The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by runn0248, 2022-04-09 00:30:50

อทร.๙๓๐๒การสุขาภิบาลกำลังพลหน่วยเรือและหน่วยบก

อทร.๙๓๐๒

Keywords: อทร

อทร.๙๓๐๒

การสุขาภบิ าลกําลงั พลหนว ยเรอื
และหนว ยบก

พ.ศ.๒๕๔๑

เอกสารอางอิงของกองทัพเรอื หมายเลข ๙๓๐๒
การสขุ าภิบาลกาํ ลังพลหนว ยเรือและหนว ยบก

จัดทําโดย
คณะทํางานพิจารณาและจดั ทาํ อทร. ดานอื่น ๆ

ธนั วาคม ๒๕๔๑

พมิ พครัง้ ที่ 1
ธนั วาคม ๒๕๔๑

คาํ นาํ

งานอนามัยสิ่งแวดลอม ถือเปนงานท่ีมีความสําคัญอยางยิ่งท่ีทุก ๆ หนวยงาน ไมวาจะเปน
ภาครัฐบาลที่เปนผูกําหนดนโยบายเกี่ยวกับส่ิงแวดลอมหรือภาคเอกชนที่ตองสนองตามนโยบายโดยเปนผู
ปฏบิ ัตติ าม จะตอ งนํามาปรับปรุงเพื่อคงไวซึง่ สภาพแวดลอ มทดี่ ี

การเรียบเรียงเอกสาร “ แนวทางการตรวจสุขาภิบาล “ เลมน้ี ผูเรียบเรียงต้ังใจจะใหเปนคูมือ
สําหรับผูที่จะทําการตรวจสุขาภิบาลหนวยตาง ๆ ไมวาจะเปนหนวยบกหรือหนวยเรือของกองทัพเรือ โดย
เอกสารชุดน้ีจะรวบรวมเฉพาะเนื้อหาสาระที่เก่ียวของและจําเกปนตจริง ๆ สําหรับหนวยทหารที่จะเปน
จะตองคํานึงถึงและตองคอยตรวจสอบดูแลอยูเปนประจํา ดังน้ันเอกสารชุดน้ีจึงไมครอบคลุมทุกเรื่อง
เก่ียวกับงานทางดานอนามัยส่ิงแวดลอม ถามีความบกพรองในเอกสารชุดนี้ผูเรียบเรียงขอนอมรับไวแตเพียง
ผเู ดีว

ผเู รยี บเรียง

อนุมตั ิบตั ร

เร่ือง อนุมัติใชเ อกสารอางองิ ของ ทร. หมายนเลข ๙๓๐๒ เรื่อง “การสุขาภบิ าบลกําลงั พลหนว ยเรอื และ
หนว ยบก “
(อทร. ๙๓๐๒ )

-----------------------------

ตามคําสั่งกองทัพเรือ (เฉพาะ) ที่ ๑๑/๒๕๔๑ ลงวันท่ี ๒๒ ม.ค.๔๑ เร่ือง แตงต้ัง
คณะกรรมการและคณะทํางานพิจารณาและจัดทําอกสารอางอิงของ ทร. ใหประธานกรรมการพิจารณาและ
จัดทําเอกสารอางอิงของ ทร . มีอํานาจในการอนุมัติใชเอกสารอางอิงของ ทร. (อทร.) นั้น เพื่อใหการ
ดาํ เนนิ การเปน ไปดวยความเรียบรอ ย จงึ ใหใชเ อกสารอา งองิ ขาอง ทร.หมายเลข ๙๓๐๒ เร่ือง “การสุขาภิบาล
กําลงั พลหนว ยเรอื และหนว ยบก” (อทร.๙๓๐๒) เปนเอกสารประกอบการปฏิบัติราชการใน ทร. โดยให พร
.เปน หนว ยควบคุมเอกสาร ตงั้ แตบัดน้ี
เปน ตนไป

ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๔๑

รับคําส่ัง ผบ.ทร.

(ลงชื่อ) พล.ร.ท. ปรีชา พวงสุวรรณ

( ปรชี า พวงสวุ รรณ )
ประธานกรรมการพจิ ารณาและจัดทํา อทร. และ รอง เสธ.ทร.

อทร.๙๓๐๒

ลาํ ดบั ที่ รายการแกไข บันทึกการเปลยี่ นแปลงแกไข ผูแกไข หมายเหตุ
วนั เดอื นป (ยศ – นาม – ตาํ แหนง)

ทที่ าํ การแกไข

สารบัญ หนา
1
งานสุขาภบิ าลส่ิงแวดลอ ม 1
หนว ยทีต่ อ งมกี ารตรวจสุขาภิบาล 1
เจา หนา ทท่ี ี่มหี นา ทีใ่ นการตรวจสขุ าภิบาลบ 2
การตรวจสุขาภิบาล 2
หลักเกณฑใ นการพจิ ารณาการตรวจสุขภบิ าล 8
11
ผนวก ก. ระเบยี บกองทัพเรอื วาดวยการตรวจสุขาภิบาล พ.ศ.๒๕๔๑ 18
ผนวก ข. รายงานการตรวจสขุ าภบิ าลหนว ยบก 25
28
รายงานการตรวจสขุ าภิบาลหนวยเรอื 29
ผนวก ค. การลางภาชนะและอุปกรณ
เอกสารประกอบการเรยี บเรยี ง
ผนวก ง. รายการแจกจาย

1

งานสขุ าภบิ าลสิ่งแวดลอ ม

วัตถุประสงคขาองการตรวจสุขาภิบาล เพื่อชวยเหลือแนะนําใหหนวยไดทราบถึงสภาพบกพรอง
ทางดานสุขาภิบาลท่ีสมควรไดรับการแกไขใหเหมาะสม เพื่อยกระดับความเปนอยูของทหารในหนวยใหดี
ข้ึนมุงปรับสภาพแวดลอมของท่ีอยูอาศัยเปนจุดสําคัญ โดยอาศัยระเบียบกองทัพเรือวาดวยการตรวจ
สุขาภิบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ ตาม ผนวก ก.

หนว ยท่ตี องมกี ารตรวจสุขาภบิ าล

คือสถานที่ท่ีมีกําลังพลพักอาศัยอยูประจําหรือใชปฏิบัติงาน หรือสถานที่ท่ีมีสภาพแวดลอมที่เส่ียงตอ
สุขภาพอนามัยขสองกําลังพลท่ีพักอาศัยหรือใชปฏิบัติงาน สําหรับกองทัพเรือสถานที่ดังกลาวสามารถ
จาํ แนกไดด ังตอไปนี้

๑. หนวยทต่ี ง้ั ปกตบิ นบก
๒. หนวยบกชวั่ คราวหรือเคล่อื นท่ี
๓. หนว ยเรือในอา วหรือทจ่ี อดเรอื
๔. หนวยเรือในทะเล

เจาหนา ทท่ี ม่ี ีห่ นาทใี่ นการตรวจสุขาภบิ าล

เจาหนาที่ท่ีมีหนาที่ในการตรวจสุขาภิบาลตามระเบียบขาองกองทัพเรือ สามารถจําแนก ไดตาม
ความสาํ คญั ดงั ตอไปนี้

๑. นายแพทย สําหรับหนวยทหารท่ีมีนายแพทยประจําหรือรับผิดชอบ เปนหนาท่ีของแพทยท่ี
จะตอ งทาํ การตรวจสขุ าภบิ าลขาองหนว ยตาง ๆ ที่ตนเองรับผิดชอบ

๒. พยาบาล สําหรับหนวสยทาหารที่ไมมีแพทยใหพยาบาลบอาวุโสในหนวย มีหนาทตองตรวจ
สภาพสุขาภบิ าลของหนวยท่ีรับผิดชอบ

๓. สําหรับหนวยทหารท่ีไมมีท้ังแพทยและพยาบาล ใหเปนหนาที่ของหัวหนา หนวยที่จะตองทํา
การตรวจ สภาพสุขาภิบาลของหนวย โดยหัวหนาหนวยสามารถท่ีจะแตงตั้งเจาหนาท่ีที่จะรับผิดชอบในการ
ตรวจสขุ าภบิ าล เพอื่ ทาํ การตรวจสุขาภบิ าลของหนวยอยเู ปนประจํา

หมายเหตุ เจาหนาที่สายเวชกรรมปองกัน กรมแพทยทหารเรือมีหนาท่ีในการตรวจสภาพ
สุขาภิบาลของหนวยตาง ๆ ในกองทัพเรือเปนครั้งคราว เพ่ือควบคุมใหสภาพการสุขาภิบาลส่ิงแวดลอมของ
หนวยตา ง ๆ อยใู นสภาพทเ่ี หมาะสม

2

การตรวจสขุ าภบิ าล
ผูมีหนาท่ีในการตรวจสุขาภิบาล มีหนาที่ใหคําแนะนําแกเจาหนาท่ีท่ีรับผิดชอบปฏิบัติอยางใด

อยางหนึ่งหรือใหแกไขสิ่งบกพรองเก่ียวกับสุขาภิบาล ตอจากนั้นใหผูตรวจ รายงานใหผูบังคับหนวยนั้น ๆ
ทราบเพื่อส่ังการาตอไป การตรวจสุขาภิบาลใหตรวจตามแบบตรวจสุขาภิบาลตาม ผนวก ข โดยตรวจตาม
หัวขอตางๆ กรณีท่ีหนวยใดมีหัวขอหรือสถานที่ตามท่ีกําหนดในแบบตรวจใหขามหัวขอหรือสถานที่ท่ี
กําหนดไป แตถาหนวยใดมีหัวขอหรือสถานที่ที่ตองตรวจบกพรองซํ้าๆ กันหลายที่ ใหสําเนาหัวขอหรือ
สถานที่ดังสกลาวเพ่ิมจนครบ ตอจากนั้นสรุปสิ่งท่ีพบวาบกพรองลงในแบบตรวจเพื่อเสนอหัวหนาหนวย
ตอไป ใน การาตรวจสุขาภิบาลแตละคร้ังใหทําแบบตรวจข้ึน ๒ ชุด ชุดแรกเก็บท่ีหนวย ชุดท่ีสองใหกรม
แพทย ทหารเรอื เพอ่ื ทําการเกบ็ รวบรวมไวเปน การพฒั นางานสขุ าภบิ าลหนวยตอ ไป
หลกั เกณฑใ นการพิจารณาตรวจสขุ าภบิ าล

เพ่ือใหการตรวจสุขาภิบาลเปนไปในแนวทางเดียวกัน จึงควรท่ีจะทีเกณฑในการตรวจเพื่อยึด
หลักในการตรวจสภาพสขุ าภิบาล ของหนว ยตา งๆ เกณฑใ นการการพิจารณาสภาพสขุ าภิบาลสามารถจําแนก
ไดดังนี้

๑. สภาพแวดลอ มของสถานที่ พิจารณาเรือ่ ง
- ความสะอาด
- การจัดวางอปุ กรณเครื่องใชเปน ระเรยี บ
- มปี า ยบอกชอ่ื ชดั เจน
- สถานทพ่ี ักผอนจดั เปนระเบยี บสวยงาม

๒. อาคารทพี่ กั อาศยั พิจารณาเรอ่ื ง
- กอ สรางดวยวสั ดุที่แข็งแรง คงทน
- หลงั คาควรเปน ฉนวนความรอน จะสามารถชว ยลดความรอนจากแสงแดด
- รอบ ๆ อาคารควรลาดซีเมนตเปนทางเทา เพื่อชวยบรรเทาความยุงยากเรื่องเดินช้ืนแฉะ หรือ

เปนทพี่ กั อาศยั ของสัตวพวกขบกดั
- ไมควรอยูในที่ลุมมีน้ําขัง พื้นดินควรลาดเทไปทางใดทางหนึ่งเพื่อสะดวกแกการระบายนํ้า

โสโครก
- ควรยกพนื้ ใหสงู ไมน อ ยกวา ๑ เมตร เพอ่ื ปองกันนา้ํ ทวม
- ควรไดรบั แสงสวา งจากธรรมชาติและอยูในทางลม ไมม อี ะไรมาก้นั ทางลม
- มกี ารบาํ รงุ รักษาอยูเปน ประจาํ

๓. กอ งเรยี นหรือสถานทปี่ ฏิบัตงิ านพจิ ารณาเรอื่ ง
- ความเปน สดั สวนของสถานทป่ี ฏบิ ตั งิ าน
- มสี งสวางและการระบายอากาศทีเ่ พยี งพอ

3

- ไมม ีเหตรุ ําคาญ เชน กลิ่น เสียง รบกวน
- ดแู ลรักษาความสะอาดและความเปนอยูเ ปนประจาํ
๔. อาคารหรอื กราบพกั พิจารณาเรื่อง
- ความเปนสดั สวน
- ไมม ีเหตรุ าํ คาญรบกวน
- ถาเปนหองพกั ควรพกั ไมเกนิ ๒ คน
- ถาเปน อาคารนอนรวม ควรมพี ้ืนทห่ี องนอนประมาณ ๔๐ ตารางฟตุ ตอคน
- มแี สงสวา งและการระบายอากาศทเี่ พยี งพอ
- เคร่ืองปลู าดสะอาด สําหรับทีน่ อนควรนาํ ไปผึ่งแดดสัปดาหละครั้ง
- ประตหู นาตา งและชองลม ควรบุดว ยลวดตาขายหรอื มุง ลวด
๕. การถายเทอากาศ ตอ งจกั ใหมกี ารระบายอากาศท่ีเหมาะสม เพ่ือลดความรอนอบอาว ขจัดกล่ิน
รบกวน ชวยใหผูอยูอาศัยเกิดความสบายทั้งกายใจพัดลมหรือเคร่ืองปรับอากาศชวยในการระบายอากาศ
สําหรับการระบายอากาศในอาควรสถานที่ควรมีอัตราการถายเทอากาศประมาณ ๐.๓ ลูกบาศกเมตรตอนาท่ี
ตอผอู าศัยหนง่ึ คน หรือมีชองทางระบายอากาศ เชน ประตู หนาตาง ประมาณ ๒๐ – ๒๕ % ของพน้ื ที่หอง
๖. แสงสวาง ควรเพียงพอกับความตองการของผูพักอาศัยและกิจกรรมของแตละสถานที่ ทั้งน้ี
เพื่อใหเกิดความสะดวกสบายทั้งกายและใจไมทําลายสายตา ในกรณีท่ีตองจัดหองหรือสถานที่ใหรับแสง
สวางจากดวงอาทิตยในเวลากลางวันใหพอเหมาะ ตองจัดหองใหมีพ้ืนท่ีของประตูหนาตางและชองลม
ประมาณ ๒๐ – ๒๕ % ของพื้นท่หี อ ง
สาํ หรบั การจัดแสงสวา งที่ไดจ ากไฟฟา ควรพิจารณาเรอ่ื ง
- แสงสวางไมจาหรอื มวั เกนิ ไป
- อยา ใชห ลอดไฟทมี่ ีแสงกระพริบ
- ควรติดโดมไฟกบั เพดานหองเพื่อใหแสงสวา งกระจายไดทว่ั หอ ง
- สานไฟและปล้ักไฟควรไดรับการตรวจตราเปนประจํา หากชํารุดหรือเกาเกินไปควรไดรับการ
เปลยื่ นใหม
แสงสวางจากไฟฟา ทเ่ี หมาะสมตามความตองการทางรางกายน้ันข้ึนกับกิจกรรมท่ีทําแตกตางกัน
ออกไป การจัดพืน้ ทใ่ี หแสงสวา งทเี่ หมาะสมกบั กิจกรรมทาํ ไดด ังนี้

4

พื้นทที่ ่ีจะรับแสงสวาง ความเขม็ ของการสองสวา ง (lux )
บันไดและทางเดนิ ๒๐ - ๓๐
หองน้ําและหอ งสวมที่เก็บของ ๓๐ – ๔๐
หอ งรบั แขก ๕๐ – ๘๐
หอ งอาหาร ๘๐ - ๑๐๐
หอ งครวั ทล่ี างภาชนะ ๘๐ – ๒๒๐
หอ งสมดุ ท่อี า นหรือเขียนหนงั สือ ๓๐๐
หอ งทาํ งานฝมอื ทัว่ ๆไป ๕๐๐
หอ งทาํ งานฝมอื ประณีต ๑๐๐๐

๗. อาหารและการจดั เลีย้ งพจิ ารณาเรอื่ ง
๗.๑ คุณภาพของอาหารและการขนสง อาหารสด อาหารแหง ความเปนอาหารท่ีใหม สะอาด

ไมมีรา มภี าชนะใสเ พ่ือการขนสง
๗.๒ การเกบ็ รกั ษาอาหารสดตองมีท่ีเก็บ เชน ตูเย็นหรือตูแชที่เพียงพอ และรักษาอุณหภูมิได

ตามตอ งการ สําหรบั อาหารแหง ตองมตี เู ก็บที่มดิ ชิด มีการระบายอากาศดี ปอ งกนั สัตวแ ละแมลงรบกวนได
๗.๓ ภาชนะและเคร่ืองครวั
-เปน วัสดทุ ีไ่ มเกดิ อนั ตรายตอ รางกาย
-มจี ํานวนเพียงพอ
-ลา งทําความสะอาดหลงั ใชงานทกุ ครั้ง การลางทาํ ความสะอาดภาชนะ ผนวก ค.
๗.๔ คุณภาพปรมิ าณอาหารท่ปี รุงและการเก็บ
-อาหารมปี ริมาณเพียงพอ มีคุณคาทางอาหารท้งั ๕ หมู
- อาหารที่ปรงุ เสร็จแลวควรนาํ ไปรับประทานทนั ทใี นแตระมื้อ
- เคร่ืองปรุง เชน นํ้าปลา นํ้าสม ควรใชผลิตภัณฑท่ีรับรองคุณภาพจากคณะกรรมการ

อาหารและยา ( อย.)
๗.๕ โรงครวั และสถานทีจ่ ัดเลย้ี ง
-พี้นสรางดวยวัสดุที่ทําความสะอาดงาย เรียบ ไมซึมน้ํา ไมมีรอยแตกหรือชํารุดตรง

รอยตอ ระหวา งพื้นและผนงั ควรทาํ เปนรปู โคงเพือ่ ทําความสะอาดงาย
- ผนังและเพดานเรียบทําความสะอาดงาย ทาสีออนทําใหมองสะอาดตาและเพ่ิมแสง

สวา ง

5

- ประตูหนาตาง ควรมีเพียงพอเฉล่ียแลวประมาณ ๒๐ % ของพ้ืนที่หอง ควรเปนชนิด
เปดออกทางดา นนอกและปด ออกทางดานไดเองและควรกรดุ วยลวดตาขายเพ่ือปองกันแมลง

- โตะ เกาอี้ ตอ งอยูในสภาพทมี่ นั่ คงแข็งแรง พ้ืนไมด ดู ซึมนาํ้ ทําความสะอาดงาย
- แสงสวางประมาณ ๑๐๐ lux
- การระบายอากาศดี ตองมีพัดลมเปาอากาศท่ีรอน เหม็น อับ ช้ืน ควัน ฯลฯ
ออกไปและพัดลมดูดอากาศดีมาแทน
-อางลา งมือตอ งทาํ ดว ยวัสดทุ ่ีทําความสะอาดงา ย มีจํานวนเพยี งพอ สะอาด
- การกําจัดขยะและเศษอาหาร ตอ งแยกตามประเภทของขยะและความเหมาะสม
- การกําจัดนํ้าโสโครกและนํ้าทิ้งตองมีทอระบายนํ้าท่ีโตพอกับปริมาณน้ําทิ้ง ไมสก
ปกหรืออุดตัน
๗.๖ ผูปรงุ หรอื ประกอบอาหาร
-แตง กายดว ยเสอื้ ผา ทส่ี ะอาดและผกู ผา กันเปอ นสขี าว
- ตัดเลบ็ มือสั้นเสมอ ลา งมือสะอาด
- ไมสบู บรุ ีขณะปรุงและเสิรฟ อาหาร
- ตรวจสขุ ภาพเปนประจาํ อยา งนอยปละ ๒ ครงั้
๘. น้ําดื่มนํ้าใสชเปนส่ิงจําเปนสําหรับชีวิตจึงจําเปนตองจัดใหมีนํ้าสะอาดไวดื่มใหเพียงพอ
ประมาณ ๓ - ๔ ลติ ร / คน/วัน และตองควบคุมใหส ะอาดอยเู สมอ แหลง ทม่ี าของนา้ํ แบง ได ๓ แหลงคอื
๘.๑ น้าํ ประปา เปนนํา้ ที่ไดจ ากการกรองและใสยาฆา เช้ือโรคไวแลวจึงเปน ท่ปี ลอดภยั
๘.๒ นํ้าฝน เปนนํ้าท่ีสะอาดที่สุดตามธรรมชาติ ความสะอาดข้ึนกับภาชนะท่ีบรรจุ จึง
ควรมกี ารทาํ ความสะอาดภาชนะบรรจุอยา งนอ ยปละครัง้
๘.๓ น้ําบอ กอนนํามาบริโภคควรนําไปฆาโรคกอน สวนใหญจะใชคลอรีนในการ
ทาํ ลายเช้ือโรคหรือนาํ ไปตมกอนนํามาบริโภค
๙. หองน้ําหองสว ม พิจารณาเรอื่ ง
-ความสะอาด ไมม ีกลิ่นหรือคราบสกปรก
-มีจํานวนเพียงพอไมชํารุด จํานวนสวม ๑ ท่ี/ ๙๐ คน ที่ปสสาวะ / ๓๐ คน สําหรับ
คา ยพหั รอื โรงเรยี นทหาร แตถาเปน ท่ีพกั อาศัยอยา งนอยควรมสี ว ม ๑ ที่ / ๕ - ๖ คน
-มีการระบายอากาศท่ีดีไมอ ับชน้ื
-มีแสงสวางท่เี พียงพอ ประมาณ ๓๐ - ๕๐ lux
-มนี ํา้ ใชเพียงพอ
๑๐. การกาํ จัดขยะและการระบายนํ้าโสโครก พิจารณาเรอื่ ง
๑๐.๑ ความเพยี งพอของภาชนะรองรบั ขยะ

6

- ภาชนะรองรับขยะมีประจาํ ทุกหอง
-บริเวณทั่วไปมีภาชนะรองรับขยะ ทกุ ระยะ ๓๐ เมตร
-ภาชนะรองรบั ขยะมแี ยกประเภท ขยะเปยก ขยะแหง และขยะพิเศษ
๑๐.๒ สภาพของภาชานะรองรบั ขยะ
- ภาชนะรองรับขยะมีน้าํ หนักเบา ใสข ยะไดไมเกิน ๒๐ - ๒๕ ก.ก. ทําดวยวัสดุเรียบไม
ซึมนํ้า ทําความสะอาดงาย มีฝาปดมิดชิด มีขารองรับสูงจากพ้ืนอยางนอย ๓๐ ซ.ม. มีการทําความสะอาด
ภาชนะทกุ ครงั้ ทน่ี ําไปกาํ จดั ขยะ มกี ารกําจดั ทกุ วัน
-ในภาชนะรองรับขยะมีถุงพลาสตกิ สําหรับใสขยะรองรับอกี ช้ัน
-ถาภาชนะรองรบั ขยะมห่ี ลายใบ ควรมปี า ยบอกแยกประเภทของขยะอยางชดั เจน
๑๐.๓ การจัดเก็บและกําจัดขยะ
-ควรนาํ ไปกําจดั อยางนอย วนั ละ ๑ ครง้ั
-ควรมสี ถานทีพ่ ักขยะหรอื กาํ จดั ท่ีถูกหลกั สุขาภบิ าล เชน เตาเผา การกลบฝง
-ขยะภายในเรือถาเรืออยูหางฝงเกิน ๑๒ ไมลทะเล กําจัดโดยทิ้งลงทะเล แตถาต่ํากวา
๑๒ ไมลทะเล หรอื จอดอยูตามทาจอดอยูต องนําขยะไปกําจดั บนฝง
๑๐.๔ ชอ งทางระบายนํ้าโสโครกและการกําจัด
-มชี องระบายนาํ้ โสโครกท่ีใชงานไดด ี สะอาด ไมอุดตนั
- มสี ถานท่รี องรบั น้าํ ทิ้ง นาํ้ โสโครก เชน บอ ซึม ถงั เกรอะ หรือระบบบําบดั นาํ้ เสีย
- มีสถานท่ีกําจัดน้ําทิ้งและน้ําโสโครก ไมรบกวนสภาพแวดลอม สามารถกําจัดได
หมด และไมส รา งปญ หารบกวนผูทีผ่ ักอาศัยอยู เชน สงกลนิ่ เหมน็ หรอื มสี ภาพที่นา รงั เกลียจ
๑๑. การปองกนั สตั วและแมลงรบกวน
๑๑.๑ การปอ งกนั สตั วแงะแมลงรบกวน
-มวี ัสดุ อุปกรณ สารเคมี สาํ หรับควบคุมปองกันสตั วแ ละแมลงรบกวน
-มีการกําจดั สตั วและแมลงรบกวนอยเู ปน ประจํา
-จัดเกบ็ สมั ภาระ หบี หอ เปน ระเบยี บ
-ปกปด อดุ ชอ งทางเขา ออกของสตั วแ ละแมลงดแู ลซอ มแซมสวนที่สึกหรอเปน ประจํา
- ไมพบตัวออน ตัวแก หรือรองรอยตางๆ ของสัตวและแมลงรบกวน เชน มูลสัตว
ทางเดิน
๑๑.๒ ความรวมมอื ในการควบคมุ ปอ งกนั สัตวและแมลงรบกวน
-ทุกสถานทีจ่ ดั เก็บสง่ิ ของเปน ระเบียบ ดแู ลเรือ่ งการกาํ จดั เศษอาหารและความสะอาด
-จดั ชวงเวลาที่จะดําเนนิ การกําจดั สตั วและแมลงรบกวน

7

- ขอความชวยเหลือจากหนวยตางๆ มาบรรยายสาธิต การปองกันและกําจัดสัตวแมลง
รบกวน

๑๒. ความปลอดภยั พจิ ารณาเรอ่ื ง
๑๒.๑ การปองกนั อบุ ตั ิเหตุ
- มกี ารจัดอปุ กรณปอ งกนั อนั ตรายสว นบุคคลท่จี ําเปน และเหมาะสมใชง าน

ตลอดเวลาที่ทาํ งานทเี่ สี่ยงมกี ารตรวจสอบบํารุงรกั ษา และซอ มบํารุงใหใ ชง านไดด ีอยเู ปน ประจํา
- จดั ใหม กี ารตรวจสภาพแวดลอมการทาํ งาน/ตรวจสอบความปลอดภัยในการทํางาน

และอปุ กรณปอ งกันอุบตั ิเหตุ เชน ฝาครอบเครอ่ื ง อปุ กรณป องกนั ฝุน
- จัดใหม ีการตรวจสอบสุขภาพผูปฏิบตั งิ าน ทั้งผเู ขาทาํ งานใหมแ ละผทู ่ีทาํ งานอยูแ ลว

๑๒.๒ การปอ งกันอคั คภี ยั
- มอี ปุ กรณด บั เพลงิ ทอี่ ยใู นสภาพใชงานตามสถานทท่ี ีเ่ สี่ยงตอ อัคคีภยั เชน โรงครวั

หองเคร่ือง หอ งปฏบิ ัตงิ านตางๆ
- มสี ถานทเี่ กบ็ สารเคมี หรือวัตถุไวไฟเปน สวน ตดิ ปายเตอื นอนั ตรายท่ีอาจจะเกดิ ขน้ึ
- มเี คร่อื งตดั ไฟอัตโนมัติ และมสี ญั ญาณเตอื นภัย หรอื สญั ญาณบอกเหตุฉกุ เฉนิ
- มเี จาหนา ทร่ี บั ผดิ ชอบดา นการใชเ ครือ่ งดบั เพลิงท่ีมคี วามรูความชํานาญ
- มกี ารฝกซอมปฏิบัตกิ ารดับเพลิงอยูเปนประจํา
- มอี ปุ กรณปองกนั ฟา ผา

๑๒.๓ การปองกนั กันเสียงและสิ่งรบกวนอื่นๆ
- มีอปุ กรณป อ งกันเสยี ง เชน ปลก๊ั อดุ หู หรอื ทค่ี รอบหปู องกันเสียง
- กาํ หนดดระยะเวลาในการปฏบิ ัติงานในท่ีเสี่ยงตอ เสียง
- มกี ารอบรมเจา หนา ที่ทีป่ ฏิบตั งิ านในสถานทเ่ี สย่ี งตาง ๆ
- มีการตรวจสขุ ภาพของผูปฏิบัติงานเปนประจํา

8

พร.รบั ที่ ๔๕๙๓, ๒๗ ม.ี ค.๔๑,๑๔๔๐
ระเบยี บกองทัพเรอื

วา ดว ยการตรวจสุขาภิบาล
พ.ศ.๒๕๔๑

-------------------------------------------

โดยท่ีเปนการสมควรปรับปรุงระเบียบกองทัพเรือวาดวยการตรวจสุขาภิบาลตามหนวยตาง
ๆ พ.ศ.๒๕๔๑ ใหม คี วามเหมาะสมย่ิงข้นึ จึงวางระเบยี บไวดังตอ ไปน้ี

ขอ ๑ ระเบียบน้ีเรยี กวา “ระเบยี บกองทัพเรอื วา ดวยการตรวจสขุ าภบิ าล พ.ศ.๒๕๔๑ “
ขอ ๒ ระเบียบนใ้ี หใชบังคบั ตั้งแตบดั น้ีเปนตนไป
ขอ ๓ ใหยกเลิก ระเบียบกองทัพเรือวาดวยการตรวจสุขาภิบาลตามหนวยตาง ๆ พ.ศ.
๒๕๒๑ บรรดาระเบยี บ และคําสงั่ อื่นใด ในสวนทก่ี าํ หนดไวแ ลวในระเบยี บน้ี หรือซ่งึ ขดั หรือแยง กบั
ระเบียบนี ใหใชร ะเบียบนีแ้ ทน
ขอ ๔ การตรวจสุขาภิบาลเปนการตรวจสภาพโดยทั่วไปของอาหาร สถานที่ ระบบ
สาธารณูปโภค เครื่องใช และสิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ ตลอดจนสภาพแวดลอมของท่ีต้ังหนวยทหารท่ี
จะสงผลกระทบตอสุขภาพอนามัยของกําลังพลประจําหนวยทหาร เพื่อใหไดทราบขอเท็จจริงท่ีจะนําไป
พัฒนา และแกไขปรับปรุงใหมีความเหมาะสม และเอ้ืออํานวยประโยชนตอการปฏิบัติงานและสุขภาพ
อนามยั ของกําลงั พลในหนวย ทงั้ ทางดา นรา งกาย จติ ใจ และสงั คม
ขอ ๕ หนวยที่จะตอ งตรวจสขุ าภบิ าล ไดแ ก หนว ยทม่ี ีสถานทที่ ดี่ อยูใ นความรับผดิ ชอบดังน้ี

๕.๑ สถานท่ที ่มี กี ําลงั พลพักประจํา
๕.๒ สถานท่ีท่มี กี ารจัดเล้ียงหรือจําหนว ยอาหาร
๕.๓ สถานที่ทมี่ กี ารใหบ รกิ ารแกท หารและครอบครัว

๕.๔ สถานที่ปฏิบัติงานซ่ึงมีสภาพแวดลอมที่สงผลหรืออาจจะสงผลกระทบตอ
สุขภาพ

๕.๕ อาคารบานพักของทางราชการ
ขอ ๖ ใหผ บู งั คบั บัญชาหนว ยตามขอ ๕ ระดบั ผบู งั คับการเรือ ผูบ ังคับกองพนั หรือเทียบเทา
ข้ึนไป ดาํ เนนิ การดงั นี้

9

๖.๑ กํากับดูแล แกไข ปรับปรุงงานดานสุขาภิบาลและสภาพแวดลอมของสถานท่ี
รบั ผดิ ชอบ

๖.๒ แตงตงั้ เจา หนาทตี่ รวจสขุ าภิบาล ประกอบดว ยนายทหารสญั ญาบตั ร ๑ นาย และผูที่
เหน็ สมควรอกี อยา งนอย ๑ นาย

ขอ ๗ เจาหนา ที่ตรวจสุขาภบิ าล ตามขอ ๖ มหี นาทีด่ งั นี้
๗.๑ ตรวจสุขาภิบาลอยางนอ ยเดอื นละ ๑ คร้งั ตามความเหมาะสม
๗.๒ บนั ทึกผลการตรวจขอ บกพรอ ง และขอ เสนอแนะในการแกไข ปรับปรงุ ตามแบบ

รายงานการตรวจสุขาภบิ าลท่กี รมแพทยท หารเรือกําหนด
๗.๓ จดั ทํารายงานการตรวจสุขาภิบาล จํานวน ๒ ฉบับ สงให กรมแพทยทหารเรือ ๑

ฉบับโดยผานโรงพยาบาลฐานทัพเรือท่ีรับผิดชอบในพ้ืนท่ี (ถามี) เสนอผูบังคับบัญชาตามลําดับช้ันจนถึง
หวั หนาหนว ยข้ึนตรงกองทัพเรือ อีก ๑ ฉบบั

ขอ ๘ โรงพยาบาลสงั กัดฐานทพั เรือ มีหนา ที่ดงั นี้
๘.๑ ตรวจสุขาภิบาลของสถานท่ี ที่อยูในพื้นที่ที่รับผิดชอบของฐานทัพเรือเปนคร้ัง

คราวหรอื เมอื่ เห็นสมควร แลว รายงานการตรวจใหก รมกแพทยท หารเรือทราบ
๘.๒ ใหการสนับสนุนและชวยเหลือในการแกไขปญหาทางดานสุขาภิบาล เมื่อไดรับ

รายงานการตรวจสขุ าภบิ าล หรอื เมื่อไดรับการรองขอ
๘.๓ รวบรวมรายงานการตรวจสุขาภบิ าล ของหนว ยในพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบของฐานทัพเรือ

แลวนําสง กรมแพทยท หารเรอื
ขอ ๙ กรมแพทยทหารเรอื มีหนาทีด่ งั น้ี
๙.๑ ตรวจสุขาภิบาลของสถานท่ีในกองทพั เรอื เปน ครง้ั คราวหรือเม่ือเห็นสมควร
๙.๒ ใหก ารสนับสนุนและชวยเหลือในการแกไขปญหาทางดานสุขาภิบาล เม่ือไดรับ

รายงานการตรวจสขุ าภบิ าล หรือเมื่อไดร ับการรองขอ
๙.๓ รวบรวม วิเคราะห และประเมินผลการตรวจสุขาภิบาล เสนอกองทัพเรือปละ ๑

คร้งั
ขอ ๑๐ ใหหนวยที่รับการตรวจสุขาภิบาลใหความรวมมือและอํานวยความสะดวก ตามที่

เจา หนา ทีต่ รวจสขุ าภบิ าลของหนว ย โรงพยาบาลฐานทัพเรอื และกรมแพทยท หารเรอื รอ งขอ
ขอ ๑๑ ใหเ จา กรมแพทยท หารเรือเปน ผรู ักษาการตามระเบียบนี้
ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๐ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๔๑
พลเรือเอก สวุ ชั ชยั เกษมศุข
( สุวัชชยั เกษมศุข )
ผูบัญชาการทหารเรอื

10

หมายเหตุ
หลกั การเหตุผลในการประกาศใชระเบียบนี้ คือ กําหนดหลักเกณฑและการปฏิบัติตาง ๆใน

การตรวจสุขาภิบาล ใหไดทราบขอเท็จจริงของสภาพโดยทั่งไปของอาคาร สถานที่ ระบบสาธารณูปโภค
เครื่องใชและสิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ ตลอดจนสภาพแวดลอมของท่ีตั้งหนวยทหารและสถานท่ีของ
ทางราชการ เพ่ือนําไปพัฒนาและแกไขปรับปรุงใหมีความเหมาะสมและเอ้ืออํานวยประโยชนตอการ
ปฏิบัติงานและสุขภาพอนามัย ท้ังทางดานรางกาย จิตใจ และสังคมของกําลังพลและครอบครัว ใหทันสมัย
ยงิ่ ขึน้

สําเนาถูกตอง สง นขต.พร.
พล.ร.ต. ระวิ เชาวนปรชี า ทราบ

(ระวิ เชาวนปรีชา) (ลงชอ่ื ) พล.ร.ท. ไพบูลย ศรีเทพ
จก.สบ.ทร. จก.พร.
๒๔ มี.ค.๔๑
๓๑ ม.ี ค.๔๑

11

ผนวก ข.
แบบตรวจสขุ าภิบาล
รายงานการตรวจสขุ าภิบาลหนวยบก
ประจาํ เดอื น………………
นามหนวย…………………………….สังกัด………………….โทร………………วนั ที่……../………./……….
คณะผูตรวจ ๑………………………………………………….ตําแหนง …………………………………………..
๒ ..………………………………………………ตําแหนง ……………………………………………

ก. ระเบยี บกองทพั เรอื วา ดวยการตรวจสุขาภิบาล
๑. การตรวจสขุ าภบิ าลใหดาํ เนนิ การตรวจเดอื นละ ๑ ครงั้
๒. ผูบังคับบัญชาหนวยทหารตั้งคณะผูตรวจสุขาภิบาลประจําหนวย ประกอบดวยนายทหารสัญญาบัตร ๑ นาย และ

ผูอ่นื ทเ่ี ห็นสมควรอกี อยา งนอ ย ๑ นาย ดําเนินการตรวจสุขาภบิ าล
๓. คณะผูตรวจสุขาภิบาลมีอํานาจใหขอแนะนําแกไขในสิ่งท่ีเห็นวาบกพรองแกผูรับผิดชอบ และใหจดขอแนะนําน้ัน

ลงในรายงานตรวจสขุ าภบิ าลดว ย
๔. รายงานการตรวจสุขาภิบาลใหเ ขยี นขน้ึ เปน ๒ ฉบับ เก็บไวท ี่หนว ยรบั การตรวจ ๑ ฉบับ และสงกรมแพทยทหารเรือ

ในโอกาสแรก ๑ ฉบับ
๕. รายงานการตรวจสุขาภบิ าลขอเบกิ ไดที่ กองเวชกรรมปองกนั กรมแพทยท หารเรือ

ข. ขอ แนะนาํ ในการใชแ บบรายงานการตรวจสุขาภบิ าล
๑. ลงชือ่ หนว ยและสังกดั ช่อื คณะผูตรวจ ในแบบรายงานการตรวจสุขาภบิ าลใหชดั เจน
๒. ในกรณที มี่ ีหนว ยยอ ยในสงั กัด อาจพิจารณาใชแบบรายงานแยกสาํ หรับหนว ยยอ ยแตละหนว ยกไ็ ด
๓. ใหกากบาทใน ทต่ี รงกับสภาพความเปนจรงิ มากทีส่ ุด
๔. ถา สภาพความเปน จรงิ ไมมี ไมด ี หรืออ่ืน ๆ ใหเ ขียนขอเสนอแนะหรับผูรับผดิ ชอบเพ่ือปรับปรุงแกไขดวย
๕. ถาสภาพความบกพรองที่ตรวจพบเม่ือไดใหคําแนะนําสําหรับผูรับผิดชอบแลวและผูรับผิดชอบสามารถปรับปรุง

แกไขความบกพรองน้ันเองได ใหเขยี นขอแนะนํานั้นไวใ นแบบรายงานดว ย
๖. ใหน ําผลการตรวจสขุ าภบิ าลเสนอหัวหนาหนว ยเพือ่ ทราบ และพจิ ารณาสั่งการตามทเ่ี ห็นสมควรทุกครัง้
๗. ใหสง รายงานตรวจสุขาภิบาลผานหัวหนาหนวยเพ่ือนําเสนอ พร.ในโอกาสแรก แตไมควรเกินวันที่ ๑๐ ของเดือน

ถัดไป
๘. ถามีขอขัดของหรือไมเขาใจในการใชแบบรายงานการตรวจสุขาภิบาล ติดตอสอบถามไดที่ แผนกสุขาภิบาล กอง

เวชกรรมปองกนั กรมแพทยทหารเรือ โทร.๒๖๙๔
๙. โปรดเขาใจวาเกณฑท่ีกําหนดใหตรวจนี้ เปนมาตรฐานขั้นพื้นฐานทางดานสุขาภิบาลเทานั้น ถาทุกอยางไดตาม

เกณฑท่ีกําหนดมานี้ แสดงวากําลังพลภายในหนวยของทานไดรับการดูแลเอาใจใสตอสุขภาพอนามัยอยางเพียงพอเปนท่ีนา
พอใจ
ค. ผลการประเมินรวม () ดี () พอใช () ปรับปรงุ (เฉพาะเจา หนาที่ กกป.พร.)

12

เรอ่ื ง รายการที่ตอ งตรวจ
๑. บรเิ วณภายนอก
รอบๆอาคาร ๑.๑ ความสะอาดรอบๆอาคาร ดี พอใช ปรบั ปรุง
ของหนวย
๒ อาคารสาํ นกั งาน ๑.๒ การจดั วางสง่ิ ของเปนระเบียบ สวยงาม ดี พอใช ปรบั ปรุง

๓. อาคารเรียน และ ๑.๓ รอบ ๆอาคาร ไมมีเศษขยะนํ้าขัง หรือรกรงุ รงั ดี พอใช ปรบั ปรุง
หอ งประชุม
๑.๔ การจดั สวนหยอม บรเิ วณพกั ผอ น เปนระเบียบสวยงาม ไมเ ปน ระเบียบ ไมมี

ขอ แนะนาํ เพอื่ ปรบั ปรงุ …………………………………………………………………

๒.๑ ระเบยี ง บันได ทางข้ึนลง แข็งแรง ไมแข็งแรง มีชํารุด

๒.๒ ระเบยี ง บันได ทางขึ้นลง สะอาด ดี พอใช ปรับปรุง

๒.๓ พื้น ผนัง เพดาน หลอดไฟ พัดลม สะอาด ดี พอใช ปรับปรงุ

๒.๔ เพดาน หลอดไฟ พดั ลม ไมชํารุดแตกราว มีชํารุด ไมม ี

๒.๕ การจดั วางสงิ่ ของเปน ระเบียบ ดี พอใช ปรบั ปรุง

๒.๖ การระบายอากาศเปนแบบธรรมชามปี ระตู หนาตาง ไมนอยกวา ๒๐ - ๒๕ % ของพื้นที่

เพียงพอ ไมเ พยี งพอ

๒.๗ มีเครอ่ื งปรบั อากาศ มี ไมมี

๒.๘ แสงสวางเพยี งพอมหี ลอดไฟครบทุกดวง ดี แสงสวางนอยไป แสงสวางมากไป

ขอแนะนําเพ่ือปรบั ปรุง……………………………………………………………………

๓.๑ ระเบยี ง บันได ทางขึ้นลง แข็งแรง ไมแ ข็งแรง มีชํารุด

๓.๒ ระเบยี ง บันได ทางขึ้นลงสะอาด ดี พอใช ปรับปรงุ

๓.๓ พื้นหอ ง ผนงั เพดาน หลอดไฟสะอาด ดี พอใช ปรบั ปรุง

๓.๔ โตะเกาอี้ กระดานดํา วางเปนระเบยี บ ดี พอใช ปรบั ปรุง

๓.๕ โตะเกาอ้ี กระดานดํา มีเพียงพอตามกําหนด เพียงพอ ไมเ พยี งพอ

๓.๖ การระบายอากาศดีเปน แบบธรรมชาติมปี ระตหู นาตางไมน อยกวา ๒๐ - ๒๕ % ของพ้นื ที่

เพยี งพอ ไมเ พยี งพอ

๓.๗ มเี คร่ืองปรับอากาศ มี ไมมี

๓.๘ พน้ื ทหี่ องเรียนมีเพยี งพอไมน อ ยกวา ๑.๕ ตารางเมตร/คน เพียงพอ ไมเพยี งพอ

๓.๙ แสงสวางเพยี งพอมีหลอดไฟครบทกุ ดวง ดี สวางนอยไป สวางมากไป

๓.๑๐ มีหอ งประชุม มี ไมมี

๓.๑๑ หองประชมุ มี โตะเกาอี้เพียงพอตามกําหนด เพยี งพอ ไมเพียงพอ

๓.๑๒ หองประชุมมกี ารระบายอากาศดี ดี พอใช ปรบั ปรุง

๓.๑๓ หองประชมุ มเี ครือ่ งปรับอากาศ มี มีไมเ พียงพอ ไมมี

๓.๑๔ หอ งประชุมมแี สงสวางเพียงพอ `ดี แสงสวางนอย แสงสวา งมาก

13

เรือ่ ง รายการท่ีตองตรวจ
๔. กราบพักทหาร
ขอ แนะนาํ เพ่อื ปรับปรุง……………………………………………………………………………
๕. หองผกั ผอน
เลน กฬี าสโมสร ๔.๑ ระเบียบ บันได ทางข้ึน แข็งแรง ไมแ ข็งแรง มีชาํ รุด

๖. หองเก็บพัสดุ ๔.๒ ระเบียง บันได พืน้ ผนัง เพดาน หลอดไฟ พัดลมสะอาด ดี พอใช ปรบั ปรุง

๔.๓ พื้นทหี่ อ งนอนไมแออดั (ประมาณ ๔ ตารางเมตร/คน เพียงพอ ไมเพยี งพอ

๔.๔ เตียง ท่ีนอน ตูใสเส้อื ผา มีจาํ นวนเพยี งพอกบั จํานวนคน เพยี งพอ ไมเ พยี งพอ

๕.๕ มกี ารระบายอากาศเปน แบบธรรมชาติ มปี ระตู หนา ตา ง ไมน อ ยกวา ๒๐ – ๒๕ % ของพน้ื ท่ี

เพียงพอ ไมเ พียงพอ

๔.๖ แสงสวางเพยี งพอมหี ลอดไฟครบทกุ ดวง ดี แสงสวางนอย แสงสวา งมาก

๔.๗ การตากเสื้อผาเปย กช้ืนในที่พกั ดี แสงสวา งนอ ย แสงสวางมาก

๔.๘ การสูบบหุ รใ่ี นท่พี ัก หาม ไมหาม

๔.๙ มีการจัดเก็บเสือ้ ผา และสง่ิ ของตางๆ เปน ระเบียบ ดี พอใช ปรับปรงุ

๔.๑๐ เครือ่ งปลู าดมจี าํ นวนเพยี งพอกบั จํานวน เพียงพอ ไมเพยี งพอ

๔.๑๑ เคร่ืองปลู าดสะอาด ดี พอใช ปรับปรงุ

๔.๑๒ เครอ่ื งปลู านาํ ออกซักและตากแดดประจํา ทกุ สปั ดา ห ทุก ๑๕ วัน ไมแ นน อน

๔.๑๓ เคร่ืองปูลาด จัดเก็บเรยี บรอย ดี พอใช ปรับปรงุ

ขอแนะนําเพ่อื ปรับปรุง………………………………………………………………..

๕.๑ พ้ืน ผนัง เพดาน หลอดไฟ พัดลอม สะอาด ดี พอใช ปรับปรงุ

๕.๒ มกี ารจัดวางส่ิงของตางๆ เปนระเบยี บ ดี พอใช ปรบั ปรุง

๕.๓ มกี ารระบายอากาศเปน แบบธรรมชาติ มปี ระตู หนาตา ง ไมน อยกวา ๒๐-๒๕ % ของพื้นที่

เพียงพอ ไมเ พียงพอ

๕.๔ ถงั รองรบั ขยะมลู ฝอยและท่ีเขี่ยบุหร่อี ยางนอ ย ๑ ที่ มี ไมมี

๕.๕ แสงสวางเพียงพอ มีหลอดไฟครบทุกดวง ดี แสงสวา งนอย แสงสวางมาก

ขอแนะนาํ เพื่อปรบั ปรุง………………………………………………………………..

๖.๑ พน้ื ผนัง เพดาน หลอดไฟ พดั ลม สะอาด ดี พอใช ปรบั ปรงุ

๖.๒ พื้น ผนัง เพดาน หลอดไฟ พัดลม ไมชํารุดแตกรา ว มีชํารดุ ไมม ี

๖.๓ มีชอ งทางระบายอากาศ หรือเครือ่ งปรับอากาศ มี ไมมี

๖.๔ แสงสวางเพยี งพอ มีหลอดไฟครบทกุ ดวง เพียงพอ ไมเพยี งพอ

๖.๕ มชี ้ันจดั วางสง่ิ ของเปนระเบียบ มีปายบอกชัดเจน หางา ย ดี พอใช ปรับปรุง

ขอแนะนาํ เพือ่ ปรับปรุง…………………………………………………………..

14

เร่อื ง รายการท่ีตองตรวจ
๗. หอ งนา้ํ หอ งสวม ๗.๑ มจี าํ นวนเพยี งพอ สวม ๖ – ๑๐ คน/ที่ท่ปี ส สาวะ ๑๕ – ๒๐ คน /ที่ เพียงพอ ไมเพียงพอ
๗.๒ หอ งนาํ้ หองสวม มีชํารดุ มี ไมมชี ํารดุ
๘. บานพกั หองแถว ๗.๓ สะอาด ไมอับชื้น ไมม ีกล่ินเหมน็ ไมม คี ราบสกปรก ดี พอใช ปรบั ปรงุ
และรา นคา ๗.๔ น้ํามใี ชเ พียงพอ เพยี งพอ ไมเพยี งพอ
๗.๕ มีชองทางระบายอากาศ มี ไมมี
๙. สุขวิทยาสวนบคุ คล ๗.๖ มีแสงสวางเพียงพอ เพียงพอ ไมเพียงพอ
๗.๗ มถี งั รองรับขยะมลู ฝอย ๑ ถัง / ๑ หอง มคี รบทุกหอง มไี มเ พียงพอ ไมม ี
๑๐. สูทกรรมและ ขอแนะนาํ เพื่อปรบั ปรุง…………………………………………………………………………
สหโภชน ๘.๑ บริเวณท่ังไปสะอาด ดี พอใช ปรับปรงุ
๘.๒ มที างระบายนํ้าครบทุกหลัง ครบ ไมครบ ไมม ี
๘.๓ ทางระบายนํ้า นํา้ ไหลไดสะดวก ไมอ ุดตัน ดี มีอุดตัน
๘.๔ มถี ังรองรับขยะมูลฝอย 1 ถัง/บาน 1 หลัง มี ไมเ พียงพอ ไมมี
๘.๕ มีวิธีการกําจัดขยะ มีทกุ วนั วนั เวน วัน อื่น ๆ…….
๘.๖ มีการจดั เก็บสิ่งของเปน ระเบียบ ดี พอใช ปรบั ปรงุ
ขอ แนะนาํ เพ่ือปรบั ปรงุ ………………………………………………………………………….
๙.๑ ทหาร มสี ุขภาพรางกายแข็งแรง ดี พอใช ปรบั ปรุง
๙.๒ ทหาร มีเวลาพกั ผอ นภายหลงั เลกิ งานทกุ วัน มีทกุ วนั มีบางวนั ไมมี
๙.๓ ทหาร มีเวลาเลน กฬี า ทุกวัน อยางนอ ย 1 วนั /สัปดาห
๙.๔ ทหารมกี ารแตง กายสะอาดเรียบรอ ย ดี พอใช ปรบั ปรุง
ขอแนะนําเพอื่ ปรบั ปรุง…………………………………………………………………………
๑๐.๑ ท่รี บั ประทาน เตรียมและปรุงอาหารพื้น ผนงั สะอาด ดี พอใช ปรับปรงุ
๑๐.๒ การระบายอากาศดี มีประตู หนาตาง ไมน อยกวา ๒๐ – ๒๕% ของพน้ื ท่ี ดี ไมด ี
๑๐.๓ มีแสงสวางเพียงพอ เพยี งพอ ไมเพียงพอ
๑๐.๔ มกี ารลางทาํ ความสะอาดพนื้ ทีป่ รงุ อาหาร ทุกวัน ทกุ สัปดาห ไมแ นน อน
๑๐.๕ มีถังรองรบั เศษอาหารอยา งนอย 1 ถงั มี ไมมี
๑๐.๖ มีทางระบายน้ํารอบโรงอาหาร มี ไมม ี
๑๐.๗ มบี อดกั ไขมนั และตะแกรงดักเศษอาหาร มี ไมม ี
๑๐.๘ อาหารสดเปน อาหารใหม สะอาด ซ้อื ทุกวนั ซื้อวันเวน วัน อ่ืน ๆ……..
๑๐.๙ มีตูเ ยน็ หรือตแู ชเกบ็ เศษอาหารสด มีเพยี งพอ มีไมเพยี งพอ ไมมี
๑๐.๑๐ อาหารแหง ซ้อื ทกุ วัน ไมแนนอน

15

เรือ่ ง รายการที่ตองตรวจ
๑๑. นํา้ ดื่ม นํ้าใช
๑๐.๑๑ มตี เู กบ็ ท่ีระบายอากาศดี ปองกันแมลงได มี มีแตไมดี ไมมี

๑๐.๑๒ ภาชนะปรุงอาหารและใสอาหาร สะอาด ดี พอใช ปรบั ปรุง

๑๐.๑๓ ภาชนะสําหรบั ปรุงและใสอาหาร มีจํานวนเพียงพอ เพยี งพอ ไมเพียงพอ

๑๐.๑๔ ภาชนะสาํ หรบั ปรงุ และใสอาหาร มีทเ่ี ก็บท่ดี ี ดี พอใช ปรบั ปรุง

๑๐.๑๕ อาหารท่ีปรงุ แลวเกบ็ ในภาชนะทส่ี ะอาดมีฝาปด มดิ ชิด ดี พอใช ปรับปรงุ ไมมี

๑๐.๑๖ มสี ถานทสี่ ําหรบั ลา งและผ่ึงภาชนะโดยเฉพาะ มี ไมม ี

๑๐.๑๗ มนี ้ําสําหรบั ลางอาหารและภาชนะเพียงพอ เพยี งพอ ไมเพียงพอ

๑๐.๑๘ ผูป รุงและผูเสริ ฟอาหารแตง กายเรยี บรอยสะอาด ดี พอใช ปรบั ปรุง

๑๐.๑๙ ผปู รุงและผเู สิรฟ อาหาร ไมมโี รคประจาํ ตัว มี ไมมี ไมท ราบ

๑๐.๒๐ ผูป รุงและผเู สิรฟอาหาร ไดรับการตรวจโรคประจําป ตรวจทกุ ป ตรวจบางป ไมไดตรวจ

๑๐.๒๑ หา มผปู รุงและผูเ สริ ฟอาหาร สบู บุหร่ใี นขณะปฎิบัตงิ าน หาม ไมหาม

ขอ แนะนําเพ่อื ปรับปรงุ ……………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………………

๑๑.๑ น้ําดม่ื เปนนํา้ ประปา น้ําฝน หรือนํา้ ท่ีผา นการกรองมาแลว ใช ไมใช

๑๑.๒ น้ําดืม่ เปนนํา้ จากบอ สระ หรอื อา งเก็บน้ํา ใช ไมใ ช

๑๑.๓ น้าํ ใชเ ปนนํ้าประปา ใช ไมใช

๑๑.๔ น้ําใชเปน นา้ํ จาก บอ สระ หรืออา งเกบ็ นํ้า ใช ไมใ ช

๑๑.๕ มีรถน้ําหรืออปุ กรณสําหรบั รับ – สง น้ํา โดยเฉพาะและเก็บรกั ษาอยางดี มี ไมมี

๑๑.๖ มีภาชนะเก็บหรอื ใสน้าํ ที่สะอาดเพยี งพอ มฝี าปด มิดชดิ มี ไมมี

๑๑.๗ มีการใสคลอรีนหรือสารฆาเชื้อโรคทุกครั้งทีร่ ับน้ําใหม ใสท ุกครั้ง ใสเ ปนบางคร้ัง ไมไดใส

๑๑.๘ น้ํามีปรมิ าณเพียงพอ เพยี งพอ ไมเพียงพอ

๑๒.๑ ถงั ขยะมีเพียงพอ ประจําทุกหอ ง หรือทกุ ระยะ ๓๐ เมตร เพียงพอ ไมเพียงพอ

๑๒.๒ มีการแยกประเภทขยะเปยก ขยะแหง แยก ไมแยก

๑๒.๓ ถังขยะมีขนาดเบา ไมม คี ม ไมร่วั ซมึ มฝี าปดมิดชิด มขี าตั้งสงู จากพ้ืน ดี พอใช ปรบั ปรงุ

๑๒.๔ ขยะถูกนําไปกําจดั และลางทาํ ความสะอาดถงั ใสข ยะทุกครัง้ ทําทุกวัน ไมท าํ ทกุ วัน ไมเ คยทาํ

๑๒.๕ มีวิธีการกาํ จัดขยะ ทุกวัน ไมท ุกวัน ไมม ี

ขอแนะนําเพื่อปรับปรุง………………………………………………………….

………………………………………………….

16

เรอื่ ง รายการที่ตองตรวจ
๑๓. การระบายและ ๑๓.๑ มีทางระบายนาํ้ โสโครกจากทุกอาคาร มี มีแตไมครบทกุ อาคาร ไมม ี
๑๓.๒ เปนทางระบายน้ําถาวร ใช ไมใ ช
บําบดั นาํ้ โสโครก ๑๓.๓ ทางระบายนา้ํ น้ําไหลไดสะดวก มีการรกั ษาความสะอาดอยางดี ดี พอใช ปรับปรงุ
๑๓.๔ มีตะแกรง บอดักขยะหรือวัสดทุ ลี่ อยปนมากบั น้ํา(Grit Chamber) มี ไมม ี
๑๓.๕ มบี อรบั นํ้าทิง้ รวม มี ไมม ี
๑๓.๖ มรี ะบบบําบัดนํ้าเสีย มี ไมม ี
ขอ แนะนําเพอ่ื ปรบั ปรุง……………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………….
๑๔.๑ มสี ัตวและแมลงรบกวน ไมม ี มเี ชน แมลงวัน แมลงสาบ ยุง หนู อ่ืน ๆ………..
๑๔.๒ สัตวแ ละแมลงรบกวนท่ี มี ไมเ ปน ปญ หา เปนปญ หานอ ย เปน ปญ หามาก
๑๔.๓ ไดติดตอขอรับการชว ยเหลอื จากหนวยแพทย ทร.ในพน้ื ท่ี

ขอเปน ประจาํ ไมไดขอเปน ประจํา ไมเคยของ
๑๔.๔ มกี ารกําจดั สตั วและแมลงรบกวนเปน ประจํา ทุกวัน ทุกสัปดาห นานๆ ครั้ง ไมมี
๑๔.๕ มีการปกปดชองทางเขาออกของสัตวและแมลง ซอ มแซมรอยแตกชํารุด มี ไมม ี
๑๔.๖ มีอุปกรณและสารเคมีสําหรับปองกันและกําจดั สตั วและแมลงรบกวน มี ไมมี
ขอ แนะนาํ เพอ่ื ปรับปรุง……………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………
๑๕.๑ มีการปฎิบัตงิ านท่ีเสยี่ งตอสขุ ภาพอนามัยเชน เสยี งดังเช่ือมโลหะ ฝุนละออง อ่ืน ๆ ……….

มี ไมมี
๑๕.๒ มอี ุปกรณป องกันอันตรายสวนบุคคล เชนผา ปด จมูก ท่คี รอบหูหรือแวน ตา มี มไี มครบ ไมม ี
๑๕.๓ มีการใชอุปกรณเ ครอื่ งปองกันสวนบุคคลตลอดเวลาปฎิบัตงิ านท่เี สี่ยง

ใชตลอด ใชเปน บางครั้ง ไมใช
๑๕.๔ มีการอบรมใหร จู ักการใชเครือ่ งปอ งกนั อันตรายสว นบคุ คล มี ไมมี
๑๕.๕ มเี ครือ่ งตดั ไฟอัตโนมัติมสี ญั ญาณเตอื นภัยบอกเหตฉุ กุ เฉินสะดวกตอ การใช มี ไมมี
๑๕.๖ มอี ุปกรณดับเพลงิ ทีอ่ ยูในสภาพดี ติดตามอาคารหรือหอ งตาง ๆ มี ไมม ี
๑๕.๗ มชี ุดปฐมพยาบาลพรอมใชไดตลอดเวลาอยา งนอ ย 1 ชดุ มี ไมม ี
ขอแนะนาํ เพื่อปรบั ปรงุ …………………………………………………….
…………………………………………………………………………….

17

สรปุ ผลการตรวจสุขาภบิ าล
๑. ปญ หาทางดา นสขุ าภบิ าลที่ตรวจพบ

๑.๑ ปญหา………………………………………….บริเวณทพี่ บปญ หา…………………….………………
๑.๒ ปญหา…………………………………………. บริเวณที่พบปญ หา……………………………………
๑.๓ ปญหา…………………………………………..บริเวณท่ีพบปญหา……………………………………
๑.๔ ปญหา………………………………………….บริเวณทพี่ บปญ หา……………………………………
๒. ปญหาทางดานสขุ าภิบาลทที่ างหนวยสามารถแกไขไดเอง
๒.๑ ปญหาทสี่ ามารถแกไขไดทันที

๒.๑.๑ ปญ หา…………………………วธิ ีดําเนินการ………………………………………………….
๒.๑.๒ ปญหา…………………………วธิ ดี ําเนนิ การ…………………………………………………
๒.๒ ปญ หาที่ตองใหห วั หนาหนวยพิจารณาสง่ั การ
๒.๒.๑ ปญ หา……………………………………..สาเหตขุ องปญหา………………………………….
วิธดี าํ เนนิ การแกไข……………………………………..อุปสรรคของการแกไ ข…………………………
๒.๒.๒ ปญหา……………………………………..สาเหตขุ องปญหา…………………………………
วิธีดําเนินการแกไข…………………………………อุปสรรคของการแกไข…………………………….
๓. ปญ หาทางดานสุขาภิบาลทีท่ างหนวยไมส ามารถแกไ ขไดเอง
๓.๑ ปญ หาท่คี วรขอรับการสนบั สนนุ จากหนว ยเหนือ (เชน งประมาณ การกอสรา ง อปุ กรณ ฯลฯ)
๓.๑.๑ ปญ หา………………………………………ขอรบั การสนบั สนุนเกยี่ วกบั ………………………
๓.๑.๒ ปญ หา…………………………………… ขอรบั การสนับสนนุ เกีย่ วกบั ………………………
๓.๒ ปญ หาทีค่ วรขอรับการสนับสนนุ จาก พร.ชย.ทร.,พธ.ทร.หรอื อื่น ๆ (เชน วิชาการ ขอ แนะนําในการ
แกไขทางดานสขุ าภิบาล อุปกรณสําหรับปอ งกันและกําจัดสัตวแ ละแมลง สารเคมีสาํ หรบั ปองกนั และ
กาํ จดั แมลง งบประมาณ ฯลฯ)
๓.๒.๑ ปญ หา…………………………………..ขอรับการสนับสนุนจาก………….……………………
เกี่ยวกับ…………………………………………………………………………………………..…………………
๓.๒.๒ ปญหา………………………………….ขอรับการสนับสนุนจาก…………………………………
เกีย่ วกบั ……………………………….…………………………………………………………………………….
๓.๒.๓ ปญหา………………………………….ขอรบั การสนับสนนุ จาก…………………………………

ลงชือ่ ……………………………………………………..ผูตรวจ
ลงช่อื ……………………………………………………. ผตู รวจ
ความเหน็ หัวหนาหนวย………………………………………………….………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่อื ………………………………..ตาํ แหนง…………………………………...

18

รายงานการตรวจสุขาภบิ าลหนวยเรือ
ประจาํ เดอื น…………………….

นามหนวย………………………………..สังกัด…………………….โทร………………วันท่ี……../……../……
คณะผูตรวจ ๑………………………………………………………………ตําแหนง ……………………………

๒…………………………………………………………….ตําแหนง ………………………………

ก. ระเบยี บกองทพั เรือวาดว ยการตรวจสุขาภบิ าล
๑. การตรวจสุขาภบิ าลไดด าํ เนินการตรวจเดอื นละ ๑ ครั้ง
๒. ผูบังคับบัญชาหนวยทหารต้ังคณะผูตรวจาขาภิบาลประจําหนวย ประกอบดวยนายทหาร

สญั ญาบตั ร ๑ นาย และผอู ืน่ ท่เี ห็นสมควรอีกอยา งนอย ๑ นาย ดาํ เนินการตรวจสุขาภบิ าล
๓. คณะผูตรวจสุขาภิบาลมีอํานาจใหขอแนะนําแกไขในสิ่งที่เห็นวาบกพรองแกผูรับผิดชอบ

และใหจ ดขอแนะนาํ น้ันลงในรายงานตรวจสขุ าภิบาลดว ย
๔. รายงานการตรวจสุขาภิบาลใหเขียนขึ้นเปน ๒ ฉบับ เก็บไวที่หนวยรับการตรวจ ๑ ฉบับ

และสงกรมแพทยทหารเรือในโอกาสแรก ๑ ฉบับ
๕. รายงานการตรวจสุขาภบิ าลขดอเบกิ ไดที่ กองเวชกรรมปอ งกัน กรมแพทยทหารเรือ

ข. ขอแนะนาํ ในการใขแ บบรายงานการตรวจสุขาภบิ าล
๑. ลงชอ่ื หนว ยและสังกัด ชอื่ คณะผตู รวจ ในแบบรายงานการตรวจสุขาภบิ าลใหช ดั เจน
๒. ในกรณีท่ีเปนเรือใหญ มีหลายแผนก อาจจะใชใบรายงานแผนกละ ๑ ชุดก็ได หรือตามท่ี

เห็นสมควร
๓. ใหกากบาทใน ท่ีตรงกับสภาพความเปน จรงิ มาที่สดุ
๔. ถาสภาพความเปนจริง ไมมี ไมดี หรืออื่น ๆ ใหเขียนขอเสนอแนะสําหรับผูรับผิดชอบ

เพ่อื ปรับปรุงแกไ ขดว ย

19

เรอ่ื ง รายการที่ตองตรวจ
๑. บริเวณดาดฟาเรือ
๑.๑ ดาดฟาเรือ ทางเดิน สะพานเดินเรือ ปอมปน สะอาด ดี พอใช ปรับปรุง
๒. บรเิ วณทั่วไป
ภายในตัวเรอื ๑.๒ มีการวางอุปกรณห รือส่ิงของอยา งเปน ระเบยี บ ดี พอใช ปรับปรงุ

๓. หองพักและ ๑.๓ หลอดไฟ พัดลม ไมชาํ รดุ แตกรา ว ดี พอใช ปรบั ปรุง
เมสนายทหาร
ขอ แนะนาํ เพ่ือปรบั ปรงุ ………………………………
๔. หอ งพกั และ
เมสพนั จา ………………………………………………………………………………………………..

๒.๑ ทางเดิน บันไดขึน้ ลง พื้น หลอดไฟ พดั ลม สะอาด ดี พอใช ปรบั ปรุง

๒.๒ มีการจดั วางสง่ิ ของอยางเปนระเบียบ ดี พอใช ปรบั ปรงุ

๒.๓ มเี ครอ่ื งปรับอากาศและที่ดูดอากาศ มี ไมมี

๒.๔ การระบายอากาศดี ชองระบายอากาศสะอาด ไมม ีสงิ่ กดี ขวาง ดี พอใช ปรบั ปรงุ

๒.๕ มีแสงสวางเพียงพอ มีหลอดไฟครบทกุ ดวง เพียงพอ ไมเพยี งพอ

๒.๖ มถี ังรองรับขยะมลู ฝอยอยางนอ ย ๑ ถงั /หอ ง มคี รบ มีไมค รบ ไมม ี

ขอ แนะนาํ เพ่อื ปรบั ปรุง………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………………

๓.๑ พื้น ผนัง เพดาน หลอดไฟ พัดลม สะอาด ดี พอใช ปรบั ปรุง

๓.๒ หลอดไฟ พัดลม ไมชํารุดแตกรา ว มีชาํ รุด ปรบั ปรุง

๓.๓ ส่งิ ของ เสื้อผา จัดวางอยางเปน ระเบยี บ ดี พอใช ปรบั ปรงุ

๓.๔ มีเคร่อื งปรบั อากาศและท่ีดูดอากาศ มี ไมมี

๓.๕ การระบายอากาศดี ไมอ ับชื้น ชอ งระบายอากาศไมม สี ิ่งกดี ขวาง ดี พอใช ปรบั ปรงุ

๓.๖ แสงสวา งเพยี งพอ มีหลอดไฟครบทกุ ดวง เพยี งพอ ไมเ พียงพอ

๓.๗ มถี ังรองรับขยะมลู ฝอย อยางนอ ย ๑ ถัง มี ไมมี

ขอแนะนําเพ่อื ปรับปรงุ …………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………….

๔.๑ พนื้ ผนงั เพดาน หลอดไฟ พัดลม สะอาด ดี พอใช ปรับปรุง

๔.๒ สิง่ ของ เส้ือผา จดั วางอยา งเปน ระเบียบ ดี พอใช ปรับปรงุ

๔.๓ หลอดไฟ พัดลม ไมชาํ รุด แตกรา ว มีชาํ รุด ไมมีชํารดุ

๔.๔ มีเครื่องปรับอากาศ และเครอื่ งดดู อากาศ มี ไมมี

๔.๕ การระเบียบอากาศดี ไมอบั ชนื้ ชองระบายอากาศไมม ีส่ิงกีดขวาง ดี พอใช ปรับปรงุ

๔.๖ แสงสวางเพียงพอ มหี ลอดไฟครบทุกดวง เพียงพอ ไมเ พียงพอ

๔.๗ มถี งั รองรับขยะมลู ฝอย อยางนอย ๑ ถัง มี ไมมี

๔.๘ หามสบู บุหร่ใี นที่พัก หาม ไมห า ม

20

เร่อื ง รายการที่ตอ งตรวจ
๕. หอ งพกั กลาสี
ขอ แนะนําเพือ่ ปรบั ปรุง………………………………………………………………………..
๖. ทนี่ อนและ
เครอ่ื งปลู าด ………………………………………………………………………………………………..
๗. เมสกลาสี
๕.๑ พ้ืน ผนัง เพดาน หลอดไฟ พัดลม สะอาด ดี พอใช ปรับปรงุ

๕.๒ หลอดไฟ พดั ลม ไมชาํ รดุ แตกรา ว มชี ํารุด ไมมีชาํ รุด

๕.๓ สงิ่ ของ เสอื้ ผา จดั วางอยา งเปน ระเบยี บ ดี พอใช ปรบั ปรุง

๕.๔ การระบายอากาศดี ไมอ ับชื้น ชองระบายอากาศไมมีสงิ่ กีดขวาง ดี พอใช ปรบั ปรงุ

๕.๕ มเี ครือ่ งปรับอากาศและเคร่ืองดดู อากาศ มี ไมมี

๕.๖ แสงสวา งเพยี งพอ มหี ลอดไฟครบทกุ ดวง เพยี งพอ ไมเพยี งพอ

๕.๗ มถี ังรองรับขยะมลู ฝอยอยางนอย 1 ถัง มี ไมมี

๕.๘ เตยี งนอนเพยี งพอ ไมแออัด เพียงพอ ไมเพียงพอ

๕.๙ หามสูบบุหร่ใี นหองพัก หาม ไมห าม

ขอ แนะนําเพ่อื ปรับปรงุ ………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………

๖.๑ ท่ีนอนตใู สเสื้อผา มจี าํ นวนเพียงพอครบทกุ คน เพียงพอ ไมเ พียงพอ

๖.๒ เครอ่ื งปูลาด มจี ํานวนเพยี งพอ เพียงพอ ไมเพยี งพอ

๖.๓ เครื่องปูลาด สะอาด ดี พอใช ปรบั ปรุง

๖.๔ เครื่องปลู าด จดั เก็บเรยี บรอ ย ดี พอใช ปรบั ปรงุ

๖.๕ เครือ่ งปลู าด นําออกซกั และตากแดดประจํา ทกุ สัปดาห ทุก ๑๕ วัน ไมแ นน อน

ขอ แนะนาํ เพ่ือปรับปรงุ ……………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………………………………………..

๗.๑ พนื้ ผนงั เพดาน หลอดไฟ พดั ลม สะอาด ดี พอใช ปรับปรงุ

๗.๒ หลอดไฟ พัดลม ไมชํารุดแตกราว มชี าํ รดุ ไมมชี ํารุด

๗.๓ มกี ารจดั วางส่งิ ของอยางเปนระเบยี บ ดี พอใช ปรบั ปรุง

๗.๔ การระบายอากาศดี ไมอ บั ช้ืน ชอ งระบายอากาศไมมสี ง่ิ กีดขวาง ดี พอใช ปรับปรงุ

๗.๕ มีเครื่องปรับอากาศและเครอื่ งดดู อากาศ มี ไมมี

๗.๖ แสงสวา งเพยี งพอ มีหลอดไฟครบทุกดวง เพียงพอ ไมเ พยี งพอ

๗.๗ มีถังรองรับขยะมูลฝอย อยางนอ ย 1 ถัง มี ไมม ี

ขอแนะนําเพือ่ ปรับปรุง…………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………

21

เรื่อง รายการท่ีตองตรวจ
๘. หองปฎบิ ัตงิ าน
๘.๑ พื้น ผนัง เพดาน หลอดไฟ พัดลม สะอาด ดี พอใช ปรับปรงุ
๙. หอ งกระซบั
๘.๒ จดั วางสิ่งของเปน ระเบียบ ดี พอใช ปรับปรงุ
๑๐.หอ งน้าํ หอ งสวม
๘.๓ การระบายอากาศดี ไมอ ับชื้น ชอ งระบายอากาศไมมสี ิง่ กีดขวาง ดี พอใช ปรบั ปรงุ
๑๑.สุขวทิ ยาสวนบคุ คล
๑๒. สูทกรรม และ ๘.๔ มเี ครื่องปรับอากาศและเครื่องดดู อากาศ มี ไมมี
สหโภชน
๘.๕ แสงสวางเพยี งพอ มีหลอดไฟครบทกุ ดวง เพียงพอ ไมเพียงพอ

๘.๖ มีถังรองรับขยะมลู ฝอย และทเี่ ขีย่ บุหร่ีอยางนอย 1 ถงั มี ไมมี

ขอแนะนาํ เพ่อื ปรบั ปรุง…………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………….

๙.๑ พ้ืน ผนัง เพดาน หลอดไฟ พดั ลม สะอาด ดี พอใช ปรบั ปรงุ

๙.๒ มรการระบายอากาศดี ไมอับชื้น ดี พอใช ปรับปรงุ

๙.๓ มแี สงสวางเพยี งพอ มหี ลอดไฟครบทุกดวง เพียงพอ ไมเพยี งพอ

๙.๔ มีชนั้ จัดวางสิ่งของเปนระเบยี บ ดี พอใช ปรับปรงุ

ขอแนะนาํ เพอ่ื ปรบั ปรุง…………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………..

๑๐.๑ สว ม อา งลา งมือ กอ กน้าํ สะอาด ดี พอใช ปรับปรุง

๑๐.๒ สวม อา งลางมือ กอกนํ้า ไมชํารุด มชี าํ รดุ ไมม ชี ํารุด

๑๐.๓ พ้นื ผนัง สะอาด ไมมีกลน่ิ เหมน็ หรอื คราบสกปรก ดี พอใช ปรบั ปรุง

๑๐.๔ มีการระบายอากาศดี ไมอับชืน้ ดี พอใช ปรบั ปรุง

๑๐.๕ แสงสวางเพยี งพอ มหี ลอดไฟครบทุกดวง เพียงพอ ไมเ พียงพอ

๑๐.๖ มีน้ําใชต ลอดเวลาเพยี งพอ เพียงพอ ไมเ พียงพอ

ขอ แนะนําเพือ่ ปรบั ปรุง…………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………….

๑๑.๑ ทหารมีสขุ ภาพรางกายแข็งแรง ดี พอใช ปรับปรงุ

๑๑.๒ ทหาร มเี วลาเลน กฬี า ออกกาํ ลังกาย ทุกวัน อยางนอ ย 1 คร้ัง / สปั ดาห

๑๑.๓ ทหารมีเวลาพกั ผอนภายหลังเลกิ งาน มี ไมมี

๑๑.๔ ทหารมีการแตงกายสะอาดเรยี บรอ ย ดี พอใช ปรบั ปรงุ

๑๒.๑ รบั ประทานอาหาร เตรยี มและปรุงอาหาร ไมอับช้ืน ดี พอใช ปรบั ปรุง

๑๒.๒ การะบบอากาศเพียงพอ ไมอ ับชื้น ดี พอใช ปรบั ปรงุ

๑๒.๓ แสงสวางเพยี งพอ มหี ลอดไฟครบทกุ ดวง เพยี งพอ ไมเ พยี งพอ

๑๒.๔ มีกาลางทําความสะอาดพ้ืนท่ีปรงุ อาหารเปนประจํา ทุกวัน อนื่ ๆ

๑๒.๕ มีถังรองรับเศษอาหารอยางยอ ย ๑ ถงั มี ไมมี

๑๒.๖ อาหารสดเปน อาหารใหม สะอาด ซือ้ ทุกวัน ไมแ นน อน

๑๒.๗ มีตูเยน็ หรือตเู กบ็ อาหารสดเพียงพอ เพียงพอ ไมเ พยี งพอ ไมม ี

๑๒.๘ อาหารแหง มตี ูเก็บที่ระบบอากาศดี ปองกันแมลงได มี ไมเ พียงพอ ไมมี

๑๒.๙ ภาชนะปรุงอาหารและใสอาหาร สะอาด ดี พอใช ปรับปรงุ

22

เรื่อง รายการท่ีตองตรวจ
๑๓. น้ําดมื่ นํ้าใช
๑๔. การจัดขยะมลู ฝอย ๑๒.๑๐ ภาชนะสําหรับปรงุ และใสอ าหาร มีจํานวนเพยี งพอ เพียงพอ ไมเ พียงพอ

๑๒.๑๑ ภาชนะสาํ หรับปรุงและใสอ าหาร มที เ่ี ก็บเพียงพอ เพยี งพอ ไมเพียงพอ

๑๒.๑๒ อาหารทปี่ รงุ แลว เกบ็ ในภาชนะทีส่ ะอาดมฝี าปดมิดชิด มี ไมม ี

๑๒.๑๓ มีสถานท่สี ําหรับลา งภาชนะโดยเฉพาะ มี ไมมี

๑๒.๑๔ มีนาํ้ สําหรับลางอาหารและชนะเพียงพอ เพียงพอ ไมเ พยี งพอ

๑๒.๑๕ ผปู รุงและผูเสิรฟ อาหารแตง กายเรียบรอ ยสะอาด ดี พอใช ปรบั ปรุง

๑๒.๑๖ หามปรุงและเสริ ฟ อาหาร สบู บุร่ีในขณะปฏิบตั งิ าน หา ม ไมหา ม

๑๒.๑๗ ผปู รุงและผเู สริ ฟอาหาร ไดร ับตรวจโรคประจาํ ป ตรวจทุกป ไมไดตรวจ

ขอ แนะนาํ เพือ่ ปรับปรุง……………………………………………………………..

๑๓.๑ น้าํ ดมื่ เปนนํา้ ประปา นํ้าฝน หรอื นา้ํ ที่ผานการกรองมาแลว ใช ไมใช

๑๓.๒ นํ้าใชเปน น้ําประปา ใช ไมใช

๑๓.๓ นาํ้ ใชเปน นา้ํ ประปา ใช ไมใช

๑๓.๔ นํ้าใชเปนนํา้ จาก บอ สระ หรอื อา งเกบ็ น้ํา ใช ไมใช

๑๓.๕ มีอุปกรณสําหรบั รับ – สง นาํ้ โดยเฉพาะและเกบ็ รักษาอยา งดี มี ไมม ี

๑๓.๖ มภี าชนะเก็บหรือใสน ํา้ ท่ีสะอาด เพียงพอ มฝี าปดมดิ ชดิ เพยี งพอ ไมเพียงพอ

๑๓.๗ มีการใสคลอรนี หรอื สารฆา เขช้ือโรคทุกครงั้ ที่รบั น้ําใหม ใส ไมใ ส

๑๓.๘ นํา้ มปี รมิ าณเพียงพอ เพยี งพอ ไมเพยี งพอ

ขอแนะนาํ เพ่อื ปรับปรงุ …………………………………………………………..

๑๔.๑ ถังขยะมปี ระจําอยา งนอ ย 1 ถัง/หอ ง เพียงพอ ไมเพียงพอ

๑๔.๒ มีการแยกประเภทขยะเปย ก ขยะแหง มี ไมม ี

๑๔.๓ ถังขยะมีขนาดเบา ไมร วั่ ซึม มฝี าปดมิดชิดมขี าตัง้ สูงจากพ้ืน ดี พอใช ปรบั ปรุง

๑๔.๔ มกี ารกําจัดขยะทกุ วนั และลา งทําความสะอาดถังใสขยะทุกครง้ั มี ไมม ี

๑๔.๕ ขยะถกู นําไปกําจัดบนฝงไมทง้ิ ลงทะเลในระยะหา งฝงไมเ กิน ๑๒ ไมล มี ไมมี

ขอแนะนาํ เพื่อปรบั ปรุง……………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………..

23

เร่ือง รายการท่ีตองตรวจ
๑๕. การปองกันสตั ว
และแมลงรบกวน ๑๕.๑ สตั วแ ละแมลงรบกวน ไมม ี มีเชน หนู แมลงสาบ อ่นื ๆ ……

๑๖.ความปลอดภยั ๑๕.๒ สัตวแ ละแมลงรบกวนที่มี ไมเปนปญหา เปน ปญหานอย เปนปญหามาก
ในการทํางาน
๑๕.๓ ไดติดตอขอรบั การชวยเหลือจากหนวยแพทย ทร.ในพนื้ ท่ี

ขอเปนประจํา ไมไดข อ ขอเปน บางครั้ง

๑๕.๔ มีการกําจดั สัตวและแมลงรบกวนเปนประจํา ทุกวนั ทุกสปั ดาห นาน ๆ ครง้ั ไมมี

๑๕.๕ มีการปกปด ชอ งทางเขาออกของสัตวแ ละแมลง ซอมแซมรอยแตกชํารุด มี ไมมี

๑๕.๖ กลางคนื มีไฟสองสวา ง ชักสะพานท่ีติดตอกบั ฝง ขึน้ เพื่อปองกนั สัตวล งเรือ มี ไมมี

๑๕.๗ อปุ กรณและสารเคมีมสี าํ หรบั ปองกันและกําจัดสตั ว และแมลงรบกวน มี ไมมี

ขอ แนะนาํ เพอ่ื ปรับปรุง……………………………………………………………………………..

๑๖.๑ มีการปฎิบตั งิ านท่เี สย่ี งตอสุขภาพอนามยั เชน เสยี งดัง เช่ือมโลหะ ฝุน ละอองหรอื

อ่ืน ๆ …………………………………………. มี ไมมี

๑๖.๒ มีอปุ กรณปองกันอันตรวยสวนบคุ คล เชน ผาปดจมกู ที่ครอบหูหรอื แวน ตา มี ไมม ี

๑๖.๓ มีการใชอุปกรณเ คร่อื งปอ งกันสว นบคุ คลตลอดเวลาปฎิบัตงิ านทีเ่ สย่ี ง ใช ไมใ ช

๑๖.๔ มกี ารอบรมใหร จู กั การใชเครอ่ื งปอ งกันอันตรายสวนบุคคล มี ไมมี

๑๖.๕ มเี ครือ่ งตัดไฟอตั โนมัติ มีสัญญณเตอื นภัยบอกเหตุฉกุ เฉินสะดวกตอการใช มี ไมมี

๑๖.๖ มอี ปุ กรณดับเพลงิ ทีอ่ ยูในสภาพดี ติดตามอาคารหรือหอ งตาง ๆ มี ไมมี

๑๖.๗ มีชดุ ปฐมพยาบาลพรอ มใชไ ดตลอดเวลาอยางนอย 1 ชดุ มี ไมมี

ขอ แนะนาํ เพ่ือปรบั ปรุง…………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………….

24

สรปุ ผลการตรวจสุขภบิ าล
๑. ปญ หาทางดานสขุ าภบิ าลที่ตรวจพบ

๑.๑ ปญ หา…………………………………………..บรเิ วณทพ่ี บปญ หา……………………………………
๑.๒ ปญหา…………………………………………. บรเิ วณทพ่ี บปญหา……………………………………
๑.๓ ปญหา…………………………………………...บริเวณที่พบปญ หา……………………………………
๑.๔ ปญ หา…………………………………………...บรเิ วณที่พบปญ หา……………………………………
๒. ปญ หาทางดานสุขาภบิ าลที่ทางหนวยสามารถแกไขไดเ อง
๒.๑ ปญหาทีส่ ามารถแกไขไดทันที

๒.๑.๑ ปญหา…………………………………..วิธดี ําเนินการ…………………………………
๒.๑.๒ ปญ หา………………………………….วิธีดาํ เนินการ………………………………….
๒.๒ ปญหาทีต่ อ งใหหัวหนา หนวยพจิ ารณาสงั่ การ
๒.๒.๑ ปญ หา………………………………..สาเหตุของปญ หา…………………………….
วธิ ีดาํ เนินการแกไข…………………………อปุ สรรคของการแกไ ข………………………………
๒.๒.๒ ปญหา…………………………. สาเหตุของปญ หา………………………………….
วธิ ีดาํ เนนิ การแกไข……………………………อปุ สรรคของการแกไ ข………………………
๓. ปญหาทางดานสขุ าภิบาลท่ีทางหนวยไมส ามารถแกไ ขไดเอง
๓.๑ ปญ หาท่คี วรขอรบั การสนับสนนุ จากหนว ยเหนือ(เชนงบประมาณ การกอ สราง อุปกรณ ฯลฯ)
๓.๑.๑ ปญ หา…………………………………….ขอรบั การสนบั สนุนเก่ยี วกับ…………………………
๓.๑.๒ ปญ หา……………………………………ขอรับการสนบั สนุนเกี่ยวกบั …………………………
๓.๒ ปญหาท่ีควรขอรบั การสนบั สนนุ จาก พร.,ชย.ทร.,พธ.ทร.,หรอื อืน่ ๆ(เชน วิชาการ ขอแนะนําในการ
แกไขทางดานสุขาภบิ าล อปุ กรณสาํ หรบั ปองกนั และกําจดั สัตวและแมลง สารเคมีสาํ หรับปอ งกนั และ
กาํ จัดแมง งบประมาณ ฯลฯ)
๓.๒.๑ ปญหา…………………………………ขอรบั การสนับสนุนจาก………………………………
เก่ยี วกบั ………………………………………………………………………………………………….
๓.๒.๒ ปญ หา…………………………………ขอรบั การสนับสนุนจาก………………………………
เกย่ี วกับ…………………………………………………………………………………………………..
๓.๒.๓ ปญหา…………………………………ขอรับการสนับสนนุ จาก……………………………….
เกย่ี วกับ……………………………………………………………………………………………………

ลงช่อื ………………………………………………………ผตู รวจ
ลงชื่อ………………………………………………………ผตู รวจ
ความเห็นหัวหนาหนว ย………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………..

ลงชอื่ ………………………………….ตําแหนง………………………

25

ผนวก ค.
การลา งภาชนะและอุปกรณ มอี งคป ระกอบดงั น้ี

๑. นา้ํ ที่ใชล า งตอ งสะอาด และอยูใ นสภาวะทีท่ ําใหผงซักฟอกหรือสบมู ปี ระสิทธิภาพทีจ่ ะ
กําจดั สงิ่ สกปรกตา ง ๆ ไดง าย

๒. ผงซักฟอกหรอื สบู ทใี่ ชกําจดั ความสกปรกจะตอ งคํานึงถึงส่งิ ตอ ไปน้ี
- สามารถละลายและแผก ระจายไปทั่งภาชนะไดงาย
- สามารถละลายไขมนั จากเศษอาหารไดดเี ย่ยี ม
- สามารถชะลา งเศษอาหารโดยเฉพาะโปรตีนไดส ูง
- สามารถละลายกและแผกระจายไดดีทง้ั นาํ้ ดออ นและนาํ้ กระดาง
- สามารถลา งออกจากผวิ ภาชนะไดง า ยโดยใชน ้ําสะอาดธรรมดา

๓. สารเคมฆี า เช้ือโรค เชน คลอรนี ไอโอดีน สารเหลา นีใ้ ชเพ่อื ทาํ ลายเชอ้ื โรค
๔. ภาชนะและอุปกรณท่ีจะทําความสะอาด จะตอ งออกแบบใหลางทาํ ความสะอาดไดงา ย

วิธลี า งและทาํ ความสะอาด
๑. อางที่ใชลางภาชนะตองเปนอาง ๓ ตอน ทําดวยคอนกรีต หินออน หรือโลหะที่ไมเปนสนิม ควรมี

ขนาด ๑๘ x ๒๔x ๑๒ ตารางนิ้ว หรืออาจจะใชอางอะลูมิเนียม อางพลาสติก แตไมควรทําดวยวัสดุท่ีจะเปนสนิมไดงาย
การต้ังอา งควรวางใหส งู จากพืน้ ประมาณ ๖๐ ซ.ม. เพือ่ ปองกันการปนเปอ นสิง่ สกปรกตา ง ๆ

อา งที่ ๑ อางท่ี ๒ อางที่ ๓

รปู การลางภาชนะ (Dishwashing)

๒. ภาชนะทีจ่ ะลา งตอ งแยกจาน ชามและแกว นํา้ ออกจากกันเสียกอ น
๓. กวาดเศษอาหารออกโดยใชน าํ้ อนุ และแปรงชว ยลางเพอื่ ใหเ ศษอาหารและไขมันออกใหมาก
ทีส่ ดุ
๔. ลางในอางที่หน่ึง ใชอุณหภูมิ ๔๐ - ๕๐ องศาเซลเซียล หรือใชนํ้าสะอาดผสมผงซักฟอก (ผงซักฟอก
๑ ชอนโตะ/น้ํา ๑๒ ลิตรหรือประมาณครึ่งปบ) ใชฟองน้ําเศษผาหรือสารใยสังเคราะห เชน สกอตไบรต ชวยในการลาง
ตามปกติผลซักฟอกจะมีฟองเมื่อเวลาอยูในน้ํา แตฟองท่ีเกิดขึ้นน้ันไมสามารถทําความสะอาดได ประสิทธิภาพในการทํา
ความสะอาด ขนึ้ อยกู บั การกทําใหผ ิวหนา ของภาชนะเปยกเทาน้ัน
๕. ลางในอางใบท่ีสอง โดยเอาจานท่ีลางเสร็จจุมลงในอางใบท่ีสองท่ีมีอุณหภูมิ ๕๐ - ๖๐ องศา เซลเซียล
เนื่องจากน้ําคอนขางรอน จะวางชามในตะกราที่มีหูหิ้ว แลวจุมน้ําก็ไดทั้งน้ีก็จะเปนการปองกันไมใหจานชามสกปรกจาก
การ จับตอง

26

๖. ฆาเชื้อโรคในอางท่ีสาม โดยใชนํ้ารอนท่ีอุณหภูมิ ๘๐– ๘๕ องศาเซลเซียล ๒นาที หรือจะใชน้ําผสม
ปูนคลอรีนเขมขน ๑๐๐ มก./ล. นาน ๒ นาที (ใชปูนคลอรนี ๖๐ % จํานวน ๑ ชอ นโตะ /น้าํ 1 ปบ )

๗. การตากแหง หลังจากการลา งในอางใบท่ีสามแลว หามใชผาเช็ดเด็ดขาด การใชผาเช็ดอาจจะทําใหจาน
ท่สี ะอาดแลว สกปรกอีก การเกบ็ จาน ชาม ที่สะอาดแลว ควรเกบ็ ไวในที่แหง ปราศจากฝุนละออง สัตว และแมลงนํา
โรค สาํ หรับจานชามใหวางควาํ่ บนตะแกรง สวนมดี ชอนสอ ม ตะเกยี บใหวางเอาดามท่ีจบั ขึน้

การกาํ จัดสิ่งขบั ถา ยในสนาม
๑. ในการเดนิ ทางไกล การพักแรมประจําชั่วโมง ใหข ุดหลมุ ลกึ ๑ ฟตุ เพื่อถา ยและทําการกลบ

ดวย
๒. ในท่พี ักแรมใหใ ชส ว มรองท้ังอุจจาระและปสสาวะ
๓. ในคา ยทพี่ กั ชวั่ คราวใหใ ชสว มหลุมหรอื สว มซมึ สําหรับกําจดั อุจจาระ สว นปส สาวะใชรางถาย

กบั บอ ซึม ในที่ซง่ึ ไมเหมาะทจี่ ะสรางสว มหลุมหรือสว มซมึ ใหใ ชสวมรอง และสว มถงั เทแทน

แนวทางในการสรา งสว ม
๑. เมือ่ ถึงท่พี กั ตอ งสรางสวมทนั ทแี มจ ะพกั อาศัยเพยี งวันเดียวกต็ าม
๒. สวมตองอยใู ตท ิศทางลมและตอ งอยูตรงขา มกบั โรงเลย้ี ง
๓. ควรจะมีจาํ นวนประมาณรอยละ ๘ ของจาํ นวนทหารของหนวย
๔. สามารถปอ งกนั แมลงรบกวนได
๕. ควรอยหู างจากแหลง น้าํ โรงอาหาร ๑๐๐ ฟตุ และหางจากท่พี กั ๓๐ ฟุต
๖. ควรขุดรองระบายนาํ้ ไวร อบ ๆ สวม
๗. กนหลุมของสว มควรอยูเหนือระดบั นา้ํ ผิวดินประมาณ ๓ เมตร
๘. สว มควรมฝี าและหลังคา
๙. เม่ือระดับของอุจจาระเหลือประมาณ ๑ ฟุต จะเต็ม (สวมรอง สวมหลุม) ใหกลบดวยดินสูงจากผิวดิน

ปกตปิ ระมาณ ๑.๕ ฟตุ

ชนดิ ของสวม
๑. สวมรอง ขนาด ๑x ๒x๒.๕ ฟุต ใช ๘ รอง /ทหาร ๖๐๐ คน ระยะหางระหวางรอง ๒ ฟุต ดิน

ท่ีขุดขนึ้ มานั้นกองไวข าง ๆ หลุมเพอ่ื ใชสําหรับกลบ
๒. สวมหลุมลึก ขนาด ๒ x ๕ x ๔.๖ ฟุต มีท่ีนั่งถายครอบปากหลุม สําหรับปองกันแมลง มีผงปูน

คลอรีนโรยทุก ๆ วันสําหรับฆาเชื้อโรค
๓. สวมหลุมยกระดบั ใชแทนสวมหลุมลกึ กรณรี ะดับนาํ้ ใตด ินอยตู น้ื
๔. สว มถงั เทใชก รณีดนิ าไมดีระบายนาํ้ ยาก

27

ทีป่ สสาวะ
๑. ในการพักประจําชั่วโมงของหนวยทหารกรณีออกลาดตระเวน ควรกําหนดที่สําหรับถาย

ปส สาวะ
๒. ในการพักชั่วคราวมากวา ๓ วัน ควรขุดรองดินขนาด ๓ x ๑๐ x ๑/๒ ฟุต แลวพรวนดิน

กน หลุมลกึ อกี ประมาณ ๑/๒ ฟุต เพื่อชว ยในการระบาย
๓. สาํ หรับคา ยพกั กง่ึ ถาวร สามารถสรา งที่สาํ หรับถายปสสาวะได ๒ แบบ
๓.๑ ท่ีถายปสสาวะแบบราง ยาว ๑๐ ฟุต/ทหาร ๑๐๐ คน หลมุ ซมึ ขนาด ๔ x ๔x ๔ ฟตุ
๓.๒ ท่ีถายปสสาวะแบบกรวย ยาว ๔ ฟุต ปกลงดินลึก ๒ ฟุต ควรมีจํานวน ๔ ที่/ทหาร

๑๐๐ คน

เอกสารประกอบการเรียบเรียง

๑. พฒั นา มลู พฤกษ, ผ.ศ. อนามัยสิ่งแวดลอม. กรงุ เทพมหานคร : หจก.เอ็น.เอส. แอล.พร้นิ ตงิ้ , ๒๕๓๙
๒. ณรงค ณ เชียงใหม, ร.ศ. สุขภาพส่ิงแวดลอมชุมชน. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ โอเดียนสโตร,
๒๕๓๐

เรยี บเรยี งโดย เรือเอก สงวน เนานิ่ม นาวาเอก นิกร เพชรวรี ะกุล
จดั ทําโดย พลเรอื ตรี จตุ ิ เฉลมิ เตียรณ นาวาเอก สมคดิ ทมิ สาด
นาวาเอกหญิง สขุ ใจ ไชยนาพงษ นาวาโทหญิง พรจนั ทร พงษพรหม
นาวาเอก สุรเชษฐ สูพ านิช

………………………………………

28 จาํ นวนเลม

ผนวก ง. ๒
รายการแจกจาย ๖
หนว ย ๒

สลก.ทร. ๒
สบ.ทร. ๒
กพ.ทร. ๒
ขว.ทร. ๒
ยก.ทร. ๒
กบ.ทร. ๔
สส.ทร. ๑๕๐
กพร.ทร. ๘
สปช.ทร. ๑๐
จร.ทร. ๒๔
กร.และ นขต.กร. ๒๔
กปฝ.และ นขต.กปฝ. ๘
นย.และ นขต.นย. ๑๙
สอ./รฝ.และ นขต.สอ./รฝ. ๑๘
ฐท.สส.และ นขต.ฐท.สส. ๕
ฐท.กท.และ นขต.ฐท.กท. ๗
ฐท.สข.และ นขต.ฐท.สข. ๓
ฐท.พง.และ นขต.ฐท.พง. ๒
กรม สห.ทร.และ นขต.กรม สห.ทร. ๔
อร.และ นขต.อร. ๕
อล.ทร.และ กงน.อล.ทร. ๔๐
ชย.ทร. ๒
สพ.ทร.,กอว.สพ.ทร.และ กฟอ.สพ.ทร. ๒
พธ.ทร.,กชพ.พธ.ทร.,รร.พธ.พธ.ทร.และ ศบพ.พธ.ทร. ๒
พร.(หนวยควบคมุ เอกสาร)
กง.ทร.
ขส.ทร.
อศ.

-๒-

หนวย จํานวนเลม

สก.ทร. ๒
วศ.ทร. ๒
สวพ.ทร. ๒
สรส.และ นขต.สรส. ๑๐
ยศ.ทร.และ นขต.ยศ.ทร. ๘
รร.นร.,กรม นนร.รอ.รร.นร.และ รพ.รร.นร. ๕
ศปก.ทร. ๒
กปช.จต. ๒
ฉก.ทพ.นย. ๒
นปข.และ นขต.นปข. ๖
รวม ๔๐๐ เลม

พล.ร.ต.

หัวหนา คณะทํางานพจิ ารณาและจดั ทาํ อทร.ดา น “อน่ื ๆ และ
จก.จร.ทร.


Click to View FlipBook Version