The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ราชองครักษ์และนายทหารพิเศษ พ.ศ.๒๕๔๒ (อทร. ๑๐๐๕)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by runn0248, 2022-06-23 23:11:00

ราชองครักษ์และนายทหารพิเศษ พ.ศ.๒๕๔๒ (อทร. ๑๐๐๕)

ราชองครักษ์และนายทหารพิเศษ พ.ศ.๒๕๔๒ (อทร. ๑๐๐๕)

Keywords: ราชองครักษ์และนายทหารพิเศษ พ.ศ.๒๕๔๒ (อทร. ๑๐๐๕)

สารบัญ
ราชองครักษและนายทหารพิเศษ พ.ศ.๒๕๔๒ (อทร. ๑๐๐๕)

บทนาํ
ตอนท่ี ๑ ราชองครักษ

บทท่ี ๑ ราชองครกั ษ
ราชองครักษพ เิ ศษ
ราชองครักษเวร
ราชองครกั ษป ระจํา

บทท่ี ๒ เวรประจําพระองค
ตอนที่ ๒ นายทหารพิเศษ

บทท่ี ๑ หนวยทหารรักษาพระองคของ ทร.
บทท่ี ๒ การแตงตง้ั นายทหารพิเศษประจาํ หนว ยทหารรกั ษาพระองค

หลกั เกณฑและคณุ สมบัติในการขอพระราชทานแตง ตง้ั นายทหารพเิ ศษ
ประจาํ หนว ยทหารรกั ษาพระองค ทีก่ ห. กาํ หนด
หลักเกณฑการขอพระราชทานแตง ตงั้ เปน นายทหารพิเศษประจาํ
หนวยทหารรักษาพระองค ท่ี ทร.กําหนด
ข้ันตอนในการเสนอขอแตงตงั้
ตอนที่ ๓ เบ็ดเตลด็
บทท่ี ๑ การแตง กายของราชองครักษและนายทหารพิเศษ
บทท่ี ๒ การขอพระราชทานพระมหากรณุ าในกรณีตา ง ๆ
ภาคผนวก
ผนวก ก. - ตาํ แหนงตา ง ๆ ทส่ี ามารถเสนอขอแตงตง้ั เปน ราชองครกั ษเวร
ผนวก ข. - หลักเกณฑก ารขอพระราชทานแตง ตัง้ นายทหารพเิ ศษประจํา
หนวยทหารรกั ษาพระองค ตงั้ แต ๒๓ - ๒๗
ผนวก ค. - ทร.อนุมตั ิใหขอพระราชทาน
แตง ต้งั เปนนายทหารพิเศษ
ผนวก ง. - รายช่ือนายทหารพิเศษประจํา บก.กรม ร.๓ รอ.พล.นย.
ต้งั แต พ.ย.๒๓ - เม.ย.๔๒
ผนวก จ. -รายชอ่ื นายทหารพิเศษประจํากรม นนร.รอ.รร.นร.
ตง้ั แต พ.ย.๒๓ - เม.ย.๔๒
กฎหมาย ขอ บงั คบั ระเบียบ และหลกั เกณฑท ่ีเกีย่ วของ

บทนาํ
ทหารนอกจากจะมีหนาที่ปองกันประเทศและรักษาอธิปไตยแลว หนาท่ีสําคัญอีกประการหนึ่ง คือ
รักษาความปลอดภัยองคพระมหากษัตริยและพระบรมวงศานุวงศโดยใกลชิดใหพนจากอันตรายท้ังปวง ซึ่ง
เรียกวา ราชองครกั ษ แตม ใิ ชวาทหารทกุ คนจะไดม ีโอกาสปฏิบัติหนา ที่ดังกลา วแมจ ะมจี ิตใจทเี่ ปย มลน ดวยความ
จงรักภักดีและยอมที่จะนอมถวายชีวิตเปนราชพลี ดังน้ัน เม่ือทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหผูใดเปนราช
องครักษ จึงถือวาเปนเกียรติยศอยางสูงย่ิงแกตนเองและวงศตระกูลท่ีไดมีโอกาสปฏิบัติราชการสนองพระเดช
พระคณุ ใกลชิดเบื้องพระยคุ ลบาท นายทหารสัญญาบัตรที่ไดรับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกลาฯ แตงต้ังเปนราช
องครักษ มักจะไดรับการเสนอขอพระราชทานแตงตั้งเปนนายทหารพิเศษประจําหนวยทหารรักษาพระองคดวย
นอกจากนี้ ยังไดรับพระราชทานพระมหากรุณาในเรื่องตางๆ เชน พระราชทานชื่อสกุล เปนตน ผูที่เปน ราช
องครักษจ งึ ตอ งปฏิบัตติ นใหถูกตอ งตามแบบธรรมเนียม และไมก ระทาํ การใด ๆ อนั เปนการกระทบตอ เบื้องพระ
ยุคลบาท
เรื่องราชองครักษและนายทหารพิเศษน้ี จะกลาวถึงราชองครักษประเภทตาง ๆ การจัดเวรประจํา
พระองค นายทหารพิเศษประจําหนวยทหารรักษาพระองคของ ทร. การแตงกายของราชองครักษและนายทหาร
พเิ ศษ เพอ่ื ใหเกดิ ความเขา ใจในเบื้องตน กับไดรวบรวมหลักเกณฑ ตําแหนง ๆ ท่ีขอพระราชทานแตงต้ังเปนราช
องครักษและนายทหารพิเศษได รวมทั้งรายช่ือผูท่ีไดรับการแตงตั้งเปนนายทหารพิเศษ เพื่อประโยชนในการ
คนควาและอางอิงดว ย

บทท่ี ๑
ราชองครกั ษ
ราชองครกั ษ คือ นายทหารสงั กดั กรมราชองครกั ษซ ่งึ อยใู นความรบั ผิดชอบของ สมุหราชองครักษ มี
หนาทรี่ ักษาความปลอดภยั สําหรับองคพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู วั พระราชนิ ี พระรชั ทายาท ผสู าํ เรจ็
ราชการแทนพระองค พระบรมวงศานวุ งศ ผแู ทนพระองค และพระราช-อาคนั ตุกะ ทัง้ น้ีโดยตองปฏิบัติให
ถูกตองตามพระราชประสงค

ราชองครักษ แบงเปน ๓ ประเภท ดงั น้ี

๑. ราชองครกั ษพ เิ ศษ
๒. ราชองครักษเ วร
๓. ราชองครักษป ระจาํ
การแตงตั้งราชองครักษทุกประเภท พระมหากษัตริยจะทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ และจํานวนราช
องครักษแ ตละประเภทพึงมโี อกาสใด เปนจาํ นวนเทาใดน้นั ใหเ ปน ไปตามพระราช-ประสงค
ราชองครักษพ ิเศษ
ราชองครักษพิเศษ (รอพ.) เปนตําแหนงกิตติมศักดิ์ การแตงตั้งและการพนจากตําแหนงเปนพระราช
อํานาจของพระมหากษัตริย
๑. คุณสมบตั ิ
กรมราชองครักษ (รอ.) ไดกําหนดคุณสมบัติของผูที่จะไดรับการขอพระราชทานแตงตั้งเปนราช
องครักษพิเศษ ไวดังนี้
๑.๑ จะตองเปนผูที่มีรางกายสมบูรณ แข็งแรง มีบุคลิกลักษณะเหมาะสมตอการปฏิบัติหนาที่ราช
องครกั ษ
๑.๒ เปนผูท่ีมีความประพฤติเรียบรอย ปฏิบัติตนอยูในกรอบแหงคุณธรรมและจริยธรรมอันดี ไมเคยมี
เร่ืองเส่ือมเสียท้ังในเร่ืองสวนตัวหรือในหนาท่ีการงานใด ๆ มากอน ท้ังน้ีรวมท้ังบุคคลในครอบครัวจักตองไม
เคยมีเรื่องอ้ือฉาว หรือมีพฤติการณเสียหายใด ๆ อันอาจจะสงผลกระทบตอเกียรติสถาบันพระมหากษัตริยดวย
และจะตอ งมีคุณสมบัติอยา งใดอยา งหนึ่ง คือ
๑.๒.๑ เปนราชองครักษเ วร ยศ พล.อ. พล.ร.อ. พล.อ.อ.
๑.๒.๒ เปนนายทหารสญั ญาบัตร ช้ัน นายพล นายพลเรือ นายพลอากาศ และไดปฏิบัติราชการ
สนองพระเดชพระคุณโดยตรงตอองคพระมหากษัตริย สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ และพระบรม
วงศานุวงศ หรือปฏิบัติราชการสนองพระเดชพระคุณในโครงการสวนพระองค หรือโครงการในพระราชดําริ
โดยตอ เน่อื งและเปน เวลานาน กอใหเกิดผลโดยตรงอันดียิ่งตอสถาบันพระมหากษัตริยหรือประเทศชาติ หรือได
กระทําการสูรบอยางกลาหาญกับราชศัตรู หรือไดกระทําความดีความชอบเปนพิเศษ และเปนประโยชนอยางยิ่ง
ตอราชการทหาร จนไดรับพระราชทานเหรียญกลาหาญหรือเคร่ืองราชอิสริยาภรณอันมีศักดิ์รามาธิบดีชั้นอัศวิน
ข้ึนไป หรือไดคิดคนพฒั นาความรู ระบบกรรมวิธี หรือประดิษฐส่ิงใหมเปนผลสําเร็จ หรือพัฒนาสิ่งประดิษฐให

ดีขึ้นกวาเดิมเปนอันมาก หรือแสดงใหเปนท่ีปรากฏวามีฝมือและชื่อเสียงยอดเยี่ยมในทางศิลปวิทยาตาง ๆ อัน
เปน ประโยชนอ ยา งย่ิงตอ ประชาชนหรอื ประเทศชาติ

๒. การดําเนนิ การขอพระราชทานแตงต้งั รอพ.
โดยปกติแลวการเสนอขอพระราชทานแตงตั้งนายทหารเปนราชองครักษพิเศษนั้น รอ.จะทูลเกลาฯ

เสนอขอพระราชทานโดยตรงโดยไมตองผานความเห็นชอบจากแตละเหลาทัพ แตหากแตละเหลาทัพได
พจิ ารณาแลวเหน็ วามีนายทหารทีม่ คี ุณสมบตั ิครบถวนเหมาะสมตาม ขอ ๑.๒.๒ ก็สามารถเสนอขอพระราชทาน
แตงต้ังเปน รอพ. ได ท้ังนี้ รอ.จะนําความกราบบังคมทูลโดยตรง โดยไมตองเสนอขอความเห็นชอบจาก กห.
หากทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตั้งนายทหารสัญญาบัตรผูใดเปนราชองครักษพิเศษแลว สมุหราชองครักษ
(สรอ.) จะเชิญกระแสพระบรมราชโองการเสนอสภากลาโหม หรอื รมว.กห. เพือ่ รบั ทราบ

๓. หลักฐานการขอพระราชทานแตง ต้งั เปน รอพ.
๓.๑ แบบกรอกประวัตยิ อ จํานวน ๓ ชดุ
๓.๒ ภาพถายขาวดํา ขนาด ๒ น้ิว X ๒.๕ น้ิว แตงกายเครื่องแบบปกติขาว ไมสวมแวนตา และไมไว

หนวด

๔. ชว งเวลาทจ่ี ะขอพระราชทานแตง ต้งั เปน รอพ.
การขอพระราชทานแตงตั้งเปน รอพ. ไมมีการกําหนดชวงเวลาไว แตละ เหลาทัพสามารถดําเนินการ

เสนอขอพระราชทาน ฯ ไดต ลอดป

๕. ระยะเวลาในการดํารงตําแหนง รอพ.
รอพ.ทุกนายจะดํารงตําแหนงดังกลาวตลอดไป แมวาจะส้ินชีวิตแลว ทั้งน้ี การพนหนาท่ี รอพ. จะ

เกิดขึน้ ตอเมือ่ มกี ารประกาศพระบรมราชโองการเทา นั้น

ราชองครักษเ วร
ราชองครักษเวร (รอว.) แตงต้ังจากนายทหารสัญญาบัตรประจําการและคงรับ ราชการตามตําแหนงเดิม

มีหนา ทปี่ ระจาํ ตามเสด็จ รักษาการณ และปฏบิ ัตกิ จิ การอยางอน่ื ในสวนพระองคพระมหากษัตรยิ 

๑. คุณสมบตั ิ
เพื่อความสะดวกในการท่ีพระมหากษัตริยจะทรงพระราชดําริแตงตั้งนายทหารสัญญาบัตรเปนราช

องครักษเวร กห.จึงไดกําหนดหลักเกณฑในการพิจารณาไวในระเบียบ กห. วาดวยการแตงต้ังราชองครักษ
พ.ศ.๒๕๓๓ ดังนี้

๑.๑ เปนผูสําเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา โรงเรียน นายเรือ โรงเรียน
นายเรืออากาศ หรือโรงเรียนทหารของตางประเทศท่ีมีฐานะเชนเดียวกับโรงเรียนดังกลาวตามที่
กระทรวงกลาโหมกําหนด (ขอ ๘.๑)

๑.๒ เปน ผมู ีรา งกายสมบูรณ แข็งแรง มีความประพฤติ และคุณลักษณะเหมาะสมตอการปฏิบัติ
หนาท่ีราชองครักษ (ขอ ๘.๒)

๑.๓ นายทหารสัญญาบัตรประจําการ ช้ันนายพล นายพลเรือ และนายพลอากาศ ซึ่งดํารง
ตําแหนงผูบังคับบัญชา รองผูบังคับบัญชา ผูชวยผูบังคับบัญชา หรือดํารงตําแหนงเสนาธิการ รองเสนาธิการ
ผชู วยเสนาธิการ ของหนวย (ขอ ๘.๓)

๑.๔ นายทหารสัญญาบัตรท่ีรับเงินเดือน ระดับ น.๕ และดํารงตําแหนง รองผูบังคับบัญชา
ผูชวยผูบงั คบั บัญชา หรอื เสนาธกิ าร ของหนวยท่ีมอี ัตราผบู ังคบั บญั ชา เปน พลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี ขึ้นไป
(ขอ ๘.๔)

๑.๕ นายทหารสัญญาบตั รท่ดี ํารงตําแหนง ผูชว ยทูตทหาร ผูชวยทูตฝาย ทหารบก ผูชวยทูตฝาย
ทหารเรอื และผชู วยทตู ฝายทหารอากาศ ประจําตางประเทศ (ขอ ๘.๕)

๑.๖ นายทหารเรอื สัญญาบัตรท่ีมีคณุ สมบัติอยางใดอยางหนงึ่ ดังน้ี
๑.๖.๑ ผูบังคับการกรม รองผูบังคับการกรม และผูบังคับกองพัน ในกรมนักเรียนนาย

เรือรักษาพระองค (ขอ ๘.๗.๑)
๑.๖.๒ ผบู งั คับการเรอื ช้ัน ๑ (ขอ ๘.๗.๒)
๑.๖.๓ ผบู ังคับบัญชาหนว ยกําลังรบ ทีม่ อี ตั ราเปน นาวาเอก ขึ้นไป (ขอ ๘.๗.๓)
๑.๖.๔ ผูบังคับการกรม รองผูบังคับการกรม ผูบังคับกองพันและรองผูบังคับกองพัน

หนว ยกําลงั รบที่เปน หนวยทหารรักษาพระองค (ขอ ๘.๗.๔)
เพ่ือความสะดวกในการปฏิบัติงานของ ทร. กพ.ทร. จึงไดรวบรวมรายชื่อ ตําแหนงตาง ๆ ตาม

หลักเกณฑท ่ี กห.กําหนดไวใ นผนวก ก.

๒. การดาํ เนินการขอพระราชทานแตงต้ังเปน รอว.
เมอื่ นายทหารสัญญาบัตรผใู ดมีคณุ สมบัติอยใู นเกณฑแ ตงต้ังเปนราชองครักษเวร ตาม ๑.๑ และ

๑.๒ กับขอใดขอหน่ึงตาม ๑.๓ ถึง ๑.๖ ให นขต.กห. ทบ. ทร. ทอ. ซ่ึงเปนตนสังกัด รวบรวมหลักฐานและ
ประวัติยอของนายทหารผูนั้น และเสนอบัญชีรายช่ือและประวัติของนายทหารดังกลาวไปยัง รอ. เพื่อพิจารณา
ใหความเหน็ ชอบในข้นั ตน แลวจึงเสนอ กห.เพื่อขอรับการพิจารณาอนุมัติจากสภากลาโหมหรือ รมว.กห.ตอไป
เมื่อไดรับอนุมัติแลวใหเสนอเรื่องคืน รอ. เพ่ือนําความกราบบังคมทูล ถาทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงต้ังนาย
ทหารสัญญาบัตรผูใดเปนราชองครักษเวรแลว สรอ.จะเชิญกระแสพระบรมราชโองการแจงตอ กห. เพ่ือ
ดําเนินการตอไป ซึ่ง รอ.จะกําหนดวัน เวลา สําหรับอบรม รอว.ใหมทุกนายดวย (รายละเอียดของวันเวลา
ดังกลาวไมส ามารถกาํ หนดได ข้ึนอยกู ับสํานกั พระราชวงั )

๓. หลักฐานการขอพระราชทานแตง ต้ังเปน รอว.
๓.๑ แบบกรอกประวัติยอ จาํ นวน ๓ ชุด
๓.๒ ภาพถายขาวดํา ขนาด ๒ น้ิว X ๒.๕ นิ้ว แตงเคร่ืองแบบปกติขาว ไมสวมแวนตา และไม

ไวหนวด
๔. ชวงเวลาทจ่ี ะขอพระราชทานแตง ต้ังเปน รอว.

๔.๑ แตละเหลาทัพจะดําเนินการขอพระราชทานแตงตั้ง รอว. ภายหลังจากมีพระบรมราช
โองการโปรดเกลา ฯ นายทหารสญั ญาบัตร และการยายนายทหารประจําป ซ่ึงมี ๒ ชวง คือ ชวง เดือน ต.ค. และ
เดอื น เม.ย.

๔.๒ การขอพระราชทานแตงตั้ง ผชท.ทร.ไทย/ตางประเทศ เปน รอว.จะ ดําเนินการภายหลัง
จากที่ กห.ลงคําส่งั อนุมตั ติ ัวบุคคลแลว (ประมาณ มิ.ย. - ส.ค.๔๒)

๕. ระยะเวลาในการดาํ รงตําแหนง รอว.
๕.๑ รอว.จะพน หนา ที่ ฯ ในกรณใี ดกรณหี นงึ่ ดงั ตอ ไปนี้
๕.๑.๑ ออกจากประจําการ
๕.๑.๒ ไปรบั ราชการฝายพลเรอื น และพน จากตําแหนง ในกระทรวงกลาโหม
๕.๑.๓ ไดเ ปน ราชองครกั ษเวรครบ ๓ ปบ ริบรู ณ

๕.๒ โดยปกติ รอว.ทุกนายจะปฏิบัติหนาที่วาระละ ๓ ป เม่ือใกลจะครบกําหนดพนตําแหนง
สรอ.จะนาํ ความกราบบังคมทลู เพ่อื ขอทราบพระราชประสงคว า จะทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหผูนั้นยังคงรับ
ราชการสนองพระเดชพระคุณตอไปอีกหรือไม หากทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหด ํารงตาํ แหนง รอว.สบื ตอ ไป
อีกวาระหน่ึง แม รอว.ผูน้ันมิไดดํารงตําแหนงตรงตามท่ีระเบียบ กห.ฯ กําหนด รอว.ก็สามารถปฏิบัติหนาท่ี ฯ
สบื ตอไปไดจนกวาจะมพี ระบรม-ราชโอการใหพน ตาํ แหนง

ราชองครกั ษประจํา
ราชองครักษประจํา (รอป.)เปนนายทหารสัญญาบัตรประจําการท่ีมียศและเงินเดือนไมเกินอัตรากําลัง

เจาหนาทข่ี องกรมราชองครักษในตําแหนงราชองครักษประจําที่วาง โดยไมจํากัดช้ันยศ การแตงตั้งเปนพระราช
อํานาจของพระมหากษัตริยและดํารงอยูในตําแหนงไดคราวละ ไมเกิน ๓ ป เวนแตจะมีพระราชประสงคใหคง
อยตู อ ไปหรือพนจากตาํ แหนง กอนกาํ หนดน้ีกไ็ ด

๑. การดําเนนิ การขอพระราชทานแตง ต้งั รอป. รอ.จะมหี นังสือถงึ เหลาทัพตาง ๆ เพอ่ื ขอใหพิจารณา
คดั เลอื กนายทหารสญั ญาบตั รผทู มี่ ีคุณสมบตั ิเหมาะสมในการปฏิบัตหิ นา ที่ รอป. หรอื รอ. จะมีหนงั สอื ขอตัว
นายทหารสญั ญาบัตร โดยระบุรายชอื่ มาทเี่ หลาทัพตาง ๆ หลงั จากนนั้ แตล ะเหลา ทัพ ก็จะเสนอบัญชีรายช่อื และ
ประวัตขิ องนายทหารผูน้นั ไปยงั รอ. เพือ่ พจิ ารณาใหค วามเห็นชอบในขั้นตน เมอื่ รอ.เหน็ ชอบแลว จึงเสนอ กห.
เพอื่ ขอรบั การพจิ ารณาอนมุ ตั ิจากสภากลาโหมหรอื รมว.กห.ตอไป เมือ่ ไดรับอนมุ ตั แิ ลว ใหเสนอเรอ่ื งคนื รอ.
เพ่ือนาํ ความกราบบังคบทูล ถาทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตงั้ นายทหารสญั ญาบตั รผใู ดเปนราชองครกั ษ
ประจําแลว สรอ. จะเชญิ กระแสพระบรมราชโองการแจง ตอ กห. เพ่ือดําเนนิ การตอ ไป

๒. หลกั ฐานการขอพระราชทานแตง ตง้ั เปน รอป.
๒.๑ แบบกรอกประวตั ยิ อ จาํ นวน ๓ ชดุ
๒.๒ ภาพถายขาวดํา ขนาด ๒ นิ้ว X ๒.๕ น้ิว แตงเคร่ืองแบบปกติขาว ไมสวมแวนตา และไมไว

หนวด

๓. ระยะเวลาในการดาํ รงตําแหนง รอป.
๓.๑ รอป. จะพน จากหนา ที่ ฯ ในกรณีใดกรณหี น่ึง ดังตอไปนี้
๓.๑.๑ ออกจากประจาํ การ
๓.๑.๒ ไปรับราชการท่ีอืน่ และขาดจากตาํ แหนงหนาทใ่ี นกรมราชองครักษ
๓.๒ รอป.จะปฏิบัติหนาที่วาระละ ๓ ป เมื่อใกลจะครบกําหนดพนตําแหนง สรอ.จะนําความขึ้น

กราบบังคมทูลเพ่ือขอทราบพระราชประสงควา จะทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหผูน้ันยังคงรับราชการสนอง
พระเดชพระคุณตอไปอีกหรือไม แลวรายงานให กห.ทราบเพื่อดําเนินการตอไป หากมิไดทรงพระกรุณาโปรด
เกลา ฯ ใหคงเปน ราชองครกั ษประจําสบื ไป ก็ใหย า ยไปรับราชการตามที่ กห.เหน็ สมควร



บทท่ี ๒

เวรประจําพระองค
การปฏบิ ัติหนา ท่ีเวรประจาํ พระองคน้นั เปนหนา ทอ่ี ันสาํ คญั ประการหนงึ่ ของ ราชองครกั ษ และถือเปน
เกยี รตยิ ศอยางสงู ยิ่งทีร่ าชองครักษไดร บั ความไววางพระราชหฤทยั ใหป ฏบิ ัติหนาทีถ่ วายความปลอดภัยและ
ถวายพระเกยี รตยิ ศโดยใกลชดิ เบื้องพระยคุ ลบาท ซ่งึ ยากที่ผอู ่ืนจะไดร ับพระราชทานเกยี รตสิ งู เชน น้ี นาย
ทหารทเ่ี ปน ราชองครักษทัง้ ปวงจึงควรจะมีความสาํ นึกในพระมหากรณุ าธคิ ุณอันหาทสี่ ุดมิได และมีจิตใจ
เปย มลน ดว ยความจงรักภกั ดี ยอมทจี่ ะเสียสละทุกส่งิ แมแ ตช ีวติ เพือ่ นอมถวายเปน ราชพลี การไดมโี อกาสไป
ปฏบิ ตั ิราชการสนองพระเดชพระคุณ ในหนาท่เี วรประจาํ พระองคน้นั ถือไดว า เปนสว นหนงึ่ ของความสํานกึ
ในหนา ท่ีและเปน ความภาคภมู ิใจในเกียรตยิ ศของราชองครกั ษท่ตี องรักษาใหคงไวต ลอดไป

เมื่อไดรับพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ แตงต้ังเปนราชองครักษเวรแลว รอ. จะจัดใหหมุนเวียนกัน
ไปปฏิบัตหิ นา ทเี่ วรประจําพระองค

๑. สถานท่ปี ฏบิ ตั หิ นาที่
ปจจุบันนี้ รอ. จัดราชองครักษและนายตํารวจราชสํานักเวรไปปฏิบัติหนาท่ีเวรประจําพระองค ๒

แหง ดงั น้ี
๑.๑ ณ พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน วันละ ๒๐ นาย โดยจัดจากราชองครักษเวร วันละ ๑๙ นาย

นายตาํ รวจราชสํานกั เวร วนั ละ ๑ นาย
ทั้ง ๑๓ นายนี้ หมุนเวียนกันปฏิบัติหนาที่ ณ พระตําหนักจิตรลดารโหฐานที่ประทับของ

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และพระตําหนักที่ประทับของ สมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ
การผลัดเปล่ียนเวรประจําพระองค จะเริ่มเวลา ๑๔๐๐ โดยแบงเวลาการปฏิบัติหนาที่เปน ๖ ผลัด ผลัดละ ๒
ชวั่ โมง หมนุ เวยี นกนั ไปจนครบ ๑ วนั

๑.๒ ณ พระตําหนักนนทบุรี (ประจําพระองค พล.อ.สมเด็จพระบรม- โอรสาธิราช ฯ สยาม
มกุฎราชกุมาร) วันละ ๙ นาย โดยจัดจากราชองครักษเวร วันละ ๘ นาย นายตํารวจราชสํานักเวร วันละ ๑
นาย

การผลัดเปลี่ยนเวรประจําพระองค จะเริ่มเวลา ๑๔๐๐ โดยแบงเวลาการปฏิบัติหนาท่ีเปน ๘
ผลัด ผลัดละ ๒ ช่ัวโมง หมุนเวียนกันไปจนครบ ๑ วัน ท้ังน้ี จะจัดนายตํารวจ ราชสํานักเวรใหอยูในผลัดท่ี ๓
เสมอ

๒. หลักเกณฑและวธิ ีการจดั เวรประจาํ พระองค
๒.๑ รอ.รับผิดชอบในการจัดราชองครักษเวรไปปฏิบัติหนาที่เวรประจํา พระองคในแตละวันเม่ือ

ดําเนินการเสร็จแลว จะสงรางคําส่ัง กห.สง สป.เพื่อดําเนินการออกคําส่ัง ในขณะเดียวกันจะสงสําเนารางคําส่ัง
การจัดเวรดังกลาวใหแตละเหลาทัพทราบดวย เพ่ือแจงใหผูที่ตองปฏิบัติหนาที่ ฯ ทราบและมาปฏิบัติหนาที่
ตอ ไป

๒.๒ ปจจุบันนี้ รอ.ใชเคร่ืองคอมพิวเตอรจัดเวรประจําพระองคในแตละเดือน ซ่ึงมีหลักเกณฑการ
จัด พอสรปุ ไดดังน้ี

๒.๒.๑ จัดใหปฏิบัติหนาท่ีเวรประจําพระองค ณ พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน และ ตําหนัก
นนทบรุ ี สลับกนั ไป

๒.๒.๒ ความถี่ในการปฏิบัติหนาที่เวรประจําพระองคแตละคร้ังจะ หางกัน ๔๐ วัน
โดยประมาณท้ังน้ีอาจจะชากวาน้ันหรือเร็วกวานั้นบางข้ึนอยูกับจํานวนราช- องครักษ ท่ีจะปฏิบัติหนาที่ หรือ
ความจาํ เปน อืน่ ๆ ท่ีอาจจะมี

๒.๒.๓ โดยปกติแลวจะจัดใหปฏิบัติหนาท่ีในวันหยุดราชการ ๑ ครั้ง และวันปฏิบัติราชการ ๑
ครั้ง สลับกันไป โดยถือเอาวันศุกร เสาร อาทิตย และวันหยุดราชการประจําปเปนกลุมวันหยุดราชการ และวัน
จนั ทร อังคาร พธุ และพฤหสั บดี ท่ไี มตรงกับวนั หยุด ราชการเปน กลุม วนั ปฏบิ ตั ิราชการ

๒.๒.๔ จากหลักเกณฑในขอ ๒.๒.๑ - ๒.๒.๓ จะสรุปตัวอยางการจัดเวรประจําพระองคได
ดงั น้ี

ตัวอยาง
พล.ร.ต.รักเกียรติ ย่ิงชีพ ถูกจัดใหไปปฏิบัติหนาที่เวรประจําพระองค ณ พระตําหนักจิตรลดา

รโหฐาน ในวันอังคารที่ ๒๑ เม.ย. และ พล.ร.ต.รักเกียรติ ฯ ไปปฏิบัติหนาที่ไดตามกําหนด ดังนั้น ในคร้ังตอไป
พล.ร.ต.รักเกยี รติ ฯ จะถูกจดั ใหไปปฏบิ ตั ิหนา ท่ี ฯ ณ พระตําหนักนนทบุรี ในกลุมวันหยุดราชการ ประมาณ ๑๔
- ๒๘ ม.ิ ย.

จากตัวอยางดังกลาว จะเห็นไดวา รอ.ถือเอาการปฏิบัติหนาท่ีเวรประจําพระองคจริงเปนสําคัญ
มิไดถือเอาการมีชื่อในคําสั่งจัดเวรประจําพระองคเปนสําคัญ ท้ังนี้ เพราะผูท่ีจะขึ้นปฏิบัติหนาท่ี ฯ ในแตละวัน
น้ัน รอ. จะทลู เกลา ฯ ถวายรายนามกอนถึงเวลาผลดั เปล่ยี นเวรดวยทุกคร้งั

๒.๒.๕ หาก รอว.มีความจําเปนที่จะของดการปฏิบัติหนาที่ ฯ หรือ ขอรนระยะเวลาใหเร็วข้ึน
หรือขอเลอื่ นระยะเวลาใหชาออกไป จะตองแจง กพ.ทร. หรอื รอ. เพ่ือดําเนนิ การใหเสร็จส้ินกอนถึงเดือนปฏิบัติ
หนาที่ ฯ ประมาณ ๑๕ วัน เชน เวรประจาํ พระองคเดอื น พ.ค. รอ. จะจัดเสรจ็ ประมาณวันท่ี ๑๕ เม.ย.

๓. การเตรียมตวั เดนิ ทางไปปฏิบตั หิ นา ทเี่ วรประจาํ พระองค
เมื่อไดรับทราบกําหนดการปฏิบัติหนาท่ี ฯ จากหนวยท่ีเกี่ยวของแลว จะตองตอบรับการปฏิบัติ

หนา ทใี่ ห กพ.ทร.หรือ รอ.ทราบดวย
การเตรียมตวั ไปปฏบิ ัติหนา ที่ ฯ ดําเนินการดังนี้
๓.๑ ณ พระตาํ หนักจติ รลดารโหฐาน
๓.๑.๑ เดินทางไปถึง รอ.กอนเวลา ๑๓๐๐ ของวันปฏิบัติหนาท่ี ฯ เมื่อถึงเวลา ๑๓๐๐ รอป.ท่ี

เปนเวรประจาํ วนั จะบรรยายสรปุ ใหทราบเกยี่ วกับพระราชกรณยี กิจและหนาท่ที จ่ี ะตอ งปฏิบตั ิ
๓.๑.๒ การแตงกาย เครื่องแบบปกติกากีคอแบะ เคร่ืองแบบปกติขาว กระบ่ี ถุงมือ (กระบ่ี ถุง

มือ ไมตองนําไปเพราะ รอ.จะเตรียมไวให) ในบางกรณี อาจจะตองแตงเคร่ืองแบบครึ่งยศ หรือเต็มยศ ซึ่ง จนท.
รอ.จะแจงใหผปู ฏบิ ัตหิ นาที่ ฯ ทราบโดยตรง

๓.๑.๓ การแตงกายในขณะเดนิ ทางไปปฏิบัติหนา ท่ี ฯ เครอ่ื งแบบปกติกากคี อพบั แขนยาว

๓.๑.๔ ในกรณีที่ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี และสมเด็จพระเจา ลูกเธอ เจาฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ มิได
ประทับอยู ณ พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน ใหงดการปฏิบัติหนาที่ ฯ ในหวงเวลาที่มิไดประทับอยู แตถามี
พระองคหน่ึงประทับอยู คงไปปฏิบัติหนาท่ี ฯ ตามปกติ แตลดจํานวนลงเทาท่ีจําเปน โดย รอ.จะแจงใหผูปฏิบัติ
หนา ท่ี ฯ ทราบโดยตรง

๓.๒ ณ พระตาํ หนกั นนทบุรี
๓.๒.๑ เดินทางไปถึงพระตําหนักนนทบุรี กอนเวลา ๑๒๓๐ ของวันปฏิบัติหนาที่ ฯ จะมี

เจา หนาทคี่ อยอาํ นวยความสะดวกและชแี้ จงใหทราบเกย่ี วกับพระราชกรณียกิจ และหนาท่ที ่ีตอ งปฏบิ ตั ิ
๓.๒.๒ การแตงกาย เครื่องแบบปกติกากีคอแบะ เคร่ืองแบบปกติขาว กระบี่ ถุงมือ (ตองนําไป

ดว ยทุกครง้ั ) ในกรณีทจี่ ะตองแตง เครือ่ งแบบเตม็ ยศ เจา หนาทจี่ ะแจง ใหผปู ฏบิ ตั ิหนา ที่ ฯ ทราบ โดยตรง
๓.๒.๓ การแตงกายในขณะเดินทางไปปฏิบัติหนาท่ี ฯ เครื่องแบบปกติกากีคอพับ แขนยาว

(หามใชเคร่ืองแบบแขนสั้น) และในระหวางปฏิบัติหนาที่ ฯ หามแตงกายนอกเคร่ืองแบบ หรือแตงกายพลเรือน
ท้ังน้ี ในระหวางท่ีมิไดข้ึนเวร อนุญาตใหแตงเคร่ืองแบบปกติกากีคอพับ แขนยาวได แตถามีพระราชกระแสให
เขาเฝา ฯ จะตอ งแตง เครือ่ งแบบปกตคิ อแบะ สวมปลอกแขนราชองครักษเวรเขาเฝา ฯ ทกุ ครง้ั

๓.๒.๔ ในกรณีท่ี พล.อ.สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราช-กุมาร มิไดประทับอยู
ใหป ฏิบตั หิ นา ที่ ฯ ตามปกติ ไมม ีการงดการปฏิบัติหนา ที่ ฯ

๔. การงดเวรและการเปล่ยี นเวรประจาํ พระองค
๔.๑ ในกรณีที่เหตุเกิดจากความจําเปนเพราะการปฏิบัติพระราชกรณียกิจ เชน เสด็จฯแปร

พระราชฐานไปประทับแรมตางจังหวัด ซึ่งอาจจะงดหรือลดจํานวนราชองครักษเวร ถาเปนการเรงดวนหรือ
ระยะเวลากระช้ันชิด รอ.จะแจงใหผูปฏิบัติหนาที่ ฯ ทราบโดยตรง (ทางโทรเลข หรือทางโทรศัพท) และหากมี
เวลาเพียงพอ จะมีรายงานเสนอขออนุมัติระงับการปฏิบัติหนาที่ ฯ แลวแจงให แตละเหลาทัพตาง ๆ ดําเนินการ
ตอ ไป

๔.๒ ในกรณีที่ความจําเปนน้ันเกิดจากผูปฏิบัติหนาท่ี ฯ เอง เชน เจ็บปวย ไดรับอุบัติเหตุจนไม
สามารถปฏบิ ตั หิ นาที่ ฯ ได หรือมีราชการสําคัญเรงดวนย่ิงซ่ึงอาจไปปฏิบัติหนาท่ีเวรประจําพระองคแลวเกิดผล
เสยี หายตอ ทางราชการ ใหแ จง ให กพ.ทร.ทราบโดยดว น ทัง้ น้ี กพ.ทร.จะดําเนนิ การจัดเวรประจาํ พระองคสํารอง
ไปปฏิบตั หิ นาท่ี ฯ แทน

๔.๓ ในกรณีที่ รอว.ทราบถึงการปฏิบัติราชการลวงหนา มากกวา ๒ วัน ให รอว.ดําเนินการขอ
เปลี่ยนการปฏิบัติหนาที่ ฯ ดวยตนเอง แลวมีบันทึก หรือโทรเลขเสนอ ทร. (ผาน กพ.ทร.) ขอเปล่ียนการปฏิบัติ
หนาที่ ฯ ดังกลาว และเม่ือ ทร.(ผช.เสธ.ทร.ฝกพ.ทําการแทน ผบ.ทร.) อนุมัติแลว สบ.ทร.จะแจงใหผูเก่ียวของ
และ รอ.ทราบตอไป

๕. การจัดเวรประจาํ พระองคสํารอง
เนื่องจากในแตละเดือน ปรากฎวามีราชองครักษเวร ปวย หรือติดราชการ กระทันหันและไมทราบ

กาํ หนดสนิ้ สดุ ภารกิจ ทําใหไมสามารถปฏบิ ัติหนา ท่ี ฯ ในเดือนน้ันได กพ.ทร.จึงมีความจําเปนที่จะตองพิจารณา

จัดเวรประจําพระองคสํารองไวสําหรับปฏิบัติหนาท่ีเวรประจําพระองคแทนในกรณีดังกลาว ซึ่ง ทร.ไดกรุณา
อนุมัติหลักเกณฑในการจัดเวรประจําพระองคสํารอง1 เม่ือ ๖ ส.ค.๒๙ สรุปไดวา ในกรณีผูมีหนาที่อยูเวรประจํา
พระองคไมสามารถไปปฏิบัติหนาท่ีไดเพราะติดราชการจําเปนหรือปวยซ่ึงทางโรงพยาบาลรับไวเปนคนไขใน
ขอใหแจง กพ.ทร.ทราบในโอกาสแรก เพื่อ กพ.ทร.จะไดพิจารณาจัดเวรประจําพระองคสํารองและเสนอขอ
อนมุ ตั ิ ทร.ตอไป

๕.๑ หลกั เกณฑในการจัดเวรประจาํ พระองคสาํ รอง
๕.๑.๑ เปน รอว. ยศ พล.ร.ต. , น.อ. , น.ท., และ น.ต.
๕.๑.๒ เปน รอว. ทีป่ ฎบิ ตั ิราชการในพนื้ ที่กรงุ เทพมหานครหรอื ปรมิ ณฑล ตามปกติ
๕.๑.๓ เปน รอว. ที่ไมไดป ฏบิ ตั หิ นา ทเ่ี วรประจาํ พระองคใ นเดือน ลาสดุ
๕.๑.๔ ไมเคยเปน รอป. มากอน เน่ืองจาก จะไมสามารถจัดผูที่เคยเปน รอป.ปฏิบัติหนาที่

เวรประจําพระองคสํารอง ณ พระตําหนักนนทบุรี ได ดังน้ัน เพื่อเปนการตัดปญหาดังกลาว จึงไมพิจารณา
จดั ผูท่เี คยเปน รอป.

๕.๑.๕ เปน รอว.ทมี่ ิไดของดเวรในเดือนลาสดุ
๕.๑.๖ จัด รอว. ตามขอ ๕.๑.๑ - ๕.๑.๕ เปนเวรประจําพระองคสํารองไมเกิน ๑ ครั้งตอป
ยกเวนกรณีที่ไมสามารถหาผูท่ีเหมาะสมได จึงจะพิจารณาจากผูปฏิบัติหนาท่ีเวรประจําพระองคมาแลวเปน
ระยะนานทสี่ ดุ กอน
๕.๒ ข้ันตอนการจัดเวรประจาํ พระองคส ํารอง
๕.๒.๑ กพ.ทร.จะคดั เลือกเวรประจําพระองคสาํ รอง จํานวน ๖ นาย (พล.ร.ต. ๓ นาย และ
น.อ. , น.ท. และ น.ต. คละกันไป จํานวน ๓ นาย )
๕.๒.๒ จะพิจารณาเรียงลําดับ ๑. - ๓. จากผูที่เขาเวรประจําพระองค มาแลว เปน
ระยะเวลานานทสี่ ดุ กอ น ดังน้ี
ตวั อยาง สมมติวา กพ.ทร.จะพจิ ารณาจดั เวรประจาํ พระองค เดอื น พ.ย.
พล.ร.ต.นงิ่ ปฏิบตั ิหนาที่ ฯ เม่ือ ๑ ต.ค.
พล.ร.ต.ลึก ปฏิบตั ิหนา ที่ ฯ เม่อื ๑๒ ก.ย.
พล.ร.ต.สงบ ปฏบิ ัตหิ นา ที่ ฯ เม่ือ ๒๑ ต.ค
พล.ร.ต.เร็ว ปฏิบัตหิ นาท่ี ฯ เม่ือ ๓๐ ส.ค.
พล.ร.ต.มน่ั ปฏิบัตหิ นาท่ี ฯ เมื่อ ๒ ต.ค.
จากรายช่ือขางตน จะพิจารณาจดั เวรประจาํ พระองคสํารอง ประจาํ เดือน พ.ย. ดงั น้ี

เวรสํารอง คนท่ี ๑. คอื พล.ร.ต.เรว็
เวรสํารอง คนท่ี ๒. คอื พล.ร.ต.ลึก
เวรสํารอง คนท่ี ๓. คอื พล.ร.ต.นง่ิ
๕.๒.๓ กพ.ทร. จะตอ งตรวจสอบดว ยวา รอว.ดังกลาวจะตอ งไมไดเปน เวรประจําพระองค

สาํ รองภายในระยะเวลา ๑ ป นน้ั

เชน พล.ร.ต.พงษ ไดเ คยเปนเวรประจาํ พระองคส ํารอง เม่อื ป ๔๐ (ม.ค. - ก.ย.๔๐
ระยะเวลา ๑ ป ) กพ.ทร.ก็ไมส ามารถจดั พล.ร.ต.พงษ เปนเวรประจาํ พระองคสํารองได จนกวา จะพนเดือน
ก.ย.๔๑ ไปแลว

๕.๒.๔ หากมี รอว.ท่ีปฏิบัติหนาท่ี ฯ ในวันเดียวกัน จะตองเลือกผูท่ีมีอาวุโสนอยกวาเปนเวร
ประจําพระองคส ํารองลําดับแรกกอน เชน (เรียงลําดบั อาวุโส)

น.อ.สบ ปฏบิ ตั ิหนา ท่ี ฯ ๑๒ พ.ย.
น.ท.พวิ ปฏบิ ัติหนาที่ ฯ ๑๐ ธ.ค.
น.ต.หมู ปฏบิ ตั หิ นา ท่ี ฯ ๑๒ พ.ย.

จากรายชอ่ื ขา งตน กพ.ทร.จะพิจารณาจัดเวรประจาํ พระองคส ํารองดงั นี้

เวรสํารอง คนท่ี ๑. น.ต.หมู
เวรสํารอง คนที่ ๒. น.อ.สบ
เวรสํารอง คนท่ี ๓. น.ท.พิว
๕.๒.๕ ในกรณที ี่ไดพ จิ ารณาจัดเวรประจาํ พระองคส าํ รองไปปฏิบัตหิ นา ท่ี ฯ แทนในเดือน
ทีไ่ ดร ับการอนมุ ตั ิใหเ ปน เวรประจําพระองคส าํ รองแลว เวรประจําพระองคส าํ รองผูน ั้นจะไมส ามารถขอให
รอ.งดการปฏิบัตหิ นาที่ ฯ ในเดอื นถัดไปได เนือ่ งจากเปน การปฏบิ ัติหนา ท่ตี ามคําส่ัง ทร. และไมใ ชวงรอบ
ของระยะการปฏิบัติหนาที่ ฯ ของ รอ. แตอ ยางใด

การปฏบิ ัติหนา ที่ในฐานะราชองครักษ ไมวาจะเปน รอพ.,รอว. หรือ รอป.ลวนแตเปน
หนาที่ท่ีมีเกียรติเปนอยางย่ิง ดังนั้น ราชองครักษทุกประเภท และทุกนายจะตองมีความสํานึกในหนาท่ีของตน
กระทําหนาท่ีของตนดวยความรับผิดชอบอยางเต็มท่ี และจะตองไมกระทําการใด ๆ เพื่อใหกระทบตอเบ้ืองพระ
ยคุ ลบาทโดยเด็ดขาด จึงจะไดช ื่อวามคี วามเปนผูท่ีเหมาะสมตอ การเปน ราชองครักษ

บทที่ ๑

หนว ยทหารรกั ษาพระองคของ ทร.
หนวยทหารรกั ษาพระองคไดจ ดั ตัง้ ข้ึนครั้งแรกในสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว โดยมี
กรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็กรักษาพระองคเปนหนวยแรก หลังจากนั้นไดมีการสถาปนาเปนหนวยทหารรักษา
พระองคเ พิม่ ขนึ้ แตเ ปน หนว ยทหารของกองทัพบกทงั้ ส้นิ
หนวยทหารรักษาพระองคของ ทร. มีขึ้นเปนคร้ังแรก เมื่อ ๑๓ ก.ค. ๒๔๕๔ (รศ.๑๓๐) พระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกลาเจา อยูหวั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหยกกองทหารซงึ่ ประจําเรอื พระท่ีน่ังมหาจักรีขึ้นเปนกอง
ทหารรักษาพระองค ใหมีนามวา “กองเรือพระท่ีนั่งรักษาพระองค” และใหทหารซึ่งประจําการในกองเรือพระที่
น่ังรักษาพระองคประดับเคร่ืองหมายเปนแผนโลหะรูปอักษรพระปรมาภิไธยยอกับพระมหามงกุฎท่ีอกเสื้อ
เคร่ืองแบบ รายละเอยี ดปรากฏในประกาศกระทรวงทหารเรือ ลงวันที่ ๑๓ ก.ค. รศ.๑๓๐ (ราชกิจจานุเบกษา เลม
๒๘ ศก ๑๓๐ หนา ๑๔๘ แผนกกฤษฎีกา) เรือพระที่นั่งมหาจักรีจึงสังกัด “กองเรือพระท่ีนั่งรักษาพระองค”
ตัง้ แตนั้นมาโดยไมมีการเปลย่ี นแปลง แมจะมีการเปลี่ยนแปลงการจดั หนว ยเรอื หลายครงั้ แตไ มม ีการแตง ตั้ง ผบ.
กองเรือพระท่ีนั่ง เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเสด็จประพาสทางทะเลจึงมีการจัดกระบวนเรือ และแตงต้ัง
ผบ.กระบวนเรือขึ้นเฉพาะคราว เขาใจวา กองเรือพระที่น่ังรักษาพระองคยุบเลิกไปเมื่อมีการเปล่ียนแปลงการ
ปกครองเปนระบอบประชาธปิ ไตยใน พ.ศ.๒๔๗๕ คงเหลอื แต “เรือพระท่ีน่งั มหาจักร”ี และ “เครือ่ งหมายทหาร
ประจําเรือพระท่ีนั่ง” มาจนถึง พ.ศ.๒๔๗๙ ทร.จึงไดโอนเรือพระท่ีน่ังมหาจักรีมาใชราชการและเปล่ียนชื่อเปน
“ร.ล.อางทอง” เรือพระทน่ี ั่งจึงหมดไป
ในการประชุม ผบ.เหลาทัพเมื่อ พ.ค.๒๑ ผบ.ทอ.ไดเสนอขอให ทอ.มีหนวยทหารรักษาพระองคเพื่อ
เปน เกียรติประวัตแิ ก ทอ. โดยมคี วามมงุ หมายทจี่ ะให รร.นอ. เปน หนวยทหารรักษาพระองค ซ่ึงท่ีประชุมเห็นวา
ถา ทอ.มหี นว ยทหารรกั ษาพระองค กค็ วรขอให ทร.ดวย และในการประชุมของ บก.ทหารสูงสุด เม่ือ ๑ มิ.ย.๒๑
เห็นพองกันวา ควรจัดใหมีหนวยทหารรักษาพระองคขึ้นใน ทร. และ ทอ. และให ทบ.ดําเนินการจัดตั้งกรม
นักเรียน รร.จปร.เปนหนวยทหารรักษาพระองคในโอกาสน้ีดวย เน่ืองจากเดิมกรมนักเรียน รร.จปร. ยังมิไดรับ
การแตง ตั้งเปนหนว ยทหารรักษาพระองคเ ปนทางราชการ แตม สี ภาพเสมือนหนึง่ เปน หนวยทหารรกั ษาพระองค
ในสวนของ ทร.น้ัน ไดม ีการพจิ ารณารวมกันแลว รร.นร. กร. และ นย. เสนอขอจัดตั้งหนวยทหารรักษา
พระองค คอื

- รร.นร.ขอใหจัดต้ัง กองนักเรียน รร.นร.ยศ.ทร. ซ่ึงขณะน้ันยังมีชื่อตามอัตราวา กองการปกครอง
รร.นร.ยศ.ทร. เปน หนวยทหารรักษาพระองค เชน เดียวกับ กรมนกั เรยี น รร.จปร.

- กร.เสนอขอใหจัดตั้งเปนเรือพระที่นั่งโดยจัดหาเรือพระที่น่ังขึ้นเปนการเฉพาะ ๑ ลํา ทํานอง
เดียวกบั เรอื พระทีน่ ั่งมหาจกั รีลาํ เดิม

- นย. เสนอขอใหจัดต้ัง พัน.ร.๙ ผส.นย. เปนหนวยทหารรักษาพระองค โดยมีเหตุผลวา มีพระ
ตําหนักทกั ษณิ ราชนิเวศนอ ยูใกลเ คียงกบั ทีต่ ัง้ ของหนวย พัน.ร.๙ ผส.นย.
ทร. มีหนังสือถึง บก.ทหารสูงสุด2 เม่ือ ๑๓ พ.ย.๒๑ ใหเสนอขอจัดตั้ง กอง นนร. รร.นร. พัน.ร.๙ กรม ร.๓ นย.
และ บก.กรม ร.๓ นย. ซ่ึงเปนหนวยเหนือระดับกรม เปนหนวยทหารรักษาพระองค และ บก.ทหารสูงสุด ได

เสนอรายงานขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตสถาปนาเปนหนวยทหารรักษาพระองค พรอมกับหนวยของ
ทบ. และ ทอ.

เมื่อ ๑๐ ก.ย.๒๓ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตสถาปนาหนวยทหาร
ของ ทร. เปน หนวยทหารรักษาพระองค และ กห. อนุมัตเิ ม่อื ๒๒ ก.ย.๒๓ ใหใ ชค าํ ยอ ดังนี้

๑. กอง นนร.รร.นร. เปนหนวยทหารรักษาพระองค เรียกชื่อเต็มวา “กองนักเรียนนายเรือ รักษา
พระองค โรงเรียนนายเรอื ” ใชค าํ ยอวา “กอง นนร.รอ.รร.นร.”

๒. พัน.ร.๙ กรม ร.๓ นย. เปนหนวยทหารรักษาพระองค เรียกชื่อเต็มวา “กองพันทหารราบท่ี ๙
รักษาพระองค กรมทหารราบท่ี ๓ กรมนาวิกโยธิน” ใชค ํายอวา “พนั .ร.๙ รอ.กรม ร.๓ นย.”

๓. บก.กรม ร.๓ นย. เปน หนวยทหารรกั ษาพระองค เรยี กช่ือเต็มวา “กองบังคับการกรมทหารราบที่
๓ รักษาพระองค กรมนาวกิ โยธิน” ใชค าํ ยอวา “บก.กรม ร.๓ รอ.นย.”

ตอมา กห.ไดมีคําส่ังแกอัตรากองทัพเรือให กรมทหารราบเปนหนวยข้ึนตรง กองพลนาวิกโยธิน
หนวยบัญชาการนาวิกโยธิน และ รร.นร. เปน นขต.ทร.จึงไดเสนอขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตเปล่ียน
นามหนวยทหารรกั ษาพระองค

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ พระราชทานพระบรม- ราชานุญาต
เปลย่ี นนามหนว ยทหารรกั ษาพระองคใ นสังกดั ทร. เปนดงั นี้

๑. กองนักเรียนนายเรือ รักษาพระองค โรงเรียนนายเรือ เปน กรมนักเรียนนายเรือรักษาพระองค
โรงเรียนนายเรอื ตงั้ แต ๒๒ ต.ค.๓๓

๒. กองพันทหารราบที่ ๙ รักษาพระองค กรมทหารราบท่ี ๓ กรมนาวิก-โยธิน เปน กองพันทหาร
ราบท่ี ๙ รกั ษาพระองค กรมทหารราบที่ ๓ กองพลนาวิกโยธิน หนวยบัญชาการนาวิกโยธิน ต้ังแต ๒๗ มี.ค.
๓๓

๓. กองบังคับการ กรมทหารราบท่ี ๓ รักษาพระองค กรมนาวิกโยธิน เปน กองบังคับการ กรม
ทหารราบท่ี ๓ รกั ษาพระองค กองพลนาวกิ โยธนิ หนว ยบัญชาการนาวกิ โยธิน ตง้ั แต ๒๗ ม.ี ค.๓๓

สําหรับการใชคาํ ยอ นน้ั กห.ไดอ นุมตั ิใหใชค าํ ยอ ดงั นี้
๑. เมอ่ื ๑๓ พ.ย.๓๓ ให กรมนักเรียนนายเรือ รกั ษาพระองค โรงเรียน นายเรือ ใชคํายอวา “กรม

นนร.รอ.รร.นร.”
๒. เม่ือ ๕ เม.ย.๓๓ ให กองพันทหารราบที่ ๙ รักษาพระองค กองพล นาวิกโยธิน หนวย

บัญชาการนาวิกโยธิน ใชคํายอวา “พัน.ร.๙ รอ.พล.นย.” และ กองบังคับการ กรมทหารราบที่ ๓ รักษา
พระองค กองพลนาวกิ โยธิน หนวยบัญชาการนาวกิ โยธนิ ใชคํายอ วา “บก.กรม ร.๓ รอ.พล.นย.”

บทที่ ๒

การแตง ตัง้ นายทหารพเิ ศษประจําหนวยทหารรกั ษาพระองค
นายทหารพิเศษ คือ ผูซ่ึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ตั้งใหมียศทหารเปนพิเศษ สังกัดในหนวยทหาร
หรอื ผมู ยี ศทหารอยแู ลว ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหเ ปน นายทหารพิเศษหนวยใดหนว ยหนง่ึ
การแตงตงั้ นายทหารพิเศษ นั้น นอกจากความเหมาะสมในดานตาง ๆ แลว ยงั ยึดถอื หลกั การพิจารณาอีก
ประการหนึ่งวา ตอ งเปนผมู เี กียรติสงู ตลอดจนฐานะมนั่ คงพอท่จี ะครองเกียรตทิ ี่ไดร บั ไวไดตลอดชวี ิต

หลกั เกณฑและคณุ สมบัติในการขอพระราชทานแตงตั้งนายทหารพิเศษประจําหนวยทหารรักษาพระองค ที่

กห.กาํ หนด
รมว.กห.อนุมัติเมื่อ ๒๔ มี.ค.๓๑ ใหใชหลักเกณฑการขอพระราชทานแตงต้ังนายทหารพิเศษประจํา

หนวยทหารรักษาพระองค ดงั น้ี
๑. นายทหารยศ พล.อ. พล.ร.อ. และ พล.อ.อ. ในสังกัดเหลาทัพตามหลักเกณฑและคุณสมบัติที่กําหนด

ไวของแตละเหลาทัพ ใหขอพระราชทานแตงตั้งไดหลายหนวยในเหลาทัพนั้น สําหรับ พล.อ. พล.ร.อ. และ
พล.อ.อ. นอกสังกัดเหลาทัพท่ีมีความสําคัญของทหาร หรือจะตองปฏิบัติเก่ียวกับพิธีของหนวยทหารรักษา
พระองคและยงั ไมเคยไดร บั การแตง ตง้ั มากอ น ควรขอพระราชทานแตง ต้งั ได ๑ หนว ย ในเหลา ทัพน้ัน

๒. นายทหารยศ พล.ท. พล.ร.ท. และ พล.อ.ท. ในสังกัดเหลาทัพเฉพาะท่ีมีตําแหนงหลักและมี
ความสําคัญทางทหารท่ีเหลาทัพกําหนดหลักเกณฑและคุณสมบัติไว ใหขอพระราชทานแตงต้ังไดไมเกิน ๒
หนวย ในเหลาทัพน้ัน สําหรับ พล.ท. พล.ร.ท. และ พล.อ.ท. ตําแหนงอ่ืน ๆ รวมทั้ง พล.ท. พล.ร.ท. และ
พล.อ.ท. นอกสังกัดเหลาทัพท่ีมีความสําคัญทางทหารหรือจะตองปฏิบัติเกี่ยวกับพิธีของหนวยทหารรักษา
พระองค และยังไมเคยไดร บั การแตง ตงั้ มากอ น ควรขอพระราชทานแตงตง้ั ได ๑ หนวย ในเหลา ทัพนัน้

๓. การขอพระราชทานแตงตั้งนายทหารพิเศษประจําหนวยทหารรักษาพระองคใหแกนายทหารสัญญา
บัตรอื่น ๆ ท้ังในสังกัดและนอกสังกัดเหลาทัพควรใหเปนไปตามหลักเกณฑและคุณสมบัติที่แตละเหลาทัพ
กําหนดไว

๔. การขอพระราชทานแตงตั้งนายทหารพิเศษประจําหนวยทหารรักษาพระองคใหแกนายทหารสัญญา
บัตรนอกสังกัดเหลาทัพ เม่ือเหลาทัพขอพระราชทานแตงตั้งใหเปนนายทหารพิเศษแลว เหลาทัพก็ควรจะจัดหา
เครอ่ื งแบบใหดวย

หลักเกณฑก ารขอพระราชทานแตง ตงั้ เปน นายทหารพิเศษประจําหนวยทหารรกั ษาพระองค ท่ี ทร.กําหนด
ทร.ไดกําหนดหลักเกณฑในการพิจารณาเสนอขอพระราชทานแตงตั้งใหนายทหารที่ดํารงยศและ

ตําแหนงตาง ๆ เปนนายทหารพิเศษประจําหนวยทหารรักษาพระองค ตั้งแตป ๒๓ และไดมีการอนุมัติเพ่ิมเติม
โดยใหสอดคลอ งกับหลกั เกณฑของ กห. และแกไ ขช่ือตําแหนงใหถูกตองตามอัตราการจัดสวนราชการ นับถึงป
๔๐ รวม ๑๖ คร้ัง ตามผนวก ข. เพื่อความสะดวกในการปฏิบัติงาน กพ.ทร.จึงไดรวบรวมตําแหนงตาง ๆ โดย
อางองิ หลักเกณฑและการอนมุ ัตไิ วต าม ผนวก ค. สําหรบั หลักเกณฑที่ ทร.อนุมตั ิทัง้ ๑๖ ครงั้ น้ัน ไดน าํ มารวมไว
ดว ยกัน สรปุ ไดดงั นี้

๑. ผูที่จะไดรับการพิจารณาเสนอขอพระราชทานแตงตั้งเปนนายทหารพิเศษประจําหนวยทหารรักษา
พระองค จะตองเปนนายทหารเรือสัญญาบัตรประจําการที่ไดรับหรือเคยไดรับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกลา ฯ
แตงต้ังเปนราชองครักษแลว และประกอบคุณงามความดีแกทางราชการสมควรแกการยกยอง โดยมีหลักเกณฑ
ดงั นี้

๑.๑ ผูท่ีดํารงยศ พล.ร.อ. หรือดํารงตําแหนงอัตรา พล.ร.อ. ใหเสนอขอ พระราชทานแตงต้ังเปนนาย
ทหารพเิ ศษประจํา กรม นนร.รอ.รร.นร. และ ประจาํ บก.กรม ร.๓ รอ. พล.นย.

๑.๒ ผูท่ีดํารงตําแหนงตาง ๆ ใน ทร.ท่ี ทร.อนุมัติไวแลว ใหเสนอขอ พระราชทานแตงตั้งเปนนาย
ทหารพเิ ศษประจํา กรม นนร.รอ.รร.นร. ยกเวน ผูที่เปนพรรค นย.ใหเสนอขอพระราชทานแตงต้ังเปนนายทหาร
พิเศษประจํา บก.กรม ร.๓ รอ.พล.นย.

๑.๓ นายทหารเรือสัญญาบัตรประจําการยศ พล.ร.ท. นอก ทร. ในตําแหนงอื่น ๆ ซ่ึง ทร.เห็นสมควร
ใหเสนอขอพระราชทานแตง ตงั้ เปน นายทหารพเิ ศษประจาํ หนวยทหารรกั ษาพระองคห นวยหน่งึ หนวยใดใน ทร.

๑.๔ นายทหารเรือสัญญาบัตร สังกัด ทร.ที่รับเงินเดือนอัตรา น.อ.พิเศษ มีฐานะม่ันคงพอที่จะรักษา
เกียรติท่ีไดรับไวไดตลอดชีวิตและเคยเปนนายทหารประจําหนวยทหารรักษาพระองคแลวไดประกอบคุณงาม
ความดีแกทางราชการโดยเฉพาะแกหนวยทหารท่ีจะพิจารณาแตงต้ังเปนนายทหารพิเศษจนปรากฏเดนชัดวา
ความดีน้ันสมควรยกยองโดยมีรายละเอียดการประกอบคุณงามความดีใหสามารถพิจารณาไดแนนอน และไม
เปนผูที่เคยไดรับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกลา ฯ แตงต้ังใหเปนนายทหารพิเศษประจําหนวยทหารรักษา
พระองคห นวยใดหนวยหนง่ึ อยแู ลว

๑.๔.๑ เม่อื ผนู ั้นเคยบังคบั บัญชาใน กรม นนร.รอ.รร.นร. ในตําแหนง ผบ.กรม นนร.รอ.รร.นร.
รอง ผบ.กรม นนร.รอ.รร.นร. เสธ.กรม นนร.รอ.รร.นร. และ ผบ.พัน.กรม นนร.รอ.รร.นร. ใหเสนอขอ
พระราชทานแตง ตง้ั เปน นายทหารพิเศษประจํา กรม นนร.รอ.รร.นร.

๑.๔.๒ เมื่อผูนั้นเคยบังคับบัญชาใน บก.กรม ร.๓ รอ.พล.นย. และ พัน.ร.๙ รอ. กรม ร.๓
พล.นย. ในตําแหนง ผบ.กรม ร.๓ พล.นย. รอง ผบ.กรม ร.๓ พล.นย. เสธ.กรม ร.๓ พล.นย. ผบ.พัน.ร.๙ รอ.กรม
ร.๓ พล.นย. และ รอง ผบ.พัน.ร.๙ รอ.กรม ร.๓ พล.นย. ใหเสนอขอพระราชทานแตงตั้งเปนนายทหารพิเศษ
ประจํา บก.กรม ร.๓ รอ.พล.นย.

๒. ตําแหนงตาง ๆ ใน ทร.ที่ ทร.อนุมัติไวใหขอพระราชทานแตงตั้งเปนนายทหารพิเศษประจําหนวย
ทหารรกั ษาพระองค ตามขอ ๑.๒ ไดแ ก

๒.๑ รอง เสธ.ทร. ผช.เสธ.ทร.ฝกพ. ผช.เสธ.ทร.ฝขว. ผช.เสธ.ทร.ฝยก. ผช.เสธ.ทร.ฝยบ.
ปช.ทร. หน.ฝสธ.ประจํา ผบ.ทร. ปษ.ทร. รอง หน.คณะ ฝสธ.ประจําผูบังคับบัญชา และตําแหนงอัตรา
พล.ร.ท. ใน กร. ฐท.สส. และ สรส.

๒.๒ ผูบังคับบัญชาและรองผูบังคับบัญชาของหนวยทหารรักษาพระองคและ หน.หนวยในสาย
วิทยาการที่ผลิต นนร. ไดแก ผบ.รร.นร. รอง ผบ.รร.นร. เสธ.รร.นร. หน.ฝศษ.รร.นร. ศาสตราจารย
ฝศษ.รร.นร. ผบ.นย. รอง ผบ.นย. เสธ.นย. ผบ.พล.นย. รอง ผบ.พล.นย. เสธ.พล.นย. จก.อร. จก.อศ. และ
จก.พธ.ทร.

๒.๓ จก.ยศ.ทร. รอง จก.ยศ.ทร. และ เสธ.ยศ.ทร.
๒.๔ หน.นขต.ทร.
๒.๕ ผบ.หนวยกําลงั รบระดับ ผบ.กองพล ผบ.กองเรือ หรือ ผบ.กองพลบิน รอง ผบ.กองเรือตาง
ๆ กองเรือภาค กองเรือปองกันฝง เสนาธิการกองเรือ ผบ.กองเรือปองกันฝงเขต ๑ - ๓ รอง ผบ.กองเรือ
ปอ งกันฝง เขต ๑ - ๓ เสธ.กองเรอื ปองกันฝงเขต ๑ - ๓ รอง ผบ. กบร.กร. เสธ.กบร.กร. รอง ผบ.สอ./รฝ.
๒.๖ รอง เสธ.กร. หน.ฝสธ.ประจํา ผบ.กร. ผบ.กฝร. รอง ผบ.กฝร.เสธ.กฝร. ผบ.นสร.กร. รอง
ผบ.ศฝ.นย. เสธ.ศฝ.นย. รอง ผบ.ฐท.สส. เสธ.ฐท.สส.รอง ผบ.ฐท.กท. เสธ.ฐท.กท. รอง ผบ.ฐท.สข.
เสธ.ฐท.สข. รอง ผบ.ฐท.พง. และ เสธ.ฐท.พง.
๓. การขอพระราชทานแตงต้ังตามขอ ๑.๑ – ๑.๓ กพ.ทร.เปนผูดําเนินการ สวนขอ ๑.๔ หนวยทหาร
รักษาพระองคพิจารณาความเหมาะสมแลวเสนอผา นตามสายการบังคับบญั ชาตามลาํ ดบั ชนั้
๔. การจะขอพระราชทานแตงต้ังนายทหารผูหน่ึงผูใดเปนนายทหารพิเศษประจําหนวยทหารรักษา
พระองค ซงึ่ นอกเหนือจากหลกั เกณฑท ี่ ทร.กาํ หนดไวอ ยใู นอํานาจการพจิ ารณาและริเรม่ิ ของ ผบ.ทร.

ข้ันตอนในการเสนอขอแตง ต้ัง
เมื่อทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหนายทหารรับราชการสนองพระเดชพระคุณในตําแหนงอัตราพลเรือ

ตรีขึ้นไป และ ทร.ไดออกคําส่ังยายนายทหารยศ น.อ. เพื่อบรรจุในอัตรา น.อ.พิเศษ แลว กพ.ทร.จะดําเนินการ
เสนอขอพระราชทานแตง ตั้งผทู ี่มคี ณุ สมบตั ติ ามหลักเกณฑท ่ี ทร.กําหนด เปน นายทหารพเิ ศษประจําหนวยทหาร
รกั ษาพระองค ปละ ๒ คร้งั โดยมีขน้ั ตอนการดําเนินการดงั น้ี

๑. ตรวจสอบรายช่ือนายทหารยศ พล.ร.อ.ทุกนาย วาจะตองเสนอขอพระราชทานแตงตั้งผูใดเปนนาย
ทหารพิเศษประจาํ กรม นนร.รอ.รร.นร. และ ประจาํ บก.กรม ร.๓ รอ.พล.นย.

๒. ตรวจสอบรายชื่อนายทหารยศ พล.ร.ท. และผูท่ีดํารงตําแหนงอัตรา พล.ร.ท. ทร.วาผูใดยังมิไดเปน
นายทหารพิเศษประจาํ หนวยทหารรักษาพระองคข อง ทร.

๓. ตรวจสอบรายชื่อนายทหารท่ีดํารงตําแหนงตาง ๆ ตามท่ี ทร.อนุมัติวาผูใด ยังมิไดเปนนายทหาร
พิเศษประจาํ หนวยทหารรกั ษาพระองคข อง ทร.

๔. ออกขาวแจงเตือน นย. และ รร.นร.ใหพิจารณาเสนอรายช่ือนายทหารยศ น.อ. รับเงินเดือนอัตรา
น.อ.พเิ ศษ (ระดับ น.๕) ทเ่ี คยรบั ราชการในหนว ยทหารรักษาพระองคในตาํ แหนง ท่ี ทร.อนมุ ตั ิ

๕. รวบรวมรายช่ือท่ีผูที่อยูในเกณฑท่ีจะตองเสนอขอแตงตั้งเปนนายทหารพิเศษ ตามขอ ๑. – ๔. เพ่ือ
ตรวจสอบประวัติวาเปนราชองครักษหรือเคยเปนราชองครักษหรือไม หากไมเคยเปน ตรวจสอบวากําลังเสนอ
ขอพระราชทานแตงตัง้ เปนราชองครักษห รือไม

๖. สง ประวตั ิยอใหผ ูมีคณุ สมบตั คิ รบถวนกรอกขอ มลู และลงนาม
๗. ตรวจสอบประวัตยิ อ
๘. เสนอขอความเหน็ ชอบจาก ทร. และขอใหลงนามเสนอไป บก.ทหารสงู สดุ

บทท่ี ๑

การแตงกายของราชองครกั ษแ ละนายทหารพิเศษ

การแตง กายของราชองครกั ษ

๑. การแตงกายเครอื่ งแบบชนดิ ตาง ๆ
เคร่ืองแบบและสวนประกอบของเคร่ืองแบบของนายทหารสัญญาบัตรท่ีเปน ราชองครักษนั้น

เปนไปตามกฎหมายและระเบียบของแตละเหลาทัพ แตการจะแตงเคร่ืองแบบชนิดใดเพื่อใหเหมาะสมตาม
โอกาสและสถานทีใ่ นการปฏิบตั ใิ นหนา ทร่ี าชองครกั ษ กรมราชองครกั ษ ไดก าํ หนดหลักเกณฑไว ดงั นี้

๑.๑ เครอื่ งแบบปกตคิ อพบั แขนยาว
ใชในการปฏิบัตหิ นา ทร่ี าชองครักษ ณ พระตําหนกั หรอื สถานทีป่ ระทับแรมตา งจงั หวดั

๑.๒ เครือ่ งแบบปกติคอแบะ ใชใ นโอกาสตา ง ๆ ดงั นี้
๑.๒.๑ ในการปฏิบัติหนาที่ราชองครักษ ณ สถานที่ท่ีอยูในเขตกรุงเทพมหานครและจังหวัด

ใกลเคียง เชน การปฏิบัติหนาที่เวรประจําพระองค ณ พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน หรือพระตําหนักนนทบุรี
หรือในโอกาสปฏิบัติหนาที่ราชองครักษตามเสด็จ ไปจากกรุงเทพมหานคร หรือจังหวัดใกลเคียง และไมมี
กาํ หนดการใหแ ตงเครื่องแบบเปน อยา งอ่ืน

๑.๒.๒ ในการปฏิบัติหนาท่ีราชองครักษ ณ พระตําหนัก หรือสถานที่ประทับแรมตางจังหวัด
เฉพาะงานทีเ่ ปนรัฐพิธี หรอื เปน พิธีการ ซึ่งกรมราชองครักษจ ะกาํ หนดตามความเหมาะสม

๑.๒.๓ ในการปฏิบตั ิหนาที่ราชองครักษในตางประเทศ
๑.๓ เคร่อื งแบบปกตคิ อแบะ ประดับเหรียญ

ใชในการปฏิบตั ิหนา ทรี่ าชองครักษในการเสด็จ ฯ ไปในงานสวนสนามแสดงแสนยานุภาพทาง
ทหาร และมกี ําหนดการใหแตงเคร่อื งแบบดงั กลาว

๑.๔ เคร่ืองแบบปกตขิ าว
ใชในโอกาสปฏิบัติในหนาที่ราชองครักษ ณ สถานท่ีท่ีอยูในเขตกรุงเทพมหานคร หรือจังหวัด

ใกลเ คยี งเฉพาะงานอนั เปนพิธีการ หรือรฐั พิธีท่ไี มมีกําหนดการใหแตง เคร่อื งแบบเปน อยางอน่ื
๑.๕ เครอ่ื งแบบปกติขาว ประดับเหรยี ญ
ใชใ นโอกาสปฏบิ ัติหนา ที่ราชองครักษอ ันเปนพระราชพธิ ี รฐั พธิ ี หรือพิธีการท่ีมีกําหนดการให

แตงเคร่อื งแบบปกติขาว ประดับเหรียญ
๑.๖ เครอ่ื งแบบครง่ึ ยศ
ใชในโอกาสปฏิบัติหนาที่ราชองครักษในงานอันเปนพระราชพิธี รัฐพิธี หรือพิธีการท่ีมี

กําหนดการใหแ ตงเคร่ืองแบบครึ่งยศ
๑.๗ เครือ่ งแบบเตม็ ยศ
ใชในโอกาสปฏิบัติหนาที่ราชองครักษในงานอันเปนพระราชพิธี รัฐพิธี หรือพิธีการท่ีมี

กาํ หนดการใหแตง เครื่องแบบครึง่ ยศ
๑.๘ เครื่องแบบเตม็ ยศรกั ษาพระองค

ใชในโอกาสท่ีปฏิบัติหนาที่ราชองครักษพระราชพิธีฉัตรมงคล พระราชพิธีเฉลิมพระ
ชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และในโอกาสเสด็จ ฯ ไปในงานถวายสัตยปฏิญาณและสวนสนาม
ของทหารรักษาพระองค หรือในงานพระราชพิธีอื่น ๆ อันมีความสําคัญ ซ่ึงกรมราชองครักษจะกําหนดเปนครั้ง
คราว

๒. การประดบั เครื่องราชอิสรยิ าภรณ
กฎกระทรวง (พ.ศ.๒๔๙๙) ออกตามความในพระราชบัญญัติเคร่ืองแบบทหาร พุทธศักราช

๒๔๗๗ วาดวยการประดับเคร่ืองราชอิสริยาภรณและการใชเครื่องหมายราชองครักษ ไดกําหนดเกี่ยวกับการ
ประดับเครื่องราชอิสริยาภรณไวในหมวด ๑ ดังน้ี

๒.๑ การประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ ใหป ฏิบัติตามประกาศสํานักคณะ รัฐมนตรี เรื่องลําดับเกียรติ
และระเบียบการประดับเคร่อื งราชอิสริยาภรณไทย

๒.๒ ทหารซึง่ ไดรบั พระราชทานพระบรมราชานุญาตใหประดับเคร่ืองราช-อิสริยาภรณตางประเทศ
ใหป ระดบั เคร่ืองราชอสิ ริยาภรณน นั้ ได

๒.๓ เมื่อแตงเครือ่ งแบบปกติซ่ึงไมประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ ใหใชแพรแถบ อยางแพรแถบของ
เครือ่ งราชอิสริยาภรณน ั้น ทําเปนแถบสูงประมาณ ๑.๕ เซนติเมตร กวางประมาณ ๓ เซนติเมตร ติดที่อกเสื้อขาง
ซายเหนือกระเปาบน เวนแตเครื่องราชอิสริยาภรณใดซ่ึงมีกฎหมายกําหนดใหประดับที่อกเสื้อขางขวา ก็ใหติด
แพรแถบท่ีอกเสื้อขางขวา และสําหรับแพรแถบเครื่องราชอิสริยาภรณใดมีกฎหมายกําหนดเคร่ืองหมายสําหรับ
ประดบั แพรแถบ กใ็ หประดบั เคร่อื งหมายที่แพรแถบเครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณน ั้นดว ย ในกรณมี ีแพรแถบหลายแถบ
ใหต ดิ เรยี งกนั เปน แถวตามยาว แถวละไมเ กิน ๕ แถบ

การประดับเครื่องราชอิสริยาภรณและการจัดลําดับเกียรติเครื่องราชอิสริยาภรณไทย ได
รวบรวมไวแลวใน อทร.๑๐๐๔ สิทธิกําลังพล

๓. การใชเ คร่อื งหมายราชองครกั ษ
นายทหารที่เปนราชองครักษจะตองใชเครื่องหมายอักษรพระปรมาภิไธย และสายยงยศ

ประกอบกบั เครอ่ื งแบบในขณะท่ปี ฏบิ ตั ิหนา ที่ราชองครกั ษจ ะตอ งใชปลอกแขนดวย
๓.๑ เคร่อื งหมายอักษรพระปรมาภิไธย
ใชรูปอักษรพระปรมาภิไธยยอในองคพระมหากษัตริยรัชกาลที่ตนเปนราชองครักษภายใตเลข

ลําดับรชั กาล และพระมหามงกุฎติดบนอนิ ทรธนูขางขวา ใหยอดพระมหามงกุฎอยูทางดานคอ สําหรับทหารเรือ
ทําดวยโลหะสีเงิน ถาเปนนายทหารสัญญาบัตรตํ่ากวาช้ันนายพลเรือ ติดทับก่ึงกลางแถบเครื่องหมายยศ ถาเปน
นายทหารสัญญาบัตรช้ันนายพลเรือ และจอมพลเรือ ติดบนอินทรธนูถัดจากเคร่ืองหมายยศไปทางดานคอ เวน
แตเมื่อแตงเครื่องแบบปกติลําลองคอพับใหติดท่ีกึ่งกลางอินทรธนู เมื่อแตงเคร่ืองแบบฝกหรือเครื่องแบบสนาม
ใหงดติดเคร่อื งหมายอกั ษรพระปรมาภิไธย

ผทู ่ีเปนราชองครกั ษประจาํ ใหมีเครือ่ งหมายรูปครุฑทําดวยโลหะสีเงินติดบนอินทรธนูขางซาย
อีกดว ย การติดเครอื่ งหมายรูปครุฑนี้ ใหอนโุ ลมตามการติดเคร่ืองหมายอกั ษรพระปรมาภไิ ธย

ภาพการประดบั เครือ่ งหมายอักษรพระปรมาภไิ ธยบนอนิ ทรธนู
ยศเรือตรี

ยศเรอื โท

ยศเรอื เอก
ยศนาวาตรี

ยศนาวาโท

ยศนาวาเอก
ยศพลเรือตรี

ยศพลเรอื โท

ยศพลเรือเอก

สายยงยศไหมทอง
สายยงยศไหมเหลือง

๓.๒ การใชสายยงยศ
นายทหารที่เปนราชองครักษใชสายยงยศเปนสายถัก ๒ เสน ประกอบดวย ตุมโลหะสีทอง ๒

ตุม สายเกลี้ยง ๒ เสน ปลายสายรวบติดใตอินทรธนูขางขวา สายถักคลองใตแขนขวาผานหนาอก ๑ เสน อีก ๑
เสน ผานหนาอก สายเกลียวทําเปนบวงคลองใตแขนขวา ๑ เสน สวนอีก ๑ เสน ทําเปนบวงผานหนาอกมารวม
กับปลายสายถัก ท้ัง ๒ เสนคลองที่ดุมอกเสื้อใหตุมโลหะสีทองอยูที่อกเสื้อ ถาเปนเส้ือช้ันนอกคอปดคลองท่ีดุม
เสื้อเมด็ ที่ ๑ ถาเปน เส้อื ชั้นนอกคอแบะหรือเสื้อช้ันนอกเปดอก คลองใตชายพับประมาณแนวเดียวกับดุมเม็ดท่ี ๑
ของเสอ้ื ชัน้ นอกคอปด

เมื่อแตงเครื่องแบบท่ีมิไดกําหนดใหใชสายยงยศราชองครักษ ก็ใหใชสายยงยศอยางอื่นใน
โอกาสที่ปฏิบตั ิหนา ท่นี ั้น ๆ หรอื ในโอกาสอนั ควรไดด วย

เม่ือแตงเครื่องแบบปกติขาวประดับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ เครื่องแบบปกติกากีคอแบะประดับ
เครื่องราชอิสริยาภรณ เคร่ืองแบบคร่ึงยศ เครื่องแบบเต็มยศ เคร่ืองแบบสโมสร หรือเครื่องแบบกันหนาวท่ีใช
เสื้อช้ันนอกคอปดสีน้ําเงินดํา หรือเครื่องแบบสําหรับใชในประเทศที่มีอากาศหนาวท่ีใชเสื้อสโมสรสีดํา ใชสาย
ยงยศไหมทอง

เม่อื แตงเครือ่ งแบบปกตขิ าว ไมประดับเคร่อื งราชอิสริยาภรณ ใชส าย ยงยศไหมเหลือง
เม่ือแตงเครื่องแบบนอกจากท่ีกลาวแลว ไมใชสายยงยศ และผูที่เปน ราชองครักษ ไมใชสายยง
ยศอยางอน่ื อีก
๓.๓ การใชป ลอกแขน
นายทหารราชองครกั ษขณะท่ีทําการในหนาที่ประจําพระองคโดยเฉพาะ เชน รับเสด็จ นําเสด็จ
ตามเสด็จ หรอื แซงเสดจ็ หรอื ไปในการตาง ๆ ในหนาที่ราชองครักษ ใชป ลอกแขนสกั หลาดสีน้าํ เงนิ ดํา กวาง ๑๐
เซนติเมตร มีแถบสีทองกวาง ๑ เซนติเมตร ๒ แถบ ทาบกลางปลอกแขนโดยรอบเวนระยะระหวางแถบ ๕
มิลลิเมตร ตรงกลางดา นนอกมอี ักษร พระปรมาภิไธยยอในองคพระมหากษัตริยรัชกาลปจจุบัน ภายใตเลขลําดับ
รัชกาลและพระมหามงกุฎ ปกดวยดิ้นทอง ท่ีขอบบนและขอบลางของปลอกแขนขลิบลวดไหมทอง สวมที่แขน
เสื้อขา งซายเหนอื ขอ ศอก
เม่ือปฏิบัติหนาท่ีราชองครักษในตางประเทศ ถามีความจําเปนตองแตงเคร่ืองแบบปกติคอแบะ
ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหงดประดบั ปลอกแขน แตใหป ระดบั สาย ยงยศราชองครกั ษ แทน

??????????
?????????
??????????

ภาพปลอกแขน
๓.๔ การประดับเข็มอกั ษรพระปรมาภิไธยยอ

ผูท่ีเคยเปนราชองครักษในรัชกาลใด เมื่อพนจากตําแหนงแลว และไดรับพระราชทานเข็ม
อักษรพระปรมาภิไธยยอในองคพระมหากษัตริยรัชกาลน้ัน ประกอบดวยแถบแพรเปนเกียรติยศ ใหติดที่อกเสื้อ
ขางขวาเหนอื กระเปา บน ถามเี ครอื่ งหมายอ่นื ตดิ อยูแลวใหตดิ เครอ่ื งหมายนเี้ หนือขึน้ ไป

??????????
??????????
??????????

ภาพเขม็ อักษรพระปรมาภไิ ธยยอ

๔. ราชองครักษเวรทพ่ี น หนาที่
ตามกฎหมายวาดวยราชองครกั ษ กาํ หนดไวว า ราชองครักษเวรพน จากตําแหนงในกรณีใดกรณี

หน่ึง คือ ออกจากประจําการไปรับราชการฝายพลเรือนและพนจากตําแหนงในกระทรวงกลาโหม หรือไดเปน
ราชองครักษเวรครบ ๓ ปบริบูรณ ดังน้ัน ผูที่พนจากหนาที่ราชองครักษเวรดวยเหตุใดก็ตาม จะตองงดประดับ
เครอ่ื งหมายอกั ษรพระปรมาภิไธยยอ และสายยงยศราชองครกั ษ

๕. การใชผาพันแขนทุกข
นายทหารราชองครกั ษ ถาตองแตงเครือ่ งแบบไวทุกขต ามหมายกําหนดการ หรือกําหนดการใน

โอกาสปฏิบัติหนาที่ตองใชปลอกแขนราชองครักษ ใหสวมปลอกแขนทับบน ผาพันแขนทุกข โดยแลบผาพัน
แขนทุกขอ อกจากสว นลางของปลอกแขน ๑ เซนตเิ มตร

การแตงกายของนายทหารพเิ ศษ
กฎกระทรวง (พ.ศ.๒๕๑๘) ออกตามความในพระราชบัญญัติเครื่องแบบทหาร พุทธศักราช

๒๔๗๗ และฉบับแกไขกําหนดเก่ียวกับการประดับอักษรพระปรมาภิไธยไว เปนเคร่ืองหมายพิเศษ ในขอ ๒๔.
ดงั นี้

“ขอ ๒๔. เคร่ืองหมายพเิ ศษ มีดังน้ี
ฯลฯ
(๙) นักเรียนนายเรือและทหารในกองนักเรียนนายเรือรักษา พระองค โรงเรียนนายเรือ กอง
บังคับการ กรมทหารราบที่ ๓ รักษาพระองค กรมนาวิกโยธิน และกองพันทหารราบที่ ๙ รักษาพระองค กรม
ทหารราบที่ ๓ กรมนาวิกโยธิน ใหมีเครื่องหมายเปนแผนโลหะสีทอง รูปอักษรพระปรมาภิไธยยอ ภปร ประดับ
ทอ่ี กเสื้อตอนบนเบื้องขวา”
นายทหารสัญญาบัตรที่รับราชการประจําการในหนวยทหารรักษาพระองคจึงประดับ
เคร่อื งหมายพิเศษรปู อักษรพระปรมาภิไธยยอ ภปร. กบั เครือ่ งแบบได
ขอบังคับ กห.ที่๑๕/๑๓๘๙๔/๒๔๗๙ วาดวยการแตงตัว ขอ ๒. กําหนดไววา นายทหารสัญญา
บัตรที่เคยรับราชการประจําการในกองพันทหารรักษาพระองค เมื่อตองยายไปรับราชการที่อื่นแลว จะแตง
เครื่องแบบของทหารรักษาพระองคอีกไมได อยางไรก็ตามในมาตรา ๒ ไดกําหนดไววา นายทหารพิเศษ แตง
เคร่ืองแบบไดอ ยางนายทหารประจําการ

บทที่ ๒
การขอพระราชทานพระมหากรุณาในกรณตี า ง ๆ
ราชองครักษท ุกคนเปนผูท มี่ เี กียรตไิ ดรับความไวว างพระราชหฤทยั ใหป ฏบิ ตั ิราชการสนองพระเดช
พระคณุ โดยใกลชดิ เบือ้ งพระยคุ ลบาทนอกจากนัน้ ยงั ไดร บั พระราชทานพระมหากรณุ าในเร่ืองตาง ไดแก

๑.การขอพระราชทานใหท รงประกอบพิธีสมรส
๒.การขอพระราชทานชอ่ื บุตรและบตุ รี
๓.การขอพระราชทานชือ่ สกลุ
๔.การขอพระราชทานอุปสมบทเปน นาคหลวง หรือนาคในพระบรมราชา- นุเคราะห
๕.การขอพระราชทานนา้ํ หลวงอาบศพ
๖.การขอพระราชทานเพลงิ ศพและหบี เพลงิ
โดยเหตุท่ีกรมราชองครักษ (รอ.) มิใชหนวยบังคับบัญชาราชองครักษตามสายการบังคับบัญชา รอ.จึง
ไดกําหนดวธิ กี ารขอพระราชทาน คือ หากราชองครกั ษผใู ดมคี วามประสงคจะขอพระราชทานพระมหากรุณาใน
เรื่องใด ๆ ใหเสนอขอพระราชทานทางหนวยตนสังกัดตามสายการบังคับบัญชาจนถึง สล. สป. บก.ทหารสูงสุด
ทบ. ทร. และ ทอ. เพ่ือใหหนวยตนสังกัดไดตรวจสอบความถูกตองและพิจารณาความเหมาะสมของผูขอ
พระราชทานกอ น แลว จึงเสนอเร่ืองให รอ.ดําเนนิ การตอ ไป เวน การขอพระราชทานนํ้าหลวงอาบศพ และการขอ
พระราชทานหีบเพลิง ใหขอทางสาํ นักพระราชวังโดยตรง
การลงนามในหนังสือเสนอ รอ.ในการขอพระราชทานพระมหากรณุ าเร่อื งตา งๆ แกร าชองครักษผบ.ทร.
ไดมอบอํานาจให ผช.ผบ.ทร.ทําการแทนในนามของ ผบ.ทร. ตามคําสัง่ ทร.ท่ี ๑๑๔/๒๕๔๑ ลง ๒๓ ก.ค.๔๑
แบบฟอรม การขอพระราชพระมหากรณุ าในกรณตี าง ๆ
๑. รายละเอยี ดในการขอพระราชทานใหท รงประกอบพธิ ีสมรส
๒. ขอ มูลผูขอพระราชทานพระมหากรุณาใหท รงประกอบพิธีสมรสพระราชทาน
๓. แบบรายงานขอพระราชทานชอ่ื บุตรและบตุ รี
๔. รายละเอยี ดในการขอพระราชทานช่ือบุตรและบตุ รี
๕. รายละเอยี ดในการขอพระราชทานชอื่ สกุล
๖. รายละเอยี ดในการขอพระราชทานอปุ สมบทเปนนาคหลวง,นาคในพระบรมราชานเุ คราะห
๗. รายละเอียดในการขอพระราชทานเพลิงศพเปน กรณพี เิ ศษ

ผนวก ก.
ตําแหนง ตาง ๆ ท่ีสามารถเสนอขอแตงต้งั เปนราชองครกั ษเวร

ลําดบั ช่ือตําแหนง อตั รา จาํ นวน คณุ สมบตั ติ าม

คํายอ คําเต็ม ระเบยี บ กห.
ขอ

๑. รอง เสธ.ทร. รองเสนาธิการทหารเรือ พล.ร.ท ๑ ๘.๑,๘.๒ และ
. ๘.๓

๒. ผช.เสธ.ทร.ฝกพ. ผูชวยเสนาธิการทหารเรือ ฝาย พล.ร.ท ๑ ๘.๑๘.๒ และ

กาํ ลังพล . ๘.๓

๓. ผช.เสธ.ทร.ฝขว. ผูชวยเสนาธิการทหารเรือ ฝาย พล.ร.ท ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

การขาว . ๘.๓

๔. ผช.เสธ.ทร.ฝยก. ผูชวยเสนาธิการทหารเรือ ฝาย พล.ร.ท ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ยุทธการ . ๘.๓

๕. ผช.เสธ.ทร.ฝยบ. ผูชวยเสนาธิการทหารเรือ ฝาย พล.ร.ท ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ยุทธบริการ . ๘.๓

๖. ลก.ทร. เลขานุการกองทัพเรือ พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ
. ๘.๓

๗. รอง ลก.ทร. รองเลขานกุ ารกองทพั เรอื น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ
๘.๔

๘. จก.สบ.ทร. เจากรมสารบรรณทหารเรือ พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ
. ๘.๓

๙. รอง จก.สบ.ทร. รองเจากรมสารบรรณทหารเรือ น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ
๘.๔

๑๐. จก.กพ.ทร. เจา กรมกําลังพลทหารเรือ พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ
. ๘.๓

๑๑. รอง จก.กพ.ทร. รองเจา กรมกาํ ลงั พลทหารเรือ น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ
๘.๔

๑๒. จก.ขว.ทร. เจากรมขาวทหารเรือ พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ
. ๘.๓

๑๓. รอง จก.ขว.ทร. รองเจากรมขาวทหารเรอื น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ
๘.๔

๑๔. ผชท.ทร.ไทย/ ผูชวยทูตฝายทหารเรือประจํา น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

วอชิงตัน สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ ๘.๕

กรุงวอชิงตนั

๑๕. ผชท.ทร.ไทย/ ผชู วยทตู ฝายทหารเรอื ประจํา น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ลอนดอน สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ ๘.๕

กรุงลอนดอน

๑๖. ผชท.ทร.ไทย/ปารีส ผชู ว ยทูตฝายทหารเรอื ประจํา น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

สถานเอกอคั รราชทูตไทย ณ ๘.๕

กรุงปารีส

๑๗. ผชท.ทร.ไทย/ ผูชวยทูตฝายทหารเรือประจํา น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

โตเกียว สถานเอกอคั รราชทูตไทย ณ ๘.๕

กรงุ โตเกยี ว

๑๘. ผชท.ทร.ไทย/ ผชู ว ยทตู ฝา ยทหารเรือประจํา น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

มอสโก สถานเอกอคั รราชทูตไทย ณ ๘.๕

กรุงมอสโก

๑๙. ผชท.ทร.ไทย/ ผชู วยทตู ฝา ยทหารเรือประจาํ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

บอนน สถานเอกอคั รราชทูตไทย ณ ๘.๕

กรงุ บอนน

๒๐. ผชท.ทร.ไทย/นิ ผชู ว ยทูตฝายทหารเรอื ประจาํ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

วเดลี สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ ๘.๕

กรงุ นวิ เดลี

๒๑. ผชท.ทร.ไทย/ยาง ผูช ว ยทตู ฝายทหารเรอื ประจาํ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กุง สถานเอกอคั รราชทูตไทย ณ ๘.๕

กรุงยางกงุ

๒๒. ผชท.ทร.ไทย/ ผูช ว ยทูตฝายทหารเรอื ประจาํ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กวั ลาลัมเปอร สถานเอกอคั รราชทูตไทย ณ ๘.๕

กรงุ กัวลาลมั เปอร

๒๓. ผชท.ทร.ไทย/ ผชู ว ยทูตฝายทหารเรือประจาํ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

สิงคโปร สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ ๘.๕

กรงุ สงิ คโปร

๒๔. ผชท.ทร.ไทย/ ผชู ว ยทูตฝา ยทหารเรอื ประจํา น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

พนมเปญ สถานเอกอคั รราชทูตไทย ณ ๘.๕

กรงุ พนมเปญ

๒๕. ผชท.ทร.ไทย/ ผชู วยทตู ฝา ยทหารเรอื ประจาํ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

เวียงจันทน สถานเอกอคั รราชทตู ไทย ณ ๘.๕

กรงุ เวยี งจันทน

๒๖. ผชท.ทร.ไทย/ ผชู วยทูตฝายทหารเรอื ประจาํ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ฮานอย สถานเอกอคั รราชทูตไทย ณ ๘.๕

กรงุ ฮานอย

๒๗. ผชท.ทร.ไทย/ ผูช วยทูตฝา ยทหารเรือประจํา น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

มะนิลา สถานเอกอคั รราชทตู ไทย ณ ๘.๕

กรงุ มะนิลา

๒๘. ผชท.ทร.ไทย/ ผชู ว ยทูตฝายทหารเรือประจาํ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

จาการต า สถานเอกอัครราชทตู ไทย ณ ๘.๕

กรงุ จาการตา

๒๙. ผชท.ทร.ไทย/ ผชู วยทตู ฝายทหารเรือประจาํ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

แคนเบอรร า สถานเอกอคั รราชทูตไทย ณ ๘.๕

กรุงแคนเบอรร า

๓๐. ผชท.ทร.ไทย/ ผูชว ยทตู ฝายทหารเรอื ประจํา น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ปกก่งิ สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ ๘.๕

กรงุ ปกกงิ่

๓๑. ผชท.ทร.ไทย/โซล ผูช ว ยทตู ฝายทหารเรือประจาํ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

สถานเอกอคั รราชทตู ไทย ณ ๘.๕

กรุงโซล

๓๒. ผชท.ทร.ไทย/ ผูชว ยทตู ฝายทหารเรือประจํา น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

เวลลงิ ตัน สถานเอกอคั รราชทูตไทย ณ ๘.๕

กรุงเวลลิงตัน

๓๓. ผชท.ทร.ไทย/ ผชู วยทูตฝา ยทหารเรอื ประจํา น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

อสิ ลามาบดั สถานเอกอัครราชทตู ไทย ณ ๘.๕

กรุงอสิ ลามาบดั

๓๔. ผชท.ทร.ไทย/ ผชู ว ยทูตฝายทหารเรือประจํา น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

มาดรดิ สถานเอกอคั รราชทตู ไทย ณ ๘.๕

กรุงมาดริด

๓๕. ผชท.ทร.ไทย/ ผูชว ยทูตฝา ยทหารเรือประจํา น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

สตอกโฮลม สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ ๘.๕

กรงุ สตอกโฮลม

๓๖. ผชท.ทร.ไทย/ ผูชวยทูตฝายทหารเรือประจาํ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ออสโล สถานเอกอคั รราชทูตไทย ณ ๘.๕

กรุงออสโล

๓๗. ผชท.ทร.ไทย/ ผชู ว ยทตู ฝา ยทหารเรือประจาํ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

โคลัมโบ สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ ๘.๕

กรุงโคลมั โบ

๓๘. ผชท.ทร.ไทย/ ผูชว ยทูตฝายทหารเรอื ประจาํ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

โคเปนเฮเกน สถานเอกอัครราชทตู ไทย ณ ๘.๕

กรุงโคเปนเฮเกน

๓๙. ผชท.ทร.ไทย/โรม ผชู ว ยทูตฝา ยทหารเรอื ประจํา น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

สถานเอกอคั รราชทตู ไทย ณ ๘.๕

กรุงโรม

๔๐. ผชท.ทร.ไทย/บนั ผูช วยทตู ฝา ยทหารเรอื ประจาํ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ดารเ สรเี บกาวนั สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ ๘.๕

กรุงบันดารเ สรเี บกาวนั

๔๑. จก.ยก.ทร. เจา กรมยุทธการทหารเรอื พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

. ๘.๓

๔๒. รอง จก.ยก.ทร. รองเจากรมยทุ ธการทหารเรือ น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

๘.๔

๔๓. จก.กบ.ทร. เจากรมสงกําลงั บาํ รุงทหารเรอื พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

. ๘.๓

๔๔. รอง จก.กบ.ทร. รองเจา กรมสง กําลงั บาํ รุง น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

ทหารเรอื ๘.๔

๔๕. จก.สส.ทร. เจากรมส่อื สารทหารเรือ พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

. ๘.๓

๔๖. รอง จก.สส.ทร. รองเจา กรมส่ือสารทหารเรอื น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

๘.๔

๔๗. จก.กพร.ทร. เจากรมกจิ การพลเรอื น พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ทหารเรือ . ๘.๓

๔๘. รอง จก.กพร.ทร. รองเจากรมกิจการพลเรอื น น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

ทหารเรอื ๘.๔

๔๙. ปช.ทร. ปลัดบญั ชที หารเรือ พล.ร.ท ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

. ๘.๓

๕๐. รอง ปช.ทร. รองปลดั บัญชีทหารเรือ พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

. ๘.๓

๕๑. ผช.ปช.ทร. ผชู ว ยปลดั บญั ชที หารเรอื พล.ร.ต ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

. ๘.๓

๕๒. ผอ.สตช.ทร. ผอู าํ นวยการสาํ นกั งานตรวจ พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

บัญชที หารเรอื . ๘.๓

๕๓. รอง ผอ.สตช.ทร. รองผูอาํ นวยการสาํ นกั งาน น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

ตรวจบัญชที หารเรือ ๘.๔

๕๔. จก.จร.ทร. เจา กรมจเรทหารเรือ พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

. ๘.๓

๕๕. รอง จก.จร.ทร. รองเจา กรมจเรทหารเรือ น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

๘.๔

๕๖. รอง ผบ.กร. รองผูบ ญั ชาการกองเรือ พล.ร.ท ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

ยุทธการ . ๘.๓

๕๗. เสธ.กร. เสนาธิการกองเรอื ยุทธการ พล.ร.ท ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

. ๘.๓

๕๘. รอง เสธ.กร. รองเสนาธกิ ารกองเรือยทุ ธการ พล.ร.ต ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

. ๘.๓

๕๙. ผบ.กภ.๑ กร. ผบู ญั ชาการกองเรือภาคที่ ๑ พล.ร.ท ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กองเรอื ยุทธการ . ๘.๓

๖๐. รอง ผบ.กภ.๑ กร. รองผูบ ญั ชาการกองเรอื ภาคที่ พล.ร.ต ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

๑กองเรือยทุ ธการ . ๘.๓

๖๑. เสธ.กภ.๑ กร. เสนาธิการกองเรือภาคที่ ๑ กอง พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

เรือยุทธการ . ๘.๓

๖๒. ผบ.กภ.๒ กร. ผบู ัญชาการกองเรอื ภาคท่ี ๒ พล.ร.ท ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กองเรอื ยทุ ธการ . ๘.๓

๖๓. รอง ผบ.กภ.๒ กร. รองผูบัญชาการกองเรือภาคที่ พล.ร.ต ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

๒กองเรือยุทธการ . ๘.๓

๖๔. เสธ.กภ.๒ กร. เสนาธิการกองเรอื ภาคท่ี ๒ พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กองเรอื ยทุ ธการ . ๘.๓

๖๕. ผบ.กภ.๓ กร. ผูบัญชาการกองเรือภาคที่ ๓ พล.ร.ท ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กองเรือยุทธการ . ๘.๓

๖๖. รอง ผบ.กภ.๓ กร. รองผูบ ญั ชาการกองเรือภาคที่ พล.ร.ต ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

๓กองเรอื ยทุ ธการ . ๘.๓

๖๗. เสธ.กภ.๓ กร. เสนาธกิ ารกองเรือภาคท่ี ๓ พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กองเรอื ยุทธการ . ๘.๓

๖๘. ผบ.กตอ.กร. ผูบัญชาการกองเรอื ตรวจอา ว พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กองเรือยุทธการ . ๘.๓

๖๙. รอง ผบ.กตอ.กร. รองผูบ ญั ชาการกองเรือตรวจ น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

อาวกองเรอื ยุทธการ ๘.๔

๗๐. เสธ.กตอ.กร. เสนาธิการกองเรอื ตรวจอาว น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กองเรือยุทธการ ๘.๔

๗๑. ผบ.หมวดเรือที่ ๑ ผบู งั คับหมวดเรอื ที่ ๑ กองเรือ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กตอ.กร. ตรวจอาว กองเรอื ยทุ ธการ ๘.๗.๓

๗๒. ผบ.ร.ล.มกุฎราช ผบู ังคับการเรอื หลวง น.ท. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กุมารหมวดเรอื ท่ี มกุฎราชกมุ าร หมวดเรือที่ ๑ ๘.๗.๒

๑กตอ.กร. กองเรือตรวจอา วกองเรอื

ยทุ ธการ

๗๓. ผบ.หมวดเรอื ที่ ๒ ผบู งั คบั หมวดเรือที่ ๒ กองเรอื น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กตอ.กร. ตรวจอา ว กองเรอื ยทุ ธการ ๘.๗.๓

๗๔. ผบ.หมวดเรือที่ ๓ ผบู งั คบั หมวดเรอื ท่ี ๓ กองเรอื น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กตอ.กร. ตรวจอา ว กองเรอื ยุทธการ ๘.๗.๓

๗๕. ผบ.กฟก.๑ กร. ผบู ญั ชาการกองเรอื ฟรเิ กตท่ี ๑ พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กองเรือยุทธการ . ๘.๓

๗๖. รอง ผบ.กฟก.๑ กร. รองผูบ ัญชาการกองเรือฟริเกต น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

ที่ ๑ กองเรอื ยทุ ธการ ๘.๔

๗๗. เสธ.กฟก.๑ กร. เสนาธิการกองเรือฟรเิ กตที่ ๑ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กองเรอื ยุทธการ ๘.๔

๗๘. ผบ.หมวดเรือท่ี ๑ ผบู งั คบั หมวดเรอื ที่ ๑ กอง น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กฟก.๑ กร. เรือฟรเิ กตท่ี ๑ กองเรือยทุ ธการ ๘.๗.๓

๗๙. ผบ.ร.ล.ตาป หมวด ผูบ งั คบั การเรอื หลวงตาป น.ท. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

เรือท่ี ๑ กฟก.๑ กร. หมวดเรือที่ ๑ กองเรือฟริเกตท่ี ๘.๗.๒

๑ กองเรอื ยุทธการ

๘๐. ผบ.ร.ล.ครี รี ัฐ ผูบ งั คบั การเรือหลวงครี ีรัฐ น.ท. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

หมวดเรือท่ี ๑ กฟก. หมวดเรอื ที่ ๑ กองเรือฟริเกตท่ี ๘.๗.๒

๑ กร. ๑ กองเรือยุทธการ

๘๑. ผ บ .ร .ล . ผบู ังคับการเรือหลวง น.ท. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

รั ต น โ ก สิ น ท ร รตั นโกสนิ ทร หมวดเรือที่ ๑ ๘.๗.๒

หมวดเรือท่ี ๑ กฟก. กองเรือฟรเิ กตท่ี ๑ กองเรอื

๑ กร. ยุทธการ

๘๒. ผ บ .ร .ล .สุ โ ข ทั ย ผูบังคับการเรอื หลวงสโุ ขทยั น.ท. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

หมวดเรือท่ี ๑ กฟก. หมวดเรอื ท่ี ๑ กองเรือฟริเกตที่ ๘.๗.๒

๑ กร. ๑ กองเรือยทุ ธการ

๘๓. ผบ.หมวดเรือท่ี ๒ ผบู งั คับหมวดเรือที่ ๒ กอง น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กฟก.๑ กร. เรือฟรเิ กตท่ี ๑ กองเรอื ยุทธการ ๘.๗.๓

๘๔. ผ บ .ร .ล .ท า จี น ผูบงั คบั การเรอื หลวงทา จนี น.ท. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ห ม ว ด เ รื อ ที่ ๒ หมวดเรอื ที่ ๒ กองเรอื ฟริเกตที่ ๘.๗.๒

กฟก.๑ กร. ๑ กองเรอื ยุทธการ

๘๕. ผ บ .ร .ล .ป ร ะ แ ส ผบู ังคับการเรอื หลวงประแส น.ท. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ห ม ว ด เ รื อ ท่ี ๒ หมวดเรอื ท่ี ๒ กองเรอื ฟรเิ กตท่ี ๘.๗.๒

กฟก.๑ กร. ๑ กองเรอื ยทุ ธการ

๘๖. ผ บ .ร .ล .ป น เ ก ล า ผบู งั คบั การเรือหลวงปนเกลา น.ท. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ห ม ว ด เ รื อ ที่ ๒ หมวดเรอื ท่ี ๒ กองเรือฟริเกตท่ี ๘.๗.๒

กฟก.๑ กร. ๑ กองเรือยุทธการ

๘๗. ผบ.ร.ล.พุทธยอด ผบู ังคับการเรอื หลวงพุทธยอด น.อ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ฟาจุฬาโลกหมวด ฟา จฬุ าโลก หมวดเรือที่ ๒ กอง ๘.๗.๒

เรือท่ี ๒ กฟก.๑ กร. เรือฟริเกตท่ี ๑ กองเรอื ยทุ ธการ

๘๘. ผบ .ร.ล.พุท ธ เ ลิ ศ ผบู ังคับการเรอื หลวงพุทธเลศิ น.อ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

หลานภาลัยหมวด หลา นภาลัย หมวดเรือท่ี ๒ ๘.๗.๒

เรอื ที่ ๒ กฟก.๑ กร. กองเรือฟริเกตท่ี ๑ กองเรอื

ยุทธการ

๘๙. ผบ.หมวดเรือท่ี ๓ ผบู งั คับหมวดเรือท่ี ๓ กอง น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กฟก.๑ กร. เรือฟริเกตที่ ๑ กองเรือยุทธการ ๘.๗.๓

๙๐. ผบ.กฟก.๒ กร. ผบู ัญชาการกองเรอื ฟริเกตที่ ๒ พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กองเรือยุทธการ . ๘.๓

๙๑. ร อ ง ผ บ .ก ฟ ก .๒ รองผบู ัญชาการกองเรอื ฟรเิ กต น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

กร. ท่ี ๒ กองเรอื ยทุ ธการ ๘.๔

๙๒. เสธ.กฟก.๒ กร. เสนาธกิ ารกองเรอื ฟรเิ กตที่ ๒ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กองเรอื ยุทธการ ๘.๔

๙๓. ผบ.หมวดเรือที่ ๑ ผูบังคบั หมวดเรอื ที่ ๑ กอง น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กฟก.๒ กร. เรือฟรเิ กตที่ ๒ กองเรอื ๘.๗.๓

ยุทธการ

๙๔. ผบ.ร.ล.เจาพระยา ผูบ ังคบั การเรอื หลวงเจา พระยา น.อ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

หมวดเรือที่ ๑ กฟก. หมวดเรอื ท่ี ๑ กองเรอื ฟริเกตท่ี ๘.๗.๒

๒ กร. ๒ กองเรอื ยุทธการ

๙๕. ผบ.ร.ล.บางปะกง ผบู งั คับการเรอื หลวงบางปะกง น.อ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

หมวดเรือท่ี ๑ กฟก. หมวดเรือที่ ๑ กองเรือฟรเิ กตที่ ๘.๗.๒

๒ กร. ๒ กองเรือยทุ ธการ

๙๖. ผบ.หมวดเรือที่ ๒ ผูบงั คับหมวดเรอื ท่ี ๒ กอง น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กฟก.๒ กร. เรอื ฟรเิ กตที่ ๒ กองเรือ ๘.๗.๓

ยุทธการ

๙๗. ผ บ .ร .ล .ก ร ะ บุ รี ผบู ังคับการเรอื หลวงกระบุรี น.อ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ห ม ว ด เ รื อ ท่ี ๒ หมวดเรอื ท่ี ๒ กองเรือ ฟรเิ กต ๘.๗.๒

กฟก.๒ กร. ที่ ๒ กองเรือยทุ ธการ

๙๘. ผ บ .ร .ล .ส า ย บุ รี ผบู งั คบั การเรอื หลวงสายบรุ ี น.อ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ห ม ว ด เ รื อ ที่ ๒ หมวดเรือที่ ๒ กองเรือฟรเิ กตท่ี ๘.๗.๒

กฟก.๒ กร. ๒ กองเรือยทุ ธการ

๙๙. ผบ.หมวดเรือท่ี ๓ ผบู งั คบั หมวดเรือท่ี ๓ กอง น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กฟก.๒ กร. เรือฟริเกตที่ ๒ กองเรอื ๘.๗.๓

ยุทธการ

๑๐๐. ผ บ .ร .ล .น เ ร ศ ว ร ผบู ังคบั การเรอื หลวงนเรศวร น.อ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ห ม ว ด เ รื อ ที่ ๓ หมวดเรือที่ ๓ กองเรอื ฟรเิ กตท่ี ๘.๗.๒

กฟก.๒ กร. ๒กองเรือยุทธการ

๑๐๑. ผ บ .ร .ล .ต า ก สิ น ผูบ งั คบั การเรือหลวงตากสนิ น.อ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ห ม ว ด เ รื อ ท่ี ๓ หมวดเรอื ที่ ๓ กองเรือฟรเิ กตที่ ๘.๗.๒

กฟก.๒ กร. ๒กองเรอื ยุทธการ

๑๐๒. ผบ.กบฮ.กร. ผูบญั ชาการกองเรอื บรรทกุ พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

เฮลคิ อปเตอร กองเรอื ยุทธการ . ๘.๓

๑๐๓. รอง ผบ.กบฮ.กร. รองผูบ ญั ชาการกองเรือบรรทกุ น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

เฮลคิ อปเตอร กองเรือยุทธการ ๘.๔

๑๐๔. เสธ.กบฮ.กร. เสนาธิการกองเรือบรรทุก น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

เฮลคิ อปเตอร กองเรอื ยทุ ธการ ๘.๔

๑๐๕. ผบ.หมวดเรือที่ ๑ ผบู งั คบั หมวดเรือท่ี ๑ กองเรอื น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กบฮ.กร. บรรทุกเฮลคิ อปเตอร กองเรือ ๘.๗.๓

ยทุ ธการ

๑๐๖. ผบ.ร.ล.จักรีนฤเบ ผบู ังคบั การเรือหลวงจกั รนี ฤเบ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ศร หมวดเรือท่ี ๑ ศร หมวดเรอื ที่ ๑ กองเรือ ๘.๗.๒

กบฮ.กร. บรรทกุ เฮลคิ อปเตอร กองเรือ

ยทุ ธการ

๑๐๗. ผบ.หนวยบิน ร.ล. ผูบงั คบั การหนว ยบิน เรอื หลวง น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

จักรีนฤเบศร หมวด จกั รนี ฤเบศร หมวดเรือท่ี ๑ ๘.๗.๓

เรอื ท่ี ๑ กบร.กร. กองเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร

กองเรอื ยทุ ธการ

๑๐๘. ผบ.หมวดเรือท่ี ๒ ผบู งั คับหมวดเรอื ท่ี ๒ กองเรอื น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กบฮ.กร. บรรทุกเฮลิคอปเตอร กองเรอื ๘.๗.๓

ยุทธการ

๑๐๙. ผบ.หมวดเรือท่ี ๓ ผูบังคับหมวดเรือท่ี ๓ กองเรือ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กบฮ.กร. บรรทกุ เฮลคิ อปเตอร กองเรอื ๘.๗.๓

ยุทธการ

๑๑๐. ผบ.กดน.กร. ผูบญั ชาการกองเรือดํานํา้ กอง พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

เรอื ยทุ ธการ . ๘.๓

๑๑๑. รอง ผบ.กดน.กร. รองผบู ญั ชาการกองเรอื ดาํ นํ้า น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

กองเรอื ยทุ ธการ ๘.๔

๑๑๒. เสธ.กดน.กร. เสนาธิการกองเรือดํานาํ้ กอง น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

เรือยุทธการ ๘.๔

๑๑๓. ผบ.หมวดเรือท่ี ๑ ผบู ังคบั หมวดเรือที่ ๑ กองเรอื น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กดน.กร. ดาํ นา้ํ กองเรือยุทธการ ๘.๗.๓

๑๑๔. ผบ.หมวดเรือท่ี ๒ ผูบังคับหมวดเรือท่ี ๒ กองเรอื น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กดน.กร. ดาํ นํ้า กองเรือยทุ ธการ ๘.๗.๓

๑๑๕. ผบ.หมวดเรือที่ ๓ ผบู ังคับหมวดเรือท่ี ๓ กองเรอื น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กดน.กร. ดาํ นํ้า กองเรือยทุ ธการ ๘.๗.๓

๑๑๖. ผบ.กทบ.กร. ผบู ญั ชาการกองเรือทนุ ระเบิด พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กองเรอื ยทุ ธการ . ๘.๓

๑๑๗. รอง ผบ.กทบ.กร. รองผบู ญั ชาการกองเรอื ทนุ น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

ระเบิด กองเรอื ยทุ ธการ ๘.๔

๑๑๘. เสธ.กทบ.กร. เสนาธกิ ารกองเรอื ทนุ ระเบดิ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กองเรอื ยุทธการ ๘.๔

๑๑๙. ผบ.หมวดเรือที่ ๑ ผูบงั คับหมวดเรอื ท่ี ๑ กองเรอื น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กทบ.กร. ทนุ ระเบดิ กองเรอื ยุทธการ ๘.๗.๓

๑๒๐. ผบ.ร.ล.โพสามตน ผูบงั คับการเรอื หลวงโพสาม น.ท. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

หมวดเรอื ที่ ๑ กทบ. ตนหมวดเรือท่ี ๑ กองเรือทนุ ๘.๗.๒

กร. ระเบดิ กองเรอื ยุทธการ

๑๒๑. ผบ.หมวดเรือที่ ๒ ผบู ังคับหมวดเรือที่ ๒ กองเรอื น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กทบ.กร. ทนุ ระเบิด กองเรือยุทธการ ๘.๗.๓

๑๒๒. ผบ.หมวดเรือท่ี ๓ ผบู ังคบั หมวดเรอื ที่ ๓ กองเรือ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กทบ.กร. ทุน ระเบิด กองเรอื ยุทธการ ๘.๗.๓

๑๒๓. ผบ.กยพ.กร. ผูบัญชาการกองเรือยกพลขน้ึ พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

บกกองเรือยุทธการ . ๘.๓

๑๒๔. รอง ผบ.กยพ.กร. รองผบู ัญชาการกองเรอื ยกพล น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

ขึน้ บก กองเรอื ยทุ ธการ ๘.๔

๑๒๕. เสธ.กยพ.กร. เสธนาธิการกองเรอื ยกพลขนึ้ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

บก กองเรือยุทธการ ๘.๔

๑๒๖. ผบ.หมวดเรือที่ ๑ ผบู งั คบั หมวดเรือที่ ๑ กองเรือ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กยพ.กร. ยกพลขนึ้ บก กองเรอื ยทุ ธการ ๘.๗.๓

๑๒๗. ผบ.หมวดเรือที่ ๒ ผูบ ังคับหมวดเรือที่ ๒ กองเรอื น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กยพ.กร. ยกพลขน้ึ บก กองเรือยทุ ธการ ๘.๗.๓

๑๒๘. ผบ.หมวดเรือที่ ๓ ผบู งั คบั หมวดเรอื ท่ี ๓ กองเรอื น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กยพ.กร. ยกพลขึน้ บก กองเรือยุทธการ ๘.๗.๓

๑๒๙. ผบ.กยบ.กร. ผูบญั ชาการกองเรอื ยทุ ธบริการ พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กองเรือยทุ ธการ . ๘.๓

๑๓๐. รอง ผบ.กยบ.กร. รองผบู ญั ชาการกองเรือยทุ ธ น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

บริการ กองเรอื ยุทธการ ๘.๔

๑๓๑. เสธ.กยบ.กร. เสนาธิการกองเรือยทุ ธบรกิ าร น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กองเรอื ยทุ ธการ ๘.๔

๑๓๒. ผบ.หมวดเรือที่ ๑ ผบู งั คบั หมวดเรอื ที่ ๓ กองเรือ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กยบ.กร. ยทุ ธบรกิ าร กองเรือยุทธการ ๘.๗.๓

๑๓๓. ผ บ .ร .ล .สิ มิ ลั น ผบู ังคบั การเรอื หลวงสิมิลัน น.อ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

หมวดเรือท่ี ๑ กยบ. หมวดเรอื ที่ ๑ กองเรอื ยทุ ธ ๘.๗.๒

กร. บริการ กองเรือยทุ ธการ

๑๓๔. ผบ.หมวดเรือที่ ๒ ผูบ งั คบั หมวดเรอื ที่ ๒ กองเรอื น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กยบ.กร. ยุทธบรกิ าร กองเรือยทุ ธการ ๘.๗.๓

๑๓๕. ผบ.หมวดเรือท่ี ๓ ผูบงั คับหมวดเรือที่ ๓ กองเรอื น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กยบ.กร. ยทุ ธบริการ กองเรือยุทธการ ๘.๗.๓

๑๓๖. ผบ.กลน.กร. ผบู ญั ชาการกองเรือลาํ นา้ํ กอง พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

เรอื ยทุ ธการ . ๘.๓

๑๓๗. รอง ผบ.กลน.กร. รองผูบญั ชาการกองเรอื ลาํ น้ํา น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

กองเรอื ยุทธการ ๘.๔

๑๓๘. เสธ.กลน.กร. เสนาธิการกองเรอื ลํานาํ้ กอง น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

เรอื ยทุ ธการ ๘.๔

๑๓๙. ผบ.หมวดเรือท่ี ๑ ผูบังคบั หมวดเรอื ท่ี ๑ กองเรอื น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กลน.กร. ลําน้าํ กองเรอื ยทุ ธการ ๘.๗.๓

๑๔๐. ผบ.หมวดเรือที่ ๒ ผูบังคับหมวดเรือที่ ๒ กองเรอื น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กลน.กร. ลํานํ้า กองเรือยุทธการ ๘.๗.๓

๑๔๑. ผบ.หมวดเรือที่ ๓ ผบู งั คับหมวดเรอื ที่ ๓ กองเรือ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กลน.กร. ลาํ นํ้า กองเรอื ยุทธการ ๘.๗.๓

๑๔๒. ผบ.กบร.กร. ผูบ ญั ชาการกองการบนิ พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ทหารเรือ กองเรอื ยุทธการ . ๘.๓

๑๔๓. รอง ผบ.กบร.กร. รองผบู ัญชาการกองการบนิ น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

ทหารเรอื กองเรอื ยทุ ธการ ๘.๔

๑๔๔. เสธ.กบร.กร. เสนาธิการกองการบิน น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ทหารเรอื กองเรือยุทธการ ๘.๔

๑๔๕. ผบ.กองบิน ๑ กบร. ผูบงั คบั การกองบิน ๑ กองการ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กร. บนิ ทหารเรือ กองเรอื ยุทธการ ๘.๗.๓

๑๔๖. ผ บ .ก อ ง บิ น ๒ ผบู ังคบั การกองบนิ ๒ กองการ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กบร.กร. บนิ บินทหารเรือ กองเรือ ๘.๗.๓

ยทุ ธการ

๑๔๗. ผบ.สนบ.กบร.กร. ผูบ ังคบั การสถานกี ารบิน กอง น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

การบนิ ทหารเรอื กองเรือ ๘.๗.๓

ยทุ ธการ

๑๔๘. ผบ.นสร.กร. ผูบงั คับการหนวยสงคราม น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

พเิ ศษทางเรอื กองเรือยทุ ธการ ๘.๗.๓

๑๔๙. ผบ.กฝร. ผูบ ญั ชาการกองการฝก กองเรือ พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ยทุ ธการ . ๘.๓

๑๕๐. รอง ผบ.กฝร. รองผบู ัญชาการกองการฝก น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กองเรอื ยทุ ธการ ๘.๔

๑๕๑. เสธ.กฝร. เสนาธกิ ารกองการฝก กองเรือ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ยุทธการ ๘.๔

๑๕๒. ผบ.กอง สน.กร. ผูบังคบั การกองสนบั สนนุ กอง น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

เรือยทุ ธการ ๘.๗.๓

๑๕๓. ผบ.กปฝ. ผบู ญั ชาการกองเรือปอ งกันฝง พล.ร.ท ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

. ๘.๓

๑๕๔. รอง ผบ.กปฝ. รองผูบ ญั ชาการกองเรอื ปอ งกนั พล.ร.ต ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

ฝง . ๘.๓

๑๕๕. เสธ.กปฝ. เสนาธิการกองเรอื ปองกนั ฝง พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

. ๘.๓

๑๕๖. ผ บ .ก ป ฝ .เ ข ต ๑ ผบู ัญชาการกองเรือปองกันฝง พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กปฝ. เขต ๑ กองเรอื ปองกันฝง . ๘.๓

๑๕๗. รอง ผบ.กปฝ.เขต ๑ รองผบู ัญชาการกองเรือปอ งกนั น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

กปฝ. ฝง เขต ๑ กองเรือปอ งกนั ฝง ๘.๔

๑๕๘. เ ส ธ .ก ป ฝ .เ ข ต ๑ เสนาธกิ ารกองเรือปองกนั ฝง น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กปฝ. เขต ๑ กองเรือปอ งกนั ฝง ๘.๔

๑๕๙. ผ บ .ก ป ฝ .เ ข ต ๒ ผูบัญชาการกองเรือปอ งกันฝง พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กปฝ. เขต ๑ กองเรือปองกนั ฝง . ๘.๓

๑๖๐. รอง ผบ.กปฝ.เขต รองผบู ัญชาการกองเรือปองกัน น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

๒ กปฝ. ฝง เขต ๒ กองเรอื ปองกนั ฝง ๘.๔

๑๖๑. เสธ.กปฝ.เขต ๒ เสนาธิการกองเรือปองกันฝง น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กปฝ. เขต ๒ กองเรอื ปองกันฝง ๘.๔

๑๖๒. ผ บ .ก ป ฝ .เ ข ต ๓ ผูบญั ชาการกองเรอื ปอ งกันฝง พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กปฝ. เขต ๓ กองเรอื ปองกันฝง . ๘.๓

๑๖๓. รอง ผบ.กปฝ.เขต รองผบู ัญชาการกองเรือปอ งกัน น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

๓ กปฝ. ฝง เขต ๓ กองเรือปอ งกนั ฝง ๘.๔

๑๖๔. เ ส ธ .ก ป ฝ .เ ข ต ๓ เสนาธกิ ารกองเรือปอ งกนั ฝง น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กปฝ. เขต ๓ กองเรอื ปอ งกนั ฝง ๘.๔

๑๖๕. ผบ.นย. ผบู ัญชาการหนว ยบัญชาการ พล.ร.ท ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

นาวิกโยธนิ . ๘.๓

๑๖๖. รอง ผบ.นย. รองผูบญั ชาการหนว ย พล.ร.ต ๓ ๘.๑,๘.๒ และ

บญั ชาการนาวกิ โยธิน . ๘.๓

๑๖๗. เสธ.นย. เสนาธิการหนว ยบัญชาการ พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

นาวกิ โยธิน . ๘.๓

๑๖๘. ผบ.พล.นย. ผูบัญชาการกองพลนาวกิ โยธนิ พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

หนว ยบัญชาการนาวิกโยธิน . ๘.๓

๑๖๙. รอง ผบ พล.นย. รองผูบญั ชาการกองพลนาวกิ น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

โยธนิ หนว ยบญั ชาการนาวิก ๘.๔

โยธิน

๑๗๐. เสธ.พล.นย. เสนาธิการกองพลนาวกิ โยธนิ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

หนว ยบัญชาการนาวิกโยธนิ ๘.๔

๑๗๑. ผ บ .ก ร ม ร .๑ ผูบงั คบั การกรมทหารราบที่ ๑ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

พล.นย. กองพลนาวกิ โยธิน หนว ย ๘.๗.๓

บัญชาการนาวกิ โยธนิ

๑๗๒. ผบ.กรม ร.๓ รอ. ผบู งั คับการกรมทหารราบท่ี ๓ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

พล.นย. รักษาพระองค กองพลนาวกิ ๘.๗.๔

โยธนิ หนว ยบญั ชาการนาวกิ

โยธิน

๑๗๓. รอง ผบ.กรม ร.๓ รองผบู ังคบั การกรมทหารราบ น.อ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

รอ.พล.นย. ท่ี ๓ รกั ษาพระองค กองพล ๘.๗.๔

นาวิกโยธนิ หนวยบญั ชาการ

นาวิกโยธิน

๑๗๔. ผ บ .พั น .ร .๙ ร อ . ผูบังคับกองพันทหารราบที่ ๙ น.ท. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กรม ร.๓ พล.นย. รักษาพระองค กรมทหารราบท่ี ๘.๗.๔

๓กองพลนาวกิ โยธิน หนว ย

บญั ชาการนาวกิ โยธนิ

๑๗๕. ร อ ง ผ บ .พั น .ร .๙ รองผบู ังคบั กองพันทหารราบที่ น.ต. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

รอ. กรม ร.๓ ๙ รักษาพระองค กรมทหาร ๘.๗.๔

พล.นย. ราบท่ี ๓ กองพลนาวิกโยธนิ

หนวยบัญชาการนาวกิ โยธนิ

๑๗๖. ผบ.กรม ป.พล.นย. ผบู งั คบั การกรมทหารปน ใหญ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กองพลนาวกิ โยธนิ หนว ย ๘.๗.๓

บัญชาการนาวกิ โยธิน

๑๗๗. ผ บ .ก ร ม ส น . ผบู งั คบั การกรมสนับสนนุ กอง น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

พล.นย. พลนาวิกโยธิน หนว ย ๘.๗.๓

บญั ชาการนาวกิ โยธิน

๑๗๘. ผบ.ศฝ.นย. ผูบัญชาการศนู ยก ารฝก หนว ย พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

บญั ชาการนาวกิ โยธิน . ๘.๓

๑๗๙. รอง ผบ.ศฝ.นย. รองผูบ ัญชาการศูนยก ารฝก น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

หนวยบัญชาการนาวิกโยธิน ๘.๔

๑๘๐. เสธ.ศฝ.นย. เสนาธกิ ารศนู ยการฝก หนว ย น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

บัญชาการนาวกิ โยธิน ๘.๔

๑๘๑. ร อ ง รองผูบญั ชาการโรงเรียนทหาร น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ผบ.รร.นย.ศฝ.นย. นาวกิ โยธนิ ศนู ยก ารฝกหนว ย ๘.๔

บัญชาการนาวกิ โยธนิ

๑๘๒. ผบ.กฝท.ศฝ.นย. ผบู งั คับการกองการฝกพล น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ทหารศูนยก ารฝก หนว ย ๘.๗.๓

บญั ชาการนาวกิ โยธนิ

๑๘๓. ผบ.กรม รปภ.นย. ผบู ังคบั การกรมรกั ษาความ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ปลอดภัย หนว ยบัญชาการ ๘.๗.๓

นาวิกโยธิน

๑๘๔. ผ บ .ก ร ม ผูบ ังคบั การกองรักษาความ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

รปภ.ฐท.กท.กรม ปลอดภยั ฐานทัพเรอื กรุงเทพ ๘.๗.๓

รปภ.นย. กรมรักษาความปลอดภัยหนว ย

บัญชาการนาวกิ โยธนิ

๑๘๕. ผบ.กอง รปภ.ฐท. ผบู งั คับการกองรักษาความ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

สส.กรม รปภ.นย. ปลอดภยั ฐานทพั เรอื สตั หบี ๘.๗.๓

กรมรกั ษาความปลอดภัยหนว ย

บัญชาการนาวกิ โยธิน

๑๘๖. ผบ.สอ./รฝ. ผบู ัญชาการหนวยบัญชาการ พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ตอ สูอากาศยานและรักษาฝง . ๘.๓

๑๘๗. รอง ผบ.สอ./รฝ. รองผบู ญั ชาการหนวย น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

บัญชาการตอสูอากาศยานและ ๘.๔

รกั ษาฝง

๑๘๘. เสธ.สอ./รฝ. เสนาธิการหนว ยบัญชาการ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ตอ สอู ากาศยานและรักษาฝง ๘.๔

๑๘๙. ผบ.กรม สอ.๑ สอ./ ผูบงั คับการกรมตอ สูอ ากาศ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

รฝ. ยานท่ี ๑ หนว ยบญั ชาการตอ สู ๘.๗.๓

อากาศยานและรกั ษาฝง

๑๙๐. ผ บ .ก ร ม ส อ .๒ ผบู งั คับการกรมตอสอู ากาศ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

สอ./รฝ. ยานท่ี ๒ หนว ยบญั ชาการตอสู ๘.๗.๓

อากาศยานและรกั ษาฝง

๑๙๑. ผบ.กรม รฝ.๑ สอ./ ผบู ังคับการกรมรักษาฝง ท่ี ๑ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

รฝ. หนว ยบญั ชาการตอสูอากาศ ๘.๗.๓

ยานและรักษาฝง

๑๙๒. ผอ.ศสร.สอ./รฝ. ผูอาํ นวยการศนู ยต อสอู ากาศ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ยานและรกั ษาฝง หนวย ๘.๗.๓

บญั ชาการตอสอู ากาศยานและ

รกั ษาฝง

๑๙๓. ผบ.กรม สน.สอ./ ผูบังคับการกรมสนบั สนุน น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

รฝ. หนวยบญั ชาการตอ สอู ากาศ ๘.๗.๓

ยานและรกั ษาฝง

๑๙๔. ผบ.ศฝ.สอ./รฝ. ผบู งั คบั การศูนยการฝก หนว ย น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

บญั ชาการตอสอู ากาศยานและ ๘.๗.๓

รักษาฝง

๑๙๕. ผบ.ฐท.สส. ผูบัญชาการฐานทพั เรอื สตั หบี พล.ร.ท ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

. ๘.๓

๑๙๖. รอง ผบ.ฐท.สส. รองผูบ ญั ชาการฐานทัพเรือสัต พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

หีบ . ๘.๓

๑๙๗. เสธ.ฐท.สส. เสนาธกิ ารฐานทพั เรือสตั หบี พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

. ๘.๓

๑๙๘. ผอ.ศกล.ฐท.สส. ผูอาํ นวยการศูนยสงกาํ ลงั ฐาน พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ทพั เรือสตั หบี . ๘.๓

๑๙๙. รอง ผอ.ศกล.ฐท. รองผอู ํานวยการศูนยสงกําลงั น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

สส. ฐานทพั เรือสัตหีบ ๘.๔

๒๐๐. จก.กรง.ฐท.สส. เจา กรมโรงงาน ฐานทพั เรอื สัต พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

หีบ . ๘.๓

๒๐๑. รอง จก.กรง.ฐท. รองเจากรมโรงงาน ฐานทัพเรอื น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

สส. สัตหบี ๘.๔

๒๐๒. ผบ.ฐท.กท. ผูบญั ชาการฐานทพั เรอื กรุงเทพ พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

. ๘.๓

๒๐๓. รอง ผบ.ฐท.กท. รองผบู ญั ชาการฐานทพั เรือ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กรุงเทพ ๘.๔

๒๐๔. เสธ.ฐท.กท. เสนาธกิ ารฐานทัพเรือกรงุ เทพ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

๘.๔

๒๐๕. ผบ.ฐท.สข. ผบู ัญชาการฐานทัพเรือสงขลา พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

. ๘.๓

๒๐๖. รอง ผบ.ฐท.สข. รองผบู ัญชาการฐานทพั เรือ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

สงขลา ๘.๔

๒๐๗. เสธ.ฐท.สข. เสนาธกิ ารฐานทัพเรือสงขลา น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

๘.๔

๒๐๘. ผ บ .ก ร ม ผูบ งั คบั การกรมกอสรา งและ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กสพ.ฐท.สข. พัฒนา ฐานทพั เรือสงขลา ๘.๗.๓

๒๐๙. ผบ.ฐท.พง. ผูบ ญั ชาการฐานทพั เรือพงั งา พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

. ๘.๓

๒๑๐. รอง ผบ.ฐท.พง. รองผูบัญชาการฐานทัพเรอื น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

พังงา ๘.๔

๒๑๑. เสธ.ฐท.พง. เสนาธิการฐานทพั เรือพังงา น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

๘.๔

๒๑๒. ผบ.กรม สห.ทร. ผบู งั คบั การกรมสารวัตร น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒และ

ทหารเรือ ๘.๗.๓

๒๑๓. ผบ.พัน.สห.๑ กรม ผูบ งั คับกองพนั สารวตั ร น.อ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

สห.ทร. ทหารเรือที่ ๑ กรมสารวัตร ๘.๗.๓

ทหารเรือ

๒๑๔. จก.อร. เจากรมอูทหารเรอื พล.ร.ท ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

. ๘.๓

๒๑๕. ร อ ง จ ก .อ ร .ฝ า ย รองเจากรมอูทหารเรือฝา ย พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

บรหิ าร บริหาร . ๘.๓

๒๑๖. ร อ ง จ ก .อ ร .ฝ า ย รองเจา กรมอูทหารเรอื ฝา ย พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

เทคนคิ เทคนคิ . ๘.๓

๒๑๗. จก.กผช.อร. เจากรมแผนการชา งกรมอู พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ทหารเรอื . ๘.๓

๒๑๘. รอง จก.กผช.อร. รองเจา กรมแผนการชา ง กรมอู น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ทหารเรือ ๘.๔

๒๑๙. จก.กพช.อร. เจากรมพฒั นาการชา ง กรมอู พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ทหารเรอื . ๘.๓

๒๒๐. รอง จก.กพช.อร. รองเจากรมพฒั นาการชาง กรม น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

อูทหารเรือ ๘.๔

๒๒๑. ผอ.อธบ.อร. ผอู ํานวยการอูท หารเรือธนบุรี พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กรมอทู หารเรอื . ๘.๓

๒๒๒. รอง ผอ.อธบ.อร. รองผูอาํ นวยการอทู หารเรอื น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ธนบรุ กี รมอทู หารเรอื ๘.๔

๒๒๓. รอง ผอ.อจปร.อร. รองผอู ํานวยการอทู หารเรอื พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

พระจุลจอมเกลา กรมอู . ๘.๓

ทหารเรือ

๒๒๔. ผ ช .ผ อ .ฝ า ย แ ผ น ผชู ว ยผอู ํานวยการฝา ยแผน อู พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

อจปร.อร. ทหารเรอื พระจลุ จอมเกลา กรม . ๘.๓

อทู หารเรอื

๒๒๕. ผ ช .ผ อ .ฝ า ย ผ ลิ ต ผูชวยผอู าํ นวยการฝา ยผลติ อู พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

อจปร.อร. ทหารเรือพระจุลจอมเกลา กรม . ๘.๓

อูทหารเรือ

๒๒๖. จก.ชย.ทร. เจา กรมชา งโยธาทหารเรอื พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

. ๘.๓

๒๒๗. รอง จก.ชย.ทร. รองเจากรมชา งโยธาทหารเรือ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

๘.๔

๒๒๘. จก.อล.ทร. เจากรมอิเลก็ ทรอนกิ ส พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ทหารเรือ . ๘.๓

๒๒๙. รอง จก.อล.ทร. รองเจากรมอิเลก็ ทรอนิกส น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ทหารเรอื ๘.๔

๒๓๐. จก.สพ.ทร. เจากรมสรรพาวธุ ทหารเรือ พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

. ๘.๓

๒๓๑. รอง จก.สพ.ทร. รองเจากรมสรรพาวธุ ทหารเรือ น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

๘.๔

๒๓๒. จก.พธ.ทร. เจา กรมพลาธกิ ารทหารเรือ พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

. ๘.๓

๒๓๓. รอง จก.พธ.ทร. รองเจา กรมพลาธกิ ารทหารเรือ น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

๘.๔

๒๓๔. ร อ ง รองผอู าํ นวยการศนู ยบรหิ าร น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

ผอ.ศบพ.พธ.ทร. ขาวสารการพสั ดุ กรม ๘.๔

พลาธิการทหารเรือ

๒๓๕. จก.กง.ทร. เจากรมการเงนิ ทหารเรือ พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

. ๘.๓

๒๓๖. รอง จก.กง.ทร. รองเจา กรมการเงินทหารเรอื น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

๘.๔

๒๓๗. จก.ขส.ทร. เจา กรมการขนสงทหารเรือ พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

. ๘.๔

๒๓๘. รอง จก.ขส.ทร. รองเจากรมการขนสงทหารเรอื น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

๘.๔

๒๓๙. จก.อศ. เจา กรมอุทกศาสตร พล.ร.ท ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

. ๘.๓

๒๔๐. รอง จก.อศ. รองเจา กรมอทุ กศาสตร พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

. ๘.๓

๒๔๑. ผช.จก.อศ. ผชู ว ยเจา กรมอุทกศาสตร พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

. ๘.๓

๒๔๒. จก.สก.ทร. เจากรมสวสั ดกิ ารทหารเรอื พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

. ๘.๓

๒๔๓. รอง จก.สก.ทร. รองเจากรมสวสั ดิการทหารเรือ น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

๘.๔

๒๔๔. จก.วศ.ทร. เจากรมวิทยาศาสตรท หารเรือ พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

. ๘.๓

๒๔๕. รอง จก.วศ.ทร. รองเจากรมวทิ ยาศาสตร น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

ทหารเรอื ๘.๔

๒๔๖. ผอ.สวพ.ทร. ผอู าํ นวยการสาํ นักงานวิจยั และ พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

พฒั นาการทางทหาร . ๘.๓

กองทัพเรอื

๒๔๗. รอง ผอ.สวพ.ทร. รองผอู ํานวยการสํานักงานวจิ ยั น.อ.พ. ๒ ๘.๑,๘.๒ และ

และพฒั นาการทางทหาร

กองทัพเรือ

๒๔๘. ผบ.สรส. ผูบ ัญชาการสถาบนั วิชาการ พล.ร.ท ๑ ๘.๔๘.๑,๘.๒

ทหารเรอื ช้นั สงู . และ ๘.๓

๒๔๙. รอง ผบ.สรส. รองผบู ัญชาการสถาบนั วชิ า พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

การทหารเรือชนั้ สูง . ๘.๓

๒๕๐. เสธ.สรส. เสนาธกิ ารสถาบันวิชาการ พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ทหารเรอื ชัน้ สูง . ๘.๓

๒๕๑. รอง หน.ฝวก.สรส. รองหวั หนาฝายวชิ าการ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

สถาบนั วชิ าการทหารเรอื ชนั้ สูง ๘.๔

๒๕๒. รอง ผอ.ศยร.สรส. รองผูอ ํานวยการศูนยศกึ ษา น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ยุทธศาสตรทหารเรือสถาบัน ๘.๔

วชิ าการทหารเรอื ชนั้ สงู

๒๕๓. ผบ.วทร.สรส. ผูบัญชาการวทิ ยาลัยการทัพเรอื พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

สถาบนั วชิ าการทหารเรอื ช้นั สูง . ๘.๓

๒๕๔. รอง ผบ.วทร.สรส. รองผบู ญั ชาการวิทยาลยั การ น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ทัพเรอื สถาบนั วิชาการ ๘.๔

ทหารเรือชั้นสูง

๒๕๕. ผบ.รร.สธ.ทร.สรส. ผูบัญชาการโรงเรยี น เสนาธิ พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

การทหารเรือ สถาบนั วชิ าการ . ๘.๓

ทหารเรอื ช้นั สูง

๒๕๖. รอง ผบ.รร.สธ.ทร. รองผบู ัญชาการโรงเรียน น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

สรส. เสนาธกิ ารทหารเรือ สถาบนั ๘.๔

วชิ าการทหารเรอื ชน้ั สงู

๒๕๗. ร อ ง ผ บ .ร ร .อ ส . รองผูบ ญั ชาการโรงเรียน นาย น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

สรส. ทหารอาวโุ ส สถาบนั วชิ าการ ๘.๔

ทหารเรอื ชัน้ สงู

๒๕๘. ร อ ง ผ บ .ร ร .ก ล . รองผบู ญั ชาการโรงเรยี น นาย น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

สรส. ทหารพรรคกลนิ สถาบัน ๘.๔

วิชาการทหารเรือชัน้ สงู

๒๕๙. จก.ยศ.ทร. เจา กรมยทุ ธศกึ ษาทหารเรอื พล.ร.ท ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

. ๘.๓

๒๖๐. รอง จก.ยศ.ทร. รองเจากรมยทุ ธศึกษาทหารเรอื พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

. ๘.๓

๒๖๑. เสธ.ยศ.ทร. เสนาธกิ ารกรมยทุ ธศกึ ษา พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ทหารเรือ . ๘.๓

๒๖๒. ผ บ .ร ร .ชุ ม พ ล ฯ ผูบงั คับการโรงเรียนชุมพล น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

ยศ.ทร. ทหารเรอื กรมยทุ ธศึกษา ๘.๗.๓

ทหารเรอื

๒๖๓. ผบ.ศฝท.ยศ.ทร. ผบู งั คบั การศูนยฝ ก ทหารใหม น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

กรมยทุ ธศึกษาทหารเรือ ๘.๗.๓

๒๖๔. ผบ.รร.นร. ผูบัญชาการโรงเรยี นนายเรอื พล.ร.ท ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

. ๘.๓

๒๖๕. รอง ผบ.รร.นร. รองผบู ญั ชาการโรงเรยี นนาย พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

เรือ . ๘.๓

๒๖๖. เสธ.รร.นร. เสนาธิการโรงเรียนนายเรือ พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

. ๘.๓

๒๖๗. ผ บ .ก ร ม น น ร . ผูบังคบั การกรมนักเรยี นนาย น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

รอ.รร.นร. เรือรกั ษาพระองค โรงเรียน ๘.๗.๑

นายเรอื

๒๖๘. รอง ผบ.กรม นนร. รองผูบังคบั การกรมนกั เรียน น.อ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

รอ.รร.นร. นายเรอื รกั ษาพระองค ๘.๗.๑

โรงเรียนนายเรือ

๒๖๙. ผบ.พัน.กรม นนร. ผบู ังคบั กองพนั กรมนักเรยี น น.ท. ๔ ๘.๑,๘.๒ และ

รอ.รร.นร. นายเรอื รกั ษาพระองค ๘.๗.๑

โรงเรยี นนายเรือ

๒๗๐. หน.ฝศษ.รร.นร. หัวหนาฝายศกึ ษา โรงเรยี นนาย พล.ร.ต ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

เรือ . ๘.๓

๒๗๑. ร อ ง รองหัวหนา ฝา ยศึกษา โรงเรยี น น.อ.พ. ๑ ๘.๑,๘.๒ และ

หน.ฝศษ.รร.นร. นายเรือ ๘.๔

ผนวก ข.

หลักเกณฑก ารขอพระราชทานแตง ตง้ั นายทหารพิเศษประจาํ หนวยทหารรักษาพระองคตงั้ แต ๒๓ - ๓๗
อนุมตั ิครงั้ ที่ ๑ เมื่อ ๑๔ พ.ย.๒๓
๑. ผูดํารงยศ พล.ร.ท.ขึ้นไป ซึ่งดํารงตําแหนงหลักใน ทร. (กองบัญชาการ) และผูที่ดํารงยศ พล.ร.อ. ซ่ึง

ดํารงตําแหนงใน บก.ทหารสูงสุด และ กห.ขอพระราชทานแตงตั้งเปนนายทหารพิเศษประจํากอง นนร.
รอ.รร.นร. และประจํา บก.กรม ร.๓ รอ.นย.

๒. ผูดํารงยศ พล.ร.อ.ใน ทร. ท่ีมิไดดํารงตําแหนงใน บก.ทร. ผูบังคับบัญชาตามลําดับชั้นของหนวย
ทหารรักษาพระองคแ ละหัวหนาหนวยในสายวิทยาการทผี่ ลิตจาก รร.นร. คือ ผบ.นย. จก.อร. จก.อศ. จก.พธ.ทร.
ขอพระราชทานแตง ตง้ั เปน นายทหารพิเศษประจาํ กอง นนร.รอ.รร.นร. หรอื บก.กรม ร.๓ รอ.นย. แลวแตกรณี

ตาํ แหนงตามหลกั เกณฑในขอ นี้ ไดแ ก
บก.ทหารสูงสุด ผบ.ทหารสูงสุด รอง ผบ.ทหารสูงสดุ (ทร.) รอง เสธ.ทหาร (ทร.)
กห. รอง ปล.กห. (ทร.) สรอ. (ทร.)
ทร. ผบ.ทร. รอง ผบ.ทร. ผช.ผบ.ทร. เสธ.ทร. รอง เสธ.ทร. ผช.เสธ.ทร. (ฝกพ. ฝขว. ฝยก. ฝยบ.)
ปษ.ทร. ผบ.กร. จก.ยศ.ทร. ผบ.นย. จก.อร. จก.อศ.จก.พธ.ทร.

อนมุ ตั คิ รั้งท่ี ๒ เมอื่ ๔ ก.พ.๒๔
เพิ่ม ผบ.รร.นร. รอง ผบ.รร.นร. รอง ผบ.นย. (๒ ทา น) เสธ.นย.

อนุมัตคิ ร้งั ที่ ๓ เมอ่ื ๒๕ ธ.ค.๒๔
ให ปช.ทร. เปนนายทหารพิเศษ ประจํา กอง นนร.รอ.รร.นร. และ บก.กรม ร.๓ รอ.นย. กับให ผบ.กร.
เปน นายทหารพเิ ศษประจํา บก.กรม ร.๓ รอ.นย. เพิ่มข้นึ อกี หนว ยหน่งึ

อนุมตั ิคร้ังที่ ๔ เม่อื ๒๐ ก.ย.๒๕
เปนนายทหารสัญญาบัตรสังกัด ทร. รับเงินเดือนอัตรา น.อ.พิเศษขึ้นไปและมีฐานะม่ันคงพอท่ีจะรักษา
เกยี รติท่ีไดร ับไวต ลอดชีวิต
ตองเปนผทู ่เี คยประกอบคุณงามความดีแกทางราชการโดยเฉพาะแกหนวยทหารที่จะพิจารณาแตงต้ังให
เปนนายทหารพิเศษ
จนปรากฏชดั วาความดนี น้ั สมควรยกยอ ง โดยมรี ายละเอียดการประกอบคณุ งามความดี
ไมเปนผูทีเ่ คยไดร บั พระมหากรณุ าธิคณุ โปรดเกลา ฯ แตงตั้งใหเ ปนนายทหารพิเศษมากอ น
เปนผูทเ่ี คยดาํ รงตําแหนง ผบ.กอง นนร.รอ.รร.นร. ตร.กอง นนร.รอ.รร.นร. ผช.ตร.กอง นนร.รอ.รร.นร.
นายกราบ กอง นนร.รอ.รร.นร. ผบ.กรม ร.๓ นย. รอง ผบ.กรม ร.๓ นย. เสธ.กรม ร.๓ นย. และ ผบ.พัน.ร.๙
รอ.นย.
การริเริ่มเสนอขอพระราชทานแตงต้ังควรเริ่มจากหนวยทหารรักษาพระองคเปนอันดับแรก โดยเสนอ
ผานการบงั คับบัญชาตามลําดับชั้นเพื่อพิจารณาความเหมาะสม และเสนอ กพ.ทร. ดําเนินการตอไป (หลักเกณฑ
นี้ใชสําหรบั ผทู เี่ คยเปนนายทหารประจําหนว ยทหารรกั ษาพระองค มากอน)

อนมุ ัติครัง้ ท่ี ๕ เมือ่ ๘ ก.พ.๒๖

เพิ่มนายทหารช้ันยศ พล.ร.ท. ที่ดํารงตําแหนงหลักใน ทร. อีก ๔ ตําแหนง (๕ ทาน) คือ รอง ผบ.กร.
(นว.) รอง ผบ.กร.(กล.) เสธ.กร. ผบ.ฐท.สส. ผบ.รร.นท. รอง จก.ยศ.ทร. (รองผูบังคับบัญชาตามลําดับช้ันของ
หนวยทหารรักษาพระองค) รอง ผบ.พัน.ร.๙ รอ.กรม ร.๓ นย. (ผูบังคับบัญชาและรองผูบังคับบัญชาช้ันตนของ
หนวยทหารรกั ษาพระองคที่พน ตาํ แหนงแลว และมยี ศ น.อ.รับเงินเดือนอตั รา น.อ.พิเศษ)

นายทหารช้ันยศ พล.ร.ท. ท่ีดํารงตําแหนงหลักใน บก.ทหารสูงสุด และ กห. (หลักเกณฑเดิมกําหนดไว
เฉพาะชัน้ ยศ พล.ร.อ. ) และไดร ับการแตง ตั้งเปนราชองครักษแ ลว

เนื่องจาก ทร.ไดเห็นชอบไดอนุมัติหลักการไวหลายคร้ังแลว สมควรจะนําหลักเกณฑทั้งหมดมารวมไว
เพอ่ื สะดวกในการปฏบิ ตั ิของหนวยเกีย่ วขอ ง ดังน้ี

๑. เปน นายทหารเรือสัญญาบัตรประจําการท่ีไดรับหรือเคยไดรับการแตงตั้งเปนราชองครักษแลว เปนผู
ท่ีเคยประกอบคุณงามความดีแกทางราชการสมควรแกการยกยองเสนอขอพระราชทานแตงตั้งเปนนายทหาร
พิเศษ ประจาํ หนว ยทหารรักษาพระองค ดงั น้ี

๑.๑ ผูดํารงยศ พล.ร.อ. ซึ่งดํารงตําแหนงหลักใน ทร. บก.ทหารสูงสุด และ กห. และผูดํารงยศ
พล.ร.ท. ซ่ึงดํารงตําแหนง รอง เสธ.ทร. ผช.เสธ.ทร. (ฝกพ. ฝขว. ฝยก. ฝยบ.) ปษ.ทร. และ ปช.ทร. ขอ
พระราชทานแตงตั้งเปนนายทหารพิเศษประจํา กอง นนร. รอ.รร.นร.หรือ บก.กรม ร.๓ รอ.นย. ตามพรรคเหลา
ของผูน้นั

๑.๒ ผูดํารงยศ พล.ร.ท. ซ่ึงดํารงตําแหนงใน กร. ฐท.สส. รร.นท. แตงต้ังเปนนายทหารพิเศษ
ประจาํ กอง นนร.รอ.รร.นร.

๑.๓ ผบู ังคับบญั ชาและรองผบู งั คบั บญั ชาตามลาํ ดบั ชนั้ ของหนวยทหารรักษาพระองคและ หน.
หนวยในสายวิทยาการท่ีผลิตจาก รร.นร. ขอพระราชทานแตงต้ังเปนนายทหารพิเศษประจําหนวยทหารรักษา
พระองค ดงั นี้

๑.๓.๑ จก.ยศ.ทร. รอง จก.ยศ.ทร. ผบ.รร.นร.ยศ.ทร. รอง ผบ.รร.นร. ยศ.ทร. จก.อร.
จก.อศ. และ จก.พธ.ทร. ขอพระราชทานแตง ตงั้ เปนนายทหารพิเศษประจํา กอง นนร.รอ.รร.นร.

๑.๓.๒ ผบ.นย. รอง ผบ.นย. ขอพระราชทานแตงตั้งเปนนายทหารพิเศษประจํา บก.
กรม ร.๓ รอ.นย.

๑.๔ ผูดํารงตําแหนงหรือรักษาราชการในตําแหนง เสธ.นย. ซ่ึงตามกฎกระทรวงกําหนดใหมี
เครื่องแบบคร่ึงยศและเต็มยศรักษาพระองค เชนเดียวกับนายทหารสัญญาบัตร สังกัด บก.กรม ร.๓ รอ.นย. ขอ
พระราชทานแตง เปน นายทหารพิเศษประจาํ บก.กรม ร.๓ รอ.นย.

๒. เปนนายทหารเรือสัญญาบัตร สังกัด ทร. ที่รับเงินเดือนอัตรา น.อ.พิเศษ มีฐานะมั่นคงพอท่ีจะรักษา
เกียรติท่ีไดรับไวไดตลอดชีวิตและเคยเปนนายทหารประจําหนวยทหารรักษาพระองคแลว ขอพระราชทาน
แตงตั้งเปนนายทหารพิเศษประจํา กอง นนร.รอ.รร.นร. เม่ือผูนั้นเคยเปนผูบังคับบัญชา ใน กอง นนร.รอ.รร.นร.
และเคยเปน นายทหารพิเศษประจํา บก.กรม ร.๓ รอ.นย. เม่ือผูนั้นเคยเปนผูบังคับบัญชาใน บก.กรม ร.๓ รอ.นย.
หรอื พนั ร.๙ รอ. กรม ร.๓ นย. และจะตอ งมคี ุณสมบตั ิอยใู นเกณฑเ หลา น้ีครบถว น คอื


Click to View FlipBook Version