองจากอาจมีปญหาอยูในพ้ืนดินออน หรือกรณีงบประมาณ
จํากัด แตตองการยืดระยะทางกอสรางใหไดตามเปาหมาย อาจกอสรางผิวทางและไหลทางเปนชนิดผิว
ไมถาวร เชน ผวิ ลกู รังบางสวนหรือทง้ั หมดได แตตองมผี วิ ทางชนดิ ถาวรเริ่มจากจดุ เรมิ่ ตน โครงการไปหา
จดุ ส้นิ สดุ โครงการ

ท้ังนี้ ไดเปรียบเทียบขอดี – ขอเสียผิวทางถนนประเภทคอนกรีตเสริมเหล็กและลาดยางดัง
รายละเอียดปรากฏตามภาคผนวก หนา 19-21

3.6.3 การออกแบบดานเรขาคณิต โครงสรางทาง และองคประกอบอ่ืนๆ (ถามี) ใหเปนไป
ตามมาตรฐานการออกแบบวศิ กรรมการทาง

3.6.4 การออกแบบโครงสรางถนน ใหคํานึงถึงปริมาณจราจรที่จะเกิดข้ึนในอนาคต ความ
แข็งแรงของพ้นื ดินเดิม และวสั ดุกอ สรางที่มีอยใู นทองถิ่น

3.6.5 การออกแบบบางพื้นที่ อาจจะตองออกแบบโครงสรางทางเปนกรณีพิเศษ เชน การปองกัน
การเลื่อนไหลของคนั ทางบนดินออนหรอื ถนนเลียบติดคลอง, แมน าํ้ , หรอื การปองกนั การกัดเซาะคนั ทาง

3.6.6 การออกแบบถนนเพ่ือการทองเท่ียวตองมีองคประกอบอ่ืนๆ ดวย เชน ศาลา จุดชมวิว
ทจี่ อดรถ ภมู ทิ ศั นสองขา งถนน ปายแนะนําตา งๆ

3.6.7 การออกแบบรายละเอียดสะพานใหเ ปน ไปตามแบบมาตรฐานสะพานและเหมาะสมกับ
สภาพภูมปิ ระเทศ ตลอดจนสอดคลอ งกบั ขอ กาํ หนดของสว นราชการที่ดแู ลลําน้าํ นนั้ ๆ

3.6.8 รวบรวมขอมูลดานอุทกวิทยาและชลศาสตร เพ่ือนําไปใชในการออกแบบขนาดของ
อาคารระบายนํ้าตางๆ ท่ีจําเปน ทั้งนี้การออกแบบอาคารดังกลาว จะตองพิจารณาสภาพภูมิประเทศที่
แทจริงในบริเวณกอสราง โดยจะตองออกแบบใหระดับของถนน พนจากระดับนํ้าทวม ตลอดจนให
อาคารระบายน้ําและทอลอดตา งๆ มีขนาดใหญเพียงพอท่ีจะระบายนํ้าไมใหเกิดการกัดเซาะแกโครงสราง
ถนนได

3.6.9 การออกแบบความกวางผิวจราจรสะพาน โดยปกตคิ วรออกแบบความกวางไมนอยกวา
ความกวางถนนรวมทางเดินและทางเทา เชน ผิวจราจรกวาง 6.00 เมตร ไหลทางกวางขางละ 1.50 เมตร
ผิวจราจรสะพานจะตองกวางไมนอยกวา 9.00 เมตร

บทท่ี 3 การบริหารจดั การกอ สรางถนน ทางเดินและทางเทา 15

มาตรฐานถนน ทางเดนิ และทางเทา

3.7 ขน้ั ตอนการจัดทาํ แบบแปลนถนนองคกรปกครองสว นทองถิ่น

การจัดทําแบบแปลนเปนขั้นตอนดําเนินการหลังจากมีการสํารวจเก็บขอมูลในสนามแลว โดย
นาํ ขอมลู มากําหนดรายละเอยี ดแบบแปลน ซึ่งประกอบดวย

3.7.1 แผนทีส่ ังเขปของโครงการกอสรางน้นั ๆ
ƒ แสดงแผนท่เี สนทาง สารบัญระวางแผนท่ี และแสดงทิศใหช ัดเจนในแบบแปลน

3.7.2 สารบัญแบบและรายการประกอบแบบกอ สรา ง
ƒ แสดงสารบัญและรายการประกอบแบบกอสรา ง
ƒ แสดงรายการประกอบแบบกอสราง

3.7.3 รูปตัดโครงสรา งถนน
ƒ แสดงรปู ตดั โครงสรา งถนน และรปู ตดั การกอ สรางลาดคันทางบนถนนเดมิ (กรณี
กอ สรา งบนถนนเดิม)
ƒ รายการประกอบแบบ และ ตารางแสดงคาลาดตัดคันทาง (Back Slope) และลาด
ถมคันทาง (Side Slope)

3.7.4 ผังบรเิ วณและแปลน สะพานหรือทอระบายนํ้าขา งทาง (ถา ม)ี
ƒ แสดงเสนระดับชั้นความสูง (Contour Line) ในบริเวณที่จะทําการกอสราง
สะพานพรอมท้ังแสดงตําแหนงส่ิงปลูกสราง เสาไฟฟา โครงสรางถาวรตางๆ
และแนวเขตที่ดินของเอกชนหรือสวนราชการอื่นๆ ตามความจําเปน โดยมี
รายละเอียดครอบคลุมบริเวณขึ้นไปทางตนน้ํา และลงไปดานทายนํ้าตามความ
เหมาะสมทางวิศวกรรม นอกจากนี้จะตองแสดงแนวถนนเชิงลาดคอสะพานท้ัง
หวั และทายสะพาน แสดงทิศทางการไหลของกระแสน้ํา แสดงตําแหนงหมุดของ
จุดต้ังกลอง (POT.) ดานหัวและดานทายสะพาน พรอมเขียนกํากับคาสถานีวัด
(Station) แสดงหมุดอางอิง (RP.) ฝงละ 3 จุด เปนอยางนอย และแสดงตําแหนง
หมดุ หลกั ฐานทางระดับ (BM.) พรอ มคาระดบั ใหชัดเจน

3.7.5 รปู ตดั ตามยาวและตามขวาง สะพานหรือทอ ระบายน้ําขา งทาง (ถามี)
ƒ แสดงรูปตดั ลาํ นํ้า และคาระดับของพื้นดินตามแนวศูนยกลางถนน หรือแนวขาม
โดยใหมาตราสวนในแนวราบ และแนวตั้งเปนคาเดียวกัน แสดงคาระดับน้ํา
สูงสุดและตํ่าสุด พรอมคาระดับของสะพาน และในกรณีที่สะพานเดิมเปน

16 บทท่ี 3 การบริหารจดั การกอสรา งถนน ทางเดินและทางเทา

กรมสงเสริมการปกครองทองถ่นิ กระทรวงมหาดไทย

สะพาน คสล. ใหแสดงตําแหนงตอมอของสะพานเดิม พรอมคาสถานีรังวัด
(Station) กํากบั ไวในแบบแปลนดวย และหากไมไดออกแบบกอสรางพรอมถนน
จะตองแสดงคาระดับของพ้ืนดินชวงท่ีติดกับลํานํ้า ความยาวตามแนวศูนยกลาง
ถนนท้ังสองฝงระบุชนิดผิวจราจรพรอมคาระดับ ในกรณีที่มีโคงดิ่งในชวงที่ติดกับ
สะพานตอ งกาํ กับคาความลาดชนั ใหชดั เจน
3.7.6 แนวทางการเชอ่ื มตอ ถนนหรือสะพาน (ถาม)ี
ƒ แสดงแบบแปลน รูปตัดตามยาวและรูปตัดตามขวางของการเชื่อมตอของถนน
หรือสะพาน ใหเหน็ รายละเอียดการเชอื่ มตอทงั้ สองดา น
3.7.7 แบบแปลนแนวทางและรูปตดั ตามยาว (Plan and Profile)
ƒ แสดงรายละเอียดการออกแบบทางเรขาคณิต รูปราง ทิศทางของเสนทาง โดยมี
รายละเอียดดงั นี้

• แนวเสน ทางและรายละเอยี ดภูมิประเทศ รวมถงึ หมุดหลักฐานอางองิ ตางๆ

• รปู ตดั ตามแนวยาว

• รายละเอียดตางๆ ท่ีเก่ียวของ เชน ระดับดินเดิม ระดับถนนเดิม ระดับผิวจราจร
ท่ีจะทําการกอสราง รายละเอียดโคงราบ โคงดิ่ง ระดับนํ้าสูงสุด ตําแหนง
โครงสรา งระบายนํา้ ตาํ แหนง ปายจราจร

3.7.8 รปู ตัดตามขวาง (Cross Section)
ƒ แสดงรายละเอยี ดดงั น้ี

• รูปตัดโครงสรางถนน โดยทั่วไปเขียนทุกๆ ระยะ 25.00 เมตร หากสภาพ
ภูมิประเทศเปล่ียนแปลงมาก จะเขียนทุกๆ ระยะ 12.50 เมตร หรือนอยกวา
ตามความเหมาะสม

• ระดับดนิ เดมิ และระดับผวิ จราจรตามแนวศนู ยก ลางถนน
3.7.9 รายละเอียดอน่ื ๆ (ถามี)

หมายเหตุ การศึกษาออกแบบทางระบายน้ําและทอกลม สามารถศึกษาไดจากมาตรฐานทาง
ระบายนํ้าขององคก รปกครองสวนทองถิ่นและสําหรับกรณีทอเหลี่ยมสามารถศึกษาได
จากคมู อื งานกอ สรางกรมทางหลวงชนบท

บทท่ี 3 การบริหารจัดการกอสรางถนน ทางเดินและทางเทา 17

มาตรฐานถนน ทางเดนิ และทางเทา

ในการออกถนนแบบนอกจากจะตองออกแบบใหถูกตองตามหลักดานวิศวกรรมการทางแลว
ยงั จะตอ งคํานึงถงึ ดา นความปลอดภยั ผใู ชถ นนดว ย เพอ่ื เปนการปองกนั อบุ ัตเิ หตุ หรือลดความรุนแรงของ
อุบตั ิเหตุใหนอยทส่ี ดุ เชน การติดต้ังกาํ แพงกันชน (Concrete Barrier) การติดตงั้ ราวกันชน (Steel Barrier) การ
ตดิ ตงั้ ปายเตือนปายหา ม หรอื ส่งิ ทเี่ ปนการปองกนั อันตรายแกผ ูใชถ นน หรือผทู อ่ี ยขู างทาง

3.8 การประมาณราคาคา กอ สรา ง บูรณะ ขยาย และบํารงุ รกั ษา

ภายหลังจากการเก็บขอมูล สํารวจและออกแบบ จนไดขอสรุปการกอสรางถนนหรือการบูรณะ
เสร็จเรียบรอ ยแลว ขน้ั ตอนตอไป คือ การประมาณราคาคากอสรางเพ่ือจัดเตรียมงบประมาณการกอสราง
ซึ่งในการประมาณราคาน้ัน เพ่ือเปนการปองกันหรือลดโอกาสในการสมยอมกันในการเสนอราคา
คณะรัฐมนตรีมีมติใหใชคา Factor F คํานวณราคากลางในงานกอสรางของทางราชการ 3 ประเภท คือ
งานอาคาร งานทางและงานชลประทาน ซึ่งกระทรวงการคลังจะประกาศเปลี่ยนแปลงคา Factor F เปน
คราวๆ เม่อื มีการเปลย่ี นแปลงดอกเบ้ยี ดงั นัน้ จงึ เปนหนา ทีข่ องผูประมาณการตองติดตามการเปล่ียนแปลง
และใชคา Factor F ใหถ กู ตอ งดว ยการประมาณการคา กอสรา งสามารถแบงออกได 2 แบบคอื

3.8.1 แบบรวมยอด (Lump Sum Bid)
การประมาณราคาแบบรวมยอดสวนมากมักใชกับประเภทงานสรางอาคาร โดยคิด

ราคารวมยอดทั้งคาแรงงานและคาวัสดุที่ใชจนกระทั่งงานแลวเสร็จ ซึ่งราคารวมยอดนี้ ผูรับเหมาไดคิด
รวมคาวสั ดุและคา แรงงานไวแ ลว ดงั นนั้ องคก รปกครองสวนทองถิ่นจะสามารถเปรียบเทียบราคารวมท่ีผู
เสนอราคาแตละรายเสนอ และพจิ ารณาคัดเลือกรายทเี่ สนอราคารว มต่ําสุด

3.8.2 แบบราคาตอหนว ย (Unit Price Bid)
การประมาณราคาตอ หนว ยสวนมากใชกับงานทีไ่ มทราบปริมาณจํานวนที่แนนอน เชน

งานถนนขนาดใหญ เข่ือน สนามบนิ งานฐานรากอาคาร เพราะมีลักษณะงาน แยกออกจากกันอยางเห็นไดชัด
คือ งานขุดดิน งานเทคอนกรีต และงานกลบดินฐานราก ซึ่งการจายเงินใหกับผูรับจางจะจายตามหนวย
จํานวนหรือตามปริมาตรท่ีทําไดจริง การกําหนดแบบราคาตอหนวยผูเสนอราคาจะแสดงรายการของ
ปริมาตรงานแตละอยางแตละชนิด และคูณดวยราคาตอ 1 หนวย ของงานประเภทน้ันๆ ผลคูณที่ไดรับจึง
เปนราคาปริมาตรงานแตละรายการ เม่ือรวมยอดของทุกรายการแลวจะเปนราคารวม ของงานทั้งหมด
ซ่งึ ผวู าจาง จะพจิ ารณาคัดเลอื กรายทีเ่ สนอราคารวมตํ่าสดุ

การทําสัญญางานกอสรางสวนมากมักใชการประมาณราคากอสรางทั้งสองแบบ
กลาวคือ ถาเปนงานกอสรางที่สามารถกระทําไดโดยสะดวก ไมมีขอยุงยากหรือเปนงานซับซอนมากนัก
จะใชสญั ญาแบบรวมยอด แตถ า เปนงานกอสรา งถนน ซึ่งมีการขุดดนิ การถมดนิ หรือการทําไหลถนน จะ

18 บทที่ 3 การบริหารจดั การกอ สรา งถนน ทางเดินและทางเทา

กรมสงเสริมการปกครองทอ งถน่ิ กระทรวงมหาดไทย

ใชสัญญาแบบราคาตอหนวย เพราะจะทราบยอด ของแตละรายการวามีปริมาตรเทาใด และผูเสนอราคา
คิดราคาสมเหตุผล สอดคลองกับราคากลางหรือไม

3.8.3 สัญญาแบบปรับราคาได (คา K)
สัญญาแบบปรับราคาได (คา K) คือ สัญญาท่ีมีคางานตามสัญญาสามารถปรับเพ่ิมข้ึน

หรือลดลงไดตามสูตรการคํานวณบนพื้นฐานของดัชนีราคาวัสดุกอสราง หากดัชนีราคาวัสดุกอสรางมี
การเปลี่ยนแปลงระหวางการกอสราง ณ เดือนสงมอบงานเปรียบเทียบกับเดือนเปดซองประกวดราคา
มีคาเปล่ียนแปลง ทําใหคา K ที่คํานวณตามสูตรมีคาสูงกวา รอยละ 4 ผูรับจางจะไดรับเงินชดเชยจาก
ผวู าจาง แตถาคา K มีคาตํ่ากวารอยละ 4 ผูรับจางจะถูกเรียกเงินคืน รายละเอียดสามารถศึกษาไดจาก “คูมือ
การตรวจสอบเงนิ ชดเชยคา งานกอสราง (คา K)” สํานักงบประมาณ

การประมาณราคาคา กอสรา งงานถนนนน้ั ผปู ระมาณราคาจะตองถอดแบบจากรายการ
รูปแบบแปลนที่ออกแบบไว ตามจํานวนวัสดุแตละประเภทเปนจํานวน / หนวย เทาใด และตรวจสอบ
ราคากลาง (ตอหนว ย) จากหนวยราชการหรือราคา ณ พ้ืนที่ที่จะทําการกอสราง เพื่อคํานวณเปนราคารวม
แตละประเภท ท้ังน้ี ในกรณีท่ีไมมีราคามาตรฐานวัสดุและอุปกรณการกอสรางของพาณิชยจังหวัดและ
สํานักงบประมาณ ใหใชราคาตามท่ีคณะกรรมการระดับอําเภอกําหนด โดยองคการบริหารสวนตําบลถือ
ปฏิบัติตามแนวทางหนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ี มท 0318/ ว 2252 ลงวันท่ี 26 สิงหาคม 2545 สําหรับ
เทศบาล องคการบริหารสวนจังหวัด ไมมีหนังสือส่ังการกําหนดแนวทางไวเปนการเฉพาะ จึงอาจ
พจิ ารณาถอื ปฏิบตั ติ ามหนังสอื กระทรวงมหาดไทยฉบบั ดงั กลาวโดยอนุโลม

3.9 การควบคมุ งาน

ผูควบคุมงานกอสรางตองมีความรูความชํานาญในการกอสรางถนน และเปนผูท่ีมีความซ่ือสัตย
สุจริต เพ่ือใหการควบคุมงานเปนไปอยางถูกตองตามสัญญาและตามมาตรฐานกําหนด หากผูควบคุมงาน
ประพฤติมิชอบ ไมเครงครัดในหนาท่ี ปลอยปละละเลย หรือรวมมือกับผูรับ ลดขนาด ปริมาณ หรือ
คุณภาพของวัสดุกอสราง สงผลใหถนนไมมีความมั่นคงแข็งแรงตามมาตรฐาน เปนเหตุใหผูใชถนน
ไดร ับความเดอื ดรอน และราชการเสยี หาย

การกําหนดข้ันตอนการดําเนินการ จะเปนเคร่ืองมือชวยใหชางผูควบคุมงานทราบบทบาท
หนาที่ความรบั ผิดชอบตามระเบียบ และขอ สั่งการสามารถปฏบิ ัติงานตามมาตรฐานงานกอ สรา งไดอยางมี
ประสิทธภิ าพ

บทที่ 3 การบรหิ ารจัดการกอสรางถนน ทางเดินและทางเทา 19

มาตรฐานถนน ทางเดนิ และทางเทา

ขั้นตอนการดําเนินการของชา งผคู วบคุมงาน มีดังนี้
1. การเตรียมตวั ของชางควบคุมงาน

1.1 เตรียมสภาพรางกายใหมีความพรอมที่จะทํางานภาคสนาม หากมีโรคประจําตัว เชน
โรคภูมแิ พ ควรเตรยี มยาปองกัน และรักษาโรคใหพ รอม เปนตน

1.2 เตรียมสภาพจิตใจใหมีความหนักแนน ไมออนไหวงาย พรอมที่จะแกปญหา
อุปสรรคและมีมนุษยสัมพันธท่ีดี สามารถประสานงานกับผูที่เกี่ยวของ เชน
คณะกรรมการตรวจการจาง ผรู บั จา งและประชาชนในพน้ื ท่ไี ดเปน อยางดี

1.3 ปฏิบตั ิหนา ท่ีดวยความตง้ั ใจ และยดึ จรรยาบรรณทีห่ นวยงานกําหนด
1.4 ใฝห าความรทู ง้ั ดา นทฤษฎแี ละปฏิบตั ิอยางสมาํ่ เสมอ
2. การเตรียมเอกสาร เครือ่ งมอื
2.1 จัดเตรียมแบบแปลน รายละเอียดขอกําหนดการกอสราง สัญญาจาง ประกาศ

ประกวดราคา (ซ่ึงถือวาเปนสวนหน่ึงของสัญญา) และเอกสารแนบทายสัญญา
อ่นื ๆ เชน แบบมาตรฐานตางๆ เปนตน
2.2 จัดเตรียมแบบฟอรมตางๆ ที่เกี่ยวของ เชน แบบรายงานประจําวัน แบบรายงาน
ประจําสัปดาห แบบรายงานประจําเดือน แบบรายงานคณะกรรมการตรวจการจาง
แบบทดสอบความแนนในสนาม (Field Density Test) แบบการคํานวณคาระดับ
แบบการคํานวณปริมาณงานดนิ แบบการสง งาน เปน ตน
2.3 ตรวจสอบเครื่องมืออุปกรณท่ีจําเปนตองใชในการควบคุมงาน ไดแก เครื่องมือชุด
สาํ รวจ เพื่อตรวจสอบแนวและระดบั เปนตน
3. ศึกษารายละเอียดสัญญา แบบแปลนและเอกสารแนบทายสัญญา หากมีขอความใด
ขดั แยง หรือคลาดเคลอ่ื นไมครบถวนใหร ายงานคณะกรรมการตรวจการจางทนั ที
4. ตรวจสอบแบบแปลนกับสถานท่ีกอสรางจริง อีกครั้งหน่ึง เพ่ือตรวจสอบสภาพพื้นที่
หรอื ปญ หาอันเกยี่ วเนอ่ื งกบั สาธารณูปโภคตา งๆ เชน เสาไฟฟา ทอประปา อยูในบริเวณพ้ืนที่การกอสราง
หรอื ไม
5. ตรวจสอบแผนปฏิบตั ิงานของผูรับจาง เพ่อื นาํ เสนอคณะกรรมการตรวจการจา ง
6. จดั ทําแผนผงั การควบคมุ งาน โดยมีรายละเอียดดงั นี้
6.1 แผนภูมกิ ารปฏบิ ตั ิงาน (ระบชุ ือ่ ตาํ แหนง )
6.2 แผนที่แสดงทีต่ ั้งโครงการ
6.3 แบบแปลนรูปตัดขวางและตามยาว

20 บทท่ี 3 การบริหารจัดการกอ สรางถนน ทางเดินและทางเทา

กรมสงเสริมการปกครองทองถนิ่ กระทรวงมหาดไทย

6.4 แผนปฏิบตั ิงาน
6.5 รายงานผลความกาวหนา ของการกอสราง
6.6 สําเนาคาํ ส่ังและหนังสือสงั่ การทีส่ ําคัญ
7. ควบคุมใหผ รู บั จางตดิ ต้ังปา ยระบรุ ายละเอยี ดโครงการตามที่กระทรวงมหาดไทยกําหนด
ณ บริเวณพ้ืนที่กอสราง เพื่อเปนการประชาสัมพันธโครงการใหประชาชนทั่วไปทราบรายละเอียดตัวอยาง
ตามภาคผนวก หนา 9
8. ระหวางการกอสราง ควรใหผูรับจางจัดทําและติดตั้งปายเตือนระบุเขตพื้นท่ีกอสราง
เพ่ือความปลอดภัยแกผ ูใชยวดยาน คนเดินเทา และผูทป่ี ฏิบัติงานในภาคสนาม
9. ควบคุมใหผูรับจางเก็บตัวอยางวัสดุตามข้ันตอนท่ีมาตรฐานกําหนด เพื่อนําไปทดสอบ
ในหองทดสอบ ในระหวางการกอสรางหากมีขอสงสัยวาวัสดุที่นํามาใชไมตรงกับตัวอยางวัสดุท่ีเคย
นําสงหองทดสอบใหเก็บตัวอยางวัสดุน้ันไปทําการทดสอบใหม หรือพบวาคุณภาพวัสดุไมไดมาตรฐาน
ใหส งั่ ระงบั การนําวสั ดุนน้ั ไปใชในการกอสรา ง
ทั้งนี้งานวัสดุชั้นโครงสรางทาง ควรทําการเก็บตัวอยางทุกๆ 1-3 กิโลเมตร ของวัสดุที่
นํามากองไวบริเวณท่ีกอสราง สําหรับงานเหล็กทําการสุมเก็บตัวอยางทุกๆ 100 เสนตอหน่ึงตัวอยางทุก
ขนาดและชนิดของเหลก็ เสน
10. ใหถือปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการพัสดุขององคกรปกครองสวน
ทองถิ่น เรือ่ งหนาทข่ี องชา งควบคมุ งานอยางเครงครดั ดังน้ี
10.1 ตรวจและควบคมุ งาน ณ สถานท่ที กี่ ําหนดไวใ นสญั ญา

10.1.1 ตรวจและควบคุมงานทุกวันโดยใหเปนไปตามแบบรูปรายการและขอ
กําหนดตางๆ

10.1.2 สั่งเปล่ียนแปลงแกไขเพิ่มเติม หรือลดปริมาณงานตามท่ีเห็นสมควรและ
ตามหลักวชิ าการเพ่ือใหเปนไปตามแบบรูปรายการละเอียดและขอกําหนด
(หากไมเปนไปตามแบบรูปรายการและขอกําหนดตองรายงานคณะกรรมการ
ตรวจการจางพจิ ารณาทนั ที)

10.1.3 ถาผูรับจางไมปฏิบัติตามใหสั่งหยุดงานน้ันเฉพาะสวนหน่ึงสวนใดหรือ
ทั้งหมดแลวแตกรณีไวกอนจนกวาผูรับจางยินยอมปฏิบัติใหถูกตองตาม
หลกั วิชาการ และรายงานคณะกรรมการตรวจการจางทันที

บทที่ 3 การบรหิ ารจดั การกอ สรางถนน ทางเดินและทางเทา 21

มาตรฐานถนน ทางเดิน และทางเทา

10.2 หากผูรับจางกอสรางลาชากวาแผนงาน ใหทําหนังสือแจงเตือนผูรับจางใหเรงรัด
ดําเนินการกอสรางใหเปนไปตามแผนงาน และรายงานใหกรรมการตรวจการจาง
ผบู รหิ ารทองถ่นิ เพือ่ ทราบและพิจารณาดาํ เนนิ การตอ ไป

10.3 ส่ังพักงาน
10.3.1 ในกรณีทีป่ รากฏวาแบบรปู รายการขอกําหนดขดั แยง กัน
10.3.2 หรือเปนท่ีคาดหมายไดวาถึงแมวางานน้ันจะเปนไปตามแบบรูปรายการ
รายละเอียดขอกําหนดแตเมือ่ สาํ เร็จแลวจะไมมน่ั คงแข็งแรง
10.3.3 หรอื ไมเปนไปตามหลกั วชิ าการทีด่ ี
10.3.4 หรือไมปลอดภยั
10.3.5 เม่ือส่งั พักงานแลว ตอ งรายงานตอ คณะกรรมการตรวจการจา งทนั ที

10.4 จดบันทึกการปฏิบัติงานของผูรับจาง และเหตุการณแวดลอมเปนรายวัน พรอมท้ัง
ผลการปฏิบัติงานอยางนอย 2 ฉบับ รายงานใหคณะกรรมการตรวจการจางทราบ
ทุกสัปดาหและเก็บรักษาไวเพ่ือมอบใหแกเจาหนาที่พัสดุเม่ือเสร็จงานแตละงวด
โดยใหถ อื วา เปน เอกสารสาํ คัญของทางราชการเพ่ือประกอบการตรวจสอบของ ผูมี
หนาที่ทีเ่ กีย่ วขอ งตอไป

10.5 รายงานผลการปฏิบัตงิ านของผูรับจางวาเปนไปตามสัญญา ใหคณะกรรมการตรวจ
การจางทราบภายใน 3 วันทําการ ดังนี้ ในวนั กาํ หนดลงมือทาํ งานของ ผูรับจางตาม
สญั ญา และในวันสง มอบงานแตละงวด

11. เปน ผรู วบรวมเอกสารเพ่ือประกอบการลงทะเบียนพสั ดุ

ขอเสนอแนะสําหรับชางผคู วบคุมงาน
1. เมอ่ื พบปญหาอปุ สรรคในการดาํ เนินการงานกอ สรา ง อยาเก็บปญหาน้ันไวโดยลําพัง ให
รีบทํารายงานปญหาอุปสรรคเสนอคณะกรรมการตรวจการจางและผูบริหารทองถิ่นเพ่ือทราบและ
พจิ ารณาแนวทางแกไขปญ หาดงั กลา วต้ังแตเ รม่ิ ตนไดอ ยางทนั ทว งที
2. การสั่งหยุดงานตองส่ังเปนลายลักษณอักษรอยางมีเหตุผล และรายงานคณะกรรมการ
ตรวจการจางทราบทนั ที
3. เปน ผูต รวจสอบสภาพความเสยี หายของโครงการในระหวางระยะเวลาประกันสัญญา หาก
พบวามีสวนใดสวนหนึ่งชํารุดเสียหายใหรีบรายงานผูบริหารทองถิ่น เพื่อจะไดแจงใหผูรับจางซอมแซม
แกไ ขโดยเร็ว

22 บทท่ี 3 การบริหารจัดการกอ สรางถนน ทางเดินและทางเทา

กรมสง เสรมิ การปกครองทอ งถ่นิ กระทรวงมหาดไทย

3.10 การตรวจรับ/ ตรวจการจา งงานกอสราง

โดยท่ัวไปสัญญาการกอ สรา งจะแบง งานออกเปนงวดๆ โดยกําหนดรายละเอียดของงานพรอม
กับเง่ือนไขของการจายเงิน แตการตรวจรับหรือตรวจการจางงานแตละงวด คณะกรรมการตรวจการจาง
สว นมากจะใชวิธซี ักถามรายละเอียดกบั ผูค วบคุมงาน โดยไมไดศึกษารายละเอียดของงวดงานตามสัญญากอน
ซ่ึงเปนสาเหตุสําคัญทําใหเกิดความไมรอบคอบ และงานกอสรางถนน ทางเดินและทางเทาไมได
มาตรฐาน

ดงั นน้ั เพ่ือใหการตรวจรับหรือการตรวจการจางงานเปนไปอยางถูกตอง คณะกรรมการตรวจ
การจางตามระเบียบวาดว ยการพสั ดุ มีหนาทีโ่ ดยสรุปดังน้ี

3.10.1 ตรวจสอบรายงานประจําสัปดาหเปรียบเทียบกับแบบรูป รายการกอสรางและ
ขอกาํ หนดในสญั ญา

3.10.2 รบั ทราบและพิจารณาการสั่งหยดุ งานของชางผูควบคมุ งาน
3.10.3 หากมีปญหาหรือขอสงสัยใหออกตรวจงาน หากเห็นวาไมถูกตองตามหลักวิชาชางหรือ
มาตรฐานงานใหพิจารณาแกไข เพิ่มเติม หรือลดปริมาณงานตามผลการประชุมรวมของคณะกรรมการตรวจ
การจา ง ผูร ับจาง ชา งผคู วบคมุ งาน และเสนอผูบรหิ ารทอ งถ่ินพิจารณาอนุมตั ติ อ ไป
3.10.4 ใหตรวจผลงานท่ีผูรับจางสงมอบภายใน 3 วันทําการ นับจากวันที่ผูรับจางขอสงมอบ
งานใหแตละงวด หากไมสามารถดําเนินการไดตองมีเหตุผลประกอบเร่ือง และใหทําการตรวจการจาง
โดยเร็วตอ ไป
3.10.5 เมื่อตรวจสอบแลวเห็นวาถูกตองใหลงนามในใบตรวจการจาง แตหากพบวาผลงาน
ไมเ ปน ไปตามสญั ญา ใหร ายงานผูบริหารทอ งถ่นิ และผรู บั จา งทราบเพือ่ พิจารณาดาํ เนนิ การแกไขตอไป
3.10.6 หากกรรมการตรวจการจางบางรายไมตรวจรับงาน จะตองทําความเห็นแยงไวเปน
หลักฐาน แลวเสนอผบู ริหารทองถิน่ พจิ ารณาสงั่ การตอ ไป

รายละเอยี ดประกอบการตรวจการจา งงานกอ สรา ง แสดงในแบบฟอรม ภาคผนวก หนา ท่ี 10 - 14

3.11 การกาํ หนดบุคลากร

เพื่อใหการดําเนินงานกอสรางถนนเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ควรกําหนดบุคลากร ให
เหมาะสมกบั งานในแตล ะขนั้ ตอน ดังนี้

บทท่ี 3 การบริหารจัดการกอสรา งถนน ทางเดินและทางเทา 23

มาตรฐานถนน ทางเดิน และทางเทา

ตารางแสดงการจัดบคุ ลากร
สําหรับงานกอ สราง และบํารงุ รักษาถนน

ประเภทถนน การออกแบบ ประมาณราคา การควบคุมงาน การตรวจรบั งาน การบาํ รุงรักษา

ลูกรงั วิศวกรโยธา นายชางโยธา นายชางโยธา วศิ วกรโยธา นายชางโยธา
คอนกรตี เสริมเหลก็ วศิ วกรโยธา นายชางโยธา นายชางโยธา วิศวกรโยธา นายชางโยธา
แอสฟล ตค อนกรตี วศิ วกรโยธา นายชางโยธา นายชางโยธา วศิ วกรโยธา นายชางโยธา
เคปซีล วิศวกรโยธา นายชางโยธา นายชางโยธา วิศวกรโยธา นายชางโยธา
เซอรเ ฟซทรีตเมนต วศิ วกรโยธา นายชางโยธา นายชางโยธา วิศวกรโยธา นายชางโยธา
อน่ื ๆ วิศวกรโยธา นายชางโยธา นายชางโยธา วิศวกรโยธา นายชางโยธา

24 บทที่ 3 การบรหิ ารจัดการกอสรางถนน ทางเดินและทางเทา

กรมสงเสรมิ การปกครองทอ งถน่ิ กระทรวงมหาดไทย

บทท่ี 4

มาตรฐานงานกอสรา งถนน ทางเดนิ และทางเทา

สวนที่ 1 มาตรฐานวัสดทุ ี่ใชในการกอสรา งถนน

¾ สถ. – มถ. – 001 มาตรฐานวสั ดุคันทาง (Subgrade)
วัสดุคันทางหมายถึง วัสดุท่ีไดจากบอยืม (Borrow Pit) ขางทาง ถนนเดิม หรือท่ีอ่ืนๆ แลว

นํามาใชท าํ คนั ทาง
คณุ สมบัติ
1. ปราศจากรากไม ใบไม หรือวัสดุอินทรียซึ่งเปนสารผุพังปนอยู อันอาจจะทําใหเกิดการ
ยบุ ตัวเสียหาย
2. มีความหนาแนนแหงสูงสุด (Maximum dry density) ไมนอยกวา 1,440 กิโลกรัมตอ
ลูกบาศกเมตร
3. มีคา การพองตัว (Swelling) ไมม ากกวา รอ ยละ 4
4. มีคณุ สมบตั อิ ่นื ๆ ตามทกี่ ําหนดไวในแบบ

¾ สถ. – มถ. - 002 มาตรฐานวสั ดรุ องพืน้ ทาง (Subbase)
วสั ดรุ องพ้ืนทาง หมายถึงวสั ดุลูกรงั หรือมวลรวมดิน (Soil Aggregate) ซึ่งนํามาเสริมบนช้ันคันทาง

หรือใชเปนชัน้ พ้นื ทางของถนนชนดิ ทม่ี ผี ิวจราจรเปน ลกู รงั
คุณสมบตั ิ
1. เปนวัสดุประกอบดวยเมด็ แขง็ ทนทานและมีวสั ดเุ ช้อื ประสานทดี่ ีผสมอยู
2. ปราศจากกอ นดนิ เหนียว (Clay Lump Shale) รากไมหรือวัชพชื อ่นื
3. ขนาดวสั ดใุ หญส ดุ ไมโตกวา 5 เซนตเิ มตร
4. คา ขีดเหลว (Liquid Limit) ไมมากกวา รอยละ 35
5. คาดัชนคี วามเปน พลาสติก (Plasticity Index) ไมม ากกวารอ ยละ 11
6. คาจาํ นวนสวนรอยละของความสกึ หรอ (Percentage of wear) ไมมากกวา 60
7. มมี วลคละผา นตะแกรง แสดงดงั ตารางท่ี 4-1

บทท่ี 4 มาตรฐานงานกอ สรา งถนน ทางเดนิ และทางเทา 25

มาตรฐานถนน ทางเดิน และทางเทา

ตารางท่ี 4-1 ตารางมวลคละผา นตะแกรงของวัสดุรองพนื้ ทาง (Subbase)

ขนาดของตะแกรง นํ้าหนกั ทผ่ี า นตะแกรงมีคาเปนรอยละ
มาตรฐาน
2" ชนดิ ก. ชนดิ ข. ชนดิ ค. ชนดิ ง. ชนดิ จ.
1" 100 -
3/8" - 100 - - -
เบอร 4 30 - 65 100
เบอร 10 25 - 55 75 - 95 100 100
เบอร 40 15 - 40 55 - 100
เบอร 200 8 - 20 40 - 75 50 -85 60 – 100 40 - 100
2-8 20 - 50
30 - 60 35 - 65 50 – 85 6 - 20

20 - 45 25 - 50 40 – 70

15 - 30 15 - 30 25 – 45

5 - 20 5 – 15 5 – 20

¾ สถ. – มถ. - 003 มาตรฐานวัสดุพื้นทาง (Base)
วัสดุพ้ืนทาง หมายถึง วัสดุหินคลุก (หินโม) หรือกรวดคลุก (กรวดโม) ซึ่งมีขนาดคละกัน

สม่ําเสมอจากใหญไปหาเล็กนํามาเสริมบนชั้นรองพ้ืนทางหรือชนั้ คันทาง

คุณสมบตั ิ
1. ปราศจากกอนดนิ เหนียว (Clay Lump Shale) รากไมหรอื วัชพชื อ่นื
2. มอี ตั ราสว นมวลคละสมา่ํ เสมอประกอบดว ยสว นหยาบและสว นละเอียด
3. สว นหยาบตองเปนหินโมหรอื กรวดโม
4. สวนละเอียดเปนวัสดชุ นดิ เดียวกับสว นหยาบในบางกรณอี าจใชท รายสะอาดแทนได
5. คา ขีดเหลว (Liquid Limit) ไมม ากกวารอ ยละ 25
6. คา ดชั นคี วามเปนพลาสติก (Plasticity Index) ไมม ากกวารอยละ 11
7. คา จํานวนสวนรอ ยละของความสกึ หรอ (Percentage of wear) ไมมากกวา 60
8. มีมวลคละผา นตะแกรง แสดงดงั ตารางท่ี 4-2

26 บทท่ี 4 มาตรฐานงานกอ สรางถนน ทางเดนิ และทางเทา

กรมสงเสรมิ การปกครองทอ งถ่ิน กระทรวงมหาดไทย

ตารางท่ี 4-2 ตารางมวลคละผา นตะแกรงของวัสดุพืน้ ทาง (Base)

ขนาดของตะแกรง นํ้าหนกั ท่ผี านตะแกรงมีคา เปน รอ ยละ
มาตรฐาน
2" ชนดิ ก. ชนิด ข. ชนิด ค. ชนดิ ง.
1" -
3/8" 100 100 - 100
เบอร 4
เบอร 10 - 75 – 95 100 60 - 100
เบอร 40 50 - 85
เบอร 200 30 - 65 40 - 75 50 -85 40 - 70
25 - 45
25 - 55 30 - 60 35 - 65 10 - 25

15 - 40 20 - 45 25 - 50

8 - 20 15 - 30 15 - 30

2 - 8 5 - 20 5 - 15

¾ สถ. – มถ. - 004 มาตรฐานวสั ดคุ ดั เลือก (Selected Material)
วัสดุคัดเลือก หมายถึง วัสดุ ลูกรังหรือมวลรวมดิน (Soil Aggregate) ซึ่งนํามาใชเสริมระหวาง

วสั ดุคนั ทางและวสั ดุ รองพ้นื ทางหรือตามตาํ แหนงชัน้ อื่นๆ ท่กี าํ หนดไวในแบบ

คุณสมบตั ิ

วัสดุคัดเลือกประเภท ก. ตอ งเปน วัสดุ Soil Aggregate ที่ไมใ ชท ราย
1. ปราศจากกอ นดินเหนียว (Clay Lump Shale) รากไมห รอื วัชพชื อื่น
2. ขนาดวสั ดใุ หญท สี่ ุดไมโ ตกวา 5 เซนตเิ มตร
3. ขนาดวสั ดผุ านตะแกรงเบอร 200 ไมมากกวา รอ ยละ 25 โดยนํา้ หนัก
4. คา ขดี เหลว (Liquid Limit) ไมมากกวา รอยละ 40
5. คา ดชั นคี วามเปนพลาสติก (Plasticity Index) ไมมากกวารอยละ 20
6. คา การพองตวั (Swelling) ไมม ากกวา รอ ยละ 3
7. คา CBR จากหองทดลอง ไมนอยกวาที่กําหนดไวในแบบและไมนอยกวาวัสดุคันทาง

ณ บรเิ วณนน้ั

วสั ดคุ ัดเลอื กประเภท ข. ตอ งเปนวัสดุ Soil Aggregate ทราย หรือวสั ดอุ ืน่ ใดทย่ี อมใหใ ชได
1. ปราศจากกอ นดินเหนียว (Clay Lump Shale) รากไมหรือวัชพืชอน่ื
2. ขนาดวัสดุใหญท ่ีสดุ ไมโตกวา 5 เซนติเมตร
3. ขนาดวสั ดผุ านตะแกรงเบอร 200 ไมมากกวารอยละ 30 โดยนา้ํ หนกั

บทที่ 4 มาตรฐานงานกอสรา งถนน ทางเดินและทางเทา 27

มาตรฐานถนน ทางเดนิ และทางเทา

4. คา การพองตัว (Swelling) ไมมากกวารอยละ 4
5. ถาเปนทราย ขนาดผานตะแกรงเบอร 200 ไมมากกวารอยละ 20 โดยนํ้าหนักความ

หนาแนนแหงสูงสุด (Maximum dry density) ไมนอยกวา 2,000 กิโลกรัมตอ
ลูกบาศกเมตร

¾ สถ. – มถ. - 005 มาตรฐานวัสดุไหลทาง (Shoulder)
วัสดุไหลทาง หมายถึง วัสดุลูกรัง กรวด หิน หินคลุก หรือวัสดุที่มีสวนผสมของวัสดุดังกลาว

แลว ประกอบเขาดวยกนั เพอ่ื ใชในการกอ สรา งไหลท างของถนน

คณุ สมบตั ิ
1. ปราศจากกอนดินเหนยี ว (Clay Lump Shale) รากไมห รอื วัชพชื อ่ืน
2. ขนาดวสั ดุใหญท่สี ดุ ไมโ ตกวา 5 เซนตเิ มตร
3. ขนาดวสั ดผุ า นตะแกรงเบอร 200 ไมมากกวา 2/3 ของขนาดตะแกรง เบอร 40
4. คาขีดเหลว (Liquid Limit) ไมมากกวารอ ยละ 35
5. คาดัชนคี วามเปน พลาสตกิ (Plasticity Index) อยูระหวาง 4 – 15
6. คา จํานวนสวนรอยละของความสกึ หรอ (Percent of wear) ไมม ากกวา 60
7. คา CBR จากหอ งทดลอง ไมน อยกวาทกี่ ําหนดไวในแบบ
8. มมี วลคละผานตะแกรง แสดงดังตารางที่ 4-3

ตารางที่ 4-3 ตารางมวลคละผา นตะแกรงของวัสดไุ หลทาง (Shoulder)

ขนาดของตะแกรง น้าํ หนกั ท่ีผา นตะแกรงมีคาเปน รอยละ
มาตรฐาน
2" ชนดิ ก. ชนิด ข. ชนดิ ค. ชนิด ง. ชนดิ จ.
1" 100 -
3/8" - 100 - - -
เบอร 4 30 - 65 100
เบอร 10 25 - 55 75 - 95 100 100
เบอร 40 15 - 40 55 - 100
เบอร 200 8 - 20 40 - 75 50 -85 60 – 100 40 - 100
2-8 20 - 50
30 - 60 35 - 65 50 – 85 6 - 20

20 - 45 25 - 50 40 – 70

15 - 30 15 - 30 25 – 45

5 - 20 5 - 15 10 – 25

28 บทที่ 4 มาตรฐานงานกอสรางถนน ทางเดนิ และทางเทา

กรมสงเสริมการปกครองทอ งถิ่น กระทรวงมหาดไทย

¾ สถ. – มถ. - 006 มาตรฐานวัสดลุ กู รงั ชนิดทาํ ผิวจราจร
วัสดุลูกรังชนิดทําผิวจราจรหมายถึง ลูกรัง หรือ Soil Aggregate ซ่ึงนํามาเสริมบนชั้นทางเพื่อ

ใชเปนผวิ จราจร

คุณสมบตั ิ
1. ปราศจากกอ นดินเหนียว (Clay Lump Shale) รากไมห รือวัชพชื อนื่
2. ขนาดวัสดใุ หญที่สุดไมโตกวา 5 เซนติเมตร
3. ขนาดวัสดุผา นตะแกรงเบอร 200 ไมม ากกวา 2/3 ของขนาดตะแกรง เบอร 40
4. คา ขีดเหลว (Liquid Limit) ไมม ากกวารอยละ 35
5. คา ดัชนีความเปนพลาสติก (Plasticity Index) อยูร ะหวา ง 4 – 11
6. คา จํานวนสว นรอยละของความสกึ หรอ (Percent of wear) ไมมากกวา 60
7. คา CBR จากหอ งทดลอง ไมน อ ยกวา 30 หรอื ไมน อยกวา ทีก่ ําหนดไวในแบบ
8. มีมวลคละผา นตะแกรง แสดงดังตารางท่ี 4-4

ตารางท่ี 4-4 ตารางมวลคละผา นตะแกรงของวสั ดุลูกรงั ชนิดทําผิวจราจร

ขนาดของตะแกรง นํา้ หนกั ท่ีผา นตะแกรงมคี าเปน รอ ยละ
มาตรฐาน
2" ชนดิ ก. ชนดิ ข. ชนดิ ค. ชนิด ง.
1" - -
3/8" 100 -- 100
เบอร 4 -
เบอร 10 50 -85 100 100
เบอร 40 25 - 65 70 - 100
เบอร 200 25 - 50 60 – 100 - 55 - 100
15 - 30 30 - 70
8 - 15 50 – 85 55 - 100 8 - 25

40 – 70 40 - 100

25 – 45 25 - 50

8 – 25 8 - 20

บทที่ 4 มาตรฐานงานกอสรา งถนน ทางเดินและทางเทา 29

มาตรฐานถนน ทางเดิน และทางเทา

¾ สถ.–มถ.–007 มาตรฐานวัสดุชนิดเม็ดสําหรับผิวจราจรแบบเซอรเฟซทรีตเมนต (Surface

Treatment)
วสั ดุชนิดทําผิวจราจรแบบเซอรเฟซทรีตเมนต (Surface Treatment) หมายถึง วัสดุหินยอยหรือ
กรวดยอ ยซึ่งมีคณุ สมบัตติ ามที่กาํ หนดนี้

คุณสมบตั ิ
1. ตองสะอาด ปราศจากฝุน ดนิ หรอื วัสดุไมพ งึ ประสงคใ ดๆ
2. ตอ งแขง็ คงทน และมีคา ความสึกหรอ (Percent of wear) ไมม ากกวา รอ ยละ 35
3. มีคาของการหลุดลอกของยางแอสฟลต (ทดสอบโดยวิธี Plate Test) ไมมากกวา
รอ ยละ 20
4. ตองไมมีขนาดยาว หรือแบนมากเกินไป และคาดัชนีความแบน (Flakiness Index)
ไมม ากกวารอ ยละ 35
5. มีคาของสวนท่ีไมคงทน (Loss) เม่ือทดสอบหาคาความคงทน (Soundness) ของ
มวลรวมโดยใชโซเดยี มซลั เฟต จํานวน 5 รอบแลวไมมากกวา รอ ยละ 5
6. มมี วลคละผานตะแกรงมาตรฐาน (แบบไมลาง) แสดงดังตารางท่ี 4-5

ตารางที่ 4-5 ตารางมวลคละผา นตะแกรงของวสั ดุชนิดเม็ด
สําหรับผวิ จราจรแบบเซอรเฟซทรีตเมนต (Surface Treatment)

ขนาดที่ใชเ รียก นํา้ หนกั ผา นตะแกรงเปน รอยละ 1.18
25.0 19.0 12.5 9.5 4.75 2.36 มม.
มลิ ลิเมตร (นิว้ ) มม. มม. มม. มม. มม. มม. 0 - 0.5
19 (3/4) 100 90 - 100 0 - 30 0 - 8 - 0 - 2 0 - 0.5
12.5(1/2) - 100 90 - 100 0 - 30 0 - 4 0 - 2 0-2
9.5(3/8)
100 90 - 100 0 - 30 0 - 8

¾ สถ. – มถ. - 008 มาตรฐานวัสดุชนิดเม็ดสําหรับผวิ ทางแมคคาดมั (Penetration Macadam)
วัสดุชนิดเม็ดทําผิวทางแมคคาดัม (Penetration Macadam) หมายถึง วัสดุ หรือกรวดยอย ซ่ึงมี

คุณสมบัติตามท่กี ําหนดน้ี
คุณสมบัติ
1. สะอาดปราศจากจากวัสดุอนื่ เชน วชั พชื ดนิ เหนยี ว เปน ตน

30 บทท่ี 4 มาตรฐานงานกอ สรา งถนน ทางเดินและทางเทา

กรมสง เสรมิ การปกครองทองถิน่ กระทรวงมหาดไทย

2. คาจาํ นวนสวนรอ ยละของความสกึ หรอ (Percent of wear ) ไมมากกวารอยละ 40
3. มีคา จาํ นวนสวนรอ ยละของยางแอสฟลต เคลือบผิวไมน อยกวา รอ ยละ 95
4. มคี าดัชนคี วามแบน (Flakiness Index) ไมม ากกวา รอยละ 30
5. มคี าดัชนคี วามยาว (Elongation Index) ไมมากกวารอ ยละ 30
6. เม่ือทดสอบการคงตัว (Soundness Test) นํ้าหนักของวัสดุหินยอย หรือกรวดยอยท่ี

หายไปตองไมมากกวารอ ยละ 9
7. กรณีท่ีใชกรวดยอย สวนท่ีคางตะแกรงมาตรฐานเบอร 4 ของกรวดแตละขนาด

ตองมีหนาซ่ึงถูกโมใหแตกเปนส่ีเหลี่ยมเปนจํานวนไมนอยกวารอยละ 80 โดย
นาํ้ หนกั
8. มมี วลคละผานตะแกรง แสดงดังตารางที่ 4-6

ขนาดของ ตารางท่ี 4-6 ตารางมวลคละผา นตะแกรงของวสั ดชุ นิดเม็ด
ตะแกรง สําหรับผวิ ทางแมคคาดมั (Penetration Macadam)
มาตรฐาน
ขนาดระบุ นาํ้ หนกั ผานตะแกรงเปน รอ ยละ
2 -1"
1 – 1/2" 2 ½ " 2" 1 ½ " 1" ¾" ½ " 3/8 " เบอร 4 เบอร 8 เบอร 16

3/4" 100 90 - 100 30 - 70 0 - 15 - 0.5 - - - -
3/4" - 100 90 - 100 20 - 60 0 - 15 0 - 5 - - -
3/4"
100 90 - 100 0 - 30 0 - 8 - 0 - 2 0 - 0.5
100 90 - 100 0 – 30 0 - 4 0 - 2 0 - 0.5
100 90 – 100 0 - 30 0 - 8 0 - 2

¾ สถ. – มถ. – 009 มาตรฐานวัสดุชนิดเม็ด (Aggregate) สําหรับผิวจราจรแบบแอสฟลตคอนกรีต

(Asphalt concrete)
วสั ดชุ นิดเม็ดใชทําผิวจราจรแบบแอสฟล ตค อนกรีต (Asphalt Concrete)
ƒ วัสดุชนิดเม็ดหยาบ (Coarse Aggregates) หมายถึง วัสดุท่ีมีขนาดคางตะแกรง เบอร 4

ข้นึ ไป ไดแกว ัสดหุ ินยอ ย กรวดยอ ย ซ่ึงมีคุณสมบัติตามทก่ี ําหนด

บทท่ี 4 มาตรฐานงานกอ สรา งถนน ทางเดนิ และทางเทา 31

มาตรฐานถนน ทางเดิน และทางเทา

ƒ วัสดุชนิดเม็ดละเอียด (Fine Aggregates) หมายถึง วัสดุที่มีขนาดผานตะแกรง เบอร 4
ลงมา ไดแ ก วสั ดุ หินฝุน ทราย ซงึ่ มีคุณสมบตั ติ ามท่กี าํ หนด

ƒ วัสดุชนิดละเอยี ด (Mineral Filler) หมายถงึ วัสดุที่มีขนาดผานตะแกรง เบอร 30 ลงมา ไดแก
วัสดุ หนิ ฝุน ปอรตแลนดซเี มนต ซิลกิ าซเี มนต ซง่ึ มคี ุณสมบตั ติ ามทก่ี าํ หนด

คณุ สมบตั ิ

วสั ดชุ นิดเมด็ หยาบ (Coarse Aggregates)
1. สะอาดปราศจากวัสดอุ ื่น เชน วัชพชื ดินเหนยี ว เปน ตน
2. คา จาํ นวนสว นรอยละของความสึกหรอ (Percent of wear ) ไมมากกวา รอยละ 40
3. มคี า จาํ นวนสวนรอ ยละของยางแอสฟล ต เคลือบผิวไมน อ ยกวารอ ยละ 95
4. มคี า ดัชนีความแบน (Flakiness Index) ไมม ากกวารอยละ 30
5. มีคาดชั นคี วามยาว (Elongation Index) ไมมากกวา รอยละ 30
6. เมื่อทดสอบการคงตัว (Soundness Test) น้ําหนักของวัสดุหินยอย หรือกรวดยอยท่ี

หายไปตองไมม ากกวารอยละ 9
7. กรณที ใี่ ชก รวดยอ ย สวนทีค่ างตะแกรงมาตรฐานเบอร 4 ของกรวดแตละขนาดตอง

มหี นา ซ่ึงถกู โมใ หแตกเปนส่เี หลย่ี มเปนจํานวนไมน อยกวา รอยละ 80 โดยนาํ้ หนัก
8. มีมวลคละผา นตะแกรง แสดงดงั ตารางท่ี 4-7

ตารางท่ี 4-7 ตารางมวลคละผา นตะแกรงของวสั ดชุ นิดเมด็ หยาบ (Coarse Aggregates)
สาํ หรับผิวจราจรแบบแอสฟลตค อนกรีต (Asphalt concrete)

วสั ดุ น้ําหนกั ผานตะแกรงเปน รอ ยละ
3/4" 1/2" 3/8" เบอร 4 เบอร 8
หนิ ยอยหรอื
กรวดยอ ย 100 70 - 90 0 - 60 0 - 20 0 - 5

วสั ดชุ นิดเม็ดละเอียด (Fine Aggregates)
1. สะอาดปราศจากวัสดุอืน่ เชน วัชพืช ดนิ เหนยี ว เปนตน
2. เม่ือทดสอบการคงตัว (Soundness Test) นํ้าหนักของวัสดุหินยอย หรือกรวดยอยที่

หายไปตองไมมากกวารอ ยละ 9
3. มคี าสมมลู ของทราย (Sand Equivalent) มากกวา รอยละ 50
4. ขนาดคละตาราง แสดงดังตารางที่ 4-8

32 บทท่ี 4 มาตรฐานงานกอสรา งถนน ทางเดินและทางเทา

กรมสงเสริมการปกครองทองถิน่ กระทรวงมหาดไทย

ตารางท่ี 4-8 ตารางมวลคละผา นตะแกรงของวัสดุชนิดเมด็ ละเอยี ด (Fine Aggregates)
สาํ หรบั ผวิ จราจรแบบแอสฟล ตคอนกรีต (Asphalt concrete)

วัสดุ นา้ํ หนักผานตะแกรงเปน รอยละ
3/4" เบอร 4 เบอร 8 เบอร 16 เบอร 30 เบอร 50 เบอร 100 เบอร 200
หนิ ฝุน 100 80 - 100 - - - 30 - 50 - 10 - 25
ทรายหยาบ
หรอื ทราย 100 - - - - - 0 - 15
ละเอียด

วสั ดชุ นิดละเอียด (Mineral Filler)
1. สะอาดปราศจากวัสดอุ ่นื เชน วชั พชื ดนิ เหนยี ว เปนตน
2. ตองแหง ไมจบั กนั เปน เมด็
3. มีมวลคละผา นตะแกรง แสดงดังตารางท่ี 4-9

ตารางที่ 4-9 ตารางมวลคละผา นตะแกรงของวัสดชุ นิดละเอยี ด (Mineral Filler)
สําหรบั ผิวจราจรแบบแอสฟล ตคอนกรีต (Asphalt concrete)

ขนาดตะแกรงมาตรฐาน น้าํ หนักทผี่ า นตะแกรงเปนรอ ยละ
เบอร 30 100
เบอร 80 95 – 100
เบอร 200 65 – 100

วสั ดชุ นิดเมด็ หยาบ เม็ดละเอียด และวัสดุชนิดละเอียด (Mineral Filler) เม่ือผสมกันแลวตองมี
มวลคละผา นตะแกรงมาตรฐานตามตาราง แสดงดงั ตารางที่ 4-10

บทท่ี 4 มาตรฐานงานกอสรา งถนน ทางเดินและทางเทา 33

มาตรฐานถนน ทางเดนิ และทางเทา

ตารางท่ี 4-10 ตารางมวลคละผา นตะแกรงของวสั ดุผสมระหวา ง
วัสดุชนิดเมด็ หยาบ เมด็ ละเอยี ด และวสั ดุชนดิ ละเอียด (Mineral Filler)

สําหรบั ผิวจราจรแบบแอสฟล ตคอนกรตี (Asphalt concrete)

นาํ้ หนักทผ่ี านตะแกรงเปน รอยละ

ขนาดตะแกรงมาตรฐาน ชนิด ก. เกรดละเอยี ด ชนิด ข. เกรดหยาบ
(Fine Grade) (Coarse Grade)
3/4" 100
1/2" 80 – 100 100
3/8" 70 – 90 75 - 100
เบอร 4 50 – 70 60 - 85
เบอร 8 35 – 50 35 - 55
เบอร 30 18 – 29 20 - 35
เบอร 50 13 – 23 10 - 22
เบอร 100 8 – 16 6 - 16
เบอร 200 4 – 10 4 - 12
2-8

¾ สถ.–มถ.–010 มาตรฐานวัสดยุ างคทั แบคแอสฟล ตชนดิ บมชา (Slow Curing Cut Back Asphalt)
วัสดุยางคัทแบคแอสฟลตชนิดบมชา ใชทําผิวจราจรซึ่งมีชื่อเรียกตามคุณสมบัติท่ีกําหนดตาม

แบบระดับความหนืดทางจลน (Kinematic Viscosity Grades) จํานวน 4 เกรด คือ SC - 70, SC - 250, SC
– 800 และ SC – 3000

คณุ สมบตั ิ
1. ไมมีนา้ํ เจอื ปน
2. ไมเ ปน ฟอง เมือ่ ไดร บั ความรอ นถึงอณุ หภมู ทิ ี่ใชง าน

การทดสอบคุณสมบตั ิ ใหเ ปน ไปตามตารางท่ี 4-11

34 บทที่ 4 มาตรฐานงานกอสรา งถนน ทางเดินและทางเทา

กรมสงเสรมิ การปกครองทอ งถิ่น กระทรวงมหาดไทย

ตารางท่ี 4-11 ตารางแสดงคณุ สมบัติของวัสดยุ างคัทแบคแอสฟลตช นดิ บมชา
(Slow Curing Cut Back Asphalt)

รายการ ทดสอบ ทดสอบ เกรด
โดยวิธี โดยวธิ ี SC - 70 SC – 250 SC – 800 SC - 3000
Kinematic Viscosity at 140º F AASHTO ASTM 70 - 140 250 – 500 800 – 1600 3000 - 6000
(60º) ,cst F 150+ 175+ 200+ 225+**
T201 D2170 (60+) (79) (93) (107)

Flash Point ( Cleveland Open T48 D92 10 - 30 4 - 20 2 -12 5-
Cup) ,(C)
T78 D402 4 - 70 8 – 100 20 - 160 40 - 350
Distillation Test : Total Distillate to 50+ 60+ 70+ 80+
680º (360 Cº) % by Volume T201 D2170
Kinematic Viscosity of T56 D243 100+ 100+ 100+ 100+
Residue,140Fº, 99.0+ 99.0+ 99.0+ 99.0+
(60 Cº) Stokes T51 D113 0.5-*** 0.5- 0.5- 0.5-
Asphalt Residue of 100 T44 D2024
Penetration ,% T55 D95

Ductility of 100 Prnrtration Residue
at 77 Fº

(25 Cº) cm.
Solubility in Trichoroethylene.%

Water ,%

หมายเหตุ * SC หมายถึง Slow Curing Cut – Back Asphalt
** เคร่ืองหมาย + ที่อยูหลงั คา ตวั เลขทร่ี ะบุหมายถงึ คาต้งั แตต ัวเลขท่ีระบุขน้ึ ไป
*** เครือ่ งหมาย – ที่อยูหลงั คาตวั เลขท่รี ะบหุ มายถงึ คาตงั้ แตตัวเลขทร่ี ะบุลงมา

¾ สถ. – มถ. - 011 มาตรฐานปนู ซีเมนต
ปูนซีเมนตที่ใชในงานกอสรางทําผิวจราจรคอนกรีตใหหมายถึง ปูนซีเมนตปอรตแลนด

ประเภทหนึง่ หรอื ประเภทสาม

บทที่ 4 มาตรฐานงานกอสรา งถนน ทางเดนิ และทางเทา 35

มาตรฐานถนน ทางเดนิ และทางเทา

ƒ ปูนซีเมนตปอรตแลนดประเภทหน่ึง (ธรรมดา) ซ่ึงใชกันทั่วไป ไดแก ปูนซีเมนตตราชาง
บริษัทปูนซีเมนตไทย จํากัด ปูนซีเมนตตราพญานาคเศียรเดียวสีเขียวของบริษัท
ชลประทานซีเมนต จํากัด ปูนซีเมนตตราเพชรเม็ดเดียวของ บริษัทปูนซีเมนตนครหลวง
จํากดั เปน ตน

ƒ ปูนซีเมนตปอรตแลนดประเภทสาม (รับกําลังอัดสูง) ซึ่งใชกันทั่วไป เชน ปูนซีเมนต
เอราวัณ ของบริษัทปูนซีเมนตไทย จํากัด ปูนซีเมนตตราสามเพชร ของบริษัทปูนซีเมนต
นครหลวง จํากัด ปูนซีเมนตตราพญานาคเศียรเดียวสีแดง ของบริษัทชลประทานซีเมนต
จํากดั เปนตน

คณุ สมบัติ
ปูนซีเมนตปอรตแลนด ประเภทหน่ึง หรือประเภทสาม ตองมีคุณสมบัติตามมาตรฐาน

ผลติ ภัณฑอ ุตสาหกรรม มอก. 15 เลม 1-2517
¾ สถ. – มถ. - 012 มาตรฐานวัสดชุ นิดเมด็ (Aggregates) สําหรบั ผวิ จราจรคอนกรตี

วสั ดุชนดิ เม็ด ใชท าํ ผิวจราจรคอนกรตี แบง เปน 2 ชนดิ คอื
• วัสดุชนิดเม็ดหยาบ (Coarse Aggregates) หมายถึง วัสดุท่ีมีขนาดคางตะแกรง เบอร 4 ข้ึนไป

ไดแกวสั ดุหนิ ยอย กรวดยอย ซงึ่ มคี ุณสมบตั ิตามทกี่ ําหนด
• วัสดุชนิดเม็ดละเอียด (Fine Aggregates) หมายถึง วัสดุท่ีมีขนาดผานตะแกรง เบอร 4

ลงมา ไดแก วัสดุ หนิ ฝุน ทราย ซ่ึงมคี ุณสมบัติตามท่กี ําหนด
คุณสมบัติ

วสั ดุชนิดเมด็ หยาบ (Coarse Aggregates)
1. สะอาดปราศจากจากวัสดุอ่ืน เชน วชั พชื ดนิ เหนียว เปน ตน
2. คา จาํ นวนสวนรอยละของความสกึ หรอ (Percent of wear ) ไมมากกวา รอยละ 40
3. เม่ือทดสอบการคงตัว (Soundness Test) โดยใชสารละลายมาตรฐานโซเดียม

ซัลเฟต ตามกรรมวิธีรวม 5 วัฎจักร นํ้าหนักของวัสดุหินยอย หรือกรวดยอยท่ี
หายไป ตองไมมากกวารอยละ 12
4. มีคาจาํ นวนสว นรอยละของการดูดซมึ นาํ้ ไมเ กิน 5
5. มีคาดชั นคี วามแบน (Flakiness Index) ไมม ากกวารอ ยละ 25
6. มสี วนทผี่ านตะแกรง เบอร 200 ไมมากกวารอ ยละ 0.25
7. มมี วลคละผานตะแกรง แสดงดงั ตารางที่ 4-12

36 บทท่ี 4 มาตรฐานงานกอสรา งถนน ทางเดนิ และทางเทา

กรมสง เสริมการปกครองทองถ่นิ กระทรวงมหาดไทย

ตารางที่ 4-12 ตารางมวลคละผานตะแกรงของวัสดชุ นดิ เมด็ หยาบ (Coarse Aggregates)
สาํ หรับผวิ จราจรคอนกรีต

ขนาดของตะแกรง นาํ้ หนักท่ีผานตะแกรงมีคาเปน รอยละ

มาตรฐาน 2" 1 1/2" 1" 3/4" 1/2"
2 1/2" 100
95 - 100 100 100 100 100
2" 95 - 100 95 - 100 90 - 100 90 - 100
1 1/2" 35 - 70 40 - 70
35 - 70 25 - 60 20 - 55 0 - 15
1" 10 - 30 0 - 10 0-5
3/4" 10 - 30 0 - 10 0-5
1/2" 0-5 0-5 0-5
3/8" 0
เบอร 4
เบอร 8

วัสดชุ นดิ เม็ดละเอียด (Fine Aggregates)
1. เปนทรายนํ้าจดื ท่หี ยาบคมแขง็ แกรง
2. สะอาดปราศจากวัสดุอ่นื เชน วัชพชื ดินเหนียว เปลือกหอย เถาถาน เปนตน
3. มีสารอนิ ทรียป ะปนอยูใ นทราย เมือ่ ทดสอบดวยสารละลาย Sodium Hydroxide เขม ขน 3

เปอรเซ็นต สีของสารละลายที่ไดจากการทดสอบตองออนกวาสีของกระจกเทียบ
มาตรฐานเบอร 3 หรือออนกวาสารละลาย Potassium Dichromate
4. มีคาโมดลู สั ความละเอยี ด (Fineness Modulus) อยูระหวาง 2.3 – 3.1
5. เมื่อทดสอบการคงตัว (Soundness Test) น้ําหนักของวัสดุหินยอย หรือกรวดยอยท่ี
หายไปตองไมม ากกวา รอ ยละ 10
6. มสี ว นท่ีผา นตะแกรง เบอร 200 ไมเ กินรอ ยละ 3
7. มมี วลคละผานตะแกรง แสดงดังตารางที่ 4-13

บทที่ 4 มาตรฐานงานกอ สรางถนน ทางเดินและทางเทา 37

มาตรฐานถนน ทางเดนิ และทางเทา

ตารางท่ี 4-13 ตารางมวลคละผา นตะแกรงของวสั ดชุ นิดเมด็ ละเอยี ด (Fine Aggregates)
สําหรับผิวจราจรคอนกรีต

ขนาดตะแกรงมาตรฐาน นาํ้ หนักทีผ่ านตะแกรงเปน รอยละ
3/8" 100
เบอร 4
เบอร 8 95 - 100
80 - 100
เบอร 16 50 - 85
เบอร 30 25 - 60
เบอร 50 10 - 30
เบอร 100 2 - 10

¾ สถ. – มถ. - 013 มาตรฐานเหลก็ เสน เสรมิ คอนกรีต
เหล็กเสนเสริมคอนกรีต หมายถึง เหล็กเสริมในงานคอนกรีตเสริมเหล็กที่ใชทําผิวจราจรคอนกรีต

ซึ่งแบงไดเปน 2 ประเภท คอื เหล็กเสนกลม (Round Bar) และเหล็กเสนขอออ ย (Deformed Bar)
คณุ สมบัติ
1. เหล็กเสน กลม (Round Bar)
ตองมคี ุณสมบตั ติ ามมาตรฐานผลติ ภณั ฑอุตสาหกรรม มอก. 20-2527 ซึง่ มีรายละเอยี ด ดงั น้ี

○ คุณสมบัติทางกล แสดงดังตารางท่ี 4-14

ตารางที่ 4-14 แสดงคณุ สมบตั ทิ างกลของเหลก็ เสน เสริมคอนกรีต

เหลก็ เสนกลม ความตา น ความตาน ความยืดในชวง การทดสอบดวยการดัดโคง เย็น
SR 24 แรงดึงทจี่ ดุ คราก แรงดงึ สงู สดุ ความยาว 5 เทา
ไมนอยกวา ของเสน ผานศูนย มุมการดดั เสนผา นศูนย
ไมนอยกวา (กก./ตร.ซม.) กลางไมน อยกวา (องศา) กลางวงดดั
(กก./ตร.ซม.)
3900 (รอ ยละ) 180 1.5 เทาของเสน
2400 ผานศูนยกลางระบุ
21

38 บทท่ี 4 มาตรฐานงานกอ สรา งถนน ทางเดินและทางเทา

กรมสง เสรมิ การปกครองทอ งถ่นิ กระทรวงมหาดไทย

○ เกณฑความคลาดเคล่ือนสําหรับเสนผานศูนยกลางของเหล็กเสนกลมแสดงดัง
ตารางท่ี 4-15

ตารางที่ 4-15 แสดงเกณฑค วามคลาดเคลื่อนสําหรับเสนผานศนู ยกลางของเหล็กเสน กลม

ชอ่ื ขนาดเสนผานศูนยก ลาง เกณฑค วามคลาดเคลื่อน มวลตอเมตร เกณฑค วามคลาดเคลอื่ น

(มลิ ลเิ มตร) ไมเ กนิ กวา (กโิ ลกรมั ) สําหรบั มวลตอเมตร

(มิลลเิ มตร) เฉลี่ย รอ ยละ แตล ะเสน รอ ยละ

RB 6 6 ± 0.4 0.222 ± 5.0 ± 10.0

RB 9 9 ± 0.4 0.499 ± 5.0 ± 10.0

RB 12 12 ± 0.4 0.888 ± 5.0 ± 10.0

RB 15 15 ± 0.4 1.387 ± 5.0 ± 10.0

RB 19 19 ± 0.5 2.226 ± 3.5 ± 6.0

RB 22 22 ± 0.5 2.984 ± 3.5 ± 6.0

RB 25 25 ± 0.5 3.853 ± 3.5 ± 6.0

RB 28 28 ± 0.6 4.834 ± 3.5 ± 6.0

RB 34 34 ± 0.6 7.127 ± 3.5 ± 6.0

2. เหล็กขอออย (Deformed Bar) ตองมีคุณสมบัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม มอก.

24-2527 ซ่งึ มรี ายละเอยี ดดังน้ี

○ คุณสมบัตทิ างกล แสดงดังตารางท่ี 4-16

ตารางท่ี 4-16 แสดงคณุ สมบตั ิทางกลของเหล็กขอ ออ ย

ความตา น ความตาน ความยดื ในชวง การทดสอบดวยการดัดโคงเย็น
แรงดึงสูงสุด ความยาว 5 เทา
แรงดงึ ท่ีจดุ ไมนอ ยกวา ของเสนผา นศนู ย
(กก./ตร.ซม.) กลางไมนอยกวา
สญั ลกั ษณ คราก มมุ การดดั เสน ผา น
ไมนอ ยกวา (รอ ยละ) (องศา) ศูนยกลางวงดัด

(กก./ตร.ซม.)

SD 30 3000 4900 17 180 4 เทา ของเสนผา นศนู ยกลางระบุ
SD 40 4000 5700 15 180 5 เทา ของเสนผานศูนยกลางระบุ
SD 50 5000 6300 13 90 5 เทา ของเสน ผา นศูนยก ลางระบุ

บทท่ี 4 มาตรฐานงานกอสรา งถนน ทางเดินและทางเทา 39

มาตรฐานถนน ทางเดนิ และทางเทา

○ เกณฑความคลาดเคลื่อนสําหรบั มวลตอ เมตรของเหล็กขอออ ย
แสดงดงั ตารางที่ 4-17

ตารางที่ 4-17 แสดงเกณฑความคลาดเคลื่อนสําหรับมวลตอเมตรของเหล็กขอ ออ ย

ช่อื ขนาด มวลตอเมตร เกณฑความคลาดเคล่ือนสําหรับมวลตอ เมตรของทกุ ขนาด
เสน ผานศูนยกลาง กโิ ลกรัม
เฉลย่ี รอ ยละ แตล ะเสนรอยละ
(มลิ ลเิ มตร)

DB 10 0.617

DB 12 0.888

DB 16 1.578

DB 20 2.466 ± 3.5 ±6
DB 22 2.984

DB 25 3.853

DB 28 4.834

DB 32 6.313

หมายเหตุ

ความตา นแรงดึงทีจ่ ดุ คราก = YIELD STRESS

ความตานแรงดึงสงู สดุ = MAXIMUM TENSILE STRESS

ความยืด = ELONGATION

การทดสอบดวยการดดั โคงเยน็ = CLOD BEND TEST

มุมการดดั = BENDING ANGLE

เสน ผา นศูนยก ลางวงดัด = DIAMETER OF BENDS

ชวงความยาว 5 เทา ของเสน ผานศนู ยกลาง = GAUGE LENGTH

40 บทที่ 4 มาตรฐานงานกอ สรา งถนน ทางเดนิ และทางเทา

กรมสงเสรมิ การปกครองทอ งถิน่ กระทรวงมหาดไทย

สว นที่ 2 มาตรฐานวิธีการกอสรา งถนน

¾ สถ. – มถ. – 014 มาตรฐานงานถางปา ขุดตอ (Clearing and Grubbing)
งานถางปา ขุดตอ หมายถึง การกาํ จดั ตน ไม ตอไม พุมไม เศษไม ขยะ วัชพืช และสิ่งอื่นๆ ที่ไม

ตอ งการภายในเขตทาง
วธิ กี ารกอ สราง
1. การถางปา ใหทําภายในบริเวณตลอดเขตทาง และการขุดตอ ใหทําภายในบริเวณที่จะทํา
การกอสรางทาง คันทาง คูขางทาง บอยืม แหลงวัสดุ และการขุดเพื่อการกอสรางงาน
โครงสรา ง
2. บริเวณที่จะกอสรางคันทาง ใหขุดตอรากไมออกต่ํากวาระดับดินเดิมตามธรรมชาติไม
นอยกวา 30 เซนติเมตร ในกรณีท่ีคันทางสูงกวาระดับดินเดิมมากกวา 60 เซนติเมตร ให
ตัดตนไมและตอจนชิดใกลระดับดินเดิมใหมากที่สุดเทาท่ีจะทําได สวนการขุดเพ่ือการ
กอสรางงานโครงสรางอ่ืนๆ ใหขุดตอรากไมออกต่ํากวาระดับต่ําสุดของแบบโครงสราง
ไมน อ ยกวา 30 เซนตเิ มตร
3. บริเวณบอยืมและแหลงวัสดุ ใหเอาตอไม รากไม และวัสดุอื่นๆ ท่ีไมตองการปะปนอยู
ออก จนเหน็ วา ไมม สี ่ิงดังกลา วปนกบั วัสดุทจ่ี ะนาํ มาใชใ นการกอสรา ง
4. ตนไมใหญท่ีอยูนอกคันทาง หรืออยูนอกเชิงลาดดินตัดใหคงไว ในกรณีจําเปนท่ีจะตอง
ตัดใหอยูในดุลพินิจของผูควบคุมงาน สําหรับตนไมท่ีคงไว กิ่งที่ยื่นเขาไปในผิวจราจร
และสงู จากระดับผวิ จราจรไมเกิน 6.00 เมตร ใหต ดั กงิ่ ออกใหเ รยี บรอย และใหเหลือโคน
กิ่งติดลาํ ตน ยาวไมเกิน 20 เซนตเิ มตร
5. วัสดจุ ากการถางปา ขุดตอ ใหนําไปท้ิงตามบริเวณทีผ่ คู วบคมุ งานเหน็ สมควร
6. ตลอดระยะเวลาท่ีถางปา ขุดตอ ใหทําดวยความระมัดระวังในการตัดตนไมไมใหเกิด
อนั ตรายและทําความเสียหายแกตนไมท ่ีคงไว
7. หลังจากการถางปา ขุดตอ ใหปาดเกลี่ย ปรับแตง และเก็บเศษวัสดุไปทิ้งนอกเขตทางให
เรยี บรอย

¾ สถ. – มถ. – 015 มาตรฐานงานตกแตง เกลี่ยคนั ทางเดิม (Reshaping and Levelling)
การตกแตงเกลี่ยคันทางเดิม หมายถึง การเกลี่ยปรับระดับของพื้นถนนและไหลทางเดิมใหได

ระดับ รวมทงั้ เอาวชั พชื และสง่ิ สกปรกออกใหหมด

บทท่ี 4 มาตรฐานงานกอ สรางถนน ทางเดนิ และทางเทา 41

มาตรฐานถนน ทางเดิน และทางเทา

วสั ดุ
วัสดุท่ีใชในการตกแตงเกล่ียคันทางเดิมตองเปนวัสดุท่ีมีคุณสมบัติตามมาตรฐานวัสดุคัดเลือก
สถ.-มถ.-004 ซง่ึ ไดผ านการทดสอบ และรบั รองใหใ ชไดแ ลว
วิธีการกอสรา ง
1. ใหใชรถเกรด หรือเครื่องมืออ่ืน ปรับ เกลี่ย แตงผิวหนาของคันทางเดิมตลอดความกวาง

ของคันทาง รวมท้งั ไหลท างท้งั สองขา งดวย
2. ใหเ ก็บวชั พชื และสิง่ สกปรกบนคันทางเดิมออกใหห มด
3. ตอนใดทสี่ ูง ใหปาดออกใหไ ดร ะดบั และตอนใดเปน หลุม บอ หรือแองใหทําการขุดแตง

แลวใชวัสดุคัดเลือกลงบนคันทางเกล่ียเปนช้ันๆ ใหสม่ําเสมอตลอดพ้ืนที่พรมน้ําแลวทํา
การบดอัดแนนโดยใหมีความแนนไมน อยกวา รอยละ 95 Standard Proctor Density
4. การตกแตงเกลี่ยคันทางเดิม เมื่อเสร็จเรียบรอยแลว ผิวของคันทางเดิมตองเรียบรอย
สมํ่าเสมอไดระดบั สะอาด และไมม แี อง หลุม บอ
¾ สถ. – มถ. – 016 มาตรฐานงานดนิ ถมคันทาง (Embankment)
ดินถมทาง หมายถึง การถมและการบดอัดวัสดุที่ไดมาจากถนนเดิม บอยืม หรือแหลงวัสดุขาง
ทางซ่งึ นํามาใชทําคันทาง
วสั ดุ
วัสดุท่ีใชในงานดินถมคันทางตองเปนวัสดุท่ีมีคุณสมบัติตามมาตรฐาน สถ.- มถ. – 001 วัสดุ
ดนิ คนั ทาง ซงึ่ ไดผ านการทดสอบและรบั รองใหใ ชไ ดแ ลว
วธิ กี ารกอสราง
1. กอนถมคันทาง ถามีหลุม แอง หรือโพรงที่เกิดข้ึนจากการถางปา ขุดตอ ตองใชวัสดุที่
เหมาะสมกลบ แลวกระทุง ใหแ นน สมาํ่ เสมอเสียกอน
2. การถมคนั ทาง จะตอ งถมใหไ ดแนวระดับลาด และขนาดตามท่แี บบกําหนด
3. การถมคันทางใหถมเปนช้ันๆ ชั้นหน่ึงๆ หนาไมเกิน 20 เซนติเมตร ทุกชั้นตองบด
อดั แนน ไมน อ ยกวา รอยละ 95 Standard Proctor Density
4. วัสดุท่ีจะทําการบดอัดแตละช้ัน ตองนํามาผสมใหเขากันกอน แลวพรมนํ้าตามจํานวนท่ี
ตอ งการใชร ถเกรดปาดเกลย่ี ใหว สั ดมุ ีความช้ืนสม่าํ เสมอกอนทาํ การบดอดั แนน

42 บทที่ 4 มาตรฐานงานกอสรางถนน ทางเดนิ และทางเทา

กรมสงเสรมิ การปกครองทอ งถ่ิน กระทรวงมหาดไทย

5. ในกรณีที่จะขยายคันทางเดิม ใหตัดลาดคันทางเดิมเปนแบบข้ันบันได จากตีนเชิงลาดถึง
ขอบไหลทาง วัสดุที่ตัดน้ีใหเกลี่ยแผในแนวราบสม่ําเสมอเปนชั้นๆ ช้ันหน่ึงหนาไมเกิน
20 เซนติเมตร ทุกชัน้ ตองบดอดั แนนไมน อ ยกวา รอ ยละ 95 Standard Proctor Density

6. วัสดุที่ใชทําคันทางที่อยูติดกับทอ หรือสะพาน ไมสามารถบดอัดดวยเคร่ืองจักรขนาดใหญ
ไดใหใชเ ครอ่ื งมอื บดอัดขนาดเลก็ ทาํ การบดอัดไดตามความเห็นชอบของผคู วบคมุ งาน

7. กรณีที่ในแบบไมไดระบุไวเปนอยางอ่ืน ถาตองการจะถมดินใหสูงขึ้นอีกจากระดับเดิม
ใหถมดินสูงข้ึนไดอ ีก ไมเ กิน 30 เซนตเิ มตร และจะตองคราดไถผิวทางเดิมใหลึกไมนอย
กวา 15 เซนติเมตร แลวทําการบดอัดรวมไปกับชั้นใหมท่ีถมของวัสดุคันทางน้ัน ความ
หนาของชั้นที่คราดไถรวมกับวัสดุคันทาง จะตองมีความหนาไมเกิน 20 เซนติเมตร เม่ือ
ทาํ การบดอดั แนน ตามมาตรฐานแลว

ความคลาดเคลอ่ื นท่ยี อมให (Tolerance)
1. ทุกจดุ ของดนิ ถมคนั ทางท่บี ดอดั แนนกับระดับท่ตี อ งการและปรับแตงไดรูปรางตามแบบ

แลวระดบั ชว ง 3.00 เมตร ตามแนวขนานกับศนู ยก ลางตางกนั ไดไ มเ กิน 1.00 เซนตเิ มตร
2. ระดบั กอ สราง มรี ะดับแตกตางไปจากระดบั ทกี่ าํ หนดไวในแบบไดไ มเ กนิ 1.50 เซนติเมตร
¾ สถ. – มถ. – 017 มาตรฐานงานดนิ ตัดคนั ทาง (Roadway Excavation)
ดินตัดคันทาง หมายถึง การขุดตัดวัสดุที่อยูในเขตทาง ซ่ึงไดจากการนําวัสดุท่ีขุดแลวไปใชใน
งานกอสรางคันทาง ตบแตงคันทาง และนําวัสดุที่ไมตองการซ่ึงขุดตัดแลวไปท้ิงในท่ีท่ีเหมาะสมงานตัด
แบง ออกเปน 2 ชนิด ดังนี้
งานตดั ชนดิ ทไี่ มระบุประเภทของวัสดุ ซ่ึงหมายถึง การขดุ ตดั วสั ดชุ นดิ ใดๆ กไ็ ดเ พอื่ การ
กอสรา งคันทาง ตบแตงคนั ทาง นาํ วัสดุทไ่ี มตอ งการไปท้งิ และเพ่ือการวางอาคารระบายนา้ํ
งานตัดชนิดที่ระบุประเภทของวัสดุ ซึ่งหมายถึง การขุดตัดคันทางที่ระบุประเภทของวัสดุที่จะ
ตองขุดตัด โดยระบตุ ามชนิดและเคร่อื งจักรที่ใช
วสั ดุ
หมายถงึ วัสดุทจ่ี ะตองขดุ ตดั ตามงานตัด ดังรายละเอยี ดตอ ไปน้ี
1. วสั ดทุ ไ่ี มไดระบุประเภท ใหห มายถงึ วสั ดุใดๆ ก็ไดท่ตี องขุดตัด
2. วสั ดุทีร่ ะบุประเภท ใหห มายถงึ วสั ดุทจ่ี ะขดุ ตัดตอ ไปน้ี

2.1 ดินและวสั ดุคันทางอน่ื ทั้งหมด ยกเวนหินผุและหนิ แขง็
2.2 หนิ ผุและวัสดคุ ันทางอ่นื ทัง้ หมด ยกเวน ดนิ และหินแขง็

บทท่ี 4 มาตรฐานงานกอ สรางถนน ทางเดินและทางเทา 43


Click to View FlipBook Version