The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การสอบเทียบเครื่องวัดทางกล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by runn0248, 2022-05-31 02:25:06

การสอบเทียบเครื่องวัดทางกล

การสอบเทียบเครื่องวัดทางกล

Keywords: การสอบเทียบเครื่องวัดทางกล

แผนกทดสอบเครือ่ งวัด กคภ.กพช.อร.

Best Practice
“การสอบเทยี บเครื่องวดั ทางกล”

-๒-

อนผุ นวก ๓ ของผนวก ข
แบบรายงาน วิธีปฏิบัตทิ ่เี ปน็ เลศิ

ชอื่ ผลงาน วิธีหรือแนวทางปฏิบตั งิ านท่เี ป็นเลิศ (Best Practice)
“การสอบเทียบเครื่องวดั ทางกล”

คำสำคัญ การสอบเทียบ เครื่องวัดทางกล การสอบเทียบเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ การสอบเทียบ
ไมโครมิเตอร์ การสอบเทียบไดแอลอินดิเคเตอร์ การสอบเทียบเครื่องวัดรอบ การสอบเทียบประแจวัดแรงบิด
การสอบเทยี บเกจวัดแรงดนั

กระบวนการ/วธิ กี ารดำเนินงานในอดตี
ตามคำสัง่ ทร. (เฉพาะ) ที่ ๒๑๑/๒๕๕๔ เรื่อง การซ่อมบำรงุ ยทุ โธปกรณ์ของกองทัพเรอื กำหนดให้ อร.
เป็นหน่วยเทคนิคในการซ่อมบำรุงเรือ ท่ีเกี่ยวกับงานด้านตัวเรือ กลจักร ไฟฟ้า และอุปกรณ์อ่ืน ๆ ตลอดจน
อุปกรณ์ทดสอบ และเครื่องมือวัด อุปกรณ์สายช่าง และเคร่ืองทุ่นแรงที่เก่ียวกับการซ่อมบำรุงเรือ โดยมี
หน่วยขึ้นตรงท่ีรับผิดชอบการดำเนินการในด้านต่างๆ เพื่อปฏิบัติงานให้บรรลุภารกิจของ อร. ประกอบด้วย
บก.อร. กผช.อร. กพช.อร. อธบ.อร. อจปร.อร. อรม.อร. และ ศพด.อร. รวมทั้งหน่วยซ่อมบำรุงเรือ
ในสายวิทยาการ อร. ได้แก่ กรง.ฐท.สส. กรง.ฐตร.ทรภ.๑ กรง.ฐท.สข.ทรภ.๒ และ กรง.ฐท.พง.ทรภ.๓
เพื่อตอบสนองต่อเป้าประสงค์ตามยุทธศาสตร์ของ ทร. ท่ีจะต้องสามารถใช้ยุทโธปกรณ์ได้ตามกำหนด และ
การดำรงความต่อเน่ืองของกำลังรบ ตามวิสัยทัศน์ของ อร. ที่ว่า “เป็นเลิศในงานซ่อมและสร้างเรือ
ด้วยการบริหารจัดการที่มีคุณภาพ” โดยท่ีผ่านมาการดำเนินการสอบเทียบเครื่องวัดทางกลของหน่วยซ่อมบำรุง
ยังไม่มีมาตรฐานตามเกณฑ์ของการใช้เคร่ืองมือต่างๆ ขาดศูนย์กลางการสอบเทียบในภาพรวมของหน่วยซ่อม
บำรุง รวมท้ังกระบวนการสอบเทยี บเครื่องวัดต่างๆ เป็นผลทำให้การใช้เครอ่ื งมือวัดทางกล ขาดมาตรฐาน ความ
ละเอียดแม่นยำ และความน่าเชื่อถือในการปฏิบัติงาน อันส่งผลให้การปฏิบัติงานสนับสนุนการซ่อมบำรุงในด้าน
ต่างๆ ขาดประสทิ ธิภาพ และประสทิ ธิผลในดา้ นการควบคมุ คณุ ภาพในการซ่อมและสรา้ งเรือน่ันเอง
สภาพทั่วไป
นขต.อร. และหน่วยซ่อมบำรุงเรือในสายวิทยาการ อร. มีหน้าท่ีรับผิดชอบในการสนับสนุน
การซ่อมบำรุงให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด โดยความหมายของการซ่อมบำรุง หมายถึง การปฏิบัติ
ทั้งปวงที่กระทำเพื่อให้ยุทโธปกรณ์คงอยู่ในสภาพ หรือกลับคืนสู่สภาพใช้ราชการได้ ได้แก่ การตรวจ
การทดสอบ การบริการ การซ่อมสร้าง การดัดแปลง และการทำให้กลับใช้ราชการได้ แบ่งออกเป็น ๓ ระดับ คือ
การซ่อมบำรุงระดบั หนว่ ยผใู้ ช้ การซ่อมบำรงุ ระดับกลาง และการซ่อมบำรุงระดับโรงงาน
ในปัจจุบันของหน่วย นขต.อร. และหน่วยซ่อมบำรุงเรือในสายวิทยาการ อร. จะมีเคร่ืองวัดทางกล
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานต่างๆ เพื่อการซ่อมบำรุงตามสภาพการใช้งาน การซ่อมบำรุงแก้ไข หรือการซ่อมบำรุง
ปรับปรุง แต่ยังขาดองค์ความรู้และศูนย์กลางในเร่ืองการสอบเทียบเครื่องวัดทางกล ทำให้ขาดความถูกต้อง
แม่นยำของข้อมูล รวมทั้งความน่าเชื่อถือ เก่ียวกับการวัดขนาด หรือการทดสอบวัสดุต่างๆ ที่ไม่เป็นไป
ตามเกณฑ์มาตรฐานทก่ี ำหนดไวใ้ นทิศทางเดียวกัน
ลกั ษณะสำคญั ของวิธหี รือแนวทางปฏิบัติที่เปน็ เลิศ
วิสัยทัศน์ของ กพช.อร. ท่ีว่า “เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ในการพัฒนาวิชาชพี ทางช่าง วิจยั พัฒนา และ
เปน็ ศูนย์กลางสอบเทียบ ทดสอบวสั ดุ และการควบคุมคุณภาพการซอ่ ม/สร้างเรอื ” โดยมีพันธกจิ ในการให้บริการ
สอบเทียบเคร่ืองมือวัดทางกล ทดสอบวัสดุทางกายภาพและเคมี ให้ครอบคลุมภารกิจของ อร. เพ่ือสนับสนุน

-๓-

การซ่อมและสร้างเรือ ดังน้ัน เพ่ือให้ นขต.อร. และหน่วยซ่อมบำรุงเรือในสายวิทยาการ อร. ได้ใช้เป็นแนวทาง
หรืออ้างอิงในการสอบเทียบเคร่ืองวัดทางกล จึงได้จัดทำแผนผังขน้ั ตอนกระบวนงาน และข้ันตอนการปฏิบัติงาน
การสอบเทียบเคร่ืองวัดทางกล ได้แก่ การสอบเทียบเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ การสอบเทียบไมโครมิเตอร์
การสอบเทียบไดแอลอินดิเคเตอร์ การสอบเทียบเครื่องวัดรอบ การสอบเทียบประแจวัดแรงบิด และ
การสอบเทียบเกจวัดแรงดัน เพื่อเป็นคู่มือสำหรับการสอบเทียบเคร่ืองวัดตามระยะเวลาท่ีกำหนด และเป็นไป
ตามระเบียบ อร. ว่าดว้ ยการปรับมาตรฐานและการควบคุมเครื่องวัดทางกล พ.ศ.๒๕๑๖

การจัดทำแผนผังขนั้ ตอนกระบวนงาน (Work Flow) และข้ันตอนการปฏบิ ตั ิงานการสอบเทียบเครอ่ื งวัด
มุ่งหวังให้ผู้ปฏิบัติได้ทราบขั้นตอนการปฏิบัติตามตำแหน่งหน้าท่ี และความรับผิดชอบของตนเอง ต้ังแต่เริ่มต้น
จนส้ินสุดกระบวนการในการสอบเทียบเคร่ืองวัดนั้น ๆ โดยกำหนดระยะเวลาตามมาตรฐานงานเป็นจำนวน
เปอร์เซ็นต์ของรายละเอยี ดงานในแต่ละข้ันตอนการปฏบิ ัติ เพ่ือความถูกต้องและสมบูรณ์สำหรับ การสอบเทียบ
เครื่องวัดตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้ในคู่มือต่างๆ ที่ใช้เป็นเอกสารอ้างอิงในการปฏิบัติงาน ท้ังน้ี เพ่ือสร้าง
ความม่ันใจแก่ผู้ปฏิบัติงาน และทุก ๆ ฝ่าย เกี่ยวกับการใช้เคร่ืองมือเพ่ือการควบคุมคุณภาพ ในการซ่อมและ
สร้างเรอื ใหม้ ีประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ลสงู สดุ ตามมาตรฐานสากล

วตั ถุประสงค์ของวธิ ีหรอื แนวทางการปฏบิ ัตทิ เ่ี ป็นเลศิ
การสอบเทียบ หมายถึง การใช้มาตรฐานการวัดเพื่อกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างค่าที่แสดงจาก
เคร่ืองมอื วดั กบั คา่ วดั จริงได้ โดยเครอื่ งเครือ่ งมอื วดั ทางกล
เครื่องวัดทางกล หมายถึง เครื่องมือวัดขนาดและเคร่ืองวัดต่างๆ ท่ีใช้วัดระยะทาง ความยาว ความหนา
ความดนั ความเรว็ รอบ แรงส่ันสะเทอื น อณุ หภูมิ และอน่ื ๆ

เพ่ือให้มั่นใจวา่ ได้มีการปฏิบัตติ ามข้อกำหนด ระเบียบ หลักเกณฑ์ และหลักวิชาการ เกยี่ วกับการควบคุม
คุณภาพด้านการทดสอบเคร่ืองวัด รวมทั้งสนับสนุนงานอ่ืน ๆ ท่ีได้รับมอบหมายจาก อร. ได้ตามมาตรฐาน
กรมอทู่ หารเรือ” โดยมีวัตถปุ ระสงค์ ดงั น้ี

๑ .เพื่ อ ใช้ เป็ น คู่ มื อ ป ระ ก อ บ ก ารป ฏิ บั ติ ก ารส อ บ เที ย บ เค รื่อ งวัด ข อ งแ ผ น ก เค ร่ือ งวัด
กคภ.กพช.อร. ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีความเป็นมาตรฐานตามข้ันตอน ระยะเวลา กฎหมาย
ระเบียบ ข้อกำหนดที่เก่ียวข้อง และถือปฏิบัติไปในทางเดียวกันรวมท้ังสนับสนุนงานอ่ืน ๆ ท่ีได้รับมอบ หมาย
จาก อร. ได้ตามมาตรฐานกรมอู่ทหารเรอื

๒. เพ่ือให้ผู้ปฏิบัติงานเข้าใจว่าควรทำอะไรก่อนและหลัง เพราะจะแสดงถึงลำดับขั้นตอน การทำงาน
ที่ชดั เจน

๓. เพื่อใหผ้ ู้ปฏบิ ัตงิ านทราบว่าควรปฏบิ ัตงิ านอยา่ งไร เม่ือใด กับใคร เพราะจะระบุรายละเอียดอยา่ งครบถว้ น
๔. เพื่อให้การปฏิบตั ิงานสอดคลอ้ งกบั นโยบาย วสิ ัยทศั น์ ภารกิจ และเปา้ หมายของ อร.
๕. เพอื่ ให้ผ้บู รหิ ารติดตามงานได้ทุกขั้นตอน เพราะการปฏบิ ัติงานต้องดำเนินการตามขั้นตอนทีว่ างไว้
๖. เพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการฝึกอบรม เพราะช่วยสร้างความเข้าใจท่ีชัดเจน และรายละเอียดได้ครบถ้วน
มากกว่าการอธิบายด้วยวาจาเพียงอย่างเดียว ซึ่งอาจอธิบายตกหล่นไม่ครบถ้วน โดยในบางกระบวนการอาจมี
ผูป้ ฏบิ ัตงิ านมาก หรอื ผู้ปฏบิ ตั ิงานเข้ามาทำงานใหม่ จงึ ปอ้ งกันการทำงานที่ต่างกนั
๗. เพื่อเป็นสื่อในการประสานงาน เพราะมีการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล หรือหน่วยงาน
เมอ่ื มีการเปลี่ยนแปลง หรือปัญหาเกิดขึ้น สามารถใช้ในการประชุม หรอื ประสานงานร่วมกนั

-๔-

๘. เพ่ือใช้เป็นเอกสารอ้างอิงในการทำงาน ให้ได้งานที่มีคุณภาพตามท่ีกำหนด ผู้ปฏิบัติงานไม่เกิด
ความสับสน สามารถปฏิบตั ิงานแทนกันได้ ลดขั้นตอนการทำงานท่ีซับซอ้ น ลดข้อผิดพลาดท่ีทำงานไมเ่ ป็นระบบ
ทำใหเ้ กิดความสมำ่ เสมอ และความมัน่ ใจในการปฏบิ ัตงิ าน

เป้าหมาย
๑. ตัวช้ีวดั เชิงปรมิ าณ

๑.๑ ระยะเวลาตามมาตรฐานงาน หมายถึง เวลาท่ีใช้ในการปฏิบัติงานตามรายละเอียดข้ันตอน
การสอบเทียบเครอื่ งวัด โดยกำหนดตามเปอร์เซน็ ตง์ าน ตั้งแต่ร้อยละ ๑๐ ของการเริ่มงาน จนถึงส้ินรอ้ ยละ ๑๐๐
ของการสน้ิ สุดงาน

๑.๒ รายละเอียดงานตามข้ันตอน หมายถึง ขั้นตอนต่าง ๆ ในการสอบเทียบเคร่ืองวัด ต้ังแต่เริ่มต้น
จนสน้ิ สดุ กระบวนงาน (Work Flow)

๑.๓ เวลาการสอบเทียบ หมายถึง รอบงานท่ีกำหนดตามแผนการตรวจสอบเครื่องวดั ทางกลประจำปี
ตามหน่วยงานและประเภทของเคร่ืองวัดทางกล โดยแบ่งออกเป็น ๓ รอบงาน ในห้วงระยะเวลา ๑๒ เดือน
ตั้งแต่เดือน ม.ค. - ธ.ค. ได้แก่ ๔ เดือน ๘ เดอื น และ ๑๒ เดอื น

๑.๔ หน่วยซ่อมบำรุง อร. และหน่วยซ่อมบำรุงในสายวิทยการ อร. ดำเนนิ การจดั ส่งเครื่องวดั ทางกล
เพ่ือดำเนินการสอบเทียบเคร่ืองวัด ตามแผนการตรวจสอบเคร่ืองวัดทางกลประจำปีงบประมาณนั้นๆ ของแผนก
ทดสอบเครื่องวัด กคภ.กพช.อร.

๒. ตัวชีว้ ัดเชิงคุณภาพ
๒.๑ จดั แบ่งเคร่อื งวดั ตามความเท่ียงตรง ออกเป็น ๓ ประเภท คือ เครอ่ื งวดั หลกั เคร่ืองวัดตรวจสอบ

และเคร่ืองวดั ใช้งาน โดย กคภ.กพช.อร. เป็นผ้รู บั ผดิ ขอบในการสอบเทยี บเคร่ืองวัดทางกล
๒.๒ กคภ.กพช.อร. ออกใบรับรองคุณภาพการสอบเทียบเครื่องวัดตามเกณฑ์การตรวจสอบ ได้แก่

ปรบั มาตรฐาน ใช้ในขอบเขต และชำรุดหา้ มใช้
๒.๓ การสอบเทียบเครื่องวัด ทำให้เคร่ืองสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ วัดค่าได้อย่างละเอียด

แม่นยำ มีความเที่ยงตรงน่าเช่ือถือ ถูกต้องตามเกณฑ์มาตรฐานสากล มีความพร้อมท่ีจะนำไปใช้ปฏิบัติราชการ
ได้เป็นอยา่ งดี

๒.๔ การจัดแผนผังข้ันตอนกระบวนงาน (Work Flow) และขั้นตอนการปฏิบัติงานการสอบเทียบ
เคร่ืองวัด เพื่อช่วยให้การปฏิบัติงานต่างๆ เป็นไปอย่างมีระบบแบบแผน ตามห้วงระยะเวลาท่ีกำหนด สร้างความม่ันใจ
ใหก้ บั ผ้ปู ฏบิ ตั ิงาน และผู้บริหารงาน ได้เป็นอยา่ งดี

แผนผังขั้นตอนกระบวนงาน (Work Flow) และขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิงาน ดังนี้
๑. การสอบเทียบเวอร์เนยี คาลิปเปอร์
๒. การสอบเทียบไมโครมเิ ตอร์
๓. การสอบเทยี บไดแอลอนิ ดเิ คเตอร์
๔. การสอบเทยี บเครือ่ งวัดรอบ
๕. การสอบเทยี บประแจวัดแรงบิด
๖. การสอบเทยี บเกจวัดกำลังดนั

ลำดบั ผูป้ ฏิบตั ิ -๕- เอกสารทีเ่ กยี่ วขอ้ ง
ขอ้ กำหนด
๑ น.ท.คนที่๑ การปฏบิ ัติ
น.ท.คนที่๑/น.ต. เรม่ิ ต้น กคภ.-ง 0101 : สมุด
รับเคร่อื งมือ ลงทะเบยี น
๒ จ.อ.คนท่ี๑/จ.อ.คนท๒ี่ /
จ.อ.คนที่๓ มาตรฐาน JIS B 7507 :
1993 VERNIER

๑. แผนผงั ข้นั ตอนกระบวนงาน (Work Flow) การสอบเทยี บเวอรเ์ นียคาลปิ เปอร์

-๖-

๓ จ.อ.คนที่๑/ การเตรียมการและความพร้อม มาตรฐาน JIS B 7507 :
จ.อ.คนท๒่ี อุปกรณ์ในการสอบเทียบ 1993 VERNIER
จ.อ.คนที๓่
พ.จ.อ.คนท๑่ี การตรวจสอบความเรียบร้อย ไม่เปน็ ไปตามเกณฑ/์ มาตรฐาน JIS B 7507 :
พ.จ.อ.คนท่๒ี ชำรุด 1993 VERNIER
พ.จ.อ.คนท๓่ี
จ.อ.คนที่๑ ปรับแตง่ WI การสอบเทยี บ

๔ จ.อ.คนที่๒ การตรวจสอบตำแหนง่ -มาตรฐานค่าความ
จ.อ.คนท๓่ี ค่าความถูกตอ้ งของเสกล แม่นยำ/เกณฑก์ ารสึกหรอ
พ.จ.อ.คนท๑่ี ที่ยอมรับได้
พ.จ.อ.คนที๒่ เปน็ ไปตามเกณฑ์ แบบฟอร์มรายงานผล
พ.จ.อ.คนที่๓ -
การสอบเทียบดว้ ยเกจบบล็อก
๕ น.ต.
ร.อ.คนที่๑
ร.อ.คนท่ี๒

๖ การคานวณความคลาดเคล่ือน มาตรฐาน JIS B 7507 :
๗ ร.อ.คนท๑่ี และหาค่าเฉล่ยี 1993 VERNIER

ร.อ.คนท๒่ี แบบฟอรม์ รายงานผล
น.ต. แบบฟอรม์ รายงานผล
แบบฟอรม์ รายงานผล
๘ จ.อ.คนที่๑ บนั ทึกผลการสอบเทยี บ
จ.อ.คนที่๒ ติดสติก๊ เกอรว์ นั หมดอาย/ุ ชารุด หน่วยรบั ผดิ ชอบ
จ.อ.คนท๓่ี แผนกทดสอบ
พ.จ.อ.คนที่๑ ออกใบรบั รอง เครื่องวัดฯ
รายงานผลการสอบเทยี บ
๙ พ.จ.อ.คนที่๒
พ.จ.อ.คนที๓่ สน้ิ สุด

๑๐ น.ท.คนที่๑/น.ท.คนท๒ี่
น.ต.ร.อ.คนท๑ี่
ร.อ.คนท่๒ี

๑๑ พ.จ.อ.คนท๑่ี
พ.จ.อ.คนท่๒ี .
พ.จ.อ.คนที่๓

๑๒

ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน การสอบเทียบเวอร์เนียคาลปิ เปอร์

ขน้ั ตอน ระยะเวลาตาม รายละเอียดงานตามขน้ั ตอน
มาตรฐานงาน

๑ เรมิ่ ต้น

(คดิ เปน็ ๑๐%) ๑.วางแผนการตรวจสอบเครือ่ งมือวดั ประจำปีเปน็ การกำหนด

-๗-

ช่วงเวลาในการสอบเทียบแจง้ การสอบเทียบรวมทัง้ ประเภทเคร่ืองมอื ที่

ต้องสอบเทยี บในรอบน้ันๆในรอบ ๑ ปี จะแบง่ การตรวจสอบเปน็ ๓

รอบงาน รอบ ๔ เดอื น รอบ ๘ เดอื น รอบ ๑๒ เดอื น

๒.แจ้งกำหนดการสง่ เครื่องมือให้หน่วยเจา้ ของเครื่องมือวัดทราบ

จะตอ้ งแจ้ง กอ่ นถงึ กำหนดการสอบเทยี บเครอื่ งมือ ๓ สัปดาห์ โดยแจง้

กำหนดวนั สง่ เครือ่ งมือวดั ตามแบบฟอร์มเคร่อื งมอื วดั

๓.การรวบรวมเคร่อื งมอื วัด เจา้ หน้าทีห่ นว่ ย อรม.อร. อจปร.อร.

อธบ.อร.และ อร.ต้องเปน็ ผ้นู ำเครอ่ื งมือมาสง่ ที่แผนกทดสอบเคร่ืองวดั

ตามกำหนดเวลา

๒ ๓๐ นาที การรบั เคร่อื งมือ เมื่อหนว่ ยต่างๆนำเครือ่ งมอื มาส่งท่แี ผนกจะตอ้ ง แผนกทดสอบ

(คิดเป็น ๒๐%) ตรวจสอบรายการเครือ่ งมือพร้อมการด์ ประจำเครือ่ งมอื วา่ ครบหรือไม่ เคร่อื งวดั ฯ

ตรวจสอบการชำรดุ เสยี หาย อุปกรณ์ประกอบต่างๆแลว้ บนั ทึกลงใน

แบบฟอร์มการรับเครื่องมือ ตรวจสอบเครอื่ งมือที่มาสง่ แล้วลงในสมดุ

ส่งเครื่องมือใหผ้ สู้ ง่ ลงรายชือ่ เพอ่ื รบั ทราบ

๓ ๑ ช.ม. การเตรียมการและตรวจความพรอ้ มอปุ กรณ์ในการสอบเทียบ แผนกทดสอบ

(คิดเปน็ ๓๐%) ๑.ทำความสะอาดโดยใช้แปรงปดั เศษโลหะและสิง่ สกปรกออก แล้วเชด็ เครอ่ื งวัดฯ

ดว้ ยผา้ สะอาด และสำรวจวา่ มีส่วนใดชำรดุ จากนั้น

เกบ็ เขา้ หอ้ งสอบเทยี บทอ่ี ณุ หภมู ิ 20 ํ ±2องศาเซลเซยี ส ทิ้งไว้ไมน่ อ้ ย

กวา่ 1 ชม.หรอื อุณหภูมเิ คร่อื งมอื เทา่ อณุ หภมู ิห้อง จึงเร่ิมสอบเทียบได้

๒.เครอื่ งมือทใี่ ชใ้ นการสอบเทียบเวอร์เนียร์คาลิเปอร์โดยใช้ เกจบลอ็ ก

(Gauge Block) เกจบล็อกมาตรฐานเกรด 2 หรอื ดกี ว่า

๔ ๑๐ นาท.ี การตรวจความเรยี บรอ้ ย เลอื่ นปากวดั นอกมาสมั ผสั กันกันแล้วยก แผนกทดสอบ

(คิดเป็น ๔๐%) ขน้ึ สอ่ งกบั แสงไฟจะต้องไมม่ ีแสงไฟลอด ปากวัดนอกได้ แสดงวา่ ความ เครื่องวดั ฯ

เรียบของ ปากวัดนอกมคี ่าไมเ่ กนิ 5 ไมโครเมตร

๕ ๑๐ นาท.ี การตรวจตำแหนง่ คา่ ความถกู ต้องของเสกล แผนกทดสอบ

(คดิ เปน็ ๕๐%) สังเกตเลข 0 บนเสกลตำแหนง่ ขีดเลข 0บนสเกลเวอร์เนยี รแ์ ละขดี เลข 0 เครอ่ื งวดั ฯ

บนสเกลหลักจะตอ้ งตรงกนั ถา้ ไม่ตรงกันหรอื คลาดเคลอื่ นใหส้ งั เกตดู

ท่ีสเกลเล่ือนของเวอร์เนียร์ด้านหน้าจะมีสลักยึด 2 ตัวหรือ 3 ตัว สลัก

อาจจะคลายตัวหรือเวอร์เนียบางตัว ใช้กาวติดแผ่นสเกล กาวอาจจะ

หลุดได้ ให้แก้ไขที่จุดดังกล่าว บางกรณีสเกลเล่ือนอาจหลวมคลอนมาก

ใหส้ ังเกตด้านบนสเกลเลอื่ นจะมสี ลกั ยดึ บนแผน่ รองเลอ่ื นบรเิ วณหัว-ทา้ ย

2 ตัว และมีหมุดล็อกอยู่ตรงกลาง สลักยึดอาจหลุดหายหรือหลวม

คลอนให้กวดสลักยึดลงไปเพอื่ ให้เกิดความฝืดทีแ่ ผ่นรองเล่อื น

แผน่ รองเล่อื นถ้ามองจากด้านทา้ ยเวอรเ์ นียร์เข้าไปจะมีลักษณะเป็นแผ่น

โลหะกวา้ งเท่ากับความหนาของสเกลหลกั แผ่นรองเลื่อนนเี้ มือ่ หายไปจะ

ทำให้สเกลเวอร์เนียร์หลวมคลอนมาก ไม่สามารถล็อกได้ด้วยหมุดล็อก

จงึ ตอ้ งตรวจสอบเปน็ ประจำ

-๘-

ขัน้ ตอน ระยะเวลาตาม รายละเอยี ดงานตามขน้ั ตอน หนว่ ยรบั ผิดชอบ
มาตรฐานงาน

๖ ๓๐ นาท.ี การสอบเทียบดว้ ยเกจบล็อก แผนกทดสอบ

(คดิ เป็น ๖๐%) นำเกจบล็อกมาตรฐานเกรด 2 หรือดีกว่า โดยเลือกขนาดเกจบล็อกจาก เครอ่ื งวดั ฯ

ค่า น้อยไปมากท้ังระบบเมตริก (METRIC UNIT) และระบบอังกฤษ

(IMPERIAL UNIT) ประมาณหน่วยละ 10 ค่า เช่น 0.125"0 .250"

0.500"0 .750"1 "2 "3 " 4" และ 0.05 1.00 1.251 .3 1.5

3.00 4.00 5.00 9.00 มม. เป็นต้น ทำการวัดขนาดเกจบล็อกด้วย

เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์แล้วบันทึกค่าทวี่ ัดไดใ้ นแต่ละครง้ั ลงในแบบฟอร์ม

๗ ๑๐ นาที. บนั ทึกผลคำนวณความคลาดเคลอ่ื นและหาคา่ เฉลี่ย แผนกทดสอบ
(คดิ เป็น ๗๐%)
ทำการคำนวณความคลาดเคลอ่ื นและหาคา่ เฉลยี่ ทไ่ี ดจ้ ากการวดั ท้ัง เครอื่ งวัดฯ
๘ ๑ ช.ม.
(คิดเป็น ๘๐%) หมดแลว้ สรุปความคลาดเคลือ่ นของเวอร์เนยี รค์ าลิปเปอรท์ ่ีนำปรับเทยี บ

๙ (ผิดพลาดไมเ่ กนิ 0.05 มม.)

๑๐ ๓๐ นาที. บนั ทกึ ผลการสอบเทียบ บนั ทกึ ผลรายละเอยี ดตา่ งๆอตั ราผิดของ แผนกทดสอบ
(คดิ เปน็ ๙๐%)
เครอื่ งมอื ในการเทยี บแตล่ ะคร้งั ลงในแบบฟอรม์ บนั ทกึ ผลการสอบเทยี บ เครื่องวดั ฯ
๑๑. ๑ ช.ม.
(คิดเปน็ ๑๐๐%) โดยมรี ายละเอยี ดของแบบฟอรม์ เช่น ผลการสอบเทยี บ หมายเลข งอ.

ตราอักษรลงช่ือบริษัทผผู้ ลิต ย่านการวัด เครื่องมือท่ใี ชใ้ นการตรวจสอบ

คร้งั ท่จี ำนวนรอบงาน คา่ กำหนดการวดั (ย่านการวัด) คา่ ทว่ี ัดได้ อัตราผดิ

ลงชอ่ื เจา้ หน้าท่ตี รวจสอบไวเ้ ปน็ หลักฐาน

ติดสตก๊ิ เกอรว์ ันหมดอายุ/ชำรุด หลงั จากสอบเทยี บเสร็จแล้วนำชโลม

น้ำมนั ตดิ สต๊ิกเกอร์บอกวันปรบั มาตรฐานและวันหมดอายุไว้ทตี่ วั

เครอ่ื งมือสอบเทยี บ

ออกใบรบั รอง การออกใบรบั รองในกรณเี จา้ ของเคร่อื งมอื วดั รอ้ งขอมา แผนกทดสอบ

หนว่ ยของเครอ่ื งมอื จำต้องทำเรอื่ งผ่านตามสายงานในการออกใบรับรอง เครื่องวัดฯ

ผลการสอบเทียบจะใช้แบบฟอร์มทก่ี ำหนดไว้ โดยผมู้ อี ำนาจในการออก

ใบรับรองผลการสอบเทยี บได้แก่ จก.กพช.อร.และ ผอ.กคภ.กพช.อร.

รายงานผลการสอบเทยี บ การรายงานผลการสอบเทยี บเป็นการ แผนกทดสอบ

รายงานการชำรดุ และการขาดการสอบเทียบเคร่ืองมือวดั เครื่องวัดฯ

๑.ในกรณเี ครื่องมอื ชำรดุ แผนกทดสอบเครื่องวัดจำต้องทำบนั ทกึ ฯแจ้ง

ลำดับ ผ้ปู ฏิบัติ -๙- เอกสารที่เก่ียวขอ้ ง
ขอ้ กำหนด
๑ น.ท.คนที่๑ การปฏิบัติ
น.ท.คนท๑่ี /น.ต. เรม่ิ ต้น กคภ.-ง 0101 : สมดุ
รับเคร่อื งมอื ลงทะเบยี น
๒ จ.อ.คนที่๑/จ.อ.คนที่๒/
จ.อ.คนท๓ี่ มาตรฐาน JIS
Mechanical
Instrumentation 1998

หนว่ ยเจ้าของเคร่อื งมือโดยตรง เพ่ือให้เจ้าของเครื่องมอื ดำเนนิ การตาม
ข้ันตอนการจดั หาทดแทนตอ่ ไป
๒.กรณีเครือ่ งมือวัดขาดการสอบเทียบให้ทำบันทกึ ฯแบบฟอรม์ รายการ
เครือ่ งมือวัดทข่ี าดการสอบเทยี บแจ้งเจ้าของเคร่ืองมอื โดยตรงเพือ่ ใหส้ ง่
เครอื่ งมือวัดมาสอบเทียบในรอบงานตอ่ ไป
๓.บันทกึ สถิตเิ คร่ืองมือท่ีนำมาสอบเทยี บในแต่ละรอบงานในบอรด์ หอ้ ง
สอบเทียบ

๑๒ สน้ิ สดุ

๒. แผนผงั ข้นั ตอนกระบวนงาน (Work Flow) การสอบเทยี บไมโครมเิ ตอร์

๓ จ.อ.คนที่๑ - ๑๐ - มาตรฐาน JIS
Mechanical
จ.อ.คนท๒่ี การเตรียมการและความพรอ้ ม Instrumentation 1998
จ.อ.คนท่๓ี อปุ กรณ์ในการสอบเทียบ
พ.จ.อ.คนท่๑ี
พ.จ.อ.คนท๒่ี การตรวจสอบความเรยี บร้อย ไม่เป็นไปตามเกณฑ/์ มาตรฐาน JIS
พ.จ.อ.คนที่๓ ชำรุด Mechanical
Instrumentation 1998
จ.อ.คนที่๑
๔ จ.อ.คนที่๒ ปรบั แต่ง WI การสอบเทยี บ

จ.อ.คนท่ี๓ การสอบเทยี บดว้ ย -มาตรฐานคา่ ความ
พ.จ.อ.คนที๑่ เกจบลอ็ ก แมน่ ยำ/เกณฑ์การสึกหรอ
พ.จ.อ.คนท่๒ี ท่ยี อมรบั ได้
พ.จ.อ.คนท๓่ี เป็นไปตามเกณฑ์ แบบฟอร์มรายงานผล
๕ น.ต. -
ร.อ.คนท๑่ี การใช้ย่านเกจบลอ็ กในการสอบเทียบ
ร.อ.คนที่๒
การคานวณความคลาดเคล่ือน มาตรฐาน JIS
๖ และหาคา่ เฉลย่ี Mechanical
๗ ร.อ.คนที่๑ Instrumentation 1998
บนั ทกึ ผลการสอบเทยี บ
ร.อ.คนที่๒ แบบฟอรม์ รายงานผล
น.ต. ติดสติก๊ เกอรว์ นั หมดอาย/ุ ชารุด

๘ จ.อ.คนที่๑ ออกใบรบั รอง แบบฟอรม์ รายงานผล
จ.อ.คนท่๒ี รายงานผลการสอบเทียบ แบบฟอรม์ รายงานผล
จ.อ.คนที่๓
พ.จ.อ.คนท๑่ี สนิ้ สุด

๙ พ.จ.อ.คนท๒ี่
พ.จ.อ.คนท๓่ี

๑๐ น.ท.คนท๑ี่ /น.ท.คนท๒่ี
น.ต.ร.อ.คนท๑ี่
ร.อ.คนที่๒

๑๑ พ.จ.อ.คนท๑่ี
พ.จ.อ.คนท่ี๒.
พ.จ.อ.คนท๓่ี

๑๒

ขั้นตอนการปฏบิ ตั ิงาน การสอบเทยี บไมโครมิเตอร์

ข้นั ตอน ระยะเวลาตาม รายละเอยี ดงานตามขัน้ ตอน หนว่ ยรบั ผดิ ชอบ
มาตรฐานงาน

๑ (คิดเปน็ ๑๐%) เรม่ิ ตน้ แผนกทดสอบ

๑.วางแผนการตรวจสอบเคร่ืองมือวัดประจำปีเป็นการกำหนดช่วงเวลาในการ เครอ่ื งวัดฯ

- ๑๑ -

สอบเทียบแจ้งการสอบเทียบรวมทั้งประเภทเคร่ืองมือท่ีต้องสอบเทียบในรอบ

นั้นๆในรอบ ๑ ปี จะแบ่งการตรวจสอบเป็น ๓ รอบงาน รอบ ๔ เดือน รอบ ๘

เดือน รอบ ๑๒ เดือน

๒.แจ้งกำหนดการส่งเคร่ืองมือให้หน่วยเจ้าของเครื่องมือวัดทราบ จะต้องแจ้ง

ก่อนถึงกำหนดการสอบเทียบเคร่ืองมือ ๓ สัปดาห์ โดยแจ้งกำหนดวันส่ง

เครอ่ื งมอื วดั ตามแบบฟอร์มเคร่อื งมือวัด

๓.การรวบรวมเคร่อื งมือวัด เจ้าหน้าทีห่ นว่ ย อรม.อร. อจปร.อร.

อธบ.อร.และ อร.ต้องเป็นผูน้ ำเครอื่ งมือมาสง่ ที่แผนกทดสอบเครอื่ งวัดตาม

กำหนดเวลา

๒ ๓๐ นาที การรับเครื่องมือ เมื่อหน่วยต่างๆนำเครื่องมือมาส่งท่ีแผนกจะต้องตรวจสอบ แผนกทดสอบ

(คดิ เปน็ ๒๐%) รายการเครื่องมือพร้อมการ์ด ประจำเคร่ืองมือว่าครบหรือไม่ ตรวจสอบการ เคร่อื งวัดฯ

ชำรุดเสียหาย อุปกรณ์ประกอบต่างๆแล้วบันทึกลงในแบบฟอร์มการรับ

เครอ่ื งมือ ตรวจสอบเคร่อื งมือทมี่ าสง่ แล้วลงในสมุดสง่ เคร่ืองมือให้ผู้สง่ ลงรายชอ่ื

เพอ่ื รบั ทราบ

๓ ๓๐ นาที การเตรียมการและตรวจความพรอ้ มอุปกรณ์ในการสอบเทียบ แผนกทดสอบ

(คิดเปน็ ๓๐%) เครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการสอบเทยี บไมโครมเิ ตอร์โดยใช้ เกจบล็อก(Gauge Block) เครื่องวัดฯ

เกจบล็อกมาตรฐานเกรด 2 หรอื ดีกว่า

๔ ๓๐ นาท.ี การตรวจความเรยี บรอ้ ย แผนกทดสอบ

(คิดเปน็ ๔๐%) ก่อนท่ีจะทำการสอบเทียบจะต้องตรวจสภาพความเรียบร้อยการชำรุดของ เครอื่ งวดั ฯ

เคร่ืองมือ เช่น หมุดล็อก ปุ่มกระทบเล่ือน (Ratchet Drive) ใช้งานได้หรือไม่

โดยการทดลองหมุน ปุ่มกระทบเลื่อนหากอยู่ในสภาพท่ีใช้งานได้จะมีเสียงดัง

คลิ้ก ๒ คร้ัง หรือมีลักษณะของการหมุนฟรี แล้วแต่บางรุ่น ตรวจสอบ

หน้าสัมผัสแกนวัด (Spindle) และ แกนรับ (Anvil) อยู่ในสภาพที่ทำการสอบ

เทียบได้หรือไม่ เช่น มีรอยบิ่นหรือสึกหรอหรือไม่ ส่วนไมโครมิเตอร์ท่ีเป็นแบบ

Digital ให้เปิดเครื่องตรวจสอบการทำงานหากตรวจพบว่า Error ให้ทดลอง

เปลี่ยนแบตเตอรี่ใหม่ หรือ ตรวจสอบข้ัวแบตเตอรี่เนื่องจากข้ัวอาจหลวมหรือ

ชำรดุ หากพบว่ามชี ิน้ สว่ นของไมโครมเิ ตอร์ชำรุด ให้แยกเคร่ืองมือท่ีชำรดุ ออกไว้

เพื่อส่งคืน และ ดำเนินการออกเร่ืองชำรุดต่อไป และให้ทำความสะอาดโดยใช้

แปรงปัดเศษโลหะและสิ่งสกปรกออก แล้วเช็ดด้วยผ้าสะอาด และเก็บเข้าห้อง

สอบเทยี บที่อุณหภูมิ 20 ํ ±2 องศาเซลเซยี ส ทิ้งไวไ้ มน่ ้อยกวา่ 1 ชม.จึงเริ่มสอบ

เทยี บ

๕ ๑ ช.ม. การสอบเทยี บดว้ ยเกจบล็อก แผนกทดสอบ

(คดิ เป็น ๕๐%) ประกอบไมโครมิเตอร์เข้ากับแท่นจับไมโครมิเตอร์ให้ม่ันคง หมุนปลอกแกนวัด เครอ่ื งวัดฯ

ถอยหลังใหแ้ กนวดั มีระยะห่างจากจุดสัมผสั พอทจ่ี ะนำเกจบล็อกสอดเข้าไปตรวจสอบได้

และนำเกจบล็อกสอดเข้าไประหว่างจุดสัมผัสกับปลายแกนวัดแล้วหมุนปลอก

แกนวดั เข้าไปสัมผัสกับเกจ บล็อกด้านหนง่ึ และอกี ดา้ นหน่งึ ของเกจบล็อกไปสัมผสั กับ

จดุ สมั ผัส และเลอื่ นมือมาหมุนท่ีปลายไมโครมิเตอรท์ า้ ยสดุ คอื จดุ กำหนดแรงกวด

หรือแรทเชสสตอป ให้มีเสียงดังคล้ิกประมาณ 2 คลิ้กแล้วอ่านค่าขณะนั้น (ถ้า

จะนำมาอ่านขา้ งนอกตอ้ งล็อคไมโครมเิ ตอรท์ ป่ี ุ่มล็อคเสยี กอ่ น)

- ๑๒ -

ขนั้ ตอน ระยะเวลาตาม รายละเอียดงานตามข้นั ตอน หน่วยรบั ผิดชอบ
มาตรฐานงาน แผนกทดสอบ
การใช้ยา่ นเกจบล็อกในการสอบเทยี บ เคร่ืองวดั ฯ
๖ ๓๐ นาท.ี เตรียมเกจบล็อกมาตรฐานเกรด 1 หรือดีกว่า โดยเลือกขนาดเกจบล็อกจากค่า
(คดิ เป็น ๖๐%) น้อยไปมากทั้งระบบเมตริก (METRIC UNIT) และระบบอังกฤษ (IMPERIAL แผนกทดสอบ
UNIT) ประมาณหน่วยละ 10 ค่า เช่น 0.125" 0.250" 0.500" 0.750" 1" เครื่องวดั ฯ
๗ ๑๐ นาที. 2" 3" 4" และ 0.5 1.00 1.25 1.5 2.00 3.00 4.00 5.00 9.00
(คดิ เป็น ๗๐%) 10.00 มม. เป็นตน้ ถา้ ค่าท่วี ดั ไดไ้ มต่ รงจะตอ้ งมกี ารปรับแตง่ ไมโครมเิ ตอร์ใหม่
บนั ทึกผลคำนวณความคลาดเคลอ่ื นและหาคา่ เฉล่ีย
ทำการคำนวณความคลาดเคลอ่ื นและหาคา่ เฉลยี่ ที่ไดจ้ ากการวดั ทั้งหมดแลว้ สรปุ
ความคลาดเคลือ่ นของไมโครมเิ ตอรท์ ่นี ำปรบั เทยี บ

๘ ๑ ช.ม. บนั ทึกผลการสอบเทียบ บันทึกผลรายละเอยี ดตา่ งๆอตั ราผดิ ของเคร่อื งมือ ใน แผนกทดสอบ

(คดิ เป็น ๘๐%) การเทียบแตล่ ะครัง้ ลงในแบบฟอรม์ บันทกึ ผลการสอบเทยี บ เคร่ืองวดั ฯ

โดยมรี ายละเอียดของแบบฟอรม์ เช่น ผลการสอบเทียบ หมายเลข งอ.

ตราอกั ษรลงชือ่ บริษัทผ้ผู ลิต ย่านการวัด เคร่ืองมอื ทใี่ ชใ้ นการตรวจสอบ

คร้ังท่ีจำนวนรอบงาน ค่ากำหนดการวัด(ย่านการวัด) ค่าท่ีวัดได้ อัตราผดิ

ลงชอ่ื เจ้าหนา้ ท่ตี รวจสอบไวเ้ ป็นหลกั ฐาน

๙ ติดสต๊ิกเกอรว์ นั หมดอายุ/ชำรุด หลังจากสอบเทยี บเสรจ็ แล้วนำชโลมนำ้ มนั ตดิ

สติ๊กเกอรบ์ อกวนั ปรบั มาตรฐานและวันหมดอายไุ วท้ ต่ี วั เคร่ืองมอื สอบเทยี บ

๑๐ ๓๐ นาที. ออกใบรับรอง การออกใบรับรองในกรณเี จ้าของเคร่ืองมือวัดร้องขอมาหน่วย แผนกทดสอบ

(คดิ เปน็ ๙๐%) ของเคร่ืองมือจำต้องทำเรือ่ งผ่านตามสายงานในการออกใบรับรองผลการสอบ เคร่อื งวดั ฯ

เทยี บจะใช้แบบฟอร์มทก่ี ำหนดไว้ โดยผูม้ อี ำนาจในการออกใบรับรองผลการ

สอบเทยี บไดแ้ ก่ จก.กพช.อร. และ ผอ.กคภ.กพช.อร.

๑๑. ๑ ช.ม. รายงานผลการสอบเทยี บ การรายงานผลการสอบเทยี บเปน็ การรายงานการ แผนกทดสอบ

(คิดเป็น๑๐๐%) ชำรุดและการขาดการสอบเทียบเครือ่ งมือวดั เครื่องวดั ฯ

๑.ในกรณีเคร่อื งมือชำรดุ แผนกทดสอบเครอื่ งวดั จำต้องทำบันทกึ ฯแจ้งหน่วย

เจ้าของเคร่ืองมือโดยตรง เพือ่ ใหเ้ จ้าของเคร่ืองมือดำเนนิ การตามขั้นตอนการ

จัดหาทดแทนต่อไป

๒.กรณเี คร่ืองมือวดั ขาดการสอบเทียบให้ทำบนั ทกึ ฯแบบฟอรม์ รายการเคร่ืองมือ

วดั ท่ีขาดการสอบเทยี บแจ้งเจา้ ของเครื่องมือโดยตรงเพือ่ ใหส้ ่งเคร่ืองมือวัดมา

สอบเทียบในรอบงานตอ่ ไป

๓.บันทึก สถติ เิ คร่ืองมอื ทีน่ ำมาสอบเทยี บในแตล่ ะรอบงานในบอรด์ ห้องสอบ

เทยี บ

๑๒ สิ้นสุด

- ๑๓ -
๓. แผนผงั ข้นั ตอนกระบวนงาน (Work Flow) การสอบเทยี บไดแอลอนิ ดิเคเตอร์

- ๑๔ -

ลำดับ ผู้ปฏบิ ตั ิ การปฏบิ ตั ิ เอกสารทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
เริ่มต้น ข้อกำหนด
๑ น.ท.คนที่๑
น.ท.คนท๑ี่ /น.ต. รบั เครื่องมือ กคภ.-ง 0101 : สมดุ
ลงทะเบยี น
๒ จ.อ.คนท่๑ี /จ.อ.คนท๒่ี / การเตรยี มการและความพร้อม
จ.อ.คนท๓่ี อปุ กรณ์ในการสอบเทียบ ระเบียบ อร. พ.ศ.๒๕๑๖
ว่าดว้ ยการปรบั เทียบ
๓ จ.อ.คนท่๑ี / มาตรฐานเคร่ืองมือวดั ทาง
กล
จ.อ.คนท่ี๒ ระเบยี บ อร. พ.ศ.๒๕๑๖
จ.อ.คนท่๓ี ว่าดว้ ยการปรบั เทยี บ
พ.จ.อ.คนที่๑ มาตรฐานเคร่อื งมือวดั ทาง
พ.จ.อ.คนที่๒ กล
พ.จ.อ.คนที่๓
การตรวจสอบความเรยี บร้อย ไม่เปน็ ไปตามเกณฑ/์ ระเบยี บ อร. พ.ศ.๒๕๑๖
จ.อ.คนที่๑ ชำรุด ว่าด้วยการปรับเทยี บ
๔ จ.อ.คนท๒่ี การตรวจสอบตำแหนง่ มาตรฐานเครอื่ งมอื วดั
คา่ ความถูกตอ้ งของเสกล ปรบั แต่ง ทางกล
จ.อ.คนท๓่ี
พ.จ.อ.คนที่๑ เป็นไปตามเกณฑ์ WI การสอบเทียบ
พ.จ.อ.คนท๒่ี
พ.จ.อ.คนที๓่ การสอบเทยี บด้วยเกจบล็อก -มาตรฐานค่าความ
๕ น.ต. แม่นยำ/เกณฑก์ ารสึกหรอ
ร.อ.คนที่๑ ทย่ี อมรบั ได้
ร.อ.คนที่๒ แบบฟอรม์ รายงานผล
-

๗ ร.อ.คนท๑ี่ การคานวณความคลาดเคลอื่ น ระเบียบ อร. พ.ศ.๒๕๑๖
และหาค่าเฉลีย่ ว่าด้ วย การป รับ เที ย บ
ร.อ.คนท่๒ี มาตรฐานเครื่องมือวัดทาง
น.ต. บนั ทกึ ผลการสอบเทียบ กล

๘ จ.อ.คนที่๑ ติดสติก๊ เกอรว์ นั หมดอาย/ุ ชารุด แบบฟอรม์ รายงานผล
จ.อ.คนท๒่ี
จ.อ.คนท่ี๓ ออกใบรบั รอง แบบฟอรม์ รายงานผล
พ.จ.อ.คนท๑่ี

๙ พ.จ.อ.คนที่๒
พ.จ.อ.คนท๓ี่

๑๐ น.ท.คนที๑่ /น.ท.คนท๒ี่
น.ต.ร.อ.คนท๑่ี
ร.อ.คนท๒่ี

- ๑๕ -

๑๑ พ.จ.อ.คนท๑่ี รายงานผลการสอบเทยี บ แบบฟอรม์ รายงานผล
พ.จ.อ.คนท่๒ี . สนิ้ สุด
พ.จ.อ.คนท๓่ี

๑๒

ขั้นตอนการปฏบิ ัตงิ าน การสอบเทียบไดแอลอินดเิ คเตอร์

ข้ันตอน ระยะเวลาตาม รายละเอียดงานตามขัน้ ตอน หน่วยรบั ผดิ ชอบ
มาตรฐานงาน

๑ เรมิ่ ตน้ แผนกทดสอบ

(คดิ เปน็ ๑๐%) ๑.วางแผนการตรวจสอบเคร่ืองมือวดั ประจำปีเปน็ การกำหนด เครอ่ื งวดั ฯ

ช่วงเวลาในการสอบเทียบแจ้งการสอบเทยี บรวมทง้ั ประเภทเคร่อื งมอื ที่

ต้องสอบเทียบในรอบนน้ั ๆในรอบ ๑ ปี จะแบง่ การตรวจสอบเปน็ ๓

รอบงาน รอบ ๔ เดอื น รอบ ๘ เดอื น รอบ ๑๒ เดือน

๒.แจ้งกำหนดการสง่ เคร่อื งมือให้หนว่ ยเจา้ ของเคร่ืองมือวดั ทราบ

จะตอ้ งแจง้ กอ่ นถงึ กำหนดการสอบเทยี บเคร่ืองมอื ๓ สัปดาห์ โดยแจ้ง

กำหนดวนั ส่งเครอ่ื งมือวดั ตามแบบฟอร์มเครอื่ งมอื วัด

๓.การรวบรวมเครื่องมือวดั เจา้ หนา้ ทห่ี น่วย อรม.อร. อจปร.อร.

อธบ.อร.และ อร.ตอ้ งเปน็ ผ้นู ำเครอ่ื งมอื มาสง่ ทแ่ี ผนกทดสอบเครอื่ งวัด

ตามกำหนดเวลา

๒ ๓๐ นาที การรบั เครอื่ งมือ เม่ือหนว่ ยต่างๆนำเคร่ืองมือมาส่งท่แี ผนกจะตอ้ ง แผนกทดสอบ

(คิดเป็น ๒๐%) ตรวจสอบรายการเคร่ืองมอื พร้อมการ์ด ประจำเครอ่ื งมือว่าครบหรือไม่ เคร่อื งวัดฯ

ตรวจสอบการชำรดุ เสยี หาย อุปกรณ์ประกอบตา่ งๆแลว้ บันทกึ ลงใน

แบบฟอรม์ การรบั เคร่อื งมอื ตรวจสอบเครือ่ งมือที่มาสง่ แล้วลงในสมดุ

ส่งเครอื่ งมือให้ผสู้ ่งลงรายชื่อเพอ่ื รบั ทราบ

๓ ๑ ช.ม. การเตรียมการและตรวจความพร้อมอปุ กรณ์ในการสอบเทียบ แผนกทดสอบ

(คดิ เป็น ๓๐%) ๑.ทำความสะอาดโดยใชแ้ ปรงปดั เศษโลหะและสิง่ สกปรกออก แล้วเช็ด เครอื่ งวดั ฯ

ด้วยผา้ สะอาด และสำรวจวา่ มีส่วนใดชำรุด จากนัน้

เกบ็ เข้าหอ้ งสอบเทียบท่ีอณุ หภมู ิ 20 ํ ±2องศาเซลเซยี ส ท้งิ ไวไ้ ม่นอ้ ย

กวา่ 1 ชม.หรอื อณุ หภูมเิ ครื่องมือเท่าอุณหภมู หิ อ้ ง จึงเริม่ สอบเทียบได้

๒.เคร่อื งมือที่ใชใ้ นการสอบเทียบไดแอลอินดิเคเตอรโ์ ดยใช้ เกจบล็อก

(Gauge Block) เกจบล็อกมาตรฐานเกรด 2 หรอื ดีกว่า

๔ ๑๐ นาที. การตรวจความเรยี บรอ้ ย ตรวจสอบว่ามเี คร่ืองมอื ชำรดุ ทีช่ น้ิ ส่วนใด แผนกทดสอบ

(คดิ เป็น ๔๐%) อย่างละเอียด เช่น แรทเชสสตอปเสีย ตัวลอ็ กแกนวัดเสยี ตวั เลขขีด เคร่ืองวดั ฯ

สเกลลบเลือน แทง่ มาตรฐานสำหรบั ตรวจสอบหาย แกนวดั ฝดื เมอ่ื พบ

ให้แจ้งเจา้ หน้าทีท่ ่นี ำเครอื่ งมอื มาสง่ ได้ทราบและบันทกึ ในแบบฟอร์ม

๕ ๑๐ นาที. การตรวจตำแหน่งค่าความถูกตอ้ งของเสกล แผนกทดสอบ

(คิดเป็น ๕๐%) ปรับแต่งให้หัวแกนวัดเล่ือนลงกดสัมผัสกับผิวหน้าแท่นตรวจเพียง เคร่อื งวัดฯ

เล็กน้อย หมุนสเกลหน้าปัดให้เข็มวัดช้ี 0 (กรณีไดแอลอินดิเคเตอร์

ประเภทท่ีมี 2 เข็ม ต้องเลื่อนกดให้เข็มส้ัน ซึ่งเป็นเข็มวัดหยาบช้ี 0

แล้วหมนุ สเกลหนา้ ปดั ให้เลข 0 ของสเกลหนา้ ปัดชี้ตรงเข็มยาว)

- ๑๖ -

๖ ๑ ช.ม. การสอบเทยี บด้วยเกจบล็อก แผนกทดสอบ

(คิดเป็น ๖๐%) ใช้เกจบลอ็ กตรวจสอบระหว่างหน้าสมั ผสั ของหัวแกนวดั กบั ผิวหน้าแทน่ โดย เครือ่ งวัดฯ

ยกหัวแกนวัดใหเ้ ล่ือนข้ึน วางเกจบล็อกบนแท่นตรวจให้ตรงหัวแกนวัด

ปล่อยหัวแกนวัดให้เลื่อนลงสัมผัสผิวหน้าเกจบล็อก แล้วอ่านค่าวัด

ของ ไดแอลอินดิเคเตอร์ว่าตรงกับค่าของเกจบล็อกที่ใชห้ รือไม่ ขณะทำ

การปรับเทียบต้องสวมถุงมือ ใช้ผ้าสะอาดเช็ดหัวแกนวัด ผิวหน้าแท่น

และเกจบล็อกให้สะอาดตลอดเวลาบันทึกค่าของเกจบล็อกที่ใช้ตรวจสอบ

และค่าความคลาดเคลื่อนในแผ่นบันทึกเช็ดด้วยผ้าสะอาด ชโลมน้ำมันกัน

สนมิ ท่ีแกนรบั แกนวดั และเกลียวภายในปลอกหมุน

ขัน้ ตอน ระยะเวลาตาม รายละเอยี ดงานตามข้นั ตอน หน่วยรับผดิ ชอบ
มาตรฐานงาน

๗ ๑๐ นาที. บนั ทึกผลคำนวณความคลาดเคลอ่ื นและหาค่าเฉลย่ี แผนกทดสอบ

(คิดเป็น ๗๐%) ในกรณีท่เี มอื่ ปรับเทยี บแลว้ ปรากฏว่า มคี ่าความผิดพลาดเกนิ กวา่ จะ เคร่ืองวัดฯ

ยอมรับไดห้ รอื มีการชำรดุ เกินแกไ้ ขจะต้องออกเร่อื งช้ีแจงให้เจ้าของ

เคร่อื งมือวัดน้นั ได้ เพือ่ ทำการเบิกเปลยี่ นใหม่ เมือ่ ได้เคร่อื งมอื มาใหม่

แล้ว จะต้องแจง้ ให้แผนกทดสอบเครื่องวดั ทราบเพอื่ ดำเนนิ การข้ึน

ทะเบยี นต่อไป ไดแอลอนิ ดเิ คเตอรบ์ างชนิดจะมสี เกลบอกทงั้ ค่าเป็นบวก

และค่าเป็นลบไวใ้ นตวั เดยี วกนั

๘ ๑ ช.ม. บันทึกผลการสอบเทยี บ บนั ทึกผลรายละเอยี ดตา่ งๆอัตราผดิ ของ แผนกทดสอบ
(คิดเปน็ ๘๐%)
เคร่อื งมอื ในการเทียบแตล่ ะคร้งั ลงในแบบฟอรม์ บันทกึ ผลการสอบเทียบ เครื่องวัดฯ

โดยมรี ายละเอียดของแบบฟอร์มเช่น ผลการสอบเทยี บ หมายเลข งอ.

ตราอกั ษรลงช่ือบริษัทผู้ผลติ ยา่ นการวดั เครอื่ งมือทใี่ ช้ในการตรวจสอบ

คร้งั ท่จี ำนวนรอบงาน คา่ กำหนดการวดั (ยา่ นการวดั ) คา่ ทวี่ ัดได้ อัตราผดิ

ลงชอ่ื เจา้ หนา้ ทต่ี รวจสอบไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน

ติดสตกิ๊ เกอรว์ ันหมดอาย/ุ ชำรุด เมอื่ ปรับเทยี บเสร็จแลว้ ใหล้ งผลการ

ปรับเทียบไวใ้ นใบตรวจสอบประจำเครอ่ื งวดั ทกุ ตวั แล้วตดิ สตก๊ิ เกอร์ บอกกำหนด

หมดอายกุ ารปรับเทยี บทีต่ วั เคร่อื งมอื ในการด์ ประจำเครือ่ งมอื ใหล้ งวนั

ปรับเทยี บและวนั หมดอายเุ อาไว้ โดยจะมีอยู่ 3 ใบ 2 ใบเก็บไว้ที่แผนก

ทดสอบเครื่องวัด กคภ.กพช.อร. อีกใบหนึ่งอยูค่ กู่ ับตวั เคร่อื ง บนั ทึก

รายการหมายเลขเครือ่ งมือลงในสมุดสง่ เครอ่ื งมือ แจง้ ให้เจา้ หนา้ ท่หี นว่ ย

เจ้าของเครอ่ื งมือมารับกลับไป

๑๐ ๓๐ นาท.ี ออกใบรับรอง การออกใบรบั รองในกรณีเจ้าของเครือ่ งมอื วัดร้องขอมา แผนกทดสอบ
(คิดเป็น ๙๐%)
หนว่ ยของเครอื่ งมอื จำตอ้ งทำเร่อื งผา่ นตามสายงานในการออกใบรับรอง เคร่ืองวัดฯ
๑๑. ๑ ช.ม.
(คิดเป็น ๑๐๐%) ผลการสอบเทยี บจะใชแ้ บบฟอรม์ ทก่ี ำหนดไว้ โดยผมู้ อี ำนาจในการออก

ใบรบั รองผลการสอบเทียบได้แก่ จก.กพช.อร.และ ผอ.กคภ.กพช.อร.

รายงานผลการสอบเทียบ การรายงานผลการสอบเทยี บเปน็ การ แผนกทดสอบ

รายงานการชำรดุ และการขาดการสอบเทียบเครื่องมือวดั เคร่อื งวดั ฯ

๑.ในกรณเี ครือ่ งมอื ชำรดุ แผนกทดสอบเคร่ืองวัดจำต้องทำบันทกึ ฯแจ้ง

หน่วยเจ้าของเครอื่ งมือโดยตรง เพอื่ ใหเ้ จ้าของเคร่ืองมือดำเนนิ การตาม

- ๑๗ -

ขน้ั ตอนการจดั หาทดแทนตอ่ ไป
๒.กรณเี ครื่องมอื วัดขาดการสอบเทยี บให้ทำบนั ทึกฯแบบฟอรม์ รายการ
เครื่องมือวดั ที่ขาดการสอบเทยี บแจง้ เจา้ ของเคร่อื งมือโดยตรงเพื่อใหส้ ่ง
เครอื่ งมือวัดมาสอบเทียบในรอบงานต่อไป
๓.บันทึก สถิตเิ ครอื่ งมือท่ีนำมาสอบเทยี บในแต่ละรอบงานในบอรด์ หอ้ ง
สอบเทียบ
๑๒ สิ้นสดุ

๔. แผนผังขนั้ ตอนกระบวนงาน (Work Flow) การสอบเทยี บเคร่อื งวดั รอบ

- ๑๘ -

ลำดับ ผู้ปฏิบตั ิ การปฏิบัติ เอกสารท่เี กย่ี วขอ้ ง
ขอ้ กำหนด
๑ น.ท.คนท๑่ี เรม่ิ ต้น
น.ท.คนท๑ี่ /น.ต. กคภ.-ง 0101 : สมดุ
รับเครือ่ งมอื ลงทะเบยี น
๒ จ.อ.คนท๑่ี /จ.อ.คนที่๒/ การเตรียมการและความพรอ้ ม
จ.อ.คนท๓่ี คมู่ ือเครอ่ื ง JAQUET
อปุ กรณใ์ นการสอบเทยี บ Type 70
๓ จ.อ.คนท่๑ี
คู่มือเคร่ือง JAQUET
จ.อ.คนที่๒ Type 70
จ.อ.คนท๓่ี
พ.จ.อ.คนท่ี๑ การตรวจสอบความเรยี บรอ้ ย ไม่เป็นไปตามเกณฑ/์ คมู่ ือเคร่ือง JAQUET
พ.จ.อ.คนที๒่ ชำรุด Type 70
พ.จ.อ.คนที๓่
ปรับแตง่ WI การสอบเทียบ
จ.อ.คนท่ี๑
๔ จ.อ.คนท่๒ี การสอบเทยี บ -มาตรฐานค่าความ
แมน่ ยำ/เกณฑ์การสึกหรอ
จ.อ.คนที่๓ เป็นไปตามเกณฑ์ ท่ียอมรับได้
พ.จ.อ.คนท่ี๑ แบบฟอรม์ รายงานผล
พ.จ.อ.คนท๒ี่ -
พ.จ.อ.คนท่ี๓
๕ น.ต. การคานวณความคลาดเคลอื่ น คู่มอื เคร่อื ง JAQUET
ร.อ.คนที่๑ และหาคา่ เฉลี่ย Type 70
ร.อ.คนท่ี๒
บนั ทึกผลการสอบเทียบ
๖ ร.อ.คนท๑่ี
ร.อ.คนท๒่ี ตดิ สติก๊ เกอรว์ นั หมดอาย/ุ ชารุด แบบฟอรม์ รายงานผล
น.ต.
ออกใบรบั รอง แบบฟอรม์ รายงานผล
๗ จ.อ.คนที๑่
จ.อ.คนท๒่ี รายงานผลการสอบเทียบ แบบฟอรม์ รายงานผล
จ.อ.คนท๓่ี
พ.จ.อ.คนที๑่ สิ้นสุด

๘ พ.จ.อ.คนที่๒
พ.จ.อ.คนที่๓

๙ น.ท.คนท๑่ี /น.ท.คนท๒ี่
น.ต.ร.อ.คนท๑ี่
ร.อ.คนท๒่ี

๑๐ พ.จ.อ.คนที่๑
พ.จ.อ.คนที่๒.
พ.จ.อ.คนที๓่

๑๑

- ๑๙ -

ขั้นตอนการปฏิบตั งิ าน การสอบเทยี บเครื่องวัดรอบ

ขั้นตอน ระยะเวลาตาม รายละเอยี ดงานตามขั้นตอน หนว่ ยรับผดิ ชอบ
มาตรฐานงาน

๑ (คิดเปน็ ๑๐%) เร่ิมตน้ แผนกทดสอบ

๑.วางแผนการตรวจสอบเครื่องมือวดั ประจำปีเป็นการกำหนดช่วงเวลาในการ เคร่อื งวดั ฯ

สอบเทียบแจ้งการสอบเทียบรวมท้ังประเภทเคร่ืองมือที่ต้องสอบเทียบในรอบ

นั้นๆในรอบ ๑ ปี จะแบ่งการตรวจสอบเป็น ๓ รอบงาน รอบ ๔ เดือน รอบ ๘

เดือน รอบ ๑๒ เดือน

๒.แจ้งกำหนดการส่งเครื่องมือให้หน่วยเจ้าของเครื่องมือวัดทราบ จะต้องแจ้ง

ก่อนถึงกำหนดการสอบเทียบเครื่องมือ ๓ สัปดาห์ โดยแจ้งกำหนดวันส่ง

เคร่อื งมือวดั ตามแบบฟอรม์ เครือ่ งมือวัด

๓.การรวบรวมเครื่องมือวัด เจ้าหนา้ ที่หน่วย อรม.อร. อจปร.อร.

อธบ.อร.และ อร.ต้องเป็นผนู้ ำเครอ่ื งมือมาสง่ ที่แผนกทดสอบเครอื่ งวัดตาม

กำหนดเวลา

๒ ๓๐ นาที การรับเครื่องมือ เมื่อหน่วยต่างๆนำเครื่องมือมาส่งที่แผนกจะต้องตรวจสอบ แผนกทดสอบ

(คดิ เปน็ ๒๐%) รายการเครื่องมือพร้อมการ์ด ประจำเครื่องมือว่าครบหรือไม่ ตรวจสอบการ เครอ่ื งวัดฯ

ชำรุดเสียหาย อุปกรณ์ประกอบต่างๆแล้วบันทึกลงในแบบฟอร์มการรับ

เครอ่ื งมือ ตรวจสอบเครอื่ งมอื ทม่ี าส่ง แลว้ ลงในสมุดส่งเคร่อื งมอื ใหผ้ ู้สง่ ลงรายช่ือ

เพ่อื รบั ทราบ

๓ ๑ ช.ม. การเตรยี มการและตรวจความพรอ้ มอุปกรณใ์ นการสอบเทยี บ แผนกทดสอบ

(คดิ เป็น ๓๐%) ตรวจระดับน้ำมันหล่อในเคร่ือง Tachometer Test Bench ให้อยู่ในระดับใช้ เคร่อื งวัดฯ

งาน เดินเครื่อง แล้วเร่งความเร็ว Tachometer Test Bench ไปที่รอบท่ี

ต้องการตรวจ

-แบบสัมผัส นำเครื่องวัดรอบท่ีต้องการวัดไปสวมแกนที่ต้องการวัด โดยวัดจาก

น้อยไปหามาก

-ระบบแสง ตรวจความเรยี บร้อยของเคร่อื ง Tachometer Test Bench ติดต้ัง

แผน่ สะท้อนแสงท่แี กนวดั ของเครอ่ื ง Tachometer Test Bench ทำการต้งั

รอบท่ีตอ้ งการทดสอบ

๔ ๑๐ นาที. การตรวจความเรียบรอ้ ย ตรวจสอบว่าเครื่องวดั รอบวา่ เปน็ แบบสมั ผสั หรอื แบบ แผนกทดสอบ

(คดิ เปน็ ๔๐%) แสง และสำรวจว่าชิน้ สว่ นใดชำรุดหรือไม่ เครือ่ งวดั ฯ

- ๒๐ -

๕ ๑ ช.ม. การสอบเทียบ แผนกทดสอบ

(คดิ เปน็ ๕๐%) ทำการตรวจสอบย่านการทำงานของเครื่องวัดรอบที่ต้องการทดสอบ เคร่ือง เครอ่ื งวัดฯ

Tachometer Test Bench จะสามารถเลือกย่านการทำงาน (ปรับแกน) ได้ 6

ยา่ นคอื

-แกนท่ี 1 มยี า่ นการทำงานระหว่าง 30 – 120 rpm.

-แกนที่ 2 มยี ่านการทำงานระหว่าง 100 – 400 rpm.

-แกนท่ี 3 มีย่านการทำงานระหว่าง 300 – 1,200 rpm.

-แกนที่ 4 มีย่านการทำงานระหวา่ ง 1,000 – 4,000 rpm

-แกนที่ 5 มีย่านการทำงานระหว่าง 3,000 – 12,000 rpm.

-แกนท่ี 6 มยี า่ นการทำงานระหวา่ ง 10,000 – 40,000 rpm.

-แบบสัมผสั นำเคร่ืองวัดรอบที่ตอ้ งการวัดไปสวมแกนที่ตอ้ งการวดั โดยวดั จาก

นอ้ ยไปหามาก (ยกตัวอย่างเชน่ ตอ้ งการทดสอบที่ความเร็ว 50 รอบ ให้เรง่

ความเร็วเครือ่ งทดสอบไปที่ 50 รอบ นำเคร่ืองวัดรอบไปสวมแกน 1 ย่าน 30 – 120

rpm. ดูเกจแล้วบนั ทึกคา่ แลว้ ตรวจวัดทีย่ า่ นอ่ืนต่อไป) บนั ทกึ ผลเปรียบเทยี บ

ค่ามาตรฐานทยี่ อมใหผ้ ดิ พลาดจากคูม่ อื ของผผู้ ลติ

-ระบบแสง ทำการตั้งรอบท่ีตอ้ งการทดสอบ นำเครอื่ งวัดรอบจี้ไปทแี่ ถบสะท้อน

แสง โดยให้ต้ังฉากกับแกนวัดห่างประมาณ ๑ฟุต จนตัวเลขความเร็วรอบคงที่ จดค่า

เปล่ียนยา่ นการตรวจไปจนครบ นำค่าที่บนั ทกึ เทียบกบั ค่ามาตรฐานของบรษิ ทั ผู้ผลิต

ขั้นตอน ระยะเวลาตาม รายละเอยี ดงานตามขนั้ ตอน หน่วยรบั ผดิ ชอบ
มาตรฐานงาน
บนั ทกึ ผลคำนวณความคลาดเคลอื่ นและหาค่าเฉล่ีย แผนกทดสอบ
๖ ๑๐ นาท.ี ทำการคำนวณความคลาดเคลอื่ นและหาคา่ เฉลยี่ ท่ไี ดจ้ ากการวัดทั้งหมดแล้วสรุป เครอื่ งวัดฯ
(คิดเป็น ๖๐%) ความคลาดเคล่อื นของเครื่องวัดรอบทนี่ ำปรบั เทยี บ

๗ ๓๐ นาที บันทกึ ผลการสอบเทียบ บันทึกผลรายละเอยี ดตา่ งๆอัตราผดิ ของเครอ่ื งมอื ใน แผนกทดสอบ

(คิดเปน็ ๗๐%) การเทียบแตล่ ะคร้ังลงในแบบฟอรม์ บันทกึ ผลการสอบเทยี บ เคร่อื งวดั ฯ

โดยมรี ายละเอยี ดของแบบฟอร์มเช่น ผลการสอบเทยี บ หมายเลข งอ.

ตราอกั ษรลงชื่อบริษัทผูผ้ ลิต ย่านการวดั เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการตรวจสอบ

ครัง้ ทจ่ี ำนวนรอบงาน ค่ากำหนดการวัด(ยา่ นการวัด) ค่าท่ีวัดได้ อตั ราผิด

ลงชอ่ื เจ้าหน้าที่ตรวจสอบไวเ้ ป็นหลักฐาน

๘ ๓๐ นาที. ตดิ สต๊ิกเกอร์วนั หมดอายุ/ชำรดุ หลงั จากสอบเทยี บเสรจ็ แลว้ ตดิ สตกิ๊ เกอร์บอก แผนกทดสอบ

(คดิ เปน็ ๘๐%) วนั ปรบั มาตรฐานและวนั หมดอายไุ ว้ที่ตวั เครอ่ื งมือสอบเทยี บ เครอื่ งวดั ฯ

๙ ๓๐ นาท.ี ออกใบรับรอง การออกใบรบั รองในกรณีเจ้าของเครือ่ งมือวดั รอ้ งขอมาหนว่ ย แผนกทดสอบ
(คดิ เป็น ๙๐%) ของเคร่อื งมอื จำตอ้ งทำเรือ่ งผ่านตามสายงานในการออกใบรับรองผลการสอบ เคร่ืองวดั ฯ
เทียบจะใชแ้ บบฟอร์มท่ีกำหนดไว้ โดยผู้มอี ำนาจในการออกใบรับรองผลการ
สอบเทยี บไดแ้ ก่ จก.กพช.อร.และ ผอ.กคภ.กพช.อร. แผนกทดสอบ
เครอ่ื งวัดฯ
๑๐ ๑ ช.ม. รายงานผลการสอบเทียบ การรายงานผลการสอบเทยี บเป็นการรายงานการ
(คดิ เป็น๑๐๐%) ชำรุดและการขาดการสอบเทียบเคร่ืองมือวัด
๑.ในกรณีเครอื่ งมือชำรดุ แผนกทดสอบเครอ่ื งวดั จำตอ้ งทำบันทกึ ฯแจง้ หนว่ ย
เจ้าของเครือ่ งมือโดยตรง เพ่อื ใหเ้ จา้ ของเคร่ืองมือดำเนินการตามขัน้ ตอนการ
จัดหาทดแทนตอ่ ไป

ลำดบั ผู้ปฏิบตั ิ - ๒๑ - เอกสารท่เี กี่ยวขอ้ ง
ขอ้ กำหนด
๑ น.ท.คนท่ี๑ การปฏิบัติ
น.ท.คนที่๑/น.ต. เริม่ ต้น กคภ.-ง 0101 : สมุด
ลงทะเบียน

๒.กรณเี คร่อื งมอื วัดขาดการสอบเทยี บให้ทำบนั ทึกฯแบบฟอร์มรายการเครื่องมอื
วัดท่ีขาดการสอบเทียบแจ้งเจ้าของเครื่องมอื โดยตรงเพื่อให้ส่งเครื่องมือวัดมา
สอบเทยี บในรอบงานตอ่ ไป
๓.บนั ทึก สถิตเิ คร่ืองมือทน่ี ำมาสอบเทยี บในแต่ละรอบงานในบอร์ดหอ้ งสอบ
เทยี บ

๑๑ ส้นิ สดุ

๕. แผนผังขน้ั ตอนกระบวนงาน (Work Flow) การสอบเทยี บประแจวดั แรงบดิ

- ๒๒ -

๒ จ.อ.คนท๑ี่ /จ.อ.คนท๒ี่ / รบั เครือ่ งมือ ไม่เปน็ ไปตามเกณฑ/์ -ระเบยี บอร. ว่าดว้ ยการปรบั
จ.อ.คนท๓่ี การเตรียมการและความพรอ้ ม ชำรุด มาตรฐานและการควบคมุ
เคร่อื งวัดทางกล พ.ศ.๒๕๑๖
๓ จ.อ.คนท๑่ี อปุ กรณ์ในการสอบเทยี บ ปรบั แตง่ คู่มือการใช้เครื่องประแจวัด
แรงบิด BETA
จ.อ.คนที๒่ การตรวจสอบความเรยี บรอ้ ย -ระเบยี บอร. วา่ ดว้ ยการปรบั
จ.อ.คนที๓่ มาตรฐานและการควบคมุ
พ.จ.อ.คนท๑่ี การสอบเทยี บ เครื่องวัดทางกล พ.ศ.๒๕๑๖
พ.จ.อ.คนที่๒
พ.จ.อ.คนที่๓ คู่มือการใช้เคร่ืองประแจวัด
แรงบดิ BETA
จ.อ.คนที๑่ -ระเบยี บอร. ว่าดว้ ยการ
๔ จ.อ.คนท่ี๒ ปรบั มาตรฐานและการควบคุม
เครอื่ งวัดทางกล พ.ศ.๒๕๑๖
จ.อ.คนที่๓
พ.จ.อ.คนที่๑ WI การสอบเทียบ
พ.จ.อ.คนท่ี๒
พ.จ.อ.คนที่๓ เปน็ ไปตามเกณฑ์ -มาตรฐานคา่ ความ
๕ น.ต. แมน่ ยำ/เกณฑก์ ารสึกหรอ
ร.อ.คนท๑่ี การคานวณความคลาดเคล่ือน ท่ียอมรบั ได้
ร.อ.คนที๒่ และหาคา่ เฉลี่ย แบบฟอร์มรายงานผล
-
๖ ร.อ.คนท่๑ี บนั ทึกผลการสอบเทยี บ คู่มือการใช้เคร่ืองประแจวัด
ร.อ.คนท่๒ี แรงบดิ BETA
น.ต. -ระเบยี บอร. ว่าด้วยการปรบั
มาตรฐานและการควบคมุ
๗ จ.อ.คนที่๑ เครอ่ื งวดั ทางกล พ.ศ.๒๕๑๖
จ.อ.คนที่๒
จ.อ.คนที่๓ ตดิ สติก๊ เกอรว์ นั หมดอาย/ุ ชารุด แบบฟอรม์ รายงานผล
พ.จ.อ.คนท๑่ี
ออกใบรบั รอง แบบฟอรม์ รายงานผล
๘ พ.จ.อ.คนที่๒
พ.จ.อ.คนที่๓ รายงานผลการสอบเทยี บ แบบฟอรม์ รายงานผล

๙ น.ท.คนที่๑/น.ท.คนท๒่ี สนิ้ สดุ
น.ต.ร.อ.คนท๑ี่
ร.อ.คนท๒ี่

๑๐ พ.จ.อ.คนท๑่ี
พ.จ.อ.คนที่๒.
พ.จ.อ.คนที่๓

๑๑

- ๒๓ -

ขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิงาน การสอบเทยี บประแจวดั แรงบิด

ขน้ั ตอน ระยะเวลาตาม รายละเอยี ดงานตามขัน้ ตอน หน่วยรับผดิ ชอบ
มาตรฐานงาน

๑ (คดิ เปน็ ๑๐%) เร่มิ ต้น แผนกทดสอบ

๑.วางแผนการตรวจสอบเครื่องมือวดั ประจำปีเป็นการกำหนดช่วงเวลาในการ เครอ่ื งวัดฯ

สอบเทียบแจ้งการสอบเทียบรวมทั้งประเภทเครื่องมือท่ีต้องสอบเทียบในรอบ

น้ันๆในรอบ ๑ ปี จะแบ่งการตรวจสอบเป็น ๓ รอบงาน รอบ ๔ เดือน รอบ ๘

เดอื น รอบ ๑๒ เดือน

๒.แจ้งกำหนดการส่งเคร่ืองมือให้หน่วยเจ้าของเคร่ืองมือวัดทราบ จะต้องแจ้ง

ก่อนถึงกำหนดการสอบเทียบเคร่ืองมือ ๓ สัปดาห์ โดยแจ้งกำหนดวันส่ง

เครื่องมือวัดตามแบบฟอร์มเคร่อื งมอื วดั

๓.การรวบรวมเครอ่ื งมอื วดั เจ้าหน้าท่หี นว่ ย อรม.อร. อจปร.อร.

อธบ.อร.และ อร.ตอ้ งเปน็ ผู้นำเครอ่ื งมอื มาส่งท่แี ผนกทดสอบเครอ่ื งวัดตาม

กำหนดเวลา

๒ ๓๐ นาที การรับเครื่องมือ เมื่อหน่วยต่างๆนำเครื่องมือมาส่งที่แผนกจะต้องตรวจสอบ แผนกทดสอบ

(คิดเปน็ ๒๐%) รายการเคร่ืองมือพร้อมการ์ด ประจำเคร่ืองมือว่าครบหรือไม่ ตรวจสอบการ เคร่ืองวัดฯ

ชำรุดเสียหาย อุปกรณ์ประกอบต่างๆแล้วบันทึกลงในแบบฟอร์มการรับ

เครือ่ งมอื ตรวจสอบเคร่ืองมือทมี่ าส่ง แล้วลงในสมุดสง่ เครื่องมอื ให้ผู้สง่ ลงรายชอื่

เพื่อรับทราบ

๓ ๓๐ นาที การเตรียมการและตรวจความพรอ้ มอปุ กรณใ์ นการสอบเทยี บ แผนกทดสอบ

(คิดเปน็ ๓๐%) เตรียมอุปกรณท์ ใ่ี ชใ้ นกบั เครอ่ื งสอบเทยี บประแจวดั แรงบดิ เครื่องวดั ฯ

1.DYNA Tester 681 DE/T1 และ T3

2. Display

3. Adapter ใช้ต่อระหว่างประแจวัดแรงบิดเข้ากับเครอ่ื ง

๔ ๓๐ นาท.ี การตรวจความเรยี บรอ้ ย แผนกทดสอบ

(คิดเปน็ ๔๐%) 1.ติดตง้ั DYNA Tester บนโตะ๊ งานดว้ ย BOLT ขนาด 10 มม. สองตัว เครือ่ งวัดฯ

2.นำ Display มาติดตั้งที่บนหัวของ Bolt ท่ีใช้ยึด DYNA Tester กับโต๊ะงานท่ี

ใตฐ้ านของ Display จะมีรฝู งั แม่เหล็กเอาไว้สำหรบั ยดึ ติดกับหัวของ Bolt

3.ประกอบสายปลั๊กเขา้ ท่ีดา้ นหลงั ของ DYNA Tester และ Display

4.เสียบปลก๊ั ไฟฟ้าเขา้ เครือ่ ง คอย 2 วินาที สำหรบั การเปดิ สวทิ ช์เบอื้ งตน้ คอย5นาที

สำหรบั อุ่นเครอ่ื งแลว้ จงึ กดปมุ่ Set Zero

- ๒๔ -

๕ ๑ ช.ม. การสอบเทยี บ แผนกทดสอบ

(คิดเปน็ ๕๐%) 1.เลอื กหน่วยสำหรบั ใช้วัดโดยกดป่มุ Mode ทีละคร้ัง เครื่องวัดฯ

2.เลือก Select Units เพอ่ื เลือกภาษาและชนดิ ของประแจทต่ี อ้ งการวัด

2.1 Bending Beam Wrenches หรือ Dial Type Wrenches และ Torque

Screw Driver ใช้ Mode Peak Memory with Manual Reset หรือ Peak

Memory Auto Reset

2.2 Preset (Click) Wrenches และ Torque Screw Driver ใช้ Mode First

Peak Memory with Manual Reset ห รื อ First Peak Memory with Auto

Reset

บนั ทกึ คา่ ในแต่ละย่านท่ีทำการทดสอบไวแ้ ล้วนำมาเปรียบเทยี บกับค่ามาตรฐาน

ทยี่ อมรับได้ของบรษิ ทั ผ้ผู ลิต

ข้นั ตอน ระยะเวลาตาม รายละเอยี ดงานตามขัน้ ตอน หน่วยรบั ผิดชอบ
มาตรฐานงาน
บันทึกผลคำนวณความคลาดเคลอ่ื นและหาคา่ เฉล่ีย แผนกทดสอบ
๖ ๑๐ นาท.ี ทำการคำนวณความคลาดเคล่อื นและหาคา่ เฉลย่ี ทีไ่ ดจ้ ากการวัดทัง้ หมดแล้วสรุป เครอ่ื งวดั ฯ
(คิดเปน็ ๖๐%) ความคลาดเคลอื่ นของเคร่ืองวัดรอบทนี่ ำปรับเทยี บ

๗ ๓๐ นาที บนั ทกึ ผลการสอบเทยี บ บันทกึ ผลรายละเอยี ดตา่ งๆอตั ราผดิ ของเครือ่ งมือ ใน แผนกทดสอบ

(คดิ เป็น ๗๐%) การเทยี บแตล่ ะครงั้ ลงในแบบฟอรม์ บันทึกผลการสอบเทียบ เครื่องวัดฯ

โดยมรี ายละเอยี ดของแบบฟอร์มเช่น ผลการสอบเทียบ หมายเลข งอ.

ตราอกั ษรลงช่อื บรษิ ัทผู้ผลิต ย่านการวดั เครอื่ งมือที่ใช้ในการตรวจสอบ

ครัง้ ทจ่ี ำนวนรอบงาน ค่ากำหนดการวัด(ยา่ นการวัด) ค่าที่วัดได้ อตั ราผิด

ลงช่ือเจา้ หนา้ ท่ตี รวจสอบไวเ้ ป็นหลักฐาน

๘ ๓๐ นาที. ตดิ สต๊ิกเกอรว์ นั หมดอายุ/ชำรดุ หลงั จากสอบเทยี บเสรจ็ แล้วตดิ สตกิ๊ เกอรบ์ อก แผนกทดสอบ

(คดิ เปน็ ๘๐%) วนั ปรับมาตรฐานและวันหมดอายไุ วท้ ตี่ ัวเครอ่ื งมือสอบเทยี บ เครื่องวัดฯ

๙ ๓๐ นาที. ออกใบรับรอง การออกใบรับรองในกรณเี จา้ ของเคร่ืองมอื วัดร้องขอมาหนว่ ย แผนกทดสอบ

(คิดเป็น ๙๐%) ของเครอ่ื งมอื จำตอ้ งทำเรื่องผ่านตามสายงานในการออกใบรับรองผลการสอบ เครอ่ื งวัดฯ

เทียบจะใช้แบบฟอร์มท่กี ำหนดไว้ โดยผ้มู อี ำนาจในการออกใบรบั รองผลการ

สอบเทยี บได้แก่ จก.กพช.อร.และ ผอ.กคภ.กพช.อร.

๑๐ ๑ ช.ม. รายงานผลการสอบเทยี บ การรายงานผลการสอบเทยี บเปน็ การรายงานการ แผนกทดสอบ

(คิดเป็น๑๐๐%) ชำรดุ และการขาดการสอบเทียบเครอื่ งมอื วดั เคร่อื งวัดฯ

๑.ในกรณีเคร่ืองมอื ชำรดุ แผนกทดสอบเคร่อื งวัดจำต้องทำบันทึกฯแจ้งหน่วย

เจ้าของเครอื่ งมือโดยตรง เพือ่ ใหเ้ จ้าของเคร่ืองมอื ดำเนนิ การตามข้ันตอนการ

จัดหาทดแทนต่อไป

๒.กรณีเครอื่ งมือวดั ขาดการสอบเทียบใหท้ ำบนั ทึกฯแบบฟอรม์ รายการเครื่องมือ

วัดทข่ี าดการสอบเทียบแจง้ เจา้ ของเครื่องมอื โดยตรงเพ่อื ให้ส่งเครอ่ื งมือวัดมา

สอบเทยี บในรอบงานตอ่ ไป

๓.บันทึก สถิตเิ ครื่องมอื ทนี่ ำมาสอบเทียบในแต่ละรอบงานในบอร์ดหอ้ งสอบ

ลำดบั ผ้ปู ฏิบัติ - ๒๕ - เอกสารทเี่ กี่ยวขอ้ ง
ข้อกำหนด
๑ น.ท.คนท๑ี่ การปฏิบตั ิ
น.ท.คนท๑ี่ /น.ต. เรม่ิ ตน้ กคภ.-ง 0101 : สมุด
ลงทะเบยี น

เทียบ
๑๑ สิ้นสุด

๖. แผนผังขนั้ ตอนกระบวนงาน (Work Flow) การสอบเทียบเกจวดั กำลงั ดนั

- ๒๖ -

๒ จ.อ.คนที่๑/จ.อ.คนท๒ี่ / รับเครอ่ื งมอื ไม่เป็นไปตามเกณฑ/์ -ระเบยี บอร. ว่าด้วยการปรบั
จ.อ.คนที่๓ การเตรียมการและความพรอ้ ม ชำรดุ มาตรฐานและการควบคมุ
เคร่ืองวดั ทางกล พ.ศ.๒๕๑๖
๓ จ.อ.คนท๑่ี อปุ กรณใ์ นการสอบเทยี บ ปรับแตง่ -ค่มู อื เคร่ืองสอบเทยี บเกจ
วัดกำลงั ดนั ตราอักษร
จ.อ.คนท๒่ี การตรวจสอบความเรียบรอ้ ย Budenberg
จ.อ.คนที่๓ -คมู่ ือการสอบเทยี บ
พ.จ.อ.คนท๑ี่ การสอบเทยี บ เครื่องมือวัดอตุ สาหกรรม
พ.จ.อ.คนท่๒ี -มาตรฐาน DKD-R 6-1
พ.จ.อ.คนที่๓ -คู่มือเครอื่ งสอบเทียบเกจ
วัดกำลงั ดันตราอักษร
จ.อ.คนที๑่ Budenberg
๔ จ.อ.คนท๒่ี -คู่มอื การสอบเทยี บ
เครอ่ื งมอื วัดอุตสาหกรรม
จ.อ.คนท๓่ี -มาตรฐาน DKD-R 6-1
พ.จ.อ.คนที่๑
พ.จ.อ.คนที่๒ WI การสอบเทียบ
พ.จ.อ.คนท่๓ี
๕ น.ต. เป็นไปตามเกณฑ์ -มาตรฐานคา่ ความ
ร.อ.คนท๑ี่ แมน่ ยำ/เกณฑก์ ารสึกหรอ
ร.อ.คนที่๒ การคานวณความคลาดเคลือ่ น ทย่ี อมรบั ได้
และหาคา่ เฉลี่ย แบบฟอรม์ รายงานผล
๖ ร.อ.คนท่ี๑ -คมู่ อื เครอ่ื งสอบเทยี บเกจ
ร.อ.คนที่๒ วดั กำลังดันตราอักษร
น.ต. Budenberg
-คู่มือการสอบเทยี บ
๗ จ.อ.คนท๑ี่ เครอ่ื งมอื วัดอุตสาหกรรม
จ.อ.คนที่๒ -มาตรฐาน DKD-R 6-1
จ.อ.คนที่๓
พ.จ.อ.คนท๑่ี บนั ทึกผลการสอบเทียบ

๘ พ.จ.อ.คนท๒่ี ตดิ สตกิ๊ เกอรว์ นั หมดอาย/ุ ชารุด แบบฟอรม์ รายงานผล
พ.จ.อ.คนที๓่
ออกใบรบั รอง แบบฟอรม์ รายงานผล
๙ น.ท.คนท่๑ี /น.ท.คนท๒่ี
น.ต.ร.อ.คนท๑่ี รายงานผลการสอบเทียบ แบบฟอรม์ รายงานผล
ร.อ.คนที่๒
สน้ิ สุด
๑๐ พ.จ.อ.คนท่ี๑
พ.จ.อ.คนท่ี๒.
พ.จ.อ.คนที่๓

๑๑

- ๒๗ -

ข้ันตอนการปฏบิ ัติงาน การสอบเทียบเกจวัดกำลังดนั

ข้ันตอน ระยะเวลาตาม รายละเอียดงานตามขัน้ ตอน หนว่ ยรบั ผดิ ชอบ
มาตรฐานงาน

๑ (คดิ เปน็ ๑๐%) เร่ิมตน้ แผนกทดสอบ

๑.วางแผนการตรวจสอบเคร่ืองมือวัดประจำปีเป็นการกำหนดช่วงเวลาในการ เคร่ืองวดั ฯ

สอบเทียบแจ้งการสอบเทียบรวมทั้งประเภทเครื่องมือท่ีต้องสอบเทียบในรอบ

น้ันๆในรอบ ๑ ปี จะแบ่งการตรวจสอบเป็น ๓ รอบงาน รอบ ๔ เดือน รอบ ๘

เดือน รอบ ๑๒ เดอื น

๒.แจ้งกำหนดการส่งเคร่ืองมือให้หน่วยเจ้าของเครื่องมือวัดทราบ จะต้องแจ้ง

ก่อนถึงกำหนดการสอบเทียบเคร่ืองมือ ๓ สัปดาห์ โดยแจ้งกำหนดวันส่ง

เครอ่ื งมอื วัดตามแบบฟอรม์ เครอ่ื งมอื วดั

๓.การรวบรวมเคร่อื งมอื วดั เจา้ หนา้ ทหี่ นว่ ย อรม.อร. อจปร.อร.

อธบ.อร.และ อร.ตอ้ งเปน็ ผู้นำเครอื่ งมอื มาสง่ ที่แผนกทดสอบเครอ่ื งวัดตาม

กำหนดเวลา

๒ ๓๐ นาที การรับเครื่องมือ เมื่อหน่วยต่างๆนำเครื่องมือมาส่งที่แผนกจะต้องตรวจสอบ แผนกทดสอบ

(คิดเป็น ๒๐%) รายการเครื่องมือพร้อมการ์ด ประจำเคร่ืองมือว่าครบหรือไม่ ตรวจสอบการ เครื่องวัดฯ

ชำรุดเสียหาย อุปกรณ์ประกอบต่างๆแล้วบันทึกลงในแบบฟอร์มการรับ

เคร่อื งมอื ตรวจสอบเคร่อื งมอื ท่มี าส่ง แล้วลงในสมดุ ส่งเครอ่ื งมอื ให้ผ้สู ง่ ลงรายชอื่

เพอ่ื รบั ทราบ

๓ ๑ ช.ม. การเตรยี มการและตรวจความพร้อมอปุ กรณ์ในการสอบเทยี บ แผนกทดสอบ

(คดิ เปน็ ๓๐%) กอ่ นการสอบเทียบ ให้ตรวจสภาพทั่วไปของเกจวัดวา่ มีส่วนใดชำรุดเสียหาย เครือ่ งวัดฯ

หรือไม่ เชน่ ตวั เรอื นเกจ กระจกหนา้ ปดั เข็มชตี้ รงศูนยห์ รือไม่ แลว้ ทำการจด

บนั ทกึ ลงในสมดุ

๔ ๑๐ นาท.ี การตรวจความเรยี บรอ้ ย แผนกทดสอบ

(คิดเป็น ๔๐%) 1.เลือกข้อต่อเกลียวท่ีสวมกับเกจวัดกำลังดันให้สวมกันพอดี ในกรณีท่ีเกจวัด เครอ่ื งวัดฯ

กำลังดนั กับข้อตอ่ เกลียวของ Gauge Stand สวมกนั ไม่ได้

2.ใช้เทปพนั เกลยี วพนั ที่เกลียวของข้อต่อและท่เี กลยี วของเกจวดั กำลงั ดัน

3.นำข้อต่อเกลียวที่จะสวมกับเกจวัดกำลังดันสวมกับข้อต่อเกลียว Gauge

Stand

4.คลายAirReleaseValveเติมแอลกอฮอลท์ ่ี Gauge Stand จนลน้ รรู ะบาย กวด Air

Release Valve พอตงึ มือ

5.ใสแ่ หวนรองและนำเกจวดั กำลังดนั มาตดิ ตั้งกวดเกลยี วให้แน่นสนิท

6.ตรวจดรู ะดบั นำ้ มันไฮดรอลิกส์ท่ี Oil Cup ให้อยู่ในระดับ ¾

7.ทำการไล่อากาศในระบบโดยการเปิดล้ินA ลิ้น B กวด Screw Pump ไล่

อากาศจนหมดฟองอากาศ

8.ปิดล้ิน B คลาย Oil Chamber Screw Bleed Screw กวด Screw Pump

จนนำ้ มนั ไฮดรอลิกสท์ ไี่ หลออกมาหมดฟองอากาศ กวด Chamber Bleed

Screw คลาย Screw Pumpจนสุด

9.กำหนดจุดที่จะทำการสอบเทยี บ เพ่ิมข้ึนคร้งั ละ 10% ถงึ 20% หรอื ตามสเกล

หลักหรอื ตามจุดทีเ่ กจวดั กำลงั ดนั ใช้งาน
10.นำ Dead Weight กำลังดันสูงสุดของเกจวัดกำลังดันมาสวมท่ี Piston

Head

- ๒๘ -

11.ทำการอนุ่ เครือ่ งวดั เกจวัดกำลงั ดันโดยจ่ายกำลังดนั ไปท่ีค่าสงู สดุ ของเกจวดั
กำลงั ดัน รออย่างน้อย 30 วินาที สังเกตว่ามกี ารรวั่ ในระบบหรือไม่ ถ้ารว่ั ใน
ระบบจะเห็นจากกำลงั ดันที่เกจลดลงและแอลกอฮอลร์ ั่วซึมบริเวณ ข้อต่อ
เกลียวกับเกจถา้ พบการรวั่ ซมึ ให้ทำการแกไ้ ข เช่นกวดเกลียวใหแ้ น่นจากนัน้ ลด
กำลังดนั ลงจนหมด รออกี อยา่ งนอ้ ย 30 วินาที ทำการอุน่ เคร่ือง 2 รอบ ลด
กำลังดันลงจนหมดนำ Dead Weight ออกจาก Piston Head

ข้นั ตอน ระยะเวลาตาม รายละเอียดงานตามขนั้ ตอน หน่วยรับผดิ ชอบ
๕ มาตรฐานงาน
การสอบเทยี บ แผนกทดสอบ
๖ ๑ ช.ม.
(คดิ เป็น ๕๐%) 1.จ่ายกำลังดนั ไปที่จุดสอบเทยี บจุดแรกท่ีกำหนดไว้ในใบบันทึกผล รออยา่ งนอ้ ย เครอ่ื งวัดฯ

๑๐ นาที. 30 วนิ าที เคาะเบาๆ ท่ตี วั เกจ บันทกึ คา่ Dead Weight และค่าทีเ่ กจวัดกำลงั ดัน
(คิดเปน็ ๖๐%)
ถ้าเกจวัดกำลังดันมีย่านการวัดเกินกว่า 2,000 lb/in2 ต้องทำการเปลี่ยนล้ินเมื่อ

กำลังดันถึง 2,000 lb/in2 โดยปิดลิ้น A เปิดลนิ้ B ในลักษณะเดียวกันเม่ือกำลังดันต่ำ

กวา่ 2,000 lb/in2 ต้องเปลีย่ นลน้ิ โดยปดิ ลิ้น B เปิดลิ้น A

2.ทำการสอบเทยี บจดุ ต่อไปโดยไมต่ อ้ งลดกำลงั ดนั ลง

3.หลงั จากจา่ ยกำลงั ดันไปท่ีคา่ มากที่สดุ ของเกจวดั กำลงั ดันรอ 30 วินาที อ่านค่า

จากเกจวดั กำลังดันแลว้ บันทึกผล จากนั้นใหร้ ออีกอย่างนอ้ ย 5 นาที บันทึกค่าท่ี

อา่ นไดจ้ ากเกจวัดกำลงั ดันอีกครัง้ เป็นคา่ ขาลง

4.ลดกำลังดันไปท่ีจุดสอบเทียบจุดต่อไปในช่วงขาลง รออย่างน้อย 30 วินาที

ก่อนอ่านค่าและบนั ทึกผล

5.สอบเทียบจดุ ตอ่ ไปจนกระทงั่ ถงึ จุดสุดท้ายให้ลดกำลงั ดนั ลงจนหมด

6.รออย่างน้อย 2 นาที จึงเริ่มทำการสอบเทียบซ้ำโดยใช้วิธกี ารเดียวกันทำท้ังหมด3

รอบ

คำนวณความคลาดเคล่อื นและหาคา่ เฉลี่ย แผนกทดสอบ

ทำการคำนวณความคลาดเคลื่อนและหาคา่ เฉลย่ี ทไ่ี ดจ้ ากการวดั ทง้ั หมดแล้วสรุป เครื่องวดั ฯ

ความคลาดเคล่อื นของเคร่ืองวัดรอบทีน่ ำปรับเทียบ

๗ ๓๐ นาที บนั ทึกผลการสอบเทียบ บันทกึ ผลรายละเอยี ดตา่ งๆอตั ราผิดของเคร่อื งมอื ใน แผนกทดสอบ

(คดิ เปน็ ๗๐%) การเทียบแตล่ ะคร้งั ลงในแบบฟอรม์ บันทกึ ผลการสอบเทียบ เครื่องวดั ฯ

โดยมรี ายละเอยี ดของแบบฟอรม์ เชน่ ผลการสอบเทยี บ หมายเลข งอ.

ตราอกั ษรลงชื่อบริษทั ผู้ผลติ ยา่ นการวดั เครื่องมอื ท่ใี ช้ในการตรวจสอบ

คร้ังท่ีจำนวนรอบงาน ค่ากำหนดการวัด(ย่านการวัด) คา่ ทวี่ ดั ได้ อตั ราผิด

ลงช่ือเจา้ หน้าที่ตรวจสอบไวเ้ ป็นหลักฐาน

๘ ๓๐ นาที. ติดสต๊ิกเกอรว์ นั หมดอายุ/ชำรดุ หลงั จากสอบเทยี บเสรจ็ แลว้ นำเกจวดั กำลังดนั ที่ แผนกทดสอบ

(คิดเป็น ๘๐%) ใช้ ทำความสะอาดแล้วเชด็ ใหแ้ หง้ ตดิ สติ๊กเกอร์บอกวันปรับมาตรฐานและวันหมดอายุ เครอ่ื งวดั ฯ

ไวท้ ่ตี วั เครอื่ งมือสอบเทยี บ

๙ ๓๐ นาท.ี ออกใบรับรอง การออกใบรับรองในกรณีเจ้าของเคร่ืองมือวดั รอ้ งขอมาหน่วย แผนกทดสอบ

(คิดเปน็ ๙๐%) ของเคร่อื งมือจำต้องทำเรือ่ งผ่านตามสายงานในการออกใบรบั รองผลการสอบ เคร่ืองวัดฯ

เทยี บจะใช้แบบฟอรม์ ที่กำหนดไว้ โดยผู้มีอำนาจในการออกใบรบั รองผลการ

สอบเทยี บได้แก่ จก.กพช.อร.และ ผอ.กคภ.กพช.อร.

- ๒๙ -

๑๐ ๑ ช.ม. รายงานผลการสอบเทียบ การรายงานผลการสอบเทยี บเป็นการรายงานการ แผนกทดสอบ

(คิดเปน็ ๑๐๐%) ชำรุดและการขาดการสอบเทยี บเครอ่ื งมอื วดั เคร่ืองวัดฯ

๑.ในกรณีเคร่ืองมือชำรดุ แผนกทดสอบเครื่องวดั จำตอ้ งทำบันทกึ ฯแจ้งหน่วย

เจ้าของเครอ่ื งมอื โดยตรง เพ่ือใหเ้ จา้ ของเครอ่ื งมอื ดำเนินการตามขั้นตอนการ

จัดหาทดแทนตอ่ ไป

๒.กรณเี ครอ่ื งมือวัดขาดการสอบเทียบใหท้ ำบนั ทึกฯแบบฟอรม์ รายการเครอ่ื งมือ

วดั ทข่ี าดการสอบเทียบแจง้ เจา้ ของเครื่องมอื โดยตรงเพือ่ ใหส้ ่งเครือ่ งมือวดั มา

สอบเทยี บในรอบงานตอ่ ไป

๓.บันทกึ สถติ เิ ครอ่ื งมอื ทนี่ ำมาสอบเทยี บในแตล่ ะรอบงานในบอรด์ ห้องสอบ

เทียบ

๑๑ ส้ินสุด

ผลการดำเนินการ
การสอบเทียบเครื่องวัดทางกล ทำให้การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่หน่วยซ่อมบำรุง อร. และ
หน่วยในสายวิทยาการ อร. รวมท้ังหน่วยท่ีเกย่ี วข้อง ทราบขัน้ ตอนการปฏิบัติที่ชดั เจน การทำงานเปน็ ระบบ
เคร่ืองวัดต่างๆ ได้รับการสอบเทียบเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน และตามระเบียบท่ีกำหนดไว้ ใช้เป็นคู่มือ
และแนวทางการปฏิบัติงานการสอบเทียบของหน่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นมาตรฐานเดียวกัน บรรลุ
เป้าหมายตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ ตลอดจนสนองนโยบายของผู้บังคับบัญชาในการบริหารจัดการกำลังพล
ของหน่วยได้เป็นอย่างดี
บทเรยี นท่ไี ดร้ ับ
ผลจากการจัดทำแผนผังขั้นตอนกระบวนงาน (Work Flow) และข้ันตอนการปฏิบัติงาน
การสอบเทียบเวอร์เนียคาลปิ เปอร์ การสอบเทียบไมโครมเิ ตอร์ การสอบเทียบไดแอลอินดิเคเตอร์ การสอบเทียบ
เครอ่ื งวัดรอบ การสอบเทียบประแจวัดแรงบิด และการสอบเทยี บเกจวัดกำลังดัน ทำให้การปฏบิ ัติงานของหนว่ ย
ต่างๆ เป็นไปดว้ ยความเรียบรอ้ ย เป็นมาตรฐานเดยี วกัน อีกท้ังยังสามารถทำให้กำลังพลของหน่วยซ่อมบำรุง อร.
และหน่วยในสายวิทยาการ อร. มอี งค์ความรู้ในการสอบเทยี บเคร่อื งวัด ซ่งึ จะเป็นประโยชน์ตอ่ กระบวนการซอ่ ม/
สร้างเรือของ อร. เกิดการประสานงานของหน่วยต่างๆ สอดคล้องกับนโยบาย วิสัยทัศน์ ภารกิจ และเป้าหมาย
ของ อร. และ ทร.
ปัจจยั ความสำเร็จ
หน่วยซ่อมบารุงของ อร. และหน่วยซ่อมบารุงเรือในสายวิทยาการ อร. เห็นความสำคัญของ
กระบวนการสอบเทียบเคร่ืองวัดทางกล เพ่ือตอบสนองต่อภารกิจของ อร. ในการซ่อม/สร้างเรือ อีกท้ังผู้บริหาร
หน่วยสนับสนุนใหเ้ กดิ การจัดทำคู่มือ และจัดเก็บข้อมลู เครือ่ งวัดต่างๆ เพื่อเป็นฐานข้อมูล ตลอดจนเป็นคู่มือและ
แนวทางในการสอบเทียบของหน่วยต่างๆ อีกท้ังเป็นการประสานงานของเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงานของแต่ละหน่วย
ไดม้ กี ารแลกเปล่ียนความรู้ รวมท้ังปญั หาอปุ สรรคข้อขดั ข้องเกี่ยวกบั การซ่อมบำรุง
เอกสารทเี่ ก่ียวข้อง
๑. การสอบเทียบเวอร์เนยี รค์ าลิปเปอร์

- กคภ. ง0101 สมุดลงทะเบยี น, มาตรฐาน JIS B 7507 : 1993 VERNIER
๒. การสอบเทยี บไมโครมิเตอร์

- ๓๐ -

- กคภ. ง0101 สมดุ ลงทะเบียน, มาตรฐาน JIS Mechanical Instrumentation 1998,
๓. การสอบเทยี บไดแอลอนิ ดิเคเตอร์

- กคภ. ง0101 สมุดลงทะเบียน, ระเบยี บ อร. ว่าดว้ ยการปรบั เทยี บมาตรฐานและการควบคมุ
เครือ่ งวัดทางกล พ.ศ.๒๕๑๖

๔. การสอบเทยี บเครื่องวดั รอบ
- กคภ. ง0101 สมุดลงทะเบียน, คูม่ ือเครื่อง JAQUET Type 70

๕. การสอบเทยี บประแจวัดแรงบิด
- กคภ. ง0101 สมดุ ลงทะเบยี น, ระเบียบ อร. ว่าดว้ ยการปรบั เทียบมาตรฐานและการควบคมุ

เครอื่ งวดั ทางกล พ.ศ.๒๕๑๖, คู่มือการใช้เคร่ืองประแจวัดแรงบดิ BETA
๖. การสอบเทียบเกจวดั แรงดัน
- กคภ. ง0101 สมดุ ลงทะเบียน, ระเบียบ อร. วา่ ด้วยการปรับเทียบมาตรฐานและการควบคุม

เครอ่ื งวัดทางกล พ.ศ.๒๕๑๖, คมู่ ือเคร่ืองสอบเทียบเกจวัดกำลงั ดนั ตราอักษร Budenberg , คู่มือการสอบเทยี บ
เคร่ืองมือวัดอตุ สาหกรรม , มาตรฐาน DKD-R- 6-1

การเผยแพร่/การได้รบั การยอมรับ และรางวลั ทไ่ี ด้รับ
๑. แผนผังขั้นตอนกระบวนงาน (Work Flow) และขั้นตอนการสอบเทียบเคร่ืองวัดทางกล ได้
กำหนดให้หน่วยซ่อมบำรุง อร. และหน่วยซ่อมบำรุงในสายวิทยาการ อร. ใช้เป็นคู่มือและแนวทางในการ
ปฏบิ ตั ิงานสอบเทียบเครอ่ื งวดั ของหน่วยต่างๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง
๒. เคร่ืองวัดทางกล มีมาตรฐานทางการวัดตามมติต่างๆ จากการตรวจสอบ ปรับแต่ง ทดลอง
เป็นที่น่าเช่ือถือของหน่วยงานต่างๆ เพ่ิมมากขึ้นในแต่ละขั้นตอนการปฏิบัติเพื่อความถูกต้องและสมบูรณ์
จากการสอบเทียบเครอื่ งวดั
๓. หน่วยซ่อมบำรุง อร. และหน่วยซ่อมบำรุงในสายวิทยาการ อร. เห็นความสำคัญการสอบ
เทยี บเครื่องวัด โดยนำส่งเครอ่ื งวัดทางกลเพ่อื การสอบเทยี บมาตรฐาน ตามกำหนดวงรอบแผนการตรวจสอบ
ประจำปี ของแผนกทดสอบเครือ่ งวดั กคภ.กพช.อร. อยา่ งตอ่ เนือ่ ง
๔. กคภ.กพช.อร. เป็นศูนย์กลางการสอบเทียบของหน่วยซ่อมบำรุง อร. และหน่วยซ่อมบำรุง
ในสายวิทยาการ อร. เพ่ือสนับสนุนการควบคุมคุณภาพในการซ่อมและสร้างเรือ ให้มีประสิทธิภาพ และ
ประสิทธิผลสูงสดุ

หนังสือบันทึกฯ แจง้ ใหห้ น่วยซอ่ มบำรุงต่างๆ ส่งเครือ่ งวัดทางกล เพื่อการสอบเทียบตามห้วงเวลา

- ๓๑ -

การตรวจรับเครื่องวดั จากหน่วยซ่อมบำรงุ ตา่ งๆ
การตรวจซ่อม ปรับแต่ง สอบเทยี บเครอ่ื งวัด

- ๓๒ -

การสอบเทียบเครอ่ื งวดั ทางกลตามมาตรฐาน เพื่อควบคุมคณุ ภาพการซ่อม/สร้างเรือ
โดย กคภ.กพช.อร.


Click to View FlipBook Version