The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือคำแนะนำมมาตรฐานโลจิสติกส์ฉบับย่อ(แท่นรองรับสินค้า)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by runn0248, 2022-07-14 01:21:06

คู่มือคำแนะนำมมาตรฐานโลจิสติกส์ฉบับย่อ(แท่นรองรับสินค้า)

คู่มือคำแนะนำมมาตรฐานโลจิสติกส์ฉบับย่อ(แท่นรองรับสินค้า)

Keywords: คู่มือคำแนะนำมมาตรฐานโลจิสติกส์ฉบับย่อ(แท่นรองรับสินค้า)

คู่มือแนะนำ� มาตรฐานโลจิสตกิ สฉ์ บบั ยอ่ : พาเลทหรอื แทน่ รองรับสนิ คา้

จำ� นวน 44 หนา้
จดั ท�ำโดย :
ส�ำนกั โลจิสติกส์
กรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมอื งแร่
กระทรวงอตุ สาหกรรม
ถนนพระรามท่ี 6 เขตราชเทวี กรงุ เทพฯ 10400
โทรศพั ท์ 0 2202 3618 โทรสาร 0 2644 4355
รว่ มกบั
สภาอตุ สาหกรรมแห่งประเทศไทย
60 ถนนรัชดาภเิ ษกตดั ใหม่ เขตคลองเตย กรงุ เทพฯ 10110
โทรศัพท์ 0 2345 1000 โทรสาร 0 2345 1296-9

พิมพ์ครัง้ ที่ 1 จำ� นวน 1,000 เล่ม
มกราคม 2554

พมิ พท์ ี่ : โรงพิมพ์ดอกเบยี้
ออกแบบกราฟฟิก : จารุวรรณ ศักดมิ์ ังกร





ค�ำน�ำ


แท่นรองรบั สินค้า หรอื พาเลท (Pallet) จดั เป็นอปุ กรณ์ท่มี ีความส�ำคญั ตอ่
กระบวนงานโลจสิ ตกิ สด์ า้ นการเคลอื่ นยา้ ย จดั เกบ็ และล�ำเลยี งขนสง่ สนิ คา้ การเลอื ก
ใช้พาเลทให้เหมาะสมต่อการใช้งาน จึงจ�ำเป็นต้องพิจารณาในประเด็นต่างๆ เช่น
ชนิดของวัสดุและขนาดของพาเลท ความสามารถในการรองรับน�้ำหนักสินค้า
ขนาดบรรจุภัณฑ์ท่ีจัดวาง ลักษณะของการจัดเก็บและขนส่งสินค้า ฯลฯ เพื่อให้
การลำ� เลยี งและขนสง่ สนิ คา้ เปน็ ไปอยา่ งรวดเรว็ รกั ษาคณุ ภาพ และปอ้ งกนั การเสยี หาย
ของสินค้า ซึ่งส่งผลต่อการลดต้นทุนการผลิตและต้นทุนโลจิสติกส์ได้ นอกจากน้ี
ขอ้ กำ� หนดหรอื กฎระเบยี บดา้ นมาตรฐานพาเลทของแตล่ ะประเทศ กเ็ ปน็ ประเดน็ ทตี่ อ้ ง
น�ำมาพิจารณาในการเลือกใช้พาเลทให้ถูกต้องโดยไม่เป็นอุปสรรคต่อการขนส่งและ
ส่งออกสนิ คา้
ด้วยเหตุนี้ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่โดยส�ำนักโลจิสติกส์
ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีพันธกิจด้านการพัฒนาส่งเสริมระบบโลจิสติกส์ของ
ภาคอุตสาหกรรม จึงได้ร่วมมือกับสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ด�ำเนินการ
รวบรวมขอ้ มลู เนอื้ หาทส่ี ำ� คญั เกย่ี วกบั มาตรฐานพาเลทและจดั พมิ พ์ คมู่ อื แนะนำ� มาตรฐาน
ด้านโลจิสติกสฉ์ บบั ยอ่ : แท่นรองรบั รบั สนิ คา้ หรอื พาเลท ขึ้น โดยมวี ัตถุประสงค์
เพ่ือให้ผู้ประกอบการสามารถใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจเลือกใช้อุปกรณ์ประเภท
แท่นรองรับสินค้าหรือพาเลทได้อย่างเหมาะสมกับงาน ช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพ
การล�ำเลียงขนส่งสินค้า และใช้เป็นมาตรฐานอ้างอิงในการด�ำเนินกิจกรรมด้านการ
ล�ำเลียงและขนส่งสินค้าทั้งภายในและภายนอกประเทศ โดยเน้ือหาของคู่มือฉบับนี้
ประกอบด้วย ข้อมูลมาตรฐานขนาดพาเลทของประเทศไทยและสากล วัสดุที่ใช้ใน
การผลิต ประเภทและชนิดของพาเลท มาตรฐานการดูแลรักษา รวมทั้งได้เพ่ิมเติม
เรอ่ื งกระสอบพลาสติกสานท่ีมคี วามนา่ สนใจเข้ามาดว้ ย
คณะผู้จัดท�ำหวังว่าคู่มือฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ประกอบการใน
การตัดสินใจเลือกใช้อุปกรณ์โลจิสติกส์ประเภทแท่นรองรับสินค้าได้อย่างเหมาะสม
ชว่ ยเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการลำ� เลยี งขนสง่ สนิ คา้ และพฒั นาขดี ความสามารถดา้ นโลจสิ ตกิ ส์
ของประเทศตอ่ ไป
สำ� นกั โลจสิ ติกส์
ผู้จัดทำ�

สารบญั

หนา้
1
แท่นรองรับสนิ คา้ หรือพาเลท (Pallet) 3
1. ชนิดของพาเลท 4
2. วัสดุที่น�ำมาใชท้ ำ� พาเลท 8
3. มาตรฐานขนาดของพาเลท 9
4. มาตรฐานพาเลทที่ท�ำจากไม้ 22
5. มาตรฐานพาเลทท่ีทำ� จากวสั ดุอ่ืนๆ

เพม่ิ เติม

กระสอบพลาสตกิ สาน (Woven Plastic Bag) 34
1. บทนยิ าม ประเภท และส่วนประกอบหลกั 35
ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม
2. การแบ่งประเภทของกระสอบพลาสติกสาน 36
3. คณุ ลักษณะของกระสอบพลาสติกสานท่เี หมาะสม 37
ตามมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์อุตสาหกรรม
4. ถุงกระสอบพลาสติกสานส�ำหรบั งานหนัก 38
(Jumbo Bag)

คมู่ อื แนะน�ำมาตรฐานพาเลท 1
หรอื แทน่ รองรบั สินค้า

แท่นรองรับสินค้าหรือพาเลท (Pallet)


แท่นรองรับสินค้าหรือพาเลทเป็นอุปกรณ์ท่ีใช้กันอย่างแพร่หลายใน
อตุ สาหกรรมตา่ งๆ แทบทุกประเทศ โดย พาเลท ในแตล่ ะประเทศก็มคี วามแตกตา่ ง
กนั ทงั้ ขนาด ชนดิ และวสั ดุทน่ี �ำมาใช้ท�ำพาเลท ข้นึ อยู่กบั ลกั ษณะงานวา่ จะเหมาะสม
กับพาเลทประเภทใด แต่โดยทั่วไปแลว้ พาเลท น้นั ๆ จะต้องสามารถรับนำ�้ หนกั ของ
สินค้าได้อยา่ งนอ้ ย 1 ตนั
ซึ่งในการขนส่งสินค้าบนพาเลทขนาดต่างๆกัน ก่อให้เกิดการวางสินค้าในตู้
Container ทต่ี า่ งกนั ออกไป โดยตู้ Container ขนาด 20 ฟตุ จะมคี วามกวา้ ง 235 ซม.
ความยาวตู้ 586 ซม. และความสูงอยทู่ ่ี 231 ซม. ดังรูป

2 คู่มือแนะนำ� มาตรฐานพาเลท
หรอื แท่นรองรับสินค้า

ในประเทศท่ีใช้พาเลทที่มีความกว้างและยาวเท่ากัน เช่น ญี่ปุ่น และ
ออสเตรเลีย สามารถใช้วิธีวางสินค้าแบบ Column ได้เลย ซึ่งพาเลทดังกล่าว
นอกจากจะจัดวางข้ึนตู้ Container ได้ง่ายแล้ว การใช้งานปกติยังท�ำได้ง่ายอีกด้วย
เน่ืองจากระยะความกว้างและความยาวที่เท่ากัน ท�ำให้รถยกสามารถเข้าได้ท้ัง
4 ด้าน
ในขณะท่ีพาเลททีม่ ีความกวา้ งและยาวไม่เท่ากัน เช่น ในยโุ รปและอเมริกา
นน้ั การเรยี งสนิ คา้ จะต้องท�ำแบบ Interlock เนอ่ื งจากความกว้างของตู้ Container
ไม่พอส�ำหรับการเรียงแบบ Column แต่ข้อดีของการเรียงแบบ Interlock น้ันจะ
ทำ� ใหก้ ารขนสง่ มคี วามปลอดภยั มากขนึ้ เนอื่ งจากตวั สนิ คา้ จะไขวก้ นั ทำ� ใหก้ ารโคน่ ลม้
ของสนิ คา้ เป็นไปไดย้ าก

คู่มอื แนะนำ� มาตรฐานพาเลท 3
หรือแท่นรองรับสนิ ค้า

1. ชนดิ ของพาเลท (Type of Pallet)
สามารถแบ่งไดอ้ อกเปน็ 2 ชนิด คอื

1.1 พาเลทใช้งานหน้าเดียว (Stringer Pallet)

มี 2 แบบ คอื
1. แบบใต้ท้องโล่ง รูปร่างคล้ายตัว E คว�่ำ มีขารองตามมุมและ
แนวกลางเท่านน้ั
2. แบบทม่ี ีแผน่ พ้นื ยึดระหว่างเสา โดยมชี อ่ งวา่ งใหร้ ถ Pallet Truck
สามารถหยั่งล้อเข้าตกั พาเลทได้

1.2 พาเลทใช้งานสองหนา้ (Block Pallet)

4 คมู่ อื แนะนำ� มาตรฐานพาเลท
หรือแท่นรองรบั สนิ ค้า

พาเลทประเภทนี้มีความแข็งแรงมากกว่าพาเลทใช้งานหน้าเดียว อีกทั้ง
ยงั มีชอ่ งว่างถงึ 4 ด้านดว้ ยกนั ทำ� ให้ง่ายตอ่ การใชง้ าน

2. วสั ดุท่นี �ำมาใชท้ ำ� พาเลท
2.1 พาเลทไม้

ไม้เป็นวัสดุแรกท่ีน�ำมาใช้ท�ำพาเลทเพราะเป็นวัสดุที่หาง่าย
แข็งแรง ราคาไม่แพง ใช้เวลาในการผลิตรวดเร็วและสามารถน�ำกลับมาใช้ใหม่ได้
แต่พาเลทไม้จะมีปัญหาเรื่องเชื้อรา ปัญหาเร่ืองเสี้ยนไม้ที่ก่อให้เกิดความเสียหาย
ต่อสินค้า ส�ำหรับประเทศไทยพาเลทไม้ที่จะส่งออกต่างประเทศ จะต้องผ่าน
มาตรฐาน ISPM15

ภาพแสดงพาเลทไม้
(ISPM15 คือ ข้อก�ำหนดเรือ่ งการควบคมุ วัสดุบรรจภุ ณั ฑไ์ มเ้ พ่ือการสง่ ออก
และการคา้ ระหวา่ งประเทศ)

ค่มู อื แนะนำ� มาตรฐานพาเลท 5
หรอื แทน่ รองรบั สนิ คา้

2.2 พาเลทพลาสติก

พลาสตกิ ชนดิ ทนี่ ำ� มาใชท้ ำ� พาเลท สว่ นใหญจ่ ะไดแ้ ก่ HDPE, PP, PVC
ซงึ่ มรี าคาแพงกวา่ พาเลทไมอ้ ยปู่ ระมาณ 3-6 เทา่ ตอ่ นำ้� หนกั 1 ปอนด์ คณุ สมบตั ทิ ด่ี ี
ของพาเลทพลาสติกจะมีน�้ำหนักเบา วัสดทุ นี่ �ำมาท�ำพาเลทพลาสติกจะไมม่ กี ารอับชนื้
หรอื เกดิ เช้อื ราจากการเปยี กน้ำ� จงึ เก็บรกั ษาไดง้ ่ายและมอี ายุยาวนาน

ภาพแสดงพาเลทพลาสตกิ

6 ค่มู อื แนะน�ำมาตรฐานพาเลท
หรอื แทน่ รองรับสนิ ค้า

2.3 พาเลทกระดาษ

กระดาษท่ีใช้ท�ำพาเลท ส่วนใหญ่จะเป็นกระดาษลูกฟูก 5 ช้ัน เป็น
แผ่นกระดาษลูกฟูกซ่ึงมีกระดาษผิวเรียบและกระดาษผิวกล่อง จ�ำนวน 3 แผ่น
คั่นด้วยกระดาษลอนลูกฟูก ซ่ึงกระดาษประเภทน้ีจะให้ความแข็งแรงกว่ากระดาษ
ชนิดอื่น พาเลทกระดาษเหมาะสำ� หรบั ใชร้ องสินคา้ ท่ไี มม่ ีน้�ำหนกั มาก และปราศจาก
ความชื้น ข้อเสียของพาเลทกระดาษคือเป็นพาเลทแบบใช้คร้ังเดียว หมายถึง ใช้
ส่งสินค้าแค่ขาไปคร้ังเดียวเท่านั้น แต่ด้วยความท่ีมีน�้ำหนักเบากว่าพาเลทไม้และ
พาเลทพลาสตกิ ทำ� ให้เหมาะต่อการขนส่งทางอากาศ

ภาพแสดงพาเลทกระดาษ

คูม่ ือแนะนำ� มาตรฐานพาเลท 7
หรือแทน่ รองรบั สนิ คา้

2.4 พาเลทโฟม

พาเลทโฟมผลิตจาก โฟมพลาสติก Polystyrene ซง่ึ มีคุณสมบตั ิที่เบา
แต่แข็งและมีความยืดหยุ่น สามารถกันน้�ำและท�ำความสะอาดได้ง่าย อีกท้ังยังไม่มี
ปัญหาเร่ืองแมลงและเช้ือราอีกด้วย ซึ่งความแข็งแรงของโฟม PS น้ันจะข้ึนอยู่กับ
ความหนาแน่นของการฉีดขึ้นรูป ด้วยคุณสมบัติพิเศษของโฟมดังกล่าว ท�ำให้โฟม
PS เป็นวัสดุท่ีเหมาะอย่างย่ิงส�ำหรับการน�ำมาผลิตเป็นพาเลท เพราะมีความได้
เปรียบทั้งเร่ืองของความสะอาด ความยืดหยุ่นที่ไม่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อสินค้า
ท่ีบรรจุ และน�้ำหนักที่เบากว่าพาเลทไม้และพลาสติกถึง 50% ท�ำให้เหมาะส�ำหรับ
การขนสง่ สินค้าทางอากาศเพราะผใู้ ชส้ ามารถประหยัดคา่ ขนส่งไดม้ าก

ภาพแสดงพาเลทโฟม

8 คมู่ ือแนะนำ� มาตรฐานพาเลท
หรอื แทน่ รองรับสนิ ค้า

ตารางเปรียบเทยี บคณุ สมบัตขิ องพาเลทแตล่ ะชนิด

ชนดิ ปัญหา ปัญหา กันน้�ำ ทนไฟ น�ำ้ หนัก น�้ำหนัก ราคา
เรื่องแมลง เรื่องเชือ้ รา ของพาเลท บรรทุก (บาท)

ไม้ มี มี ได้ ไมไ่ ด้ 20 กก. 2 ตัน 150-400

พลาสติก ไม่มี ไมม่ ี ได้ ได้ 20-30 กก. 2 ตนั 400-1000

กระดาษ มี มี ได้ ไมไ่ ด้ 8 กก. 1 ตนั 250

โฟม ไมม่ ี ไมม่ ี ได้ ไม่ได้ 6 กก. 2 ตนั 600

3. มาตรฐานขนาดของพาเลท (Pallet Size)

พาเลทถูกสร้างข้ึนมาเพ่ือลดความเสียหายของสินค้าจากแรงสั่นสะเทือน
แรงกระแทก ซ่ึงอาจก่อให้เกิดความเสียหายกับสินค้าในขณะจัดเก็บ การล�ำเลียง
การขนส่งสินค้าเพ่ือลดต้นทุนทั้งในเร่ืองของเวลาและค่าใช้จ่าย อีกทั้งต้องสามารถ
ใช้งานไดก้ บั ทุกประเทศทวั่ โลก โดยมขี นาดทส่ี อดคลอ้ งกับอปุ กรณ์ตา่ งๆ ที่ใช้ร่วมกนั
ในการขนส่ง เช่น รถยก (Forklift, Hand Pallet) ชนั้ วางในคลังสนิ ค้า (Racking)
รถตคู้ อนเทนเนอร์ เปน็ ตน้ ทม่ี าของแตล่ ะขนาดถกู กำ� หนดจากการใชง้ านของประเทศ
ที่เป็นผู้น�ำทางด้านอุตสาหกรรมหลักของโลก มีขนาดมาตรฐานที่ใช้กันมากท่ีสุด
ซง่ึ กำ� หนด โดย ISO (International Standards Organization) อยู่ 3 ขนาดดงั นี้
3.1 ขนาด 800 x 1,200 x 150 mm. หรอื ยโู รพาเลท (EURO Pallet)
หรือ “E Pallet” เป็นขนาดที่ใช้กันมากท่ีสุดในทวีปยุโรปและได้รับการรับรองจาก
European Pallet Association เกยี่ วกบั การกำ� หนดมาตรฐานโครงสรา้ ง
3.2 ขนาด 1,100 x 1,100 x 150 mm. หรือ Japan Pallet ประเทศ
ญปี่ นุ่ เปน็ ผกู้ ำ� หนดขนาดนขี้ น้ึ มาใชเ้ ปน็ ประเทศแรก และไดแ้ พรห่ ลายในประเทศเพอ่ื น
บา้ น เชน่ เกาหลี จนี เวียดนาม เป็นตน้ แทน่ รองรับสินคา้ ขนาดนเ้ี ปน็ ท่ีนิยมใช้มาก
ท่สี ุดสำ� หรับการขนส่งสินค้าท่มี ีภาชนะบรรจุเปน็ ถงั 200 ลิตร

คู่มอื แนะนำ� มาตรฐานพาเลท 9
หรือแทน่ รองรบั สนิ ค้า

3.3 ขนาด 1,000 x 1,200 x 150 mm. หรอื Standard Pallet เปน็
ขนาดมาตรฐานที่ใช้กันมากท่ีสุดในประเทศไทยและทั่วโลก มีต้นก�ำเนิดที่ประเทศ
สหรัฐอเมริกา และแคนาดา

4. มาตรฐานพาเลทท่ที ำ� จากไม้

4.1 ประเภทของไมห้ รอื ไม้รองรับสนิ คา้

พาเลทที่ท�ำจากไม้หรือไม้รองรับสินค้าสามารถแบ่งตามประเภทของไม้
ทีน่ �ำมาใช้งานได้ 2 ประเภท ดังน้ี
= ไมเ้ นอ้ื ออ่ น (Softwoods) มลี กั ษณะโครงสรา้ งทไี่ มม่ รี พู รนุ ทผี่ วิ ไม้
(non-porouswood) ง่ายต่อการไสตบแต่งให้ได้รูปแบบตามต้องการ และมีนำ้� หนัก
เบา ไม้พวกน้ีส่วนมากข้ึนอยู่ในท่ีสูงมีอากาศเย็น ไม้เนื้ออ่อนท่ีมักนำ� มาท�ำไม้รองรับ
สินคา้ ได้แก ่ ไม้สน ไมฉ้ ำ� ฉา หรอื ไมจ้ ามจุรี
= ไม้เนื้อแขง็ (Hardwoods) มลี ักษณะโครงสรา้ งทมี่ ีรูพรุนที่ผวิ ไม้
(Porous wood) เนื้อไม้จะหยาบไม่เรียบ มีลักษณะเป็นเส้ียนและมีน้�ำหนักมาก
คนสว่ นใหญจ่ ะเรยี กวา่ “ไมเ้ บญจพรรณ” หรอื ไมท้ ไ่ี ดม้ าจากปา่ เศรษฐกจิ เชน่ ไมแ้ ดง
ไมย้ างพารา ไมม้ ะมว่ ง ไม้สะเดา เป็นตน้

เน่ืองจากไมเ้ ปน็ วัสดุท่ีหาได้ง่าย ราคาค่อนขา้ งถกู และเป็นวัสดุทนี่ �ำมา
เปน็ พาเลทมากท่สี ุด จึงไดม้ ีการก�ำหนดขนาดมาตรฐานของไมร้ องรับสินคา้ และบรรจุ
ภณั ฑ์ที่ทำ� จากไมเ้ พื่อส่งออกตาม มอก.588-2528 ไว้เปน็ บรรทัดฐานเพื่อใหล้ ดความ
แตกตา่ งและใชง้ านไดก้ บั ทกุ ประเทศ ควรใหไ้ มร้ องรบั สนิ คา้ มขี นาดพอเหมาะทจ่ี ะบรรจุ
เขา้ ในตรู้ องรบั สนิ คา้ ซงึ่ กำ� หนดโดย ISO (International Standards Organization)
โดยการใช้งานพาเลท ซ่งึ ต้องใช้เครอ่ื งมือทีม่ ีลักษณะคล้ายซอ่ ม (Fork) หรอื “งา”
ซ่งึ ออกแบบมาใหเ้ สียบเขา้ กบั ตวั พาเลทได้

10 คมู่ อื แนะน�ำมาตรฐานพาเลท
หรอื แทน่ รองรับสนิ ค้า

ไม้รองรับสินคา้ เขา้ 2 ทาง

ไม้รองรบั สินค้า เข้า 4 ทาง
ภาพแสดงทางเขา้ ของไมร้ องรับสนิ คา้ ทีใ่ ช้งานกับอุปกรณร์ ถยก

คมู่ ือแนะน�ำมาตรฐานพาเลท 11
หรอื แทน่ รองรบั สนิ คา้

ข้อควรพิจารณาในการเลอื กใช้แทน่ รองรบั สินคา้ แตล่ ะแบบ
ควรคำ� นึงถึงรายละเอียด ดงั นี้
= พาเลททีใ่ ช้งานกับอุปกรณเ์ คลื่อนยา้ ย
เชน่ รถยก (Forklift Truck) หรือรถตะเข้ (Pallet Jacks)
= พาเลทที่ใช้จัดเก็บบนชัน้ วางในคลังสนิ ค้า (Racking)
= พาเลทที่วางสินค้าได้ด้านเดียว หรือแบบทว่ี างสินคา้ ไดท้ งั้ 2 ดา้ น
= พาเลททใี่ ชง้ านในสถานทพี่ เิ ศษ เชน่ ในสถานทเี่ ปยี กชน้ื ในห้องเย็น
(Cold Storage) หรือท่ีทีม่ ีอณุ หภูมิสงู หรือห้องปลอดเชื้อ (Clean Room) เปน็ ต้น

12 ค่มู ือแนะน�ำมาตรฐานพาเลท
หรอื แทน่ รองรบั สนิ คา้

4.2 มาตรฐานขนาดของแท่นไมร้ องรับสนิ คา้ (Wood Pallet)

= ขนาด 800 x 1,200 x 150 มลิ ลเิ มตร หรอื ยโู รพาเลท (EURO
Pallet) หรือ “E Pallet” มีใช้กันมากในกลุ่มประเทศยุโรป ขนาดและโครงสร้าง
ทางมติ ิถกู กำ� หนดโดยมาตรฐาน DIN



= ขนาด 1,100 x 1,100 x 150 มิลลิเมตร หรอื Japan Pallet
ประเทศญ่ีปุ่นเป็นผู้ก�ำหนดขนาดนี้ขึ้นมาใช้เป็นประเทศแรก และได้แพร่หลายใน
ประเทศเพอื่ นบา้ น เชน่ เกาหลี จนี เวยี ดนาม เปน็ ต้น ไม้รองรบั สินคา้ ขนาดนเ้ี ป็นท่ี
นิยมใช้มากทส่ี ุดสำ� หรับการขนส่งสนิ ค้าทมี่ ภี าชนะบรรจุเป็นถัง 200 ลติ ร

คู่มอื แนะนำ� มาตรฐานพาเลท 13
หรอื แทน่ รองรับสนิ ค้า

= ขนาด 1,000 x 1,200 x 150 มลิ ลเิ มตร หรือ Standard Pallet
เปน็ ขนาดมาตรฐานทีใ่ ช้กันมากที่สุดในประเทศไทยและท่ัวโลก

4.3 ข้อกำ� หนด มอก.588-2528

ขอ้ กำ� หนดไม้รองรบั สินค้า (Standard For Wooden Flat Pallets)
มอก.588-2528 ของสำ� นกั งานมาตรฐานผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม กระทรวงอตุ สาหกรรม
ตามประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาฉบบั พเิ ศษ เลม่ 102 ตอนที่ 190 วนั ที่ 13 ธนั วาคม
พ.ศ. 2528 ดงั มรี ายละเอียดต่อไปน้ี

: ขอบข่าย
มาตรฐานนกี้ ำ� หนดแบบและสญั ลกั ษณ์ ขนาดระบุ และมติ ิ คณุ ลกั ษณะ
ที่ต้องการ เครื่องหมายและฉลาก ไม้รองรับสินค้าที่ท�ำจากไม้เพ่ือการใช้งานใน
อุตสาหกรรมสนิ คา้ อุปโภคบรโิ ภค

: บทนิยาม
ไมร้ องรบั สนิ คา้ หมายถงึ อปุ กรณท์ ใ่ี ชส้ �ำหรบั รองรบั สนิ คา้ เพอ่ื รวบรวม
เกบ็ ขนถา่ ย ขนยา้ ย วัสดแุ ละผลิตภัณฑต์ ่างๆ ทีส่ ่วนตา่ งๆ ดังนี้
1. แผ่นไมค้ รา่ ว 4. รอยบาก
2. หมอนไม้ 5. แผ่นไม้ปดิ ทบั
3. ชอ่ งสำ� หรับเครือ่ งยก

14 คู่มอื แนะน�ำมาตรฐานพาเลท
หรือแท่นรองรับสนิ คา้

ภาพแสดงสว่ นต่างๆ ของไมร้ องรบั สินคา้

คูม่ อื แนะน�ำมาตรฐานพาเลท 15
หรือแทน่ รองรบั สนิ ค้า

4.4. ชนิดของพาเลทหรอื ไมร้ องรบั สนิ ค้า (Pallet Types)

เนื่องจากพาเลทได้มีการออกแบบให้มีความเหมาะสมกับการใช้งาน
ซง่ึ ตอ้ งอาศยั เครอื่ งมอื ในการเคลอื่ นยา้ ยประเภทตา่ งๆ ดงั นน้ั จงึ ตอ้ งออกแบบไมพ้ าเลท
ให้เหมาะสมกับการใชง้ าน

ลักษณะของไมร้ องรับสนิ คา้ (อา้ งถงึ มอก.588-2528)
รปู แบบชนิดตา่ งๆ

รูปแบบของไมร้ องรับสินคา้ ลกั ษณะการใชง้ าน

1) 2-WAY SINGLE-FACED PALLET - มีแผ่นไมป้ ิดทับเฉพาะด้านบน
ดา้ นเดียว
- มที ศิ ทางใชง้ านดว้ ยอปุ กรณย์ กยา้ ย
2 ดา้ นคอื ดา้ นตรงข้าม


2) 2-WAY DOUBLE-FACED PALLET - มีแผน่ ไม้ปิดทับด้านบนและ
ด้านลา่ งแต่ใช้งานดา้ นเดียว
- มที ศิ ทางใชง้ านดว้ ยอปุ กรณย์ กยา้ ย
2 ด้านคอื ด้านตรงขา้ ม

16 คูม่ อื แนะน�ำมาตรฐานพาเลท
หรือแทน่ รองรับสินค้า

3) 2-WAY, REVERSIBLE FLUSH PALLET - มแี ผน่ ไม้ปิดทบั ดา้ นบนและ

ดา้ นลา่ งแตใ่ ชง้ านสองด้าน
- มที ศิ ทางใชง้ านดว้ ยอปุ กรณย์ กยา้ ย
2 ด้านคือ ดา้ นตรงขา้ ม

4) 4-WAY SINGLE-FACED PALLET - มแี ผน่ ไมป้ ิดทับเฉพาะดา้ นบน
ดา้ นเดยี ว
- มที ศิ ทางใชง้ านดว้ ยอปุ กรณย์ กยา้ ย
4 ดา้ น


5) 4-WAY DOUBLE-FACED PALLET - มีแผ่นไม้ปิดทบั ดา้ นบนและ
ดา้ นลา่ งแตใ่ ช้งานดา้ นเดียว
- มที ศิ ทางใชง้ านดว้ ยอปุ กรณย์ กยา้ ย
4 ด้าน

ค่มู อื แนะน�ำมาตรฐานพาเลท 17
หรือแท่นรองรบั สินค้า

6) 4-WAY, REVERSIBLE FLUSH PALLET - มแี ผ่นไม้ปิดทบั ด้านบนและ

ดา้ นลา่ งแตใ่ ชง้ านสองด้าน
- มที ศิ ทางใชง้ านดว้ ยอปุ กรณย์ กยา้ ย
4 ด้าน

7) 2-WAY SINGLE-WING PALLET - มปี ีกเฉพาะแผ่นไม้ปิดทบั ดา้ นบน
- มที ศิ ทางใชง้ านดว้ ยอปุ กรณย์ กยา้ ย
2 ดา้ นคือ ดา้ นตรงข้าม


8) 2-WAY DOUBLE-WING PALLET - มแี ผ่นไมป้ ิดทับด้านบนและ
ดา้ นลา่ งแต่ใช้งานด้านเดียว
- มที ศิ ทางใชง้ านดว้ ยอปุ กรณย์ กยา้ ย
2 ด้าน คอื ด้านตรงขา้ ม

18 คู่มอื แนะนำ� มาตรฐานพาเลท
หรือแทน่ รองรบั สินคา้

9) 2-WAY REVERSIBLE - WING PALLET
- มีแผ่นไมป้ ดิ ทบั ดา้ นบนและ
ด้านล่างแต่ใช้งานสองดา้ น
- มที ศิ ทางใชง้ านดว้ ยอปุ กรณย์ กยา้ ย
2 ดา้ น คือ ดา้ นตรงขา้ ม


ขนาดระบุและมติ ิของไมร้ องรบั สินค้า
นอกจากขนาดของความยาวและกวา้ งจะมคี วามสำ� คญั ตอ่ ไมร้ องรบั สนิ คา้ แลว้
ชอ่ งสำ� หรบั ใหเ้ ครอ่ื งยกสอดแขนเขา้ ไปกม็ คี วามสำ� คญั อยา่ งยง่ิ ถา้ ชอ่ งเลก็ ไปแขนเครอ่ื งยก
จะสอดเขา้ ไมไ่ ด้ แตถ่ า้ หากใหญไ่ ปแลว้ จะยากตอ่ การยกลอยขนึ้ จากพน้ื ทำ� ใหพ้ นื้ ทเี่ กบ็
ในคลังสินค้าลดลงอีกด้วย โดยพาเลทต้องออกแบบช่องส�ำหรับเครื่องยก ช่องเปิด
รอยบากและปีก ส�ำหรับไม้รองรับสินค้าขนาด 1,000 x 1,200 มิลลิเมตร
ประกอบด้วย
- ชอ่ งสำ� หรับเคร่ืองยกตอ้ งสูงไม่น้อยกว่า 100 +/- 3 มิลลิเมตร
- ชอ่ งเปิด ตอ้ งกว้างไมน่ อ้ ยกวา่ 180 มิลลเิ มตร
- รอยบาก ตอ้ งทำ� มมุ 45 องศา และไมท้ มี่ สี ว่ นรอยบาก ตอ้ งหนาไมน่ อ้ ยกวา่
10 มลิ ลิเมตร
- ปีกต้องยาวไม่เกิน 50 มลิ ลิเมตร

คมู่ อื แนะนำ� มาตรฐานพาเลท 19
หรอื แทน่ รองรบั สนิ คา้

4.5 มาตรฐานของไม้ซง่ึ ใช้ในการทำ� พาเลท

ไมร้ องรบั สนิ คา้ ตอ้ งมพี น้ื ผวิ ใชง้ านเรยี บ ประกอบขน้ึ ดว้ ยความเรยี บรอ้ ย
แข็งแรงตามแบบที่ก�ำหนด ไม้ที่น�ำมาใช้ต้องมีความยาวตามเสี้ยน ปราศจากต�ำหนิ
ตา่ งๆ ได้แก่ การโกง่ การบิดงอ การบิดเบี้ยว เป็นตน้ การทดสอบสามารถท�ำโดยการ
ตรวจพนิ จิ โดยต้องมมี าตรฐานเบื้องต้น ดงั น้ี
1. ความชนื้ ตอ้ งไม่เกินรอ้ ยละ 30 โดยนำ้� หนัก
2. การรับน�้ำหนัก ต้องรับน�้ำหนักได้ตามที่ก�ำหนดไว้ คือ 1,500
กิโลกรมั บนชัน้ วางสนิ ค้า Drive-in Racking
3. การรับน�้ำหนักได้อย่างปลอดภัย เพื่อให้ไม้รองรับสินค้าสามารถ
รบั นำ�้ หนกั สนิ คา้ ไดอ้ ยา่ งปลอดภยั ควรพจิ ารณาสว่ นประกอบตา่ งๆ ของไมร้ องรบั สนิ คา้
ดังน้ี
= แผ่นไม้ปิดทับด้านบนซ่ึงเป็นส่วนที่วางสินค้า ควรพิจารณาตาม
รูปแบบและชนิดของสินค้าให้มีความสัมพันธ์กับความกว้างและระยะห่างของแผ่นไม้
ข้อควรพิจารณาในการเลือกใช้แผ่นไม้ ได้แก่ ความหนา คุณภาพ และชนิดของ
แผ่นไม้ ซึ่งจะให้ความแขง็ แกรง่ ทแี่ ตกต่างกนั
= แผ่นไม้ปิดด้านล่างต้องใช้ไม้มีความแข็งแรง เน่ืองจากมีจ�ำนวน
น้อยกวา่ แผ่นไม้ปิดทับดา้ นบน ปกติจะใชไ้ มท้ ่มี ีความหนา 28 mm.
= แผ่นไม้คร่าวต้องมีคุณสมบัติในการยึดตะปูได้ดี เน่ืองจากจะต้อง
วางแผน่ ไม้ปิดทับบนไม้ครา่ วน้แี ลว้ ยดึ ด้วยตะปู
= ความแข็งแรงของแผน่ ไม้มีความสัมพันธ์กบั พน้ื ทห่ี นา้ ตดั การเพ่มิ
ความหนาของไมจ้ ะรับนำ�้ หนักได้ดีกว่าเพ่ิมความกว้างของไม้
= ไมห้ มอนควรมีความหนาแน่นสูงและยึดตะปไู ด้ดี
= วสั ดุท่ีใชย้ ึดส่วนมากใช้ตะปูทีต่ ดิ วงแหวน เกลยี วบิด และเกลยี ว
เส้น จะมีความแข็งแรงเพียงพอและควรให้ปลายตะปูลึกลงไปในแผ่นไม้ชิ้นล่าง
ไม่น้อยกว่า 30 mm. อาจใช้ตะปูผิวเรียบตอกระหว่างแผ่นไม้ปิดทับและไม้คร่าว
ให้โผลอ่ อกไป 5 mm. แลว้ หักทับ

20 คูม่ ือแนะนำ� มาตรฐานพาเลท
หรอื แทน่ รองรบั สินคา้

4. ความตา้ นแรงกระทำ� ตา่ งๆ ตอ้ งมคี วามตา้ นแรงกระทำ� ตา่ งๆ ทน่ี ำ้� หนกั
1,500 กโิ ลกรมั ตามทก่ี �ำหนดไว้ ดงั นี้

รายการ คณุ ลักษณะ เกณฑ์ วิธีทดสอบ
ที่ ทกี่ �ำ หนด ตาม

1 ความตา้ น อัตราการโก่งตวั 2.5 JIS Z 0602
แรงคดั โค้ง ร้อยละไม่เกิน

2 ความต้าน อตั ราโก่งตัวตกค้าง 0.5 JIS Z 0602
แรงกด (residual deflection)

3 ความตา้ น อัตราการเปล่ยี นแปลง 1.5 + JIS Z 0602
การตก ของความยาวเส้นทแยงมุม
กระแทก ร้อยละไมเ่ กิน

5. เครอ่ื งหมายและฉลาก ไมร้ องรบั สนิ คา้ ทกุ ชนิ้ อยา่ งนอ้ ยตอ้ งมเี ลข อกั ษร
หรอื เครอื่ งหมายแจ้งรายละเอยี ดตอ่ ไปนใ้ี หเ้ หน็ ได้งา่ ย ชดั เจน และลบเลอื นไดย้ าก
เดอื นและปที ผี่ ลิต
ชอื่ ผผู้ ลติ หรือโรงงานที่ผลติ หรือเครอ่ื งหมายการคา้
ในกรณที ใี่ ชภ้ าษาตา่ งประเทศ ตอ้ งมคี วามหมายตรงกบั ภาษาไทยทกี่ �ำหนดไว้
ข้างต้น

คูม่ อื แนะนำ� มาตรฐานพาเลท 21
หรอื แทน่ รองรับสินค้า

4.6 การอดั น�ำ้ ยาปอ้ งกันปลวก มอด และแมลงทำ� ลายเนื้อไม้

ในกรณีท่ีใช้วัตถุดิบจากยางพารา หรือไม้เน้ืออ่อน จ�ำเป็นต้องผ่าน
กรรมวิธีอัดน้�ำยาไม้ด้วยระบบสูญญากาศ ร่วมกับแรงดัน (Vacuum/pressure
Impregation) ตามขน้ั ตอน ดังต่อไปนี้
= นำ� ไมม้ าเรยี งในคอกกนั้ (Timber Carrying Bogies) แลว้ บรรจไุ ม้
เข้าถังอัดและล็อคฝาถงั ให้แน่น
= สูบอากาศออก เพื่อท�ำสูญญากาศระยะแรก (Initial Vacuum
Period) ด้วย
= ปลอ่ ยน�้ำยาเข้าถงั ใหเ้ ตม็ (Flooding Cylinder Period)
= อดั นำ�้ ยาเขา้ ถงั ดว้ ย Pressure Pump ภายใตแ้ รงดนั 200 ปอนด/์
ตารางนิว้ (Pressure Period 200 psi)
= ปล่อยน�้ำยาออกสูถ่ ังเกบ็ นำ�้ ยา (Emptying Cylinder)
= การท�ำสญู ญากาศครั้งสุดท้าย (Final Vacuum Period)
= เปิดฝาถงั เพอื่ นำ� ไม้ไปใช้งานตอ่ ไป
หมายเหตุ : น�้ำยาเคมีท่ีใช้เป็นชนิดละลายน้�ำ Copper-Chrome
Arsenate (CCA)

4.7 มาตรฐานการประกอบไมร้ องรับสินค้า

1. ตะปูท่ีใช้ควรมีความยาว 3.5 เท่า ของความหนาแผ่นไม้ปิดทับ
ด้านพ้ืนผิวใช้งานและมีความยาวไม่น้อยกว่า 65 มิลลิเมตร โดยทั่วไปต�ำแหน่งที่
ตอกตะปูเปน็ ไปตามรปู

22 คู่มอื แนะนำ� มาตรฐานพาเลท
หรือแท่นรองรบั สนิ คา้

ส�ำหรบั ไมร้ องรับสินคา้ แบบ 2 ทาง ส�ำหรบั ไม้รองรับสินคา้ แบบ 4 ทาง

ภาพแสดงต�ำแหน่งที่ตอกตะปใู นการประกอบไม้รองรับสินคา้
2. การตอกตะปูไม่ต้องประกบกันแนบสนิท ต้องตอกหัวตะปูให้จมลง
ไปในเนอ้ื ไม้โดยเฉพาะดา้ นพน้ื ผวิ ใช้งานประมาณ 1 มลิ ลเิ มตร ระยะห่างระหวา่ งตะปู
กบั ขอนแผน่ ไมป้ ดิ ทบั ดา้ นพนื้ ผวิ ใชง้ านประมาณ 5 เทา่ ของเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางตะปู และ
ระยะระหวา่ งตะปแู ต่ละตวั ประมาณ 10 เทา่ ของเส้นผา่ นศูนยก์ ลางตะปทู ่ีใช้ในการท�ำ
ไมร้ องรบั สนิ คา้ แบบ 4 ทาง การประกอบแผน่ ไมป้ ดิ ทบั ดา้ นพน้ื ผวิ ใชง้ านกบั แผน่ ไมค้ รา่ ว
เข้าด้วยกันให้พับส่วนของตะปูท่ีโผล่พ้นผิวจากทางด้านล่างของแผ่นไม้ปิดทับด้านพ้ืนผิว
ใช้งาน

5. มาตรฐานพาเลททที่ �ำจากวสั ดอุ น่ื ๆ

เนื่องจากไม้ที่ใช้ในการท�ำพาเลทในปัจจุบันค่อนข้างหายากและราคาแพง
รวมท้ังแนวคิดเกี่ยวกับการอนุรักษ์ธรรมชาติในหลายประเทศ มีข้อกีดกันเก่ียวกับ
พาเลทไม้ อนั เป็นผลจากมาตรฐานปอ้ งกนั แมลงและของแปลกปลอม ท�ำให้ปจั จบุ นั
กระแสการตอบรบั การใชแ้ ท่นรองรับสนิ ค้าซึ่งท�ำจากวัสดอุ ื่นๆ ซงึ่ ไม่ใชไ่ ม้ก�ำลังได้รับ
ความนยิ ม จำ� เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งเขา้ ใจถงึ ประเภทตา่ งๆ ของวสั ดทุ ใี่ ชใ้ นการทำ� แทน่ รองรบั สนิ คา้
โดยมรี ายละเอียด ดังตอ่ ไปนี้

คู่มอื แนะน�ำมาตรฐานพาเลท 23
หรอื แท่นรองรบั สินคา้

5.1 พาเลทพลาสติก (Plastic Pallet)

พาเลทพลาสตกิ เปน็ พาเลททถ่ี กู ออกแบบและผลติ มาเพอื่ ใชส้ ำ� หรบั งาน
ที่มีความพิเศษเฉพาะทาง ท่ีต้องการควบคุมเร่ืองความสะอาด เร่ืองการใช้งานแบบ
หมุนเวียน และความทนทานตอ่ กรดและดา่ ง
วัตถดุ ิบทนี่ ำ� มาผลิตพาเลทพลาสตกิ ส่วนใหญ่มอี ยู่ 2 ชนดิ ได้แก่
= พลาสติก HDPE (High Density Polyethylene) สว่ นใหญน่ �ำ
มาผลติ สำ� หรบั ใชเ้ ปน็ พาเลทหมนุ เวยี น มคี วามแขง็ แรง สามารถใชว้ างบนชนั้ วางสนิ คา้
ในคลังสินค้าได้และมีน้�ำหนักมาก แต่ละรุ่นมีน�้ำหนักพาเลทเฉล่ียประมาณ 25-40
กิโลกรัมตอ่ หน่ึงตวั รบั น�้ำหนักสนิ ค้าขณะขนยา้ ยไดต้ ้งั แต่ 1,500-2,000 กิโลกรัม

ภาพแสดงพาเลททำ� จากพลาสติก HDPE
= พลาสติก PP (Polypropylene) มักจะน�ำมาทำ� เป็นแท่นรองรบั
สินค้าทใ่ี ช้เพ่ือส่งออกหรอื ใช้งานครง้ั เดยี ว มโี ครงสร้างทโี่ ปรง่ น้�ำหนักเบา น้ำ� หนัก
แท่นรองรับสินค้าเฉล่ียไม่เกนิ 25 กิโลกรมั ตอ่ หนึง่ ตวั รบั นำ้� หนักสินคา้ ขณะขนย้ายได้
ตงั้ แต่ 1,000-1,500 กิโลกรมั

ภาพแสดงพาเลททำ� จากพลาสตกิ PP

24 คู่มอื แนะน�ำมาตรฐานพาเลท
หรอื แทน่ รองรับสินค้า

= คุณสมบตั ิของพาเลทพลาสตกิ
ก. ถูกสุขอนามัย ท�ำความสะอาดได้ง่าย ไม่เก็บความสกปรก
สามารถใช้งานขณะฝนตกได้โดยไม่ซึมซับน�้ำ สอดรับกับ
มาตรฐาน GMP และ HACCP
ข. ไมม่ ีปัญหาเรื่องปลวก มอด แมลง
ค. ปลอดสนิม เสยี้ น ตะปู
ง. ทนตอ่ สารเคมี กรด ด่าง และแสงอลุ ตร้าไวโอเลต
จ. ทนตอ่ อณุ หภมู ทิ รี่ อ้ นจดั และเยน็ จดั ได้ ตง้ั แต่ -30 องศาเซลเซยี ส
ถงึ 110 องศาเซลเซยี ส
ฉ. มีมาตรฐานทอี่ า้ งอิงได้ตามมาตรฐาน DIN ของยโุ รป และ
JIS ของญ่ีปนุ่
ช. มีปุ่มยางกันสินค้าล่ืนไถลขณะขนย้ายหรือยกสินค้า และ
มีปุม่ ยางในช่องเสยี บงาเพอื่ กนั แทน่ รองรับสนิ คา้ ลนื่
ซ. สามารถน�ำกลบั มาแปรใช้ใหม่ (Recycle)
ฌ. เหมาะสำ� หรบั ใชเ้ ปน็ แทน่ รองรบั สนิ คา้ สง่ ออก ตามขอ้ กำ� หนด
ISPM 15
ญ. มีความแข็งแรงทนทานและมีอายุการใช้งานยาวนานกว่า
พาเลทท่ัวไป

ขนาดท่ัวไปของพาเลทพลาสติก
เนอ่ื งจากพาเลทพลาสตกิ ผลติ จากเทคโนโลยกี ารขนึ้ รปู ดว้ ยแมพ่ มิ พ์ ทอี่ อกแบบ
ใหม้ ีช้นิ เดยี วไร้รอยต่อ จงึ ทำ� ใหพ้ าเลททกุ ตัวในรุน่ เดยี วกนั มีขนาดเทา่ กันตามแม่พมิ พ์
โดยทว่ั ไปพาเลทพลาสตกิ จะมคี วามสงู เฉลย่ี อยทู่ ่ี 150-180 มลิ ลเิ มตร มขี นาดทใี่ ชง้ าน
อยทู่ ั่วไป ตามความกว้างและยาว คอื
= 1,000 x 1,000 มลิ ลิเมตร
= 1,100 x 1,100 มิลลิเมตร
= 1,000 x 1,200 มลิ ลิเมตร
= 1,200 x 1,200 มลิ ลิเมตร

คูม่ ือแนะนำ� มาตรฐานพาเลท 25
หรือแทน่ รองรบั สนิ คา้

5.2 พาเลทกระดาษ (Paper Pallet)

การใชพ้ าเลทมคี วามสำ� คญั เปน็ อยา่ งยงิ่ ในระบบการขนถา่ ยหนว่ ยใหญ่ พาเลท
ท่ีใช้กันโดยท่ัวไปจะท�ำจากไม้เพื่อความแข็งแรง แต่เน่ืองจากพาเลทไม้มีน�้ำหนักมาก
ทำ� ใหค้ า่ ใชจ้ า่ ยในการขนสง่ มรี าคาคอ่ นขา้ งสงู โดยเฉพาะสนิ คา้ ทจี่ ำ� เปน็ ตอ้ งขนสง่ ทาง
อากาศ เนอื่ งจากตอ้ งจา่ ยคา่ น�้ำหนกั ของพาเลทรวมไปดว้ ย และในปจั จบุ นั ทกุ ประเทศ
ทั่วโลกมีข้อก�ำหนดเร่ืองการควบคุมวัสดุบรรจุภัณฑ์ไม้เพ่ือการส่งออกและการค้า
ระหว่างประเทศ หรอื ISPM 15 จึงมกี ารน�ำกระดาษมาเป็นวัสดใุ นการทำ� พาเลท
เพื่อทดแทนข้อจ�ำกัดจากไม้ อีกทั้งยังสามารถออกแบบได้ตามความต้องการ และที่
ส�ำคัญไม่ก่อปัญหาให้กับส่ิงแวดล้อม เนื่องจากย่อยสลายหรือหมุนเวียนกลับเข้า
กระบวนการผลติ ใหมไ่ ดง้ า่ ย พาเลทกระดาษสว่ นใหญจ่ ะใชใ้ นการขนสง่ เพยี งครงั้ เดยี ว
(one-way)
การใชพ้ าเลทกระดาษใชม้ ากกบั ธรุ กจิ สง่ ออก โดยเฉพาะการขนสง่ สนิ คา้
ทางอากาศ เพราะเมื่อพิจารณาถึงค่าขนส่งสินค้าแล้วเปรียบเทียบระหว่างการใช้
พาเลทกระดาษและไม้รองรับสินค้า น้�ำหนักของพาเลทกระดาษหนึ่งตัวจะน้อยกว่า
นำ�้ หนกั ของไมร้ องรบั สนิ คา้ ประมาณ 15 กโิ ลกรมั ทำ� ใหค้ า่ ใชจ้ า่ ยการขนสง่ ทางอากาศ
ท่ีคิดอัตราตามน้�ำหนักรวมเป็นกิโลกรัมถูกกว่าการใช้ไม้รองรับสินค้าหรือพาเลทท่ีท�ำ
จากวสั ดุอื่นๆ
วตั ถดุ ิบในการผลติ
ส่วนประกอบหลักของพาเลทกระดาษมีวัสดุหลักอยู่ 2 ประเภท คือ
กระดาษและกาว
= กระดาษ
กระดาษที่นำ� มาทำ� พาเลท ได้แก่ กระดาษคราฟท์ทผ่ี ลติ จากเยื่อบรสิ ุทธิ์
(Virgin Pulp) และเยอ่ื กระดาษทใี่ ชแ้ ลว้ (Recycled Pulp) ความแขง็ แรงของกระดาษ
จะข้ึนอยู่กับชนิดของไม้ท่ีน�ำมาท�ำเยื่อกระดาษ ขึ้นอยู่กับปริมาณส่วนผสมระหว่าง
เย่อื ใหมแ่ ละเย่อื เก่า และขนึ้ อยู่กับขั้นตอนเทคนคิ ทางการผลิตเป็นอันดับสุดทา้ ย

26 คูม่ ือแนะนำ� มาตรฐานพาเลท
หรือแทน่ รองรบั สนิ ค้า

= กาว (Glue)
การประกอบพาเลทกระดาษ จ�ำเป็นที่จะต้องใช้กาวเป็นตัวเช่ือมติด
ระหว่างกระดาษ คณุ สมบตั ิของกาวท่ีใชจ้ ะใกล้เคยี งกนั ทใ่ี ช้สว่ นมากคือ
ก. กาวลาเทกซ์ (Latex Glue) ชนดิ พิเศษทมี่ คี ุณสมบัตแิ หง้ เรว็
ต้องไม่เกบ็ ความชนื้ และไมแ่ ปรสภาพเมอ่ื สภาวะความช้นื เปล่ยี นแปลง
ข. กาวรอ้ น (Hot Melt Glue) เปน็ กาวพลาสตกิ แหง้ เรว็ ทำ� ละลาย
ด้วยความรอ้ น หรือแอลกอฮอล์ไมซ่ มึ เข้าเนือ้ กระดาษ และไมแ่ ปรสภาพในสภาวะท่ี
ความช้ืนเปล่ียนแปลง

พาเลทกระดาษ รูปแบบและโครงสร้างหลักๆ ในการใช้งานกับสินค้าท่ัวไป
ก็จะไมแ่ ตกต่างจากไมร้ องรับสนิ ค้า แตเ่ น่อื งจากกระดาษสามารถน�ำมาตดั ปะ พับ
และตดิ กาวได้ง่ายกว่า จงึ ไมม่ ขี ้อกำ� หนดส�ำหรบั รูปแบบที่ชดั เจน


2 way

4 way

ภาพแสดงลักษณะรปู แบบพาเลทกระดาษ ตามลกั ษณะการใช้งาน

คู่มือแนะน�ำมาตรฐานพาเลท 27
หรือแท่นรองรบั สินคา้

5.3 พาเลทโลหะ (Steel Pallet)

การนำ� โลหะมาทำ� เปน็ พาเลท มกี ารใชง้ านในเบอ้ื งตน้ ดว้ ยขอ้ กำ� หนดจาก
สภาพการทำ� งานเปน็ หลกั มกั จะเปน็ พาเลททท่ี ำ� ขน้ึ เพอ่ื ใชห้ มนุ เวยี นรองรบั สนิ คา้ ทอี่ ยู่
ในระหว่างการผลิตหรือการประกอบ เช่น ชิ้นส่วน หรือส่วนประกอบต่างๆ ของ
เครือ่ งยนต์ เคร่ืองจักร ส่วนโครงสร้างและขนาดจะไม่มีข้อกำ� หนดทีช่ ัดเจน ผูใ้ ช้มัก
เป็นผกู้ �ำหนดและสัง่ ท�ำรปู แบบตามความเหมาะสมในการท�ำงานมากกว่า
แต่หลังจากท่ีมีข้อก�ำหนดภาคสมัครใจเร่ืองการใช้ไม้เพื่อการส่งออก
หมายเลข 5 (ISPM 15) ขึน้ มา ทำ� ใหผ้ ูส้ ง่ สินคา้ ออกหลายรายเลือกทจี่ ะใช้พาเลท
ท่ีท�ำจากวัสดุอืน่ ๆ เพือ่ ทดแทนไม้รองรบั สนิ คา้ ที่ใช้อยู่
วสั ดุโลหะท่นี �ำมาทำ� พาเลท แบง่ ไดห้ ลักๆ อยู่ 3 กลุ่ม คอื
= พาเลททีท่ �ำจากเหล็ก (Steel Pallet) หลังจากประกอบเรยี บรอ้ ย
แล้ว จ�ำเป็นต้องชุบสังกะสี (Galvanisation) หรือพ่นสีเคลือบทุกคร้ัง เพ่ือ
ความสวยงาม ป้องกันการเกิดสนิม เป็นผลท�ำให้พาเลทมีอายุการใช้งานนานขึ้น
ไม่ท�ำให้สินค้าเสียหาย หรือเป็นอันตราย พาเลทชนิดนี้มีใช้มากที่สุดเน่ืองจากมี
นำ้� หนักเบาและราคาถูก
= พาเลททท่ี ำ� จากอะลมู เิ นยี ม ขอ้ ดขี องพาเลททที่ ำ� จากอะลมู เิ นยี มก็
คอื น�้ำหนักเบา ไมเ่ ปน็ สนมิ แตค่ วามแข็งแรงจะน้อยที่สดุ การประกอบสามารถน�ำ
อะลูมิเนียมแบบเส้นมาตัด แล้วพับให้ได้ตามขนาดที่ต้องการและเชื่อมติดกันโดยใช้
การเช่ือมหรือหมุดยำ้� (Revet)
= พาเลทท่ีท�ำจากสเตนเลส เป็นพาเลทพิเศษที่ใช้งานหมุนเวียน
เฉพาะในแผนกเท่านั้น เน่ืองจากคุณสมบัติของสเตนเลสท่ีมีความเรียบล่ืน มันเงา
ลา้ งท�ำความสะอาดไดง้ า่ ย ท�ำใหไ้ ม่สะสมคราบสกปรกและความชืน้ สามารถใชใ้ นที่
ทม่ี ีอุณหภมู ถิ ึง 100 องศาเซลเซยี ส ส่วนมากมักใชส้ เตนเลสเบอร์ 304 มาทำ� พาเลท
การเชอ่ื มติดวสั ดุประเภทโลหะ แบ่งไดด้ งั น้ี
= การเชือ่ มดว้ ยแกส๊
= การเชื่อมดว้ ยไฟฟา้ วธิ นี จี้ ะทำ� ใหช้ นิ้ งานมนี ำ�้ หนักเพิม่ ข้ึน
= การเชื่อมอาร์กอน รอยเชอ่ื มจะเรยี บเสมอกนั
= การยงิ ดว้ ยหมดุ ยำ�้ (Rewet) เหมาะสำ� หรบั วสั ดอุ ะลมู เิ นยี มเทา่ นน้ั

28 คูม่ ือแนะนำ� มาตรฐานพาเลท
หรอื แทน่ รองรับสินค้า

ภาพแสดงโครงสรา้ งพาเลทจากวัสดุประเภทโลหะทมี่ ีใชง้ านอยทู่ วั่ ไป
พาเลทโลหะส่วนใหญ่จะมีชอ่ งการเข้าของอุปกรณ์ยกทงั้ 4 ดา้ น
5.4 พาเลทแบบแผ่นกระดาษรองรบั สนิ คา้ (Slip Sheet)
แผน่ รองรบั สินค้า หรอื Slip Sheet หมายถงึ วสั ดุแผน่ เรียบที่ใชส้ �ำหรับ
รองรับสินค้าเพ่ือการจัดเก็บและขนส่ง ท่ีสามารถน�ำมาใช้งานแทนพาเลทได้ เนื่องจาก
Slip Sheet มนี ำ�้ หนกั เบา ราคาไม่แพง อกี ท้งั ยังประหยดั พื้นท่ใี นการจดั เกบ็ อีกดว้ ย
Slip Sheet ผลิตจากวัสดุหลกั ๆ 2 ประเภท ได้แก่
= แผ่นกระดาษแข็ง Slip Sheet ท่ีมีคุณภาพส่วนใหญ่จะท�ำจาก
กระดาษคราฟท์ใหม่ ทีม่ เี สน้ ใยยาว (Long Fiber Virgin Grade) โดยนำ� กระดาษ
อยา่ งนอ้ ย 2 แผน่ ขนึ้ ไปมาตดิ ดว้ ยกาวชนดิ พเิ ศษจนกลายเปน็ แผน่ เดยี วกนั (Laminate)
โดยท่วั ไปจะใช้ส�ำหรับการขนส่งสนิ ค้าครั้งเดยี ว
= แผน่ พลาสติก ท�ำจาก Polyethylene หรือ PE เหมาะกับสินคา้ ท่ี
มีความเปยี กช้นื และช่วยปอ้ งกันเรื่องแบคทีเรีย ถา้ ต้องการใช้สำ� หรบั หมนุ เวียน หรอื
ใชซ้ ำ�้ หลายๆ ครั้ง สามารถเพ่มิ ความหนาได้ถงึ 1.5 มลิ ลเิ มตร

คุณลักษณะของ Slip Sheet
= ลักษณะท่วั ไป Slip Sheet ต้องมีผวิ ใชง้ านเรยี บ และไม่มีรอยฉกี
ขาดหรือต�ำหนิใดๆ อนั จะเป็นผลเสยี ต่อการใชง้ าน มคี วามสะอาดและคงรูปตามแบบ
ทกี่ ำ� หนด ผวิ ดา้ นบนสำ� หรบั วางสนิ คา้ ควรมคี วามหยาบ สว่ นดา้ นลา่ งควรเรยี บลน่ื เพอ่ื
ใหส้ ามารถจบั ดึงเวลาขนย้ายสนิ คา้ ได้สะดวก

คู่มอื แนะนำ� มาตรฐานพาเลท 29
หรือแท่นรองรบั สนิ คา้

= ลนิ้ จับ หรอื ปีก ตอ้ งมลี ้ินจับอยา่ งนอ้ ย 1 ด้านขน้ึ ไป ตามแบบใด
แบบหนง่ึ แตเ่ พือ่ ให้สะดวกและคลอ่ งตัวในการท�ำงานควรมี 2 ดา้ นขึ้นไป


Slip Sheet จำ� แนกตามลักษณะของล้ินจับ ไดเ้ ปน็ 5 ประเภทหลกั ๆ ดังนี้

30 คมู่ อื แนะน�ำมาตรฐานพาเลท
หรือแทน่ รองรบั สนิ ค้า

มาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ Slip Sheet ตาม มอก.925-2533

ส�ำหรับในประเทศไทยส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมได้ก�ำหนด
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแผ่นรองรับสินค้า (Slip Sheet) มาตรฐานเลขท่ี
มอก.925-2533 ไว้ มีรายละเอียดดงั นี้
= พ้ืนทีร่ องรบั สินคา้ (Working Area) ขนาดฐานความยาวและ
ความกว้างของแผ่นรองรับสินค้า (ไม่รวมลิ้นจับ) ควรเท่ากับขนาดของสินค้าที่รวม
หนว่ ยใหญแ่ ล้ว ส่วนใหญ่จะมีขนาดความกว้างและยาว เท่ากับขนาดมาตรฐานของ
พาเลท ทงั้ 3 ขนาดคือ

คูม่ ือแนะน�ำมาตรฐานพาเลท 31
หรือแทน่ รองรับสนิ ค้า

- ขนาด 800 x 1,200 มลิ ลเิ มตร (Euro Size)
- ขนาด 1,100 x 1,100 มลิ ลเิ มตร (Japan Size)
- ขนาด 1,000 x 1,200 มิลลิเมตร (International Size)
โดยมีเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนแต่ละดา้ นได้ไม่เกิน +/- 5 มิลลิเมตร

= ล้ินจับ (Tabs) คือ ส่วนของแผ่นรองรับสินค้า (Slip Sheet)
ที่ย่ืนออกมาจากพ้ืนท่ีรองรับสินค้าด้านข้าง ที่ด้านใดด้านหนึ่งหรือหลายด้านก็ได้
มีไว้เพ่ือใช้ในการเคล่ือนย้ายด้วยเคร่ืองมือของรถยก (Forklift Truck) ท่ีเรียกว่า
Push-Pull ความกวา้ งของล้นิ จับแตล่ ะดา้ นถกู กำ� หนดใหไ้ มน่ ้อยกวา่ 75 มลิ ลิเมตร
และไม่เกนิ 100 มลิ ลิเมตร
= ความหนา (Thickness) ของแผน่ รองรบั สนิ คา้ (Slip Sheet)
ตอ้ งไมน่ อ้ ยกวา่ 0.6 มลิ ลเิ มตร เพอ่ื ใหส้ ามารถรองรบั การทำ� งานและรบั นำ�้ หนกั สนิ คา้
ไดอ้ ย่างน้อย 1,000 กโิ ลกรมั ข้นึ ไป
= รอยพับ (Score Line) หมายถงึ รอยกดหรือรอยพับของแผ่น
รองรบั สนิ คา้ (Slip Sheet) มไี วเ้ พอ่ื เปน็ เสน้ แบง่ ระหวา่ งพนื้ ทว่ี างสนิ คา้ และพน้ื ทขี่ อง
ลนิ้ จับ ทำ� ให้เกิดความสะดวกในการจดั เรยี งสินค้าและง่ายต่อการพับ
= ความตา้ นแรงดึง (Tensile) ตอ้ งมคี วามตา้ นแรงดงึ ไม่นอ้ ยกว่า
ที่ทางสำ� นักงานมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์อุตสาหกรรมไดก้ �ำหนดไว้

ความต้านแรงดงึ (มอก.925-2533)

น้ำ�หนักท่ีรองรับได้สูงสดุ ความตา้ นแรงดงึ นิวตนั :
(กก.) มิลลเิ มตร

500 7.4
1,000 14.7
1,500 22.0
2,000 29.4

32 คู่มอื แนะนำ� มาตรฐานพาเลท
หรอื แท่นรองรบั สนิ ค้า

ลักษณะการท�ำงานของแผน่ รองรบั สนิ ค้า (Slip Sheet)
เนอ่ื งจากแผ่นกระดาษรองรบั สินค้าประเภท Slip Sheet จะไม่มชี ่องส�ำหรับ
“เสียบงา”ในการเคล่ือนย้ายขณะท่ีมีสินค้าจึงต้องใช้เครื่องมือเป็นรถยกพิเศษ
ท่ีมีลักษณะเป็นแผ่นเหล็ก (แทนงา) โดยมีตัวจับดึงกระดาษในลักษณะท่ีเรียกว่า
“Push-Pull Attachment” ใหแ้ ผน่ เหลก็ สอดเข้าไปใตก้ ระดาษ และมีไฮโดรลกิ ยกข้ึน
เพอ่ื ใช้ในการขนย้าย

ภาพแสดงอปุ กรณ์เสริมส�ำหรับรถยกชว่ ยในการขนถา่ ย ใช้งานคู่กับ Slip Sheet

คู่มอื แนะน�ำมาตรฐานพาเลท 33
หรือแท่นรองรบั สินค้า

ภาพแสดงขัน้ ตอนการท�ำงานของ Slip Sheet
กับรถยกทตี่ ิดตง้ั อปุ กรณ์เสรมิ Push Pull

34 คู่มือแนะน�ำมาตรฐานพาเลท
หรือแทน่ รองรับสินคา้

กระสอบพลาสติกสาน

(Woven Plastic Bag)

การใช้งานกระสอบซึ่งเป็นบรรจุภัณฑ์เพ่ือการขนส่งสำ�หรับผลิตภัณฑ์ของ
แหง้ เกอื บทกุ ประเภทมกี ารนำ�กระสอบพลาสตกิ สาน Polypropylene หรอื PP มาใช้
งานอยา่ งกวา้ งขวาง และเขา้ มามบี ทบาทแทนทก่ี ระสอบปอเพราะความไดเ้ ปรยี บดา้ น
การกนั ความชน้ื ด้านราคา ความทนทานต่อสารเคมี ความสะอาดปลอดภัยเนอ่ื งจาก
สามารถเกบ็ รกั ษาผลติ ภณั ฑไ์ วภ้ ายนอกอาคารได้ และมนี ้ำ�หนกั เบา แตไ่ มค่ วรใชบ้ รรจุ
ผลิตภัณฑ์ทตี่ ้องการระบายอากาศ โดยสว่ นใหญจ่ ะใชอ้ ยา่ งแพร่หลายในการบรรจุปุ๋ย
นำ้ �ตาล เมลด็ กาแฟ เมล็ดโกโก้ แปง้ และสารเคมตี า่ งๆ
โดยปกติแล้วกระสอบพลาสติกสานส่วนใหญ่จะเป็นกระสอบชั้นเดียว
แต่บางครงั้ ก็มีการผลิตกระสอบพลาสติกสาน 2 ชั้น ซึ่งวัตถุดบิ หลกั ที่ใช้ในการผลติ
คือ พอลิโพรพิลนิ (Polypropylene) และพอลเิ อทลิ ิน (Polyethylene) ชนดิ ตา่ งๆ
ซ่ึงการผลิตกระสอบพลาสติกสานพอลิโพรพิลินในปัจจุบันจะทอเป็นท่อทรงกระบอก
ทไ่ี มม่ ตี ะเขบ็ ขา้ งกอ่ นตดั ทอ่ ตามความยาวทตี่ อ้ งการแลว้ จงึ เยบ็ กน้ กระสอบ นอกจากน้ี
มกี ารใชฟ้ ลิ ม์ พอลเิ อทลิ นิ ทม่ี คี วามหนา 25-125 ไมครอน ประกอบในการใชง้ านกระสอบ
พลาสติกสานเพื่อช่วยป้องกันความช้ืน โดยทั่วไปการออกข้อกำ�หนดแถบพลาสติก
จะระบุตามเท็กชห์ รือขนาดของแถบ คือ นำ้ �หนกั เป็นกรมั ตอ่ ความยาว 1,000 เมตร
ซึ่งแต่เดิมมีการกำ�หนดตามหน่วยดีเนียร์ (Denier) หรือนำ้ �หนักเป็นกรัมต่อ
ความยาว 9,000 เมตร ในขณะที่ผืนผ้าจะบอกตามจำ�นวนของด้ายยืน (เส้น
ด้ายท่ีทอตามความยาวของเคร่ืองทอผ้า) และด้ายพุ่ง (เส้นด้ายท่ีทอตัวขวาง
เสน้ ยนื ) ตอ่ ความยาว 100 มิลลิเมตร นอกจากนอี้ าจมกี ารระบเุ ปน็ น้ำ�หนกั กรมั ตอ่
พ้ืนท่ี 1 ตารางเมตร

ค่มู อื แนะนำ� มาตรฐานพาเลท 35
หรอื แทน่ รองรบั สนิ ค้า

1. บทนยิ าม ประเภท และสว่ นประกอบหลกั ตามมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์
อตุ สาหกรรม

ตามมาตรฐานผลติ ภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม (มอก.2553/729) มขี อบขา่ ยครอบคลมุ
กระสอบพลาสติกท่ีทอจากแถบพลาสติกกลุ่มพอลิโอเลฟิน เช่น พอลิโพรพิลิน
พอลิเอทิลีน ใช้บรรจุสิ่งต่างๆ ท่ัวไปเพ่ือความสะดวกในการขนส่งและเก็บรักษา
นำ้ �หนกั บรรจไุ มเ่ กนิ 50 กโิ ลกรมั โดยมบี ทนยิ าม ประเภทและแบบ สว่ นประกอบหลกั
ตามมาตรฐานอุตสาหกรรม ดงั น้ี

บทนิยาม
ความหมายของคำ�ท่ใี ช้ในมาตรฐานผลิตภณั ฑ์อุตสาหกรรม
- กระสอบพลาสติก โดยมาตรฐานน้ีจะเรียกว่า “กระสอบ” หมายถึง
ภาชนะบรรจปุ ากเปดิ 1 ดา้ น ทำ�จากผา้ ผนื ทอพอลโิ อเลฟนิ ใชบ้ รรจสุ ง่ิ ตา่ งๆ เชน่ ปยุ๋
ดิน อาหารสตั ว์ เมด็ พลาสติก ปูนซเี มนต์ ปูนขาว อาจเคลอื บดา้ นในดว้ ยพลาสตกิ
กลุ่มเดียวกัน หรอื ไมเ่ คลือบแต่มีรองใน
- รองใน (liner) หมายถงึ ถงุ พลาสตกิ ทบี่ รรจอุ ยภู่ ายในกระสอบ ใชร้ องรบั
ส่งิ บรรจุ
- ความจุระบุ หมายถงึ ปรมิ าตรบรรจสุ ูงสดุ ของกระสอบ

ประเภทและแบบ
กระสอบ แบง่ ตามน้ำ�หนกั บรรจเุ ป็น 2 ประเภท คอื
- นำ้ �หนกั บรรจุไม่เกิน 25 กิโลกรมั
- น้ำ�หนักบรรจุเกิน 25 กิโลกรมั ถึง 50 กโิ ลกรมั
กระสอบ แต่ละประเภทแบง่ เปน็ 2 แบบ คอื
- แบบธรรมดา (Flat Sack)
- แบบขยายข้าง (Gussetted Sack)

36 คมู่ อื แนะน�ำมาตรฐานพาเลท
หรือแท่นรองรับสนิ ค้า

ขนาดและเกณฑ์ความคลาดเคล่ือน
ความกว้างด้านในและความยาวด้านในรวมส่วนขยายข้าง (กรณีแบบ
ขยายข้าง) ต้องเป็นไปตามท่ีระบุไว้ท่ีฉลาก โดยยอมให้มีเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนได้
ไม่เกนิ +/- 12 มลิ ลเิ มตร

ส่วนประกอบหลกั ตามมาตรฐานอุตสาหกรรม
1.1 วสั ดุ วสั ดทุ ใ่ี ชท้ ำ�แถบและผนื ทอ ตอ้ งทำ�ดว้ ยพลาสตกิ กลมุ่ พอลโิ อเลฟนิ
ชัน้ คณุ ภาพเหมาะตอ่ การใชง้ าน
1.2 จำ�นวนเสน้ ดา้ ยยนื และเสน้ ดา้ ยพงุ่ ตอ่ ระยะ 100 มลิ ลเิ มตร ตอ้ งเปน็ ไป
ตามทร่ี ะบุไว้ท่ีฉลาก โดยยอมใหม้ ีเกณฑค์ วามคลาดเคลือ่ นไดไ้ ม่เกิน +/- 1 เสน้
1.3 ตะเข็บก้นกระสอบ โดยแบ่งเป็นตะเข็บเดี่ยว และตะเข็บคู่
1.4 รองใน (ถ้ามี) โดยต้องมีความกว้างมากกว่าความกว้างของกระสอบ
ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 5

2. การแบง่ ประเภทของกระสอบพลาสตกิ สาน

สามารถแบง่ ประเภทของกระสอบพลาสติกสานออกเปน็ 2 ชนดิ คือ
2.1 กระสอบแบบปากเปดิ (Open Mouth Sack) โดยกระสอบแบบปากเปดิ
เป็นกระสอบท่ีมีการปิดปากเพียงหน่ึงด้านจากโรงงานผลิต และเปิดปากด้านท่ีเหลือ
ตลอดด้านเพื่อบรรจุผลิตภัณฑ์ ซึ่งสามารถบรรจุและปิดปากถุงโดยใช้คนงานหรือ
เคร่ืองจักร รูปแบบของกระสอบประเภทนี้ส่วนใหญ่มีรูปร่างแบบหมอน (Pillow
Shape) อาจจะมสี ่วนขยาย (Gusset) ท่ดี า้ นข้างหรอื ทีก่ น้ ถงุ ก็ได้ ถุงทม่ี สี ว่ นขยาย
ดา้ นขา้ งหรอื ทกี่ น้ ถงุ นเี้ มอื่ บรรจสุ นิ คา้ แลว้ จะสามารถวางบนแทน่ รองรบั สนิ คา้ (Pallet)
ได้คงตัวกว่าถุงท่ีไม่มีส่วนขยาย และยังสามารถพิมพ์ข้อความบ่งบอกชนิดของสินค้า
ตรงพืน้ ทีข่ องสว่ นขยายนัน้ ไดอ้ ีกด้วย
2.2 กระสอบแบบมลี น้ิ (Valve Sack) เปน็ กระสอบทมี่ กี ารปดิ ปากทง้ั สองดา้ น
จากโรงงานผลิต แต่มีการเปิดมุมหรือลิ้นเพียง 1 ช่องไว้เพ่ือใช้เครื่องจักรใน
การบรรจุ ซงึ่ มกั อยทู่ มี่ มุ ดา้ นหนงึ่ ของปากถงุ สำ� หรบั เปน็ ตำ� แหนง่ ทใ่ี ชบ้ รรจสุ นิ คา้ หลงั
จากบรรจุสินค้าเต็มถุงแล้วแขนนี้จะถูกพับเข้าไปในช่องใต้แขนของถุงนั้นทำ� ให้ปิดได้
แน่นหนา ถุงแบบมีลิ้นมีคุณสมบัติที่เหนือกว่าแบบเปิดด้านบนตรงท่ีเม่ือบรรจุสินค้า
แลว้ จะมีรูปทรงส่ีเหลย่ี มจัตุรสั จงึ อาจเรยี กอีกช่อื หนงึ่ ว่า ถงุ กน้ สเี่ หล่ยี ม (Square-

คู่มอื แนะน�ำมาตรฐานพาเลท 37
หรอื แท่นรองรับสนิ คา้

Bottom Sack) ซง่ึ ให้ความมัน่ คงในการวางซ้อนในระหวา่ งการขนส่งไดด้ กี วา่ หาก
จะพจิ ารณาในแงข่ องการใช้งาน ถึงแม้วา่ กระสอบแบบมีลนิ้ นีจ้ ะไดร้ ับความนยิ มน้อย
กวา่ เพราะความเร็วในการบรรจตุ �ำ่ กวา่ การใชถ้ งุ แบบเปิดด้านบนก็ตาม แต่คาดว่าจะ
มีแนวโน้มของการใช้เพ่ิมขึ้นในอนาคต เน่ืองจากสามารถใช้กับระบบการบรรจุแบบ
อัตโนมัตซิ ึ่งจะช่วยลดคา่ แรงท่ีมีแนวโนม้ เพิม่ สูงขน้ึ

3. คุณลกั ษณะของกระสอบพลาสติกสานทเี่ หมาะสม
ตามมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม

3.1 ลักษณะท่ัวไป ต้องปราศจากตำ� หนิที่อาจเป็นผลเสียต่อการใช้งาน และ
เม่อื เปดิ ปากกระสอบตอ้ งไมห่ ลดุ ลยุ่
3.2 มวลกระสอบ ต้องเป็นไปตามท่ีระบุไว้ที่ฉลาก โดยยอมให้มีเกณฑ์
ความคลาดเคล่ือนไดไ้ ม่เกนิ +/- 5 กรัม
3.3 คณุ ลักษณะทางฟสิ กิ ส์ ให้ไปตามตารางดังนี้

ตารางแสดงคณุ ลักษณะทางฟิสิกส์

รายการท่ี คุณลกั ษณะ เกณฑ์ที่กำ�หนด
ประเภทไมเ่ กิน ประเภทตงั้ แต่
1 แรงดงึ สูงสุด นวิ ตัน ไมน่ อ้ ยกวา่ 25 กโิ ลกรัม 25-50 กโิ ลกรัม
2 ความยืดเม่ือขาด ร้อยละ
730 840
20+/-5

3 แรงดงึ สงู สดุ ของตะเขบ็ กน้ กระสอบ 377
นวิ ตัน ไมน่ ้อยกว่า 50

4 ความทนแสงอัลตราไวโอเลต แรง
ดงึ สงู สดุ ลดลง รอ้ ยละ ไมเ่ กิน

3.4 ความทนการตกกระแทก เม่ือทดสอบความทนการตกกระแทกแล้ว
จะตอ้ งไม่แตก

38 คมู่ อื แนะนำ� มาตรฐานพาเลท
หรือแทน่ รองรับสนิ ค้า

กระสอบพลาสตกิ สานทีน่ ิยมใชบ้ รรจุสนิ ค้า
เพ่อื การส่งออกจะมีขนาดดงั ต่อไปน้ี

= กระสอบขนาด 50 x 900 มม. (กวา้ ง x ยาว) ทอแบบ 40 x 40, 110
เท็กซ์ (100 กรัมต่อความยาว 1,000 เมตร) และมีการบุภายในดว้ ยฟลิ ์มแผน่ รอง PE
หนา 125 ไมครอน
= กระสอบขนาด 510 x 820 มม. ทอและมกี ารใช้ฟลิ ม์ PE ความหนา
125 ไมครอนบภุ ายใน
= กระสอบที่ใช้งานเบามกั ทอแบบ 40 x 35, 100 เทก็ ซ์
= กระสอบท่ีใชง้ านหนัก จะทอแบบ 40 x 40, 120 เท็กซ์ หรือ 45 x 45,
120 เท็กซ์
= แบบการทอทยี่ ง่ิ มีรอยขัดแนน่ หนามากย่ิงช่วยลดช่องว่างและการร่ัวซมึ
ของกระสอบลงดว้ ย

4. ถุงกระสอบพลาสตกิ สานส�ำหรบั งานหนัก (Jumbo Bag)

ส�ำหรับการบรรจุสินค้าด้วยกระสอบพลาสติกสานอีกประเภทหน่ึง ซึ่งเป็น
ขนาดใหญ่ จะเป็นการบรรจสุ ินค้าทีม่ ีน�ำ้ หนกั ขนาด 500-1,000 กก. ข้ึนไป ในการ
บรรจสุ นิ คา้ นจ้ี ะใชถ้ งุ กระสอบพลาสตกิ สานขนาดใหญ่ (Jumbo Bag หรอื One Ton
Bag) ซงึ่ ไดร้ บั ความนยิ มเนอื่ งจากการจดั สง่ และจดั การบรรจภุ ณั ฑท์ ม่ี ลี กั ษณะเปน็ ของ
แห้งเป็นสิ่งท่ีมีความส�ำคัญต่อการแข่งขันทางธุรกิจมากขึ้น ดังน้ัน เพื่อเป็นการขจัด
ปญั หาในเรอ่ื งตน้ ทนุ และการจดั การสนิ คา้ ผผู้ ลติ ตา่ งๆ จงึ นยิ มใชถ้ งุ กระสอบพลาสตกิ
สานส�ำหรบั บรรจุสนิ ค้าหนัก เพราะสามารถเคล่อื นยา้ ยได้สะดวก เชน่ สามารถขน
ย้ายด้วยรถยก การขนถ่ายแต่ละคร้ังได้สินค้าคราวละจ�ำนวนมาก ง่ายต่อการก�ำจัด
ท�ำลายและมีการออกแบบส�ำหรับการใช้หมุนเวยี น

คูม่ ือแนะน�ำมาตรฐานพาเลท 39
หรือแทน่ รองรับสนิ ค้า

สว่ นประกอบของถงุ กระสอบพลาสตกิ สานส�ำ หรบั งานหนกั (Jumbo Bag)

1. ช่องบรรจุด้านบน



2. ชอ่ งถา่ ยสินค้าด้านล่าง

40 คมู่ ือแนะน�ำมาตรฐานพาเลท
หรือแท่นรองรับสนิ ค้า

3. สายคล้องแบบตา่ งๆ ของ Jumbo Bag




Click to View FlipBook Version