The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การปรับปรุง พัฒนา ระบบตรวจจับ
แจ้งเตือนเหตุไฟไหม้ในอาคาร
และควบคุมผ่านระบบ SCADA
(Fire Detection & Alarm System control by SCADA)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by runn0248, 2022-06-10 01:15:33

การปรับปรุง พัฒนา ระบบตรวจจับ แจ้งเตือนเหตุไฟไหม้ในอาคาร และควบคุมผ่านระบบ SCADA (Fire Detection & Alarm System control by SCADA)

การปรับปรุง พัฒนา ระบบตรวจจับ
แจ้งเตือนเหตุไฟไหม้ในอาคาร
และควบคุมผ่านระบบ SCADA
(Fire Detection & Alarm System control by SCADA)

Keywords: การปรับปรุง พัฒนา ระบบตรวจจับ แจ้งเตือนเหตุไฟไหม้ในอาคาร และควบคุมผ่านระบบ SCADA (Fire Detection & Alarm System control by SCADA)

แบบรายงาน
วิธปี ฏบิ ตั งิ านทเ่ี ปน็ เลิศ

(Best Practice)

การปรบั ปรุง พฒั นา ระบบตรวจจับ
แจง้ เตอื นเหตุไฟไหม้ในอาคาร
และควบคุมผ่านระบบ SCADA

(Fire Detection & Alarm System control by SCADA) 

 

 

 
 

จัดทำโดย
กองโรงงานไฟฟ้า อรู่ าชนาวมี หดิ ลอดลุ ยเดช กรมอู่ทหารเรอื

มี.ค. ๖๕ 

 

คำนำ

วิธีปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) เล่มนี้ จัดทำขึ้นมาเพื่อให้กำลังพลได้เรียนรู้จากการศึกษา
การเขยี นโปรแกรมควบคมุ PLC และระบบ SCADA นำมาประยกุ ตใ์ ช้แก้ปญั หากบั ภารกิจหรอื กบั งานซ่อมทำที่
ดำเนินการอยู่ และเน่ืองจากสภาพระบบตรวจจับและแจ้งเตือนภัยในอาคารกองโรงงานไฟฟ้าไม่มีการทดสอบ
และการซ่อมบำรุงรักษา ทำให้ปัจจุบันไม่สามารถใช้งานได้ กฟฟ.อรม.อร.จึงได้นำความรู้ทางด้านการเขียน
โปรแกรมควบคุม PLC มาพัฒนา ยกระดับความสามารถ พัฒนาระบบตรวจจับและแจ้งเตือนเหตุไฟไหม้ให้ใช้
งานได้มปี ระสิทธิภาพ มคี วามนา่ เชือ่ ถอื ทันสมัย ใช้งานงา่ ยและรวดเร็ว และสามารถนำระบบฯนี้ไปพฒั นาเพื่อ
ไปติดต้ังในเรือรบได้ รวมทั้งนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการซ่อมทำระบบควบคุม PLC ของเคร่ืองจักรตาม
โรงงานต่างๆ เช่น เคร่ืองตัดและดัดแผ่นเหล็ก หรือเครื่องจักรช่วยท่ีอยู่ในเรือรบ เช่น เครื่องผลิตน้ำจืด เคร่ือง
บำบดั นำ้ เสีย ฯลฯ

ขอขอบคุณข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานราชการในกองโรงงานไฟฟ้าทุกนาย ท่ีมีส่วนรวมในการ
จัดทำ Best Practice เล่มนี้ให้แล้วเสร็จ แสดงให้เห็นถึงความรู้ความสามารถของกองโรงงานไฟฟ้าที่พร้อมจะ
เรียนรู้ส่ิงใหม่ๆ ให้ทันสมัยกับเทคโนโลยีท่ีเปล่ียนแปลงไป และยังให้ความร่วมมือช่วยเหลืองานกันต้ังแต่ต้น
จนกระทั่งเสรจ็ สนิ้

Best Practice เล่มน้ี เป็นเพียงขั้นตอนในการการปรับปรุงและพัฒนาระบบตรวจจับและแจ้งเตือน
เหตุไฟไหม้ในอาคารกองโรงงานไฟฟ้า อู่ราชนาวีมหิดลอดุลยเดช ให้สามารถใช้งานได้มีประสิทธิภาพ สามารถ
แจ้งเตือนภัยได้จริง ซ่ึงหน่วยงานอ่ืนๆสามารถนำความรู้นี้ไปใช้เป็นเอกสารอ้างอิงหรือนำไปพัฒนาต่อยอดได้
หากมีข้อผิดพลาดประการใด คณะจัดทำขอน้อมรับความผิดพลาดน้ัน และขอความกรุณาแจ้งให้คณะจัดทำ
ทราบจะเปน็ พระคุณยง่ิ

  หนา้

สารบญั 1
3
เรอ่ื ง 4
4
1. เกรนิ่ นำ/สภาพทวั่ ไป/วัตถปุ ระสงค์/เปา้ หมาย 10
2. ลำดับขน้ั ตอนการดำเนินกิจกรรม 14
21
ขนั้ ตอนการดำเนินงาน 23
ตรวจสอบการทำงานของอุปกรณต์ รวจจับและแจง้ เตือนของระบบเดิม 23
จัดหาชุดอุปกรณ์ ชุดควบคุมใหม่ และอุปกรณอ์ ื่นๆ 24
ออกแบบระบบ และเขียนโปรแกรมควบคมุ PLC 24
3. การใชง้ านระบบตรวจจบั และแจง้ เตือนเหตไุ หม้ 25
4. ผลการดำเนนิ งาน/ประโยชน์ทีไ่ ดร้ ับ 26
5. บทเรยี นที่ได้รบั
6. ปัจจัยความสำเรจ็
7. การเผยแพร่/การยอมรบั
8. ภาคผนวก
รายชอ่ื สมาชกิ ชุมชนนักปฏิบตั ิ

 

Best Practice 2565 1 
การปรับปรุงพัฒนาระบบตรวจจบั แจง้ เตือนเหตุไฟไหม้ในอาคาร ควบคมุ ผา่ นระบบSCADA

 

แบบรายงานวธิ ปี ฏิบตั ิท่เี ปน็ เลิศ (Best Practice)

ช่ือผลงาน การปรับปรงุ พฒั นา ระบบตรวจจบั แจ้งเตอื นเหตุไฟไหม้ในอาคาร และควบคุมผา่ นระบบ SCADA
(Fire Detection & Alarm System control by SCADA)
คำสำคญั ระบบตรวจจับ, แจ้งเตอื นเหตไุ ฟไหม้, Fire Alarm, Smoke Detection, Heat Detection, PLC,
SCADA

1. เกรนิ่ นำ
กระบวนการ/วิธีการดำเนนิ งานในอดีต

ตามยุทธศาสตร์กรมอู่ทหารเรือ พ.ศ. 2559 – 2567 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาองค์กรให้มีขีด
สมรรถนะสูงและปฏบิ ตั งิ านอย่างมอื อาชพี เพื่อตอบสนองนโยบายขอ้ น้ี กฟฟ.อรม.อร.จึงมแี นวคิดในการพัฒนา
องค์ความรู้ โดยนำความรู้ทางด้านการเขียนโปรแกรมควบคุม PLC และระบบ SCADA มาพัฒนาเพื่อยกระดับ
ความสามารถ ให้กับกำลังพล สามารถนำต่อยอดพัฒนาและซ่อมทำระบบควบคุม PLC อื่นๆ ไม่ว่าจะเป็น
เครอ่ื งจักรของกรล.อรม.อร. เชน่ เครื่องตดั และดดั แผ่นเหลก็ หรือเครือ่ งจกั รชว่ ยทอ่ี ยใู่ นเรือรบ เช่น เครอื่ งผลิต
นำ้ จดื เคร่อื งบำบัดน้ำเสยี ฯลฯ

และนับตั้งแต่ปีพ.ศ.2547 อาคารของ กฟฟ.อรม.อร. ได้ถูกใช้เป็นที่ปฏิบัติงานของกำลังพล เพื่อ
ตอบสนองภารกิจหลักของ อรม.อร. เป็นอาคารขนาดใหญ่ประกอบด้วยส่วนสำนักงาน และกองโรงงาน 3
โรงงาน ซึ่งปัจจุบันมีการจัดหาเครื่องมือ เครื่องจักร พัสดุอุปกรณ์ที่มีราคาแพงเพิ่มขึ้นมาจำนวนมาก จึงจำเป็น
อย่างยิ่งที่ต้องให้ความสำคัญในการดูแลรักษา และป้องกันภัยจากอัคคีภัยที่อาจเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา ซึ่งหาก
เกิดเหตุไฟไหม้ขึ้นแล้วไม่สามารถตัดต้นเพลิงหรือสกัดกั้นความรุนแรงของเพลิงได้ อาจทำให้เกิดความเสียหาย
ทั้งงานซ่อมทำต่างๆที่อยู่บนโรงงาน เช่น มอเตอร์ เครื่องกำเนิดไฟฟ้า หม้อแปลง อุปกรณ์ไฟฟ้าในเรือ สายไฟ
ฯลฯ รวมทั้งเครือ่ งมอื เครื่องจักรต่างๆก็จะชำรุดเสียหายด้วย ส่งผลให้โรงงานส่งมอบงานซอ่ มทำได้อย่างล่าช้า
และอาจทำให้เรือตกแผนการซ่อมทำได้ สิ่งสำคัญที่จะช่วยลดความร้ายแรงจากเหตุการณ์เหล่านั้นได้ ก็คือ
ระบบตรวจจับและแจ้งเตือนเหตุไฟไหม้ที่มีประสิทธิภาพ สามารถตรวจจับได้ถูกต้องและแจ้งเตือนให้รับรู้ได้
อย่างเร็ว ทำใหด้ ำเนนิ การควบคุมเพลงิ ไม่ให้เกดิ การลกุ ลามใหญ่โต จนกระท้ังไม่สามารถควบคุมไดใ้ นท่สี ดุ

สภาพท่วั ไป
ปัจจุบันปี พ.ศ.2565 ระบบแจ้งเตือนเหตุไฟไหม้ในอาคาร กฟฟ.อรม.อร. ไม่มีการทดสอบและการ

ซ่อมบำรุงรักษามานานมาก ทำให้ปัจจุบันไม่สามารถใช้งานได้ นอกจากนี้กำลังพลกองโรงงานไฟฟ้าไม่มีองค์
ความรู้เกี่ยวกับระบบฯนี้ หากจะทำการทดสอบหรือทำให้ระบบฯ กลับมาใช้งานได้ จะต้องใช้วิธีการว่าจ้าง
ผู้เชี่ยวชาญหรือเจ้าของระบบฯจากบริษัทเอกชนมาปรับปรุงระบบฯ ซึ่งต้องใช้งบประมาณจำนวนมาก และ
ระบบฯเดิมจะเป็นระบบ Fire Alarm Control Panel โดยตู้ Control Panel จะแสดงสัญญาณขึ้นเม่ือ

กองโรงงานไฟฟ้า อู่ราชนาวีมหิดลอดุลยเดช กรมอ่ทู หารเรอื

Best Practice 2565 2 
การปรับปรุงพัฒนาระบบตรวจจับแจ้งเตือนเหตไุ ฟไหมใ้ นอาคาร ควบคมุ ผา่ นระบบSCADA

 

อุปกรณ์ตรวจจับทำงาน ซึ่งปัญหาของระบบนี้คือ เมื่ออุปกรณ์ใดส่งสัญญาณเพลิงไหม้ ตู้ Control Panel จะ
แสดงว่ามสี ญั ญาณเตือนเพลงิ ไหม้ แตไ่ มส่ ามารถระบุตำแหน่งทีเ่ กิดเหตใุ ห้ชัดเจนได้

ลกั ษณะสำคัญของวธิ ีหรอื แนวทางปฏิบัตทิ เ่ี ป็นเลศิ
จากยุทธศาสตร์กรมอู่ทหารเรือและข้อเท็จจริงต่างๆข้างต้น จึงทำให้เกิดโครงการปรับปรุงระบบ

ตรวจจับและแจ้งเตือนเหตุไฟไหม้ในอาคารกองโรงงานไฟฟ้าขึ้นมา โดยนำความรู้ทางด้านการเขียน
โปรแกรมควบคุม PLC และระบบ SCADA มาพัฒนา ยกระดับความสามารถ พัฒนาระบบตรวจจับและแจ้ง
เตือนเหตุไฟไหม้ให้สามารถใช้งานได้มีประสิทธิภาพ มีความน่าเชื่อถือ ทันสมัย ใช้งานง่ายและรวดเร็ว และยัง
สามารถนำองค์ความรู้ด้าน PLC ไปใช้ในการซ่อมทำระบบควบคุมเครื่องจักรต่างๆ และอุปกรณ์ต่างๆภายใน
เรอื รบอกี ด้วย

วัตถปุ ระสงคข์ องวิธีหรอื แนวทางปฏิบตั งิ านทเี่ ปน็ เลศิ
เพื่อใหร้ ะบบตรวจจับและแจง้ เตือนเหตไุ ฟไหมส้ ามารถใช้งานได้มปี ระสิทธิภาพ มีความนา่ เช่อื ถอื

ทันสมยั ใชง้ านง่ายและรวดเร็ว

เปา้ หมาย
ตัวชวี้ ัดเชิงปรมิ าณ
1. ระบบตรวจจับและแจง้ เตือนเหตุไฟไหม้ ต้องตรวจจับควันและความร้อนได้จรงิ สามารถใชง้ านง่าย

สะดวก รวดเร็ว ควบคุมผ่านจอ HMI และควบคุมทางไกลผ่านระบบ SCADA ได้ เมื่อเกิดเหตุไฟไหม้ จะแจ้ง
เตือนด้วยกริ่งและไฟไซเรน พร้อมกับส่งข้อความระบุตำแหน่งที่เกิดเหตุผ่านทางโปรแกรม Line Notify

2. พัฒนาองค์ความรู้ต่อกำลังพลของ กฟฟ.อรม.อร. ให้สามารถออกแบบและเขียนโปรแกรม PLC
และระบบ SCADA ให้สามารถซ่อมทำ แก้ไข ปรับปรุงระบบแจ้งเตือนเหตุไฟไหม้ ทั้ง Software และ
Hardware ได้ และสามารถถา่ ยทอดความรใู้ ห้แก่หน่วยงานอืน่

3. ประหยัดงบประมาณในการจา้ งบรษิ ทั ภายนอกมาซอ่ มทำ

กองโรงงานไฟฟา้ อรู่ าชนาวมี หิดลอดุลยเดช กรมอู่ทหารเรอื

Best Practice 2565 3 
การปรบั ปรุงพัฒนาระบบตรวจจับแจง้ เตอื นเหตุไฟไหมใ้ นอาคาร ควบคมุ ผ่านระบบSCADA

 

2. ลำดบั ข้นั ตอนการดำเนนิ กจิ กรรม Flow Chart (แผนภมู ิ)

กระบวนการดำเนนิ การ เร่ิม

ศกึ ษาระบบควบคมุ การแจง้ เตอื นอคั คภี ัยเดมิ ท่ใี ช้อยู่
ศึกษาระบบควบคมุ การแจง้ เตือนอัคคีภยั ดว้ ยระบบ PLC

ตรวจสอบการทำงานของอปุ กรณต์ รวจจบั ใชง้ านไมไ่ ด้ จดั หาชุดควบคมุ
และแจ้งเตือนของระบบฯเดิม จัดหาอปุ กรณ์
Sensor ท่ชี ำรุด
ใช้งานได้
จัดทำระบบแจ้งเตอื นอัคคีภัยดว้ ยระบบ PLC
เขียนโปรแกรมควบคุม PLC และ โปรแกรมมออกแบบหน้าจอ HMI

ทดลอง Simulation

ใช้งานไมไ่ ด้ เกิด Error Software

ใช้งานได้
Write Program PLC ควบคมุ และแสดงผลไปท่ี

ชุดทดลอง PLC

ตรวจสอบ ชุดควบคุม ใช้งานไมไ่ ด้ ทดสอบการทำงานของระบบ
PLC และ Sensor เกดิ Error ควบคุม PLC และ Sensor

ใชง้ านได้
ติดตั้งชดุ ควบคุม PLC
เปลย่ี นอุปกรณ์ Sensor

ใชง้ านไมไ่ ด้
ทดสอบการทำงานของระบบฯ
ใช้งานได้
ใช้ราชการได้

สิ้นสุด
กองโรงงานไฟฟ้า อู่ราชนาวีมหิดลอดลุ ยเดช กรมอ่ทู หารเรือ

Best Practice 2565 4 
การปรบั ปรงุ พัฒนาระบบตรวจจับแจ้งเตอื นเหตุไฟไหมใ้ นอาคาร ควบคมุ ผา่ นระบบSCADA

 

สว่ นประกอบหลกั ของระบบตรวจจบั และแจง้ เตอื นเหตุไฟไหม้

ชดุ จา่ ยไฟ (Power Supply Unit)

อปุ กรณ์ตรวจจบั อปุ กรณ์ควบคุม แสดงผล และ อุปกรณแ์ จ้งเตอื น
(Detector Device) รบั สง่ สัญญาณแจ้งเตือน (Signaling Device)
และ เร่ิมสญั ญาณ
(Initialing Device) (Control monitoring & Alarm)

ข้ันตอนการดำเนนิ งาน
1. ตรวจสอบการทำงานของอุปกรณ์ตรวจจับและแจ้งเตือนระบบเดิมของอาคาร กฟฟ.อรม.อร.

โดยใช้แบบ Electrical Work Shop Fire Alarm System Plan Ground Floor and Second Floor เพื่อ
ช่วยให้สามารถทำการเช็ครายการอุปกรณ์ทั้งหมดของอาคาร โดยอุปกรณ์ทั้งหมดนั้นประกอบด้วย

1.1 ชุดจ่ายไฟหลัก (Power Supply & Battery) และสายไฟท่ตี อ่ เข้ากับระบบทง้ั หมด ประกอบด้วย
1.1.1 UPS (Uninterruptible Power Supply) เป็นแหล่งจ่ายพลังงานต่อเนื่อง ที่สามารถทำ

การจ่ายพลังงานไฟฟ้าให้กับอุปกรณ์ในระบบได้อย่างต่อเนื่อง แม้ในเวลาที่ไฟดับหรือเกิดปัญหาทางไฟฟ้า โดย
สามารถรบั พลงั งานไฟฟ้า 220 Vac แล้วจา่ ยให้กบั โหลด

1.1.2 Switching Power Supply 24 Vdc ทำหน้าที่แปลงแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ (AC) 220
Volt เป็นแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DC) 24 Volt แล้วจ่ายให้กับอุปกรณ์ตรวจจับและอุปกรณ์ในชุด Control
ต่างๆ

1.2 อปุ กรณต์ รวจจับ (Detector Device) และ เรมิ่ สัญญาณ (Initialing Device)
1.2.1 อปุ กรณต์ รวจจบั ความรอ้ น (Heat Detector ตราอักษร Fire-Lite HD-601) ทำหน้าท่สี ่ง

อาการใหก้ ับอปุ กรณ์ควบคมุ Fault Isolator Module (ISO-X) เมอ่ื ตรวจจับความร้อนได้ที่ 57 องศาเซลเซยี ส
การตรวจสอบจะใช้ไดร์เป่าผมใหค้ วามร้อนกับตัวอปุ กรณ์

กองโรงงานไฟฟ้า อูร่ าชนาวมี หิดลอดุลยเดช กรมอ่ทู หารเรือ

Best Practice 2565 5 
การปรับปรุงพัฒนาระบบตรวจจบั แจง้ เตอื นเหตุไฟไหมใ้ นอาคาร ควบคุมผา่ นระบบSCADA

 

รูปที่ 1 รปู ภาพ Heat Detector ตราอกั ษร Fire-Lite HD-601

รูปที่ 2 รูปภาพแสดงการใชไ้ ดรเ์ ป่าผมตรวจสอบ Heat Detector
1.2.2 อุปกรณ์ตรวจจับควัน (Photoelectronic Detector ตราอักษร System Sensor รุ่น
882) ทำหน้าส่งอาการให้กับอุปกรณ์ควบคุม Interface Module เมื่อตรวจจับควันได้ จะทำการส่งสัญญาณ
เมื่อมีควันเข้าไปในห้อง Sensing Chamber และบังแสงระหว่าง Photodiode ทำให้วงจรภายในส่งสัญญาณ
ให้กบั อุปกรณ์ควบคมุ Interface Module

รปู ท่ี 3 รปู ภาพ Photoelectronic Detector ตราอกั ษร System Sensor รุน่ 882 (ซา้ ย)
และ สเปรยค์ วัน Smoke Detector Testers (ขวา)

กองโรงงานไฟฟ้า อู่ราชนาวีมหิดลอดลุ ยเดช กรมอู่ทหารเรอื

Best Practice 2565 6 
การปรบั ปรงุ พัฒนาระบบตรวจจับแจง้ เตือนเหตไุ ฟไหม้ในอาคาร ควบคุมผ่านระบบSCADA

 

การตรวจสอบอุปกรณ์ตรวจจับทั้งความร้อน Heat Detector และควัน Smoke Detector โดยการ
ป้อนไฟโดยตรง จะตอ้ งทำการต่ออุปกรณด์ ังรูปที่ 4 จากนั้นมีการตรวจสอบดงั นี้

วธิ กี ารตรวจสอบ Smoke Detector
1. จ่ายไฟเข้าตามวงจร และ On Switch
2. ใช้ Volt meter วดั แรงดนั ไฟ 24 VDC ที่ Terminal
3. ใช้ Spray Smoke test ฉีดพ่นเขา้ Smoke Detector สังเกต LED สีแดงติดสวา่ งขึ้น จากน้ัน

จึง Off Switch แสดงว่าอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน
วิธีการตรวจสอบ Heat Detector
1. จ่ายไฟเข้าตามวงจร และ On Switch
2. ใช้ Volt meter วัดแรงดนั ไฟ 24 VDC ที่ Terminal
3. ใช้ไดร์เป่าผมให้มคี วามร้อนมากกว่า 57 องศาเซลเซียส โดยเป่าเข้าใต้ Heat Detector สงั เกต

เข็มของ Volt meter อา่ นคา่ 0 volt หรอื นอ้ ยกว่า 12 volt แสดงว่า อยใู่ นสภาพพรอ้ มใชง้ าน

รปู ที่ 4 รปู ภาพแบบการตอ่ อปุ กรณ์เพ่อื ทำการตรวจสอบ

รปู ที่ 5 รูปภาพการตรวจสอบอุปกรณ์ตรวจจับ

กองโรงงานไฟฟา้ อ่รู าชนาวมี หดิ ลอดุลยเดช กรมอู่ทหารเรอื

Best Practice 2565 7 
การปรบั ปรุงพัฒนาระบบตรวจจบั แจ้งเตือนเหตไุ ฟไหมใ้ นอาคาร ควบคมุ ผา่ นระบบSCADA

 

รูปท่ี 6 รปู ภาพการทดสอบ Photoelectronic Detector โดยใช้เปรย์ควนั ทดสอบ
1.2.3 อุปกรณ์ส่งสัญญาณแจ้งเหตุด้วยการกด (Manual Push Call Point) ทำหน้าที่เป็นจัดส่ง
สัญญาณแจ้งเหตดุ ้วยการใช้มอื กด โดยผู้อยูบ่ ริเวณเกิดเหตุเพลงิ ไหม้ จะตรวจสอบโดยการใช้โอมห์ มเิ ตอร์วดั ข้ัว
Switch วา่ ตัดต่อหรือไม่

 

รูปที่ 7 รปู ภาพ Manual Push Call Point
1.2.4 End Of Line Resistor เป็นตัวต้านทานที่ต่อคร่อมไว้กับอุปกรณ์ตรวจจับตัวสุดท้ายในแต่
ละ Zone เพอ่ื รกั ษาค่ากระแสไฟฟา้ ในวงจรภายใน Zone

รปู ท่ี 8 รปู ภาพ End Of Line Resistor

กองโรงงานไฟฟ้า อู่ราชนาวมี หิดลอดุลยเดช กรมอู่ทหารเรือ

Best Practice 2565 8 
การปรับปรงุ พัฒนาระบบตรวจจบั แจง้ เตอื นเหตไุ ฟไหม้ในอาคาร ควบคุมผา่ นระบบSCADA

 

1.3. อปุ กรณ์ควบคุม แสดงผล และ รับสง่ สญั ญาณแจ้งเตอื น (Control monitoring & Alarm)
1.3.1 Interface Module ตราอักษร Notifier รุ่น FZM-1 ทำหน้าที่ควบคุมการส่ง Supply 24

Vdc ให้กับ Smoke Detector และอุปกรณ์ตรวจจับ โดยจะลดแรงดัน Supply ลง เมื่ออุปกรณ์ตรวจจับควัน
และความร้อนได้ การตรวจสอบอุปกรณ์ จ่ายกระแสไฟ 24 Vdc เข้าวงจรตรวจจับ แล้วใช้ควันและความร้อน
ป้อนที่ Sensor ตรวจจับ จากนั้นวงจร electronic จะทำงาน LED สีแดงจะสว่างขึ้น ส่งผลให้ Interface
module รบั รู้และลดแรงดันลงพร้อมกับ ISO-X รับรู้และตดั ไฟออกจากวงจรตรวจจับ

รปู ท่ี 9 รูปภาพ Interface Module ตราอักษร Notifier รุ่น FZM-1
1.3.2 Fault Isolator Module ตราอักษร Notifier รุ่น iso-x ทำหน้าที่ควบคุมการส่ง Supply
24Vdc ให้กบั Heat Detector และอปุ กรณต์ รวจจับ โดยจะหยุดจ่าย Supply เมือ่ อุปกรณต์ รวจจับความร้อน
ได้ การตรวจสอบอปุ กรณ์จะทดสอบพรอ้ มกับ Interface Module

รปู ที่ 10 รูปภาพ Fault Isolator Module ตราอกั ษร Notifier รุ่น iso-x

กองโรงงานไฟฟ้า อู่ราชนาวมี หดิ ลอดลุ ยเดช กรมอู่ทหารเรอื

Best Practice 2565 9 
การปรับปรงุ พัฒนาระบบตรวจจบั แจง้ เตือนเหตไุ ฟไหมใ้ นอาคาร ควบคุมผา่ นระบบSCADA

 

1.4 อุปกรณแ์ จ้งสญั ญาณเตอื น (Alarm Device)

อุปกรณ์แจ้งสัญญาณเตือนเป็น BELL 24 Vdc เป็น DC มอเตอร์ขับกระเดื่องลูกเบี้ยวแตะ

กระทุ้งฝาครอบโลหะของตัว Bell ทำให้เกิดเสียงดัง โดยทำหน้าที่รับสัญญาณไฟจากชุดควบคุมแล้วแจ้งเตือน

เป็นเสียงตามจุดที่ติดตั้งในแต่ละ Zone การตรวจสอบอุปกรณ์จะทำการจ่ายไฟ 24 VDC เข้ากับกริ่งแต่ละตัว

โดยตรง อุปกรณ์จะต้องทำงานส่งเสียงดัง

รปู ท่ี 11 รูปภาพกรง่ิ เตือนภยั

ในส่วนของอาคารกองโรงงานไฟฟ้า การตรวจจับและแจ้งเตือนเหตุไฟไหม้จะแบ่งเป็น 4 Zone โดยมี
รายละเอียดของอุปกรณ์ตามตารางที่ 1 ซึ่งจากการสำรวจพบว่าอุปกรณ์ส่วนใหญ่สามารถใช้งานได้ดี และมี
อุปกรณ์บางตัวที่ชำรุดเสียหาย คือ Photoelectronic smoke Detector จำนวน 10 ตัว และ Heat
Detector จำนวน 7 ตัว ในส่วนของอุปกรณ์ควบคุมไม่สามารถตรวจสอบและใช้งานได้ เพราะเป็นระบบ PLC
ของบริษัทผ้ผู ลิตฯ

ตารางท่ี 1 แสดงรายการอุปกรณ์ระบบตรวจจบั และแจ้งเตอื นเหตุไฟไหมข้ องกองโรงงานไฟฟา้ อรม.อร.

Zone ท่ี Photoelectronic smoke Heat Detector สายไฟที่ตอ่ ระหว่าง กริ่งเตอื นภยั Manual Call
Detector อุปกรณ์ Point
1 6 ใช้งานได้ 2
2 10 12 2
3 34 ใชง้ านได้ 3
4 9 43 ใชง้ านได้ 2 3
รวม 2 95 ใช้งานได้ 7 2
9 ใช้งานได้ 7
30

กองโรงงานไฟฟา้ อ่รู าชนาวีมหดิ ลอดลุ ยเดช กรมอทู่ หารเรอื

Best Practice 2565 10 
การปรบั ปรงุ พัฒนาระบบตรวจจับแจ้งเตอื นเหตไุ ฟไหมใ้ นอาคาร ควบคมุ ผา่ นระบบSCADA

 

รปู ที่ 12 รูปภาพแสดงการตรวจสอบอปุ กรณท์ ้งั หมดของระบบฯเดมิ
2. จดั หาชุดอุปกรณ์ ชดุ ควบคมุ ใหม่ และอุปกรณ์อ่นื ๆ ดงั น้ี

2.1 ชุดควบคมุ PLC
ในปัจจุบันชุดควบคุม PLC ที่นิยมใช้มีหลายตราอักษรมาก แต่ที่นิยมใช้ในเรือรบของกองทัพไทยและ
โรงงานอตุ สาหกรรม จะมีตราอักษร Siemens และ Mitsubishi
ในส่วนของตราอักษร Siemens ทางกฟฟ.อรม.อร.จะใช้รุ่น S7 – 1200 CPU 1212C ส่วนของ
Mitsubishi จะใช้รุ่น FX5U-32MR-ES ซึ่งทั้งสองรุ่นเป็น PLC ที่มีขนาดเล็ก เป็นMicro PLC ที่รวมทุก
ฮาร์ดแวร์ทกุ อย่างทีจ่ ำเปน็ ใหอ้ ยูใ่ นโมดลู เดียวกนั เดนิ สายไฟไดส้ ะดวก ตดิ ตั้งกบั ตู้ควบคมุ ไดง้ ่าย ราคาถกู และ
PLC ชุดนี้ทำหน้าที่รับ Input จากอุปกรณ์ในระบบนำไปประมวลผลตามโปรแกรม GX Work3 แล้วส่งไป
ควบคมุ อปุ กรณใ์ นระบบ และแสดงผลร่วมกบั HMI

กองโรงงานไฟฟ้า อู่ราชนาวมี หิดลอดุลยเดช กรมอทู่ หารเรอื

Best Practice 2565 11 
การปรับปรุงพัฒนาระบบตรวจจบั แจง้ เตอื นเหตไุ ฟไหมใ้ นอาคาร ควบคมุ ผา่ นระบบSCADA

 

ตารางท่ี 2 แสดงข้อมูลจำเพาะของ Siemens S7 – 1200 CPU 1212C

Series Type I/Os No.of input No.of output Power in put Output type

CPU AC / DC / Relay 14 8 6 85-264 VAC Transistor, Relay
1212C

ตารางท่ี 3 แสดงขอ้ มลู จำเพาะของ Mitsubishi FX5U

Series Type I/Os No.of input No.of output Power in put Output type

FX5U-32M 32 16 16

FX5U FX5U-64M 64 32 32 100-240 VAC Transistor, Relay
FX5U-80M 80 40 40

 

รูปท่ี 13 รปู ภาพแสดง PLC
รปู ซา้ ย ตราอกั ษร Siemens S7 – 1200 CPU 1212C

รูปขวาตราอักษร Mitsubishi FX5U-32MR-ES

2.2 จอ HMI Touch Screen For Automatic Control System ตราอักษร Samkoon SK-043HS
เป็นอุปกรณ์ที่มีหน้าจอทัชสกรีน เหมาะสำหรับงานอุตสาหกรรม สามารถต่อพ่วงเข้ากับ PLC ได้โดยตรงหลาย
ยี่ห้อ เช่น Mitsubishi, Omron, Siemens ฯลฯ โดยมีพอร์ต DB9 แบบ Multi Function สามารถ ต่อได้แบบ
RS232,RS422,RS485 พร้อมโปรแกรมการออกแบบหน้าจอ ที่ใช้งานง่าย มี Library ให้ใช้งานสามารถ
ออกแบบได้โดยง่าย รวดเรว็ และสวยงาม พร้อมฟงั กช์ นั ใชง้ าน HMI ครบครนั สามารถ Download หน้าจอที่
ออกแบบไวผ้ ่าน USB สะดวก รวดเรว็ รองรบั ภาษาไทย มีโหมด Online Simulator และ Offline Simulator
ซึ่งสามารถทดสอบการทำงานของหน้าจอที่ออกแบบไว้ก่อนจะใช้งานจริงได้ง่ายโดยไม่ต้องต่อ Hardware จริง

กองโรงงานไฟฟา้ อรู่ าชนาวีมหดิ ลอดลุ ยเดช กรมอทู่ หารเรอื

Best Practice 2565 12 
การปรบั ปรุงพัฒนาระบบตรวจจับแจ้งเตือนเหตุไฟไหมใ้ นอาคาร ควบคุมผา่ นระบบSCADA

 

และในโหมด Online Simulator สามารถเข้าถงึ PLC ได้เหมอื นกับการทำงานจริง ส่งหรือรับค่าจาก PLC เข้า
มาทดสอบก่อนในคอมพิวเตอร์ของเราก่อน โดยไม่ต้อง Download ลงหน้าจอจริง ๆ ก็ได้ ทำหน้าท่ีเป็น
อุปกรณ์สื่อสารระหว่างผู้ใช้งาน กับ PLC เป็นจอสั่งการและแสดงผลต่าง ๆ ในระบบ เป็นการทำงานร่วมกับ
PLC ในการรบั สง่ ขอ้ มูลดว้ ยระบบ Ethernet

  

รูปที่ 14 รปู ภาพแสดง จอ HMI Touch Screen For Automatic Control System
ตราอกั ษร Samkoon SK-043HS

2.3 Input Detect Relay (Relay 24v 6 Channel 10A 250V แบบ Active High/Low) ทำหน้าที่
ส่งสัญญาณ Dry Contact NO เป็น Input เข้า PLC การทำงานแบบ 0ptocoupler isolation เพื่อป้องกัน
ความเสยี หายของPLC กรณเี กิดการลัดวงจรด้าน Output

รูปท่ี 15 รูปภาพแสดง Relay 24v 6 Channel 10A 250V แบบ Active High/Low

กองโรงงานไฟฟา้ อรู่ าชนาวีมหิดลอดุลยเดช กรมอู่ทหารเรือ

Best Practice 2565 13 
การปรับปรงุ พัฒนาระบบตรวจจบั แจง้ เตือนเหตุไฟไหมใ้ นอาคาร ควบคมุ ผ่านระบบSCADA

 

2.4 Supply Relay ทำหน้าทคี่ วบคมุ การส่ง Supply 24 Vdc ไปเลี้ยงอปุ กรณต์ รวจจับภายในZone

รูปท่ี 16 รปู ภาพแสดง Supply Relay
2.5 4G Router TP-LINK (Archer MR400) Wireless AC1200 เป็น อุปกรณ์ต่อ Internet 4G เพ่ือ
ใช้ติดต่อสื่อสารระหว่าง PLC, HMI และคอมพิวเตอร์ ช่วยทำให้ควบคุมระบบฯผ่านทางเว็บไซต์ ใน
คอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์มือถือได้และสามารถส่งสัญญาณการแจ้งเตือนเหตุไฟไหมท้ างขอ้ ความแจ้งเตือนทาง
โปรแกรม Line

รูปที่ 17 รูปภาพแสดง 4G Router TP-LINK (Archer MR400) Wireless AC1200
2.6 อุปกรณ์แจ้งสัญญาณเตือนเพิ่มเติม โคมไฟไซเรนหมุน 24Vdc ทำหน้าที่รับสัญญาณไฟจากชุด
ควบคุมแลว้ แจง้ เตอื นเป็นแสงไฟสแี ดงหมุน ตามจุดท่ตี ิดตัง้ ในแตล่ ะ Zone

-++
รปู ท่ี 18 รูปภาพแสดง โคมไฟไซเรนหมุน 24Vdc

กองโรงงานไฟฟ้า อู่ราชนาวีมหิดลอดุลยเดช กรมอู่ทหารเรอื

Best Practice 2565 14 
การปรับปรุงพัฒนาระบบตรวจจับแจง้ เตอื นเหตุไฟไหมใ้ นอาคาร ควบคุมผ่านระบบSCADA

 

3. ออกแบบระบบ และเขยี นโปรแกรมควบคมุ PLC
ก่อนที่จะดำเนินการออกแบบระบบฯ จะต้องทำการศึกษาค้นคว้าทดสอบทดลองการใช้งาน

โปรแกรมควบคุม PLC โดยในบทความนี้จะเขียนโดยใช้ตราอักษร Mitsubishi FX5U PLC ซึ่งใช้โปรแกรม
Melsoft GX Work 3 ในการเขียน เป็นโปรแกรมที่ใช้งานง่ายและได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับในอุตสาหกรรม
ของ PLC สว่ นโปรแกรมท่ีจะใชส้ ำหรับในการแสดงผลและติดต่อกับผใู้ ช้งาน จะเลือกใช้ HMI Samkoon ซึ่งใช้
โปรแกรม AKWorkShop ในการเขยี น

รูปที่ 19 รูปภาพแสดงการออกแบบระบบตรวจจับและแจง้ เตอื นเหตุไฟไหม้
3.1 โปรแกรม Melsoft GX Work 3 ใช้เขียนโปรแกรมการทำงานของระบบ PLC ในลักษณะของ
Ladder Diagram ซึ่งเป็นตัวกลางในการรับข้อมูลจาก Sensor และควบคุม สั่งการ สัญญาณแจ้งเตือนภัยให้
ทำงาน โดยจะเขียนในลักษณะ sequence program เมื่อเขียนโปรแกรมเสร็จแล้วจึง Write โปรแกรม ไปยัง
Mitsubishi FX5U PLC

กองโรงงานไฟฟา้ อรู่ าชนาวีมหดิ ลอดุลยเดช กรมอทู่ หารเรอื

Best Practice 2565 15 
การปรับปรุงพัฒนาระบบตรวจจบั แจง้ เตอื นเหตไุ ฟไหม้ในอาคาร ควบคุมผา่ นระบบSCADA

 

 

รูปท่ี 20 รูปภาพแสดงโปรแกรม Melsoft GX Work 3 

3.2 โปรแกรม AKWorkShop สำหรบั ออกแบบหน้าจอ HMI เพื่อให้ผใู้ ช้ควบคุม ตรวจสอบการทำงาน
ของระบบฯ และแสดงผลการแจ้งเตือนเหตุไฟไหม้ โดยจะออกแบบให้สอดคล้องกับระบบฯของอาคาร กฟฟ.
อรม.อร. ซ่งึ จะมที ้ังหมด 4 หน้าจอ เมือ่ เขียนโปรแกรมเสรจ็ แลว้ จึง Upload ไปยัง HMI Samkoon

กองโรงงานไฟฟ้า อูร่ าชนาวมี หิดลอดลุ ยเดช กรมอทู่ หารเรอื

Best Practice 2565 16 
การปรับปรงุ พัฒนาระบบตรวจจับแจ้งเตอื นเหตุไฟไหม้ในอาคาร ควบคุมผ่านระบบSCADA

 

รปู ท่ี 21 รปู ภาพแสดงการออกแบบหน้าจอ HMI ด้วยโปรแกรม AKWorkShop

1. แสดงสถานะของระบบ 2. แสดง การแจง้ เตอื นเกิดเหตไุ ฟไหม้ Zone 1, 2

3. แสดง การเกิดเหตแุ จ้งเตือนไฟไหม้ Zone 3, 4 4. แสดง History Alarm เวลาเกิดเหตไุ ฟไหม้

รูปท่ี 22 รปู ภาพแสดงหน้าจอ HMI ของ Samkoon ในแตล่ ะหนา้

กองโรงงานไฟฟ้า อรู่ าชนาวีมหดิ ลอดลุ ยเดช กรมอ่ทู หารเรอื

Best Practice 2565 17 
การปรับปรุงพัฒนาระบบตรวจจับแจ้งเตือนเหตุไฟไหมใ้ นอาคาร ควบคุมผา่ นระบบSCADA

 

4. ทดลอง Simulation Program จะต้องสามารถใช้งานได้ตามที่ได้ออกแบบไว้ แต่หากเกิดการ Error ไม่
สามารถใช้งานได้ จะต้องทำการแก้ไขโปรแกรมและทำทดลอง Simulation Program จนกว่าจะไม่เกิดการ
Error

5. ทำการ Write Program PLC ไปยัง ชดุ ทดลอง PLC ของ Mitsubishi Type PLC FX5U-32MT/ES เพื่อ
ทำการทดสอบทดลอง โปรแกรม ร่วมกับอปุ กรณ์ตรวจจับและแจ้งเตือน และ Write Program หน้าจอสำหรบั
การควบคมุ และแสดงผลไปยัง Samkoon SK-043HS

รปู ท่ี 23 รปู ภาพชุดทดลอง PLC ของ Mitsubishi Type PLC FX5U-32MT/ES
6. ทดสอบระบบ PLC ร่วมกับอุปกรณ์ตรวจจับและส่งสัญญาณ Heat Detector, Photoelectronic
Detector และ Manual Push Call Point รวมทั้งทดสอบร่วมกับอุปกรณ์แจ้งสัญญาณเตือนคือ Bell และ
โคมไฟไซเรน โดยควบคุมผ่านหน้าจอ Samkoon SK-043HS โดยจะทำการทดสอบอปุ กรณต์ รวจจับดังน้ี

6.1 ทดสอบ Heat Detector โดยใช้ความร้อนจากไดร์เป่าผม และจะทำงานที่ความร้อนเกิน 57
องศาเซลเซยี ส

6.2 ทดสอบ Photoelectronic Detector โดยใชเ้ ปรยท์ ดสอบเคร่อื งตรวจจับควันไฟ
6.3 ทดสอบ Manual Push Call Point โดยทดลองกดสวทิ ซ์ลง

กองโรงงานไฟฟ้า อรู่ าชนาวีมหดิ ลอดลุ ยเดช กรมอูท่ หารเรือ

Best Practice 2565 18 
การปรับปรงุ พัฒนาระบบตรวจจบั แจ้งเตอื นเหตุไฟไหม้ในอาคาร ควบคุมผ่านระบบSCADA

 

รปู ที่ 24 รปู ภาพแสดงการทดสอบระบบตรวจจบั และแจ้งเตอื นเหตไุ ฟไหม้ ด้วยระบบ PLC
การทดสอบทั้ง 3 แบบ ระบบฯต้องส่งสัญญาณให้อุปกรณ์แจ้งเตือนทำงาน Bell จะต้องดัง โคมไฟไซเรน
ตอ้ งติด หน้าจอ Samkoon ต้องแสดง Zone ท่ีเกิดเหตุ และมขี อ้ ความแจ้งเตอื นสง่ มาทาง Line โดยทันที

รูปที่ 25 รปู ภาพแสดงการแจง้ เตือน ใน Zone 3 (ไฟสแี ดงกระพริบทปี่ ุ่ม Zone3)

กองโรงงานไฟฟ้า อรู่ าชนาวมี หดิ ลอดลุ ยเดช กรมอู่ทหารเรือ

Best Practice 2565 19 
การปรบั ปรงุ พัฒนาระบบตรวจจับแจง้ เตือนเหตไุ ฟไหมใ้ นอาคาร ควบคุมผ่านระบบSCADA

 

รูปที่ 26 รปู ภาพแสดงข้อความแจง้ เตือนทางโปรแกรม Line

รปู ท่ี 27 รูปภาพแสดงการควบคมุ หน้าจอ Display ทอ่ี ุปกรณ์ Samkoon

กองโรงงานไฟฟา้ อู่ราชนาวมี หดิ ลอดุลยเดช กรมอทู่ หารเรือ

Best Practice 2565 20 
การปรบั ปรงุ พัฒนาระบบตรวจจับแจง้ เตอื นเหตไุ ฟไหม้ในอาคาร ควบคุมผ่านระบบSCADA

 

รปู ที่ 28 รูปภาพแสดงการควบคมุ หนา้ จอ Display ผ่านทางเวบ็ ไซต(์ ซา้ ย)
และควบคุมผา่ นในคอมพิวเตอร์หรือโทรศัพทม์ อื ถือ(ขวา)

7. ร้ือถอนต้คู วบคุมเดมิ ออกและประกอบอปุ กรณ(์ ชุดควบคุม PLC) ลงต้คู วบคมุ ใหม่ จากนัน้ จึงติดต้ังแทนที่
เดมิ พรอ้ มทง้ั เปลีย่ นอปุ กรณ์ตรวจจับ(Sensor) จากน้นั จึงทำการทดสอบระบบฯอกี คร้ัง

รูปที่ 29 ติดต้งั ตูค้ วบคุมระบบฯ ที่ติดตั้งท่ี กฟฟ.อรม.อร.

กองโรงงานไฟฟ้า อู่ราชนาวมี หิดลอดุลยเดช กรมอทู่ หารเรือ

Best Practice 2565 21 
การปรับปรงุ พัฒนาระบบตรวจจับแจ้งเตือนเหตุไฟไหม้ในอาคาร ควบคุมผา่ นระบบSCADA

 

3. การใช้งานระบบตรวจจบั และแจ้งเตือนเหตไุ ฟไหม้ ประกอบดว้ ย 4 ขน้ั ตอน ดังต่อไปนี้
3.1 ทดสอบการทำงานของระบบ เพอื่ ตรวจสอบความพรอ้ ม

รปู ที่ 30 รปู ภาพแสดงหนา้ จอ Display เริ่มต้น
วธิ ีควบคุมการทดสอบการทำงานดว้ ยจอ HMI ตามข้ันตอนดังนี้

1. กดปุ่ม POWER เพื่อเริ่มระบบ โปรแกรมจะสั่งจ่ายไฟ 24Vdc เข้าเลี้ยง Detector หน้าจอ
Display จะแสดงปุ่ม “OPERATE” สีเขยี วจะกระพริบ

2. กดปุ่ม TEST เพื่อทดสอบการทำงานของอุปกรณ์แจ้งเตือน หน้าจอ Display จะแสดง
“Alarm Zone” สแี ดงจะกระพรบิ

3. กดปุม่ Acknowledge เพื่อรบั ทราบ Alarm พรอ้ มกับหยุดเสยี ง Alarm & Zone 1-4
4. กดปุ่ม RESET เพ่อื กลับหน้าจอปกติ
5. เพือ่ ปอ้ งกัน Sensor ไหม้ หลังจากกดปมุ่ RESET ประมาณ 3 นาที จึงสามารถกดปมุ่ POWER
จา่ ยไฟเข้าระบบไดใ้ หม่
3.2 การควบคมุ การทำงานเมอ่ื เกิดการแจง้ เตอื น

รปู ที่ 31 รูปภาพแสดงหน้าจอ Display เมอ่ื เกดิ การแจ้งเตอื นเหตุไฟไหม้

กองโรงงานไฟฟา้ อูร่ าชนาวมี หดิ ลอดุลยเดช กรมอู่ทหารเรอื

Best Practice 2565 22 
การปรบั ปรงุ พัฒนาระบบตรวจจบั แจง้ เตือนเหตุไฟไหม้ในอาคาร ควบคุมผา่ นระบบSCADA

 

วิธคี วบคมุ การทำงานด้วยจอ HMI เม่อื เกิดการแจง้ เตอื น ตามข้ันตอนดังน้ี
1. กดปมุ่ Plan Zone ทแ่ี ถบ Screen Page เพ่ือดูว่าเกดิ เหตทุ ไี่ หน
2. กดปมุ่ Main เพ่อื กลับหน้าจอหลัก
3. กดปุ่ม Acknowledge เพ่ือรบั ทราบ Alarm เพอื่ ตรวจสอบดำเนนิ การเกย่ี วกับจดุ เกดิ เหตฯุ
4. กดป่มุ RESET เพื่อกลับหน้าจอปกติ และเปน็ การตัดการจ่ายไฟไปยังอุปกรณ์ตรวจจับ จนกว่า

จะดำเนินการ เกีย่ วกับเหตฯุ เรยี บร้อย
5. กดปุ่ม His Alarm เพื่อตรวจสอบเวลาในการตรวจจบั เหตุเกิดเพลิงไหม้ สามารถกดค้างที่แถบ

สเี ขยี วเพ่ือลบ History Alarm ได้

รูปท่ี 32 รปู ภาพแสดงหนา้ จอ HISTORY ALARM

3.3 ตรวจสอบหลงั เกดิ เหตุแจ้งเตือน เพื่อให้พร้อมการตรวจจบั ใหม่ ตรวจสอบอุปกรณ์ตรวจจับ ให้อยู่
ในสภาพปกติพรอ้ มใช้งาน ดงั น้ี

1. Smoke Detector ต้องอยใู่ นสภาพปกติ สถานะ LED ตอ้ งไมต่ ดิ แดง
2. Heater Detector ตอ้ งอยูใ่ นสภาพปกติ (สงั เกตสี และรูปทรงกายภาพ)
3. อปุ กรณส์ ่งสญั ญาณแจง้ เหตุด้วยการกด (Manual Push Call Point) ตอ้ งอยสู่ ถานะไมถ่ ูกกด
3.4 เริ่มระบบการทำงานใหม่ด้วยหน้าจอ HMI กดปุ่ม Power เพื่อจ่ายไฟเข้าระบบให้พร้อมตรวจจับ
และแจง้ เตอื นเม่อื เกิดเหตุตอ่ ไป

กองโรงงานไฟฟา้ อรู่ าชนาวมี หดิ ลอดลุ ยเดช กรมอู่ทหารเรอื

Best Practice 2565 23 
การปรับปรุงพัฒนาระบบตรวจจับแจง้ เตือนเหตไุ ฟไหมใ้ นอาคาร ควบคุมผา่ นระบบSCADA

 

4. ผลการดำเนินงาน/ประโยชนท์ ่ีได้รบั
4.1 กำลังพล กฟฟ.อรม.อร. ได้พัฒนาองค์ความรู้ให้สามารถออกแบบและเขียนโปรแกรม PLC และ

ระบบ SCADA แล้วนำมาประยุกต์ใช้งานได้จริง สามารถนำมาซ่อมทำ แก้ไข ปรับปรุงระบบแจ้งเตือนเหตุไฟ
ไหม้ ทั้ง Software และ Hardware ได้

4.2 ระบบตรวจจบั และแจ้งเตือนเหตุไฟไหมท้ ป่ี รับปรุงใหม่ สามารถตรวจจับควนั และความร้อนได้จริง
ใช้งานง่าย สะดวก รวดเร็ว ควบคุมผา่ นจอ HMI และควบคุมทางไกลผ่านระบบ SCADA ได้ เม่ือเกดิ เหตุไฟไหม้
จะแจง้ เตือนดว้ ยกรงิ่ และไฟไซเรน พรอ้ มกับสง่ ขอ้ ความระบุตำแหนง่ ทีเ่ กิดเหตผุ ่านทางโปรแกรม Line Notify

4.3 ประหยัดค่าใช้จ่ายในการวา่ จา้ งให้บรษิ ัทภายนอกมาปรบั ปรุงระบบฯ
4.4 สามารถทดสอบระบบฯตามวงรอบด้วยกำลังพลของ กฟฟ.อรม.อร.ได้เอง โดยไม่ต้องพง่ึ บริษทั
4.5 สามารถนำระบบฯนี้ไปตดิ ตงั้ ให้กับอาคารอ่นื ๆ ใน อรม.อร. ได้

เมื่อดำเนนิ การตามขนั้ ตอนของ Best Practice แล้ว สง่ ผลตอ่ อร.อยา่ งไร
จากผลงานการพัฒนาและปรับปรุงระบบตรวจจับและแจ้งเตือนเหตุไฟไหม้ในอาคาร กฟฟ.อรม.อร.

ทำให้เห็นว่าสามารถใช้ตรวจจับและแจ้งเตือนเหตุไฟไหม้ได้จริง ได้มีประสิทธิภาพ มีความน่าเชื่อถือ ทันสมัย
ใช้งานง่ายและรวดเร็ว โดยถือว่าเป็นอาคารต้นแบบพร้อมที่จะนำระบบฯไปปรับปรุงให้กับอาคารอื่นๆ ใน
อรม.อร. หรือของกองทัพเรือต่อไป และสามารถนำไปพัฒนาเพื่อนำระบบฯนี้ไปติดตั้งในเรือรบได้อีกด้วย
นอกจากนี้ยังสามารถนำความรู้ระบบควบคุม PLC และระบบ SCADA ไปประยุกต์ใช้ในการซ่อมทำระบบ
ควบคุม PLC ของเครื่องจักรตามโรงงานต่างๆ เช่น เครื่องตัดและดัดแผ่นเหล็ก หรือเครื่องจักรช่วยที่อยู่ในเรือ
รบ เชน่ เครอื่ งผลิตนำ้ จดื เคร่อื งบำบดั น้ำเสีย ฯลฯ

5. บทเรยี นท่ไี ดร้ ับ
ในการเขียนโปรแกรม PLC และระบบ SCADA จะต้องใช้ความรู้ความเข้าใจ พื้นฐาน และทักษะ ท้ัง

ทางด้านไฟฟ้า ด้านการเขียนโปรแกรม และระบบตรวจจับและแจ้งเตือนเหตุไฟไหม้ จึงจำเป็นจะต้องระดม
ความรู้ความสามารถจากผู้ชำนาญการหลายๆส่วน และต้องได้รับความร่วมมือจากทุกระดับชั้น อีกทั้งต้องมี
การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชา ดังนั้นจึงจำเป็นที่จะต้องทำการเรียนรู้และฝึกฝนให้มาก เพื่อให้การเขียน
โปรแกรมสามารถใช้งานไดจ้ รงิ ไม่ซับซอ้ น

การปรับปรุงระบบแจ้งเตือนอัคคีภัย จะต้องประกอบด้วยองค์ความรู้หลายด้านไม่ว่าจะเป็น ระบบ
PLC , ระบบไฟฟ้า และ ระบบแจ้งเตือนอัคคีภัย จำเป็นจะต้องระดมความรู้และความสามารถจากผู้รู้หลาย

กองโรงงานไฟฟ้า อู่ราชนาวมี หิดลอดลุ ยเดช กรมอทู่ หารเรอื

Best Practice 2565 24 
การปรบั ปรงุ พัฒนาระบบตรวจจับแจง้ เตอื นเหตุไฟไหม้ในอาคาร ควบคุมผา่ นระบบSCADA

 

ส่วนงาน ซึ่งจะดำเนินการให้สำเร็จได้ต้องอาศัยทั้งการผลักดัน และการสนับสนนุ จากผู้บังคับบัญชา อีกทั้งต้อง
ได้รับความรว่ มมอื จากทกุ ระดบั ชั้น ซงึ่ ต้องประสานงานอย่างเป็นทางการ และไมเ่ ปน็ ทางการ โดยอาศยั ความมี
มนุษย์สมั พันธ์ เพอ่ื ให้การดำเนนิ การเป็นไปดว้ ยความราบร่ืน

6. ปัจจยั ความสำเรจ็
โครงการนี้ดำเนินการสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ด้วยความกรุณาจากผู้บังคับบัญชา อู่ราขนาวีมหิดล

อดุลยเดช ที่ได้อนุมัติให้ กฟฟ.อรม.อร. ดำเนินการออกแบบ จัดทำ ระบบฯนี้ขึ้น และทดลองใช้เองเป็นโรงงาน
ต้นแบบก่อน เพื่อนำมาปรับใช้กับโรงงานต่างๆในอรม.อร. ทาง กฟฟ.อรม.อร. จึงขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง
สนับสนนุ ให้มกี ารซอ่ มทำ ดดั แปลง แกไ้ ข ปรบั ปรุงระบบฯใหด้ ยี ่งิ ข้ึน

ผู้ปฏิบัติงานได้ร่วมกันออกแบบ เขียนโปรแกรม ช่วยกันแก้ไข เพื่อให้โปรแกรมทำงานได้ดี ไม่มีปัญหา
ใดๆ และยังสามารถถา่ ยทอดความรูใ้ หก้ บั หนว่ ยงงานที่สนใจ

      

รูปที่ 33 รูปภาพแสดงการถ่ายทอดองคค์ วามรู้ใหก้ บั เจา้ หนา้ ท่ีของ กรล.อรม.อร. และ กอล.ท่ี 3

7. การเผยแพร/่ การไดร้ บั การยอมรบั
การปรบั ปรงุ ระบบตรวจจบั และแจ้งเตือนเหตุไฟไหมไ้ ดเ้ รม่ิ ต้นทำในอาคารกองไฟฟา้ อรม.อร. ซ่ึงเปน็

ที่ยอมรบั ของผบู้ งั คบั บญั ชา ของอรม.อร. สามารถใช้งานได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ และเป็นอาคารตน้ แบบให้
อาคารของโรงงานอน่ื ๆนำไปปรบั ปรงุ ระบบตรวจจับและแจง้ เตอื นเหตุไฟไหม้

กองโรงงานไฟฟ้า อ่รู าชนาวมี หดิ ลอดุลยเดช กรมอทู่ หารเรอื

Best Practice 2565 25 
การปรับปรงุ พัฒนาระบบตรวจจบั แจง้ เตอื นเหตไุ ฟไหม้ในอาคาร ควบคมุ ผ่านระบบSCADA

 

8. ภาคผนวก
- มาตรฐานการป้องกนั อัคคภี ัย วศิ วกรรมสถานแห่งประเทศไทย EIT Standard 3002-51
- มาตรฐานระบบแจง้ เตอื นเหตไุ ฟไหม้ Fire Alarm EIT -021002-19
- Datasheet Fire-Lite HD-601 https://www.firelite.com/CatalogDocuments/df-51375.pdf
- Datasheet อปุ กรณต์ รวจจบั ควนั Photoelectronic Detector ตราอักษร System Sensor รนุ่ 882
https://www.harn.co.th/wp-content/uploads/2018/09/System-Sensor-Smoke-and-Heat-
Detector-800-series.pdf
- Datasheet Interface Module ตราอกั ษร Notifier รุ่น FZM-1
https://www.quinl.com/uploadfile/1908/1564978678_164084.pdf

กองโรงงานไฟฟา้ อู่ราชนาวมี หดิ ลอดุลยเดช กรมอู่ทหารเรอื

Best Practice 2565 26 
การปรับปรุงพัฒนาระบบตรวจจบั แจ้งเตือนเหตุไฟไหมใ้ นอาคาร ควบคมุ ผ่านระบบSCADA

 

รายชอ่ื สมาชิกชมุ ชนนกั ปฏิบัติ
1. ทปี่ รึกษา น.อ.ผศ.นพปฎล ชะนะ

2. ผคู้ วบคุมดแู ล ธนพิสิษฐ์ ศรีดาวเรอื ง 3. ผเู้ ช่ียวชาญ นายสายชล บุญมาวฒั น์ และนายชาญวุฒิ สุโภวรวฒุ ิ

4. สมาชกิ ฯ น.ท.บญุ เรือน เทศพทิ กั ษ,์ ร.ต.วรชยั แสนโคตร, พ.จ.ต.สุทธิพงษ์ ใจรอบ
และ นายเกรียงไกร คหพลโภคิน

กองโรงงานไฟฟา้ อู่ราชนาวมี หดิ ลอดุลยเดช กรมอู่ทหารเรือ


Click to View FlipBook Version