The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by runn0248, 2022-04-16 02:26:51

อทร.๔๐๐๕คู่มือการจัดซื้อ/จ้าง

อทร

Keywords: อทร

การทําสัญญาหรือขอตกลงเปนหนังสือ นอกจากการจางท่ีปรึกษาใหกําหนดคาปรับเปน
รายวันในอัตราตายตัว ระหวาง รอยละ ๐.๐๑ - ๐.๒๐ ของราคาพัสดุ ที่ยังไมไดรับมอบ เวนแต การจาง
ซึง่ ตองการผลสําเรจ็ ของงานท้งั หมดพรอมกัน ใหกําหนดคาปรับเปนรายวันเปนจํานวนเงินตายตัว ในอัตรา
รอยละ ๐.๐๑-๐.๑๐ ของราคางานจางน้ัน แตจะตองไมต่ํากวาวันละ ๑๐๐.- บาท สําหรับงานกอสราง
สาธารณูปโภคท่มี ผี ลกระทบตอการจราจร ใหกําหนดคา ปรบั ในอัตรารอยละ ๐.๒๕ ของราคางานจางน้ัน แต
อาจจะกาํ หนดขั้นสงู สดุ ของการปรบั ก็ได ทั้งนต้ี ามหลักเกณฑท ่ี กวพ.กาํ หนด

ในการทําสญั ญาจางที่ปรึกษา หากสวนราชการเห็นวา ถาไมกาํ หนดคา ปรับไวในสญั ญาจะ
เกิดความเสียหายแกราชการใหสวนราชการผูจัดทําสัญญากําหนดคาปรับเปนรายวันในอัตราหรือจํานวนเงิน
ตายตัวในอัตรารอยละ ๐.๐๑-๐.๑๐ ของราคางานจา งนัน้ ไดต ามความเหมาะสมและจาํ เปน

การกาํ หนดคาปรับตามวรรคหน่ึงและวรรคสอง ในอัตราหรือเปนจํานวนเงินเทาใด ใหอยู
ในดุลพินิจของหัวหนาสวนราชการ โดยคํานึงถึงราคาและลักษณะของพัสดุซึ่งอาจมีผลกระทบตอการท่ี
คูส ญั ญาของทางราชการ จะหลกี เลย่ี งไมป ฏบิ ัติตามสญั ญา หรือ กระทบตอการจราจร หรือ ความเสียหายแก
ทางราชการแลวแตกรณี

ในกรณีการจัดหาสิ่งของท่ปี ระกอบกันเปนชดุ ถาขาดสว นประกอบสวนหน่ึงสว นใดไปแลว
ไมสามารถใชการไดโดยสมบูรณ แมคูสัญญาจะสงมอบสิ่งของภายในกําหนดตามสัญญา แตยังขาด
สวนประกอบบางสวน ตอมาไดสงมอบสวนประกอบที่ยังขาดนั้นเกินกําหนดสัญญา ใหถือวาไมไดสงมอบ
ส่งิ ของนน้ั เลยใหป รับเต็มราคาของทงั้ ชุด

ในกรณีที่การจัดหาสิ่งของคิดราคารวมทั้งคาติดต้ัง หรือทดลองดวย ถาติดต้ัง หรือทดลอง
เกินกวากาํ หนดตามสัญญาเปนจาํ นวนวันเทา ใด ใหป รับเปน รายวนั ในอัตราท่กี ําหนดของราคาทัง้ หมด

เม่ือครบกําหนดสงมอบพัสดุตามสัญญา หรือขอตกลง ใหสวนราชการรีบแจงการเรียก
คา ปรับตามสญั ญาหรือขอ ตกลงจากคสู ญั ญา และเม่ือคูสัญญาไดสงมอบพัสดุใหสวนราชการบอกสงวนสิทธิ
การเรียกคาปรับ ในขณะท่ีรบั มอบพัสดนุ ้ันดว ย

สว นท่ี ๓ การดาํ เนินการภายหลงั การลงนามในสญั ญา

ในสวนน้ี จะเปนการดําเนินการภายหลังการลงนามในสัญญาหรือขอตกลงในการจัดซ้ือ/จาง
หรอื อาจเรยี กวา เปน ชว งการบรหิ ารสญั ญาหรอื ขอตกลงในการจดั ซ้อื /จาง ไดแ ก การสงสําเนาสัญญาให สตง.
และกรมสรรพากร การดาํ เนินการภายหลังยกเลิกสญั ญา รวมท้ังการตรวจรับพัสดุหรือการตรวจการจาง

๑. การสงสาํ เนาสญั ญาให สตง. และกรมสรรพากร 98
ใหหัวหนาสวนราชการสงสําเนาสัญญาหรือขอตกลงเปนหนังสือ ซึ่งมีมูลคา ตั้งแตหนึ่ง

ลานบาทข้ึนไป ใหสํานักงานการตรวจเงินแผนดินหรือสํานักงานการตรวจเงินแผนดินภูมิภาค แลวแตกรณี
และกรมสรรพากร ภายใน ๓๐ วัน นับแตวนั ทําสญั ญาหรือขอตกลง

กรมสรรพากรไดกําหนดข้ันตอนรายละเอียดของการปฏิบัติเพ่ิมเติมจากที่ระเบียบสํานักนายก
รัฐมนตรี วาดว ยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่ีแกไขเพ่ิมเติม ไดกําหนดตามวรรคหนึ่ง โดยขอใหสวนราชการ
และรัฐวิสาหกิจแจงรายละเอียดการทําสัญญาซ้ือขายและสัญญาจาง หรือรายการส่ังซื้อ/สั่งจาง หรือขอตกลง
เฉพาะรายท่ีมีวงเงินตั้งแต ๑๐๐,๐๐๐ บาทข้ึนไป ในทะเบียนขอมูลสัญญาซื้อขายหรือสัญญาจาง ในกรณีท่ีมี
การทําสัญญา และในกรณีที่มิไดจัดทําสัญญา ใหแจงรายละเอียดการส่ังซ้ือ/สั่งจาง หรือขอตกลงตาม
แบบฟอรมท่กี ําหนด โดยมีข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิ ดังนี้ 99

- การแจงรายละเอียดใหจัดสงกรมสรรพากรภายในวันที่ ๑๐ ของเดือนถัดจากเดือนท่ีมีการ
ทาํ สญั ญาหรือมีการจา ยเงนิ ในกรณีส่ังซื้อ/สัง่ จา ง หรอื ขอ ตกลง

- การสง ทะเบียนขอมูลดังกลาวขางตน สวนราชการและรัฐวิสาหกิจในกรุงเทพมหานครให
สงไปท่ีกรมสรรพากร สวนราชการและรัฐวิสาหกจิ ในตา งจงั หวดั ใหส งไปทส่ี ํานกั งานสรรพากรจังหวดั นัน้ ๆ

- ในสว นของสาํ เนาสัญญาหรอื ขอ ตกลงเปน หนงั สือ ยังไมตองสงจนกวากรมสรรพากรจะมี
หนงั สอื ขอมาเปน คราว ๆ ไป

๒. การแกไขเปล่ียนแปลงสญั ญา 100
สัญญาหรือขอตกลงเปนหนังสือที่ไดลงนามแลว จะแกไขเปลี่ยนแปลงมิได เวนแตการ

แกไ ขนัน้ จะเปนความจําเปนโดยไมทาํ ใหทางราชการตองเสียประโยชน หรือเปนการแกไขเพื่อประโยชนแก
ทางราชการ ใหอยูในอํานาจของหัวหนาสวนราชการ (ผบ.ทร.) ท่ีจะพิจารณาอนุมัติใหแกไขเปลี่ยนแปลงได
แตถ ามีการเพม่ิ วงเงินจะตองปฏิบัติตามกฎหมายวา ดวยวิธีการงบประมาณ หรือขอทําความตกลงในสวนที่ใช
เงินกู หรือเงนิ ชว ยเหลือแลว แตก รณดี ว ย

การแกไขเปลยี่ นแปลงสญั ญาหรอื ขอตกลงตามวรรคหน่ึง หากมคี วามจําเปนตอ งเพ่มิ หรือลด
วงเงนิ หรือเพ่ิมหรือลดระยะเวลาสง มอบของหรือระยะเวลาในการทาํ งาน ใหตกลงพรอมกันไป

98 สํานกั นายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสํานักนายกรฐั มนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่แี กไขเพ่ิมเติม ขอ ๑๓๕
99 กรมสรรพากร, หนังสือกรมสรรพากร ท่ี กค ๐๘๑๔/๑๐๕๘๗ ลง ๑๒ ต.ค.๔๒ แจงเวยี นตามบันทึก กบ.ทร.ท่ตี อ กบ.

ทร.เลขรับ ๐๙๑/๔๓ ลง ๑๔ ม.ค.๔๓
100 สํานักนายกรฐั มนตรี, ระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรวี า ดว ยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทแ่ี กไขเพิ่มเตมิ ขอ ๑๓๖

สาํ หรับการจัดหาทีเ่ ก่ยี วกบั ความม่นั คงแข็งแรงหรอื งานเทคนคิ เฉพาะอยาง จะตองไดรับการ
รบั รองจากวศิ วกร สถาปนิกและวิศวกร ผชู าํ นาญการ หรอื ผูทรงคุณวุฒิ ซึ่งรับผิดชอบหรือสามารถรับรอง
คุณลักษณะเฉพาะ แบบและรายการของงานกอ สราง หรอื งานเทคนิคเฉพาะอยางนั้น แลว แตก รณีดว ย

๓. สิทธิการบอกเลกิ สัญญาจางและการตกลงเลิกสัญญา 101
ใหหัวหนาสวนราชการพิจารณาใชสิทธิบอกเลิกสัญญาหรือขอตกลง ในกรณีท่ีมีเหตุอัน

เชอ่ื ไดว า ผูร บั จางไมส ามารถทํางานใหแลว เสร็จภายในระยะเวลาท่กี าํ หนด
การตกลงกับคูสัญญาท่ีจะบอกเลิกสัญญาหรือขอตกลง ใหหัวหนาสวนราชการพิจารณาได

เฉพาะกรณีท่ีเปนประโยชนแกทางราชการโดยตรง หรือเพ่ือแกไขขอเสียเปรียบของทางราชการในการท่ีจะ
ปฏิบตั ิตามสญั ญาหรอื ขอ ตกลงนน้ั ตอไป

๔. การบอกเลิกสญั ญากรณคี า ปรบั จะเกนิ รอยละ ๑๐ และการผอนปรน 102
ในกรณที ี่คูส ัญญาไมสามารถปฏิบตั ิตามสัญญาหรือขอตกลงได และจะตองมีการปรับตาม

สัญญาหรือขอตกลงน้ัน หากจํานวนเงินคาปรับจะเกินรอยละสิบของวงเงินคาพัสดุ หรือคาจาง ให
สวนราชการพิจารณาดําเนินการบอกเลิกสัญญาหรือขอตกลง เวนแตคูสัญญาจะไดยินยอมเสียคาปรับใหแก
ทางราชการ โดยไมมีเงื่อนไขใด ๆ ทั้งส้ิน ใหหัวหนาสวนราชการพิจารณาผอนปรนการบอกเลิกสัญญาได
เทา ทจี่ ําเปน

๕. การงดหรือลดคาปรับหรอื การขยายเวลาทาํ การตามสัญญา 103
การงดหรือลดคาปรับใหแกคูสัญญา หรือการขยายเวลาทําการตามสัญญาหรือขอตกลง

ใหอยูในอํานาจของหัวหนาสวนราชการ (ผูส่ังซ้ือส่ังจาง) ท่ีจะพิจารณาไดตามจํานวนวันท่ีมีเหตุเกิดขึ้นจริง
เฉพาะกรณดี ังตอ ไปน้ี

๕.๑ เหตเุ กิดจากความผิดหรอื ความบกพรองของสวนราชการ
๕.๒ เหตุสุดวิสัย
๕.๓ เหตเุ กดิ จากพฤตกิ ารณอ ันหน่งึ อนั ใดทค่ี สู ญั ญาไมต อ งรบั ผิดตามกฏหมาย
ใหสวนราชการระบุไวในสัญญากําหนดใหคูสัญญาตองแจงเหตุดังกลาว ใหสวนราชการ
ทราบภายใน ๑๕ วัน นบั แตเ หตุนน้ั ไดส้นิ สุดลง หากมิไดแ จงภายในเวลาท่กี าํ หนด คสู ัญญาจะยกมากลา วอา ง
เพอื่ ขอลดหรืองดคา ปรับ หรอื ขอขยายเวลาในภายหลงั มิได เวน แตก รณี ตามขอ๕.๑ ซึ่งมีหลักฐานชัดแจง หรือ
สวนราชการทราบดอี ยูแลว ตง้ั แตตน

๖. การใชสทิ ธิตามเง่อื นไขของสญั ญาหรอื ขอกฎหมาย 104

101 สํานกั นายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรีวาดว ยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แกไขเพ่มิ เติม ขอ ๑๓๗
102 สาํ นกั นายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่แี กไขเพิ่มเตมิ ขอ ๑๓๘
103 สํานักนายกรฐั มนตรี, ระเบียบสาํ นกั นายกรฐั มนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทแี่ กไขเพม่ิ เติม ขอ ๑๓๙
104 สาํ นักนายกรฐั มนตรี, ระเบยี บสํานกั นายกรฐั มนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทีแ่ กไขเพม่ิ เตมิ ขอ ๑๔๐

ในกรณีที่ไมมีระเบียบกําหนดไวเปนการเฉพาะและเปนความจําเปนเพ่ือประโยชนแกทาง
ราชการท่ีจะใชสิทธิตามเง่ือนไขของสัญญาหรือขอตกลงหรือขอกฎหมาย ใหอยูในดุลพินิจของหัวหนาสวน
ราชการทีจ่ ะใชสิทธดิ ังกลาว สงั่ การไดตามความจาํ เปน

๗. การตรวจรับพัสดุ
การจัดซื้อ/จาง ทุกวิธี เมื่อหัวหนาสวนราชการอนุมัติซื้อ/จางแลว ตองแตงตั้ง

คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ 105(กรณีการซ้ือหรือการจางท่ีมีวงเงินเกินกวา ๑๐,๐๐๐.- บาท ขึ้นไป) หรือ
ผตู รวจรับพสั ดุ 106(กรณกี ารซ้อื หรอื การจางในวงเงินไมเ กิน ๑๐,๐๐๐.- บาท)

๗.๑ การแตง ตง้ั คณะกรรมการตรวจรบั พสั ดุ
การแตง ต้ังคณะกรรมการตรวจรับพสั ดุ ตามระเบียบสาํ นกั นายกรฐั มนตรีวาดวยการ

พสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทแี่ กไขเพม่ิ เติม ขอ ๓๔(๖) ทุกครั้ง สวนราชการจะตองกําหนดระยะเวลาในการปฏิบัติ
หนาทีข่ องคณะกรรมการ (ภายใน ๕ วนั ทําการ) ดว ย 107

๗.๒ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ มหี นาท่ี ดงั นี้ 108
๗.๒.๑ ตรวจรับพัสดุ ณ ท่ีทําการของผูใชพัสดุน้ัน หรือสถานที่ซึ่งกําหนดไวใน

สัญญา หรือขอตกลงการตรวจรับพัสดุ ณ สถานท่ีอื่น ในกรณีที่ไมมีสัญญาหรือขอตกลง จะตองไดรับอนุมัติ
จากหวั หนา สวนราชการกอน

๗.๒.๒ ตรวจรับพัสดุใหถูกตองครบถวนตามหลักฐานที่ตกลงกันไว สําหรับกรณีท่ีมี
การทดลองหรือตรวจสอบในทางเทคนิคหรือทางวิทยาศาสตร จะเชิญผูชํานาญการหรือผูทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับ
พัสดนุ ้ันมาใหคําปรึกษาหรือสงพัสดุน้ันไปทดลองหรือตรวจสอบ ณ สถานท่ีของผูชํานาญการหรือผูทรงคุณวุฒิ
นน้ั ๆ กไ็ ด

ในกรณีจําเปนท่ีไมสามารถตรวจนับเปนจํานวนหนวยทั้งหมดได ใหตรวจรับตาม
หลกั วชิ าการสถิติ

๗.๒.๓ โดยปกติใหตรวจรับพัสดุในวันท่ีผูขาย หรือผูรับจางนําพัสดุมาสง และให
ดาํ เนนิ การใหเสรจ็ ส้นิ โดยเรว็ ทส่ี ดุ

๗.๒.๔ เม่ือตรวจถูกตองครบถวนแลวใหรับพัสดุไว และถือวาผูขาย หรือผูรับจางได
สงมอบพัสดุถูกตองครบถวนต้ังแตวันที่ผูขายหรือผูรับจางนําพัสดุนั้นมาสง แลวมอบแกเจาหนาที่พัสดุพรอม
กับทําใบตรวจรับโดยลงชื่อไวเปนหลักฐานอยางนอยสองฉบับ มอบแกผูขายหรือผูรับจาง ๑ ฉบับ และ

105 สาํ นักนายกรฐั มนตรี, ระเบยี บสํานักนายกรฐั มนตรวี า ดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แกไ ขเพ่ิมเติม ขอ ๓๔(๖)
106 สํานักนายกรัฐมนตรี, ระเบียบสํานักนายกรฐั มนตรีวาดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทแี่ กไ ขเพมิ่ เติม ขอ ๓๕วรรคหา
107 สํานกั นายกรัฐมนตรี, หนังสือสาํ นกั นายกรัฐมนตรี ท่ี นร (กวพ.) ๑๓๐๕/ว ๑๑๙๔๘ ลง ๑๓ ธ.ค.๔๓ แจงเวยี นตาม
บันทึก กบ.ทร. ท่ีตอ กบ.ทร. เลขรับ ๔๖๒/๔๔ ลง ๙ ก.พ.๔๔
108 สาํ นักนายกรฐั มนตรี, ระเบียบสาํ นักนายกรัฐมนตรี วา ดว ยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ที่แกไ ขเพิ่มเตมิ ขอ ๗๑

เจาหนา ที่พสั ดุ ๑ ฉบับ เพ่ือดําเนินการเบิกจายเงินตามระเบียบวาดวยการเบิกจายเงินจากคลังและรายงานใหหัวหนา
สวนราชการทราบ

ในกรณีที่เห็นวาพัสดุที่สงมอบ มีรายละเอียดไมเปนไปตามขอกําหนดในสัญญา หรือ
ขอตกลงใหร ายงานหวั หนา สวนราชการผานหัวหนา เจาหนา ท่ีพสั ดุ เพ่ือทราบหรือส่ังการ แลวแตกรณี

๗.๒.๕ ในกรณีท่ีผูขายหรือผูรับจางสงมอบพัสดุถูกตองแตไมครบจํานวน หรือ
สงมอบครบจํานวน แตไมถูกตองทั้งหมดถาสัญญาหรือขอตกลงมิไดกําหนดไวเปนอยางอื่น ใหตรวจรับไว
เฉพาะจํานวนท่ถี ูกตอ งโดยถือปฏิบัตติ ามขอ ๗.๒.๔ และโดยปกติใหรีบรายงานหัวหนาสวนราชการเพื่อแจง
ใหผูขายหรือผูรับจางทราบภายใน ๓ วันทําการ นับแตวันตรวจพบ แตทั้งน้ีไมตัดสิทธ์ิของสวนราชการท่ีจะ
ปรับผูขายหรือผรู บั จางในจํานวนทส่ี งมอบไมครบถวนหรือไมถ ูกตองนน้ั

๗.๒.๖ การตรวจรับพัสดุท่ีประกอบกันเปนชุดหรือหนวยถาขาดสวนประกอบอยาง
ใดอยางหนึ่งไปแลว จะไมสามารถใชการไดโดยสมบูรณ ใหถือวาผูขายหรือผูรับจางยังมิไดสงมอบพัสดุนั้น
และโดยปกติใหรีบรายงานหัวหนาสวนราชการ เพื่อแจงใหผูขายหรือผูรับจางทราบภายใน ๓ วันทําการ
นบั แตวนั ทต่ี รวจพบ

๗.๒.๗ ถากรรมการตรวจรับพัสดุบางคนไมยอมรับพัสดุ โดยทําความเห็นแยงไว
ใหเสนอหัวหนาสวนราชการเพ่ือพิจารณาส่ังการ ถาหัวหนาสวนราชการส่ังการใหรับพัสดุนั้นไว จึง
ดาํ เนนิ การตามขอ ๗.๒.๔ หรอื ๗.๒.๕ แลวแตก รณี

ในกรณสี ว นราชการไดทําสญั ญาหรือขอตกลงเปนหนังสือกับผูขายหรือผูรับจางแลว
ตอมาหากมีความจําเปนตองแกไขเปลี่ยนแปลงสัญญา หรือขอตกลง หรือพิจารณาขยายระยะเวลาทําการตาม
สัญญา การงดหรือลดคาปรับแลว ใหคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ เปนผูเสนอความเห็นเพ่ือประกอบการ
พิจารณาของหัวหนาสวนราชการ หรือผูมีอํานาจในการแกไขเปลี่ยนแปลงสัญญา หรือขอตกลง หรือการ
ขยายระยะเวลาทําการตามสญั ญา การงดหรือลดคาปรบั ในแตล ะคร้ังดว ย 109

๗.๓ ระยะเวลาในการตรวจรบั พัสดุ 110
ในการตรวจรับพัสดุ ใหคณะกรรมการตรวจรับพัสดุดําเนินการตรวจรับในวันที่

คูสญั ญานาํ พสั ดสุ ง มอบ และใหด ําเนินการใหเสร็จสิ้นไปโดยเร็วท่ีสุด แตอยางชาไมเกิน ๕ วันทําการ นับแต
วันท่ี คูสัญญานําพัสดุมาสงมอบ ทั้งนี้ระยะเวลาดังกลาวไมรวมถึงระยะเวลาในการตรวจทดลองหรือ
ตรวจสอบในทางเทคนิคหรือทางวทิ ยาศาสตร

109 สํานกั นายกรัฐมนตรี, หนงั สอื สํานักนายกรฐั มนตรี ที่ นร(กวพ) ๑๓๐๕/ว ๑๑๙๔๘ ลง ๑๓ ธ.ค.๔๓
แจงเวยี นตามบันทกึ กบ.ทร.ที่ตอ กบ.ทร.เลขรับ ๔๖๒/๔๔ ลง ๙ ก.พ.๔๔
110 สาํ นักนายกรฐั มนตรี, หนงั สือสาํ นกั นายกรฐั มนตรี ที่ นร ๑๓๐๕/ว ๕๘๕๕ ลง ๑๑ ก.ค.๔๔
แจงเวียนตามบันทึก กบ.ทร.ทตี่ อ กบ.ทร.เลขรบั ๔๑๖๗/๔๔ ลง ๗ ส.ค.๔๔

กรณีท่ีคณะกรรมการตรวจรับพัสดุไมสามารถดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน
กําหนดเวลาดังกลาวขางตนได ใหรายงานหัวหนาสวนราชการพรอมดวยเหตุผลความจําเปนพรอมกับสําเนา
แจงให คูสัญญาทราบดว ย

๗.๔ การตรวจรบั พัสดุทเ่ี ปนของใหมแ ละผลติ ในตางประเทศ 111 เปนมาตรการเก่ยี วกบั
การตรวจรับพัสดุท่ีเปนของใหมและผลิตในตางประเทศ โดยคณะกรรมการตรวจรับ

พัสดุตอ งดําเนนิ การดังนี้
๗.๔.๑ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุตองตรวจสอบใหเกิดความชัดเจนวา พัสดุที่

สั่งซือ้ เปน ของใหมแ ละเปนของจากตางประเทศจริง
๗.๔.๒ ในกรณีท่ีคณะกรรมการตรวจรับพัสดุมีปญหาสงสัยวาพัสดุที่ผูขายนํามา

สงมอบจะเปนของใหม และ/หรือเปนของท่ีผลิตจากประเทศที่ระบุไวในสัญญาหรือไม ใหคณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุขอใหผูขายนําบัญชีราคาสินคา (INVOICE) และใบขนสินคาของกรมศุลกากร ที่มีรายการ
สง่ิ ของท่จี ะสง มอบมาแสดงประกอบการพจิ ารณาตรวจรบั ดว ย

๗.๕ การดาํ เนินการภายหลงั การตรวจรบั พัสดุของเจาหนาท่ีพัสดุ 112
เม่ือคณะกรรมการตรวจรับพัสดุไดตรวจรับพัสดุท่ีผูขายสงมอบ และสงมอบ

หลักฐานการตรวจรับพัสดุใหแกเจาหนาท่ีพัสดุแลว ใหเจาหนาท่ีพัสดุรายงานผลการตรวจรับพัสดุของ
คณะกรรมการตรวจรบั พัสดุใหห วั หนาสว นราชการทราบภายใน ๓ วัน

วิธีปฏิบัติในการบอกเลิกสัญญาซือ้ /จา ง

ใหหนว ยเก่ยี วของปฏบิ ัตดิ งั นี้ 113
๑. กอนครบกําหนดสงมอบ หากผูมีอํานาจสั่งซ้ือ/สั่งจาง พิจารณาเห็นวาการสงมอบของน้ัน
จะไมทันกําหนดตามสัญญาใหมีหนังสือแจงเตือนผูขาย /ผูรับจาง ใหดําเนินการสงมอบของตามกําหนด
สญั ญา พรอ มท้งั แจงสงวนสิทธทิ จี่ ะดาํ เนนิ การตามสัญญาทุกขอ
๒. เม่ือครบกําหนดสัญญาและผูขาย/ผูรับจางยังไมไดสงมอบของ ใหผูมีอํานาจส่ังซ้ือ/จาง มี
หนังสือ ในทันทีท่ีครบกําหนดสงมอบของโดยแจงเตือนผูขาย/ผูรับจาง ใหดําเนินการสงมอบของและขอ
แจงการปรับในขอท่ีไดกําหนดในเร่ืองคาปรับไวในสัญญาอีกท้ังขอสงวนสิทธิ ตามสัญญาในขออ่ืน ๆ ท่ี
เหลอื ดว ย

111 สํานักนายกรัฐมนตรี, หนงั สอื สํานกั นายกรฐั มนตรี ที่ นร(กวพ) ๑๐๐๒/ว ๒ ลง ๒๐ ม.ค.๓๕
แจง เวยี นตามบันทึก กบ.ทร. ท่ตี อ กบ.ทร.รับที่ ๑๐๒๕/๓๕ ลง ๒๑ ก.พ.๓๕
112 สาํ นกั นายกรฐั มนตรี, หนงั สอื สาํ นกั นายกรัฐมนตรี ท่ี นร(กวพ) ๑๓๐๕/ว ๑๑๙๔๘ ลง ๑๓ ธ.ค.๔๓
แจงเวยี นตามบนั ทกึ กบ.ทร. ทีต่ อ กบ.ทร. เลขรับ ๔๖๒/๔๔ ลง ๙ ก.พ.๔๔
113 กรมสง กําลังบาํ รุงทหารเรือ, บันทกึ กบ.ทร.ที่ กห ๐๕๐๖/๒๓๐ ลง ๙ มี.ค.๓๓

๓. เม่ือพนกําหนดสงมอบเปนระยะเวลาหน่ึง แตจํานวนเงินคาปรับยังไมถึงรอยละสิบของ
วงเงินการ จัดซ้ือ/จาง และผูขาย/ผูรับจาง ไดสงมอบของใหในชวงเวลานี้ ใหผูมีอํานาจสั่งซ้ือ/สั่งจางมี
หนงั สือ แจงสงวนสทิ ธกิ ารปรับไว เมือ่ ทําการรับมอบของหรือรบั มอบงาน

๔. เมื่อพนกาํ หนดสงมอบเปนระยะเวลานานจนจํานวนเงินคาปรับเทากับรอยละสิบของวงเงิน
การจัดซ้ือ/จางและผูขาย/ผูรับจางยังไมไดสงมอบของ ใหผูมีอํานาจส่ังซื้อ/สั่งจาง มีหนังสือบอกเลิกสัญญา
และแจงการใชสิทธติ าง ๆ ท่ีผซู อื้ /สง่ั จางจะไดรับทุกขอตามท่ีกาํ หนดในสัญญา แตหากผูขาย/ผูรับจางยินดีจะ
สงมอบของใหไดก็ใหพิจารณาผอนปรนการบอกเลิกสัญญาออกไป โดยคํานึงถึงประโยชนของทางราชการ
เปนสําคัญ และผูขาย/ผูรับจางจะตองยืนยันที่จะสงมอบของภายในระยะเวลาท่ีกําหนด และยินดีใหเรียก
คาปรับไดต ามทีก่ ําหนดในสัญญาไว เปน ลายลกั ษณอกั ษร

๕. ใหห นว ยจดั ซ้อื /สง่ั จา งเปน ผูค วบคมุ ใหผขู าย/ผรู ับจางดําเนนิ การใหเ ปน ไปตามท่ีกาํ หนดไว
ในสญั ญาซ้ือขาย/วาจา ง โดยตรวจสอบสถานะการจดั ซือ้ /วา จา ง และเมอื่ ตรวจพบวาผูขาย/ผรู บั จางไมป ฏบิ ตั ิ
ตามทีก่ ําหนดไวในสัญญา ๆ ใหดาํ เนินการ ตามขอ ๑ - ๔ อยางไรก็ตาม การปฏิบัติ ตามขอ ๑ - ๕ ของหนวย
ที่เก่ียวของ ใหคณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือคณะกรรมการตรวจการจาง เสนอรายงานตอหัวหนาสวน
ราชการ ( ผานนายทหารพระธรรมนูญ ) เพ่ือพิจารณาใหความเห็นในการบอกเลิกสัญญา ตามระเบียบสํานัก
นายกรฐั มนตรวี าดว ยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทแ่ี กไ ขเพม่ิ เติม ตอ ไป

หมวด ๓ การจางกอสรา ง

๑. งานกอสราง หมายถึง การกอสรางอาคาร ส่ิงกอสราง ระบบสาธารณูปโภค (เชน ระบบไฟฟา ระบบประปา
ระบบปรับอากาศ เปน ตน) และสิ่งอํานวยความสะดวกตา ง ๆ (เชน ถนน ลานจอดรถ เปน ตน )

นอกจากน้ัน งานกอสรางยังหมายความรวมถึง114
(๑) งานเคลือ่ นยา ยอาคาร
(๒) งานปรบั ปรงุ (งานดดั แปลง ตอเดมิ ) งานรือ้ ถอน และงานซอ มแซม

๒. งานกอสรา ง แยกเปน ๒ ประเภท ไดแ ก
๒.๑ งานตามแผนปฏิบัติการประจําป ไดแก งานตามแผนการจัดสรรงบประมาณงานกอสรางประจําป

และแผนการจัดซ้ือจัดจางงานสาํ รองประจาํ ป หรืองานทีม่ ีงบประมาณรองรบั
๒.๒ งานนอกแผนปฏิบตั ิการประจําป ไดแ ก งานกอสรางทไ่ี มไดบรรจุอยูใ นแผนปฏบิ ตั ิการประจําป

๓. งานกอ สราง โดยปกติกอนจา งกอสรา งตองดําเนนิ การดังน้ี
๓.๑ การขออนุมัติหลักการ การกอสรางตามปกติหรืองานนอกแผนปฏิบัติการประจําป ใหสวน

ราชการทํารายงานเสนอตามลําดับช้ันจนถึง ทร. เพ่ือขออนุมัติสราง เมื่อ ทร.เห็นชอบในดําริ (อนุมัติหลักการ)
นั้นแลว ยอมสงหนวยเทคนิคเพื่อออกแบบกอสรางตอไป115 สวนงานตามแผนประจําปจะถือวาไดรับอนุมัติ
หลักการจาก ทร.แลว ไมต อ งขออนมุ ตั หิ ลกั การอีก โดยใหด าํ เนินการขออนมุ ตั ิแบบ ตําบลท่แี ละประมาณการ

๓.๒ การขออนุมัติแบบ ตําบลท่ีและประมาณการ เมื่อ ทร.อนุมัติหลักการหรืออนุมัติแผนปฏิบัติการ
ประจําปแลว ใหสวนราชการที่ถืองบประมาณขออนุมัติแบบ ตําบลท่ีและประมาณการงานกอสรางตอ
ทร.(ผาน กบ.ทร.) กอนดําเนินการจัดจางตอไป116 ยกเวนงานซอมแซมไมตองขออนุมัติแบบ ตําบลท่ีและ
ประมาณการ

๓.๓ ดาํ เนนิ การจัดจาง หลังจาก ทร.อนุมัติแบบ ตําบลท่ี และประมาณการแลว ใหสวนราชการที่ถือ
งบประมาณดาํ เนนิ การจดั จางตามข้ันตอนตอไป

๔. การจางกอสราง กระทําได ๕ วธิ ี ไดแ ก1 17

114 สํานักนายกรฐั มนตรี, หนงั สอื สํานกั นายกรฐั มนตรี ที่ นร (กวพ) ๑๒๐๔/ว ๑๙๓๙ ลง ๒๔ ก.พ.๓๗
115 ขอบงั คบั ทหารเรอื ท่ี ๓๔ วาดว ยการโยธาฝายบก มาตรา ๕ ขอ (๑) วรรคแรก
๓ ขอ บังคับทหารเรือท่ี ๓๔ วา ดวยการโยธาฝา ยบก มาตรา ๕ ขอ (๑) วรรคสอง
๔ สาํ นกั นายกรัฐมนตรี, ระเบียบสาํ นกั นายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ท่แี กไขเพิ่มเติม ขอ ๑๘

๔.๑ วธิ ตี กลงราคา ไดแ ก การจา งครง้ั หนึ่งซึง่ มีราคาไมเ กนิ ๑๐๐,๐๐๐.-บาท118
๔.๒ วิธีสอบราคา ไดแก การจางคร้ังหนึ่งซึ่งมีราคาเกิน ๑๐๐,๐๐๐.-บาท แตไมเกิน ๒,๐๐๐,๐๐๐.-
บาท119
๔.๓ วิธปี ระกวดราคา ไดแก การจางครั้งหน่งึ ซ่งึ มีราคาเกนิ ๒,๐๐๐,๐๐๐.-บาท120
หมายเหตุ ขอกําหนดพิเศษเก่ียวกับวิธีการจาง ถาผูสั่งจางเห็นสมควรจะส่ังใหกระทําโดยวิธีที่
กาํ หนดไวสาํ หรบั วงเงินทีส่ ูงกวากไ็ ด
การแบงจางโดยลดวงเงินท่ีจะจางในคร้ังเดียวกัน เพ่ือใหวงเงินตํ่ากวาท่ีกําหนดโดยวิธีหน่ึงวิธีใด หรือ
เพอ่ื ใหอาํ นาจส่งั จางเปลยี่ นไปจะกระทาํ มไิ ด121
๔.๔ วิธีพิเศษ ไดแก การจางคร้ังหน่ึงซ่ึงมีราคาเกิน ๑๐๐,๐๐๐.-บาท ใหกระทําไดเฉพาะกรณีหน่ึง
กรณใี ด ดังน1้ี 22

๔.๔.๑ เปน งานท่ีตอ งจางชางผูม ฝี ม ือโดยเฉพาะหรือผมู ีความชํานาญเปน พิเศษ
๔.๔.๒ เปนงานทต่ี องกระทาํ โดยเรงดว น หากลา ชาอาจจะเสยี หายแกร าชการ
๔.๔.๓ เปนงานทีต่ อ งปกปดเปนความลับของทางราชการ
๔.๔.๔ เปนงานที่จําเปนตองการจางเพิ่มในสถานการณท่ีจําเปนหรือเรงดวนหรือเพ่ือ
ประโยชนของสว นราชการ และจําเปน ตองจา งเพ่ิม (Repeat Order)
๔.๔.๕ เปน งานทไี่ ดดาํ เนินการจา งโดยวิธีอ่ืนแลวไมไดผ ลดี

ทั้งน้ี การดําเนินการจัดจางโดยวิธีพิเศษตองขอความเห็นชอบจาก ทร.ในข้ันตอนการขอ
อนมุ ัตแิ บบ ตาํ บลท่ี และประมาณการ จงึ จะดาํ เนนิ การตอไปได

๔.๕ วิธกี รณีพิเศษ ไดแ ก การจางสวนราชการ หนว ยงานตามกฎหมายวาดว ยระเบียบบรหิ ารราชการ
สวนทองถ่ิน หนวยงานอื่นท่ีมีกฎหมายบัญญัติใหมีฐานะเปนราชการบริหารสวนทองถิ่น หรือรัฐวิสาหกิจ
ในกรณดี ังตอไปนี้123

(๑) เปนผทู ํางานจางน้ันเอง และนายกรัฐมนตรีอนุมตั ิใหจา ง
(๒) มกี ฎหมายหรือมติคณะรฐั มนตรกี าํ หนดใหจาง
หมายเหตุ หากการจางกอสรางในคราวใด มีความจําเปนจะตองจางท่ีปรึกษา หรือการจางออกแบบ
และควบคุมงาน ใหปฏบิ ตั ติ ามขอ ๒๒ และ ๒๓ หนา… ของ อทร.๔๐๐๕

๑ สํานักนายกรัฐมนตรี, ระเบียบสาํ นักนายกรัฐมนตรวี าดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับที่แกไขเพม่ิ เติม ขอ ๑๙
119 สาํ นักนายกรฐั มนตรี, ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรีวาดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ทีแ่ กไขเพิ่มเติม ขอ ๒๐
120 สาํ นกั นายกรัฐมนตรี, ระเบียบสาํ นกั นายกรฐั มนตรวี าดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ที่แกไขเพ่ิมเตมิ ขอ ๒๑
121 สาํ นักนายกรฐั มนตรี, ระเบียบสาํ นักนายกรฐั มนตรวี าดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ที่แกไขเพม่ิ เติม ขอ ๒๒
122 สํานกั นายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสาํ นักนายกรัฐมนตรวี าดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ทีแ่ กไขเพ่มิ เตมิ ขอ ๒๔
123 สาํ นกั นายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสาํ นกั นายกรัฐมนตรวี าดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับท่ีแกไขเพม่ิ เติม ขอ ๒๖

๕. การรายงานขอจาง หลังจากที่ ทร.อนุมัติแบบ ตําบลท่ีและประมาณการตามขอ ๒.๒ แลว กอนดําเนินการ
จางทุกวิธี นอกจากการซื้อที่ดินและหรือส่ิงกอสราง ใหเจาหนาท่ีพัสดุจัดทํารายงานเสนอหัวหนาสวนราชการ
ตามรายการดังตอไปนี้124

(๑) เหตผุ ลและความจาํ เปน ที่จะตองจา ง
(๒) รายละเอยี ดของงานทจ่ี ะจา ง
(๓) ราคามาตรฐานหรือราคากลางของทางราชการหรือราคาท่ีเคยจางครั้งหลังสุด
ภายในระยะเวลา ๒ ปง บประมาณ
(๔) วงเงินท่ีจะจางโดยใหระบุวงเงินงบประมาณ วงเงินตามโครงการเงินกู หรือเงิน
ชวยเหลอื ท่ีจะจา งในครงั้ น้ันทง้ั หมด ถา ไมม ีวงเงนิ ดังกลา วใหร ะบุวงเงนิ ทปี่ ระมาณวา จะจา งในครง้ั น้นั
(๕) กําหนดเวลาท่ตี องการใหง านนน้ั แลว เสรจ็
(๖) วิธีทีจ่ ะจา งและเหตผุ ลที่จะตองจางโดยวธิ ีน้นั
(๗) ขอเสนออื่น ๆ เชน การอนุมัติแตงตั้งคณะกรรมการตาง ๆ ท่ีจําเปนในการจาง การ
ออกประกาศสอบราคา หรือประกาศประกวดราคา
การจางโดยวธิ ีตกลงราคาในวงเงินไมเกิน ๑๐,๐๐๐.-บาท และการจางโดยวิธีพิเศษกรณีเรงดวน หาก
ลาชาอาจะจะเสียหายแกราชการ ซึ่งไมอาจทํารายงานตามปกติได เจาหนาท่ีพัสดุหรือเจาหนาท่ีผูรับผิดชอบ
ในการปฏบิ ตั ิราชการนน้ั จะทํารายงานเฉพาะรายการทเี่ หน็ วา จําเปนกไ็ ด

๖. การดําเนินการจัดจาง เม่ือ ทร.อนุมัติแบบ ตําบลที่และประมาณการ และหัวหนาสวนราชการเห็นชอบ
ตามรายงานขอจา งทีเ่ สนอแลว ใหเจาหนา ที่พัสดดุ ําเนินการตามวธิ กี ารจางนั้นตอ ไปได125

๗. การแตงต้ังคณะกรรมการ ในการดําเนินการจางแตละคร้ัง ใหหัวหนาสวนราชการแตงต้ังคณะกรรมการขึ้น
เพื่อปฏิบัติการตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ฯ พรอมกับกําหนดระยะเวลาในการดําเนินการของ
คณะกรรมการแลว แตก รณี126 ไดแ ก

๗.๑ คณะกรรมการ ตามระเบียบ ฯ โดยใหแตงต้ังจากขาราชการช้ันสัญญาบัตรหรือผูที่ทางราชการ
สั่งใหท ําหนาทใ่ี นตาํ แหนงนายทหารสญั ญาบัตร127 ดังนี้

(๑) คณะกรรมการเปดซองสอบราคา
(๒) คณะกรรมการรับและเปด ซองประกวดราคา
(๓) คณะกรรมการพจิ ารณาผลการประกวดราคา
(๔) คณะกรรมการจัดจา งโดยวธิ พี ิเศษ
(๕) คณะกรรมการตรวจการจา ง

124 สาํ นกั นายกรัฐมนตรี, ระเบียบสาํ นักนายกรฐั มนตรวี าดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ทีแ่ กไขเพม่ิ เตมิ ขอ ๒๗
125 สาํ นักนายกรฐั มนตรี, ระเบียบสาํ นักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ที่แกไขเพม่ิ เตมิ ขอ ๒๙
126 สาํ นักนายกรฐั มนตรี, ระเบยี บสํานกั นายกรัฐมนตรวี าดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ท่แี กไขเพ่มิ เตมิ ขอ ๓๔
127 กระทรวงกลาโหม, คาํ สัง่ กห. (เฉพาะ) ท่ี ๓๙/๓๙ ลง ๕ มี.ค.๓๙ ขอ ๔.๒

คณะกรรมการแตละคณะกรรมการประกอบดวย ประธานกรรมการ ๑ คน และกรรมการ
อยางนอ ย ๒ คน โดยปกติใหแ ตงตงั้ จากขาราชการตงั้ แตร ะดับ ๓ หรอื เทียบเทา ขึน้ ไป128

๗.๒ คณะกรรมการตามมตคิ ณะรฐั มนตรี ไดแก คณะกรรมการกาํ หนดราคากลาง

๘. ขน้ั ตอนการดาํ เนนิ การจดั จาง
๘.๑ การจางโดยวิธีตกลงราคา ใหเจาหนาที่พัสดุติดตอตกลงราคากับผูรับจางโดยตรง แลวให

หัวหนาเจาหนาท่ีพัสดุ จางไดภายในวงเงินที่ไดรับความเห็นชอบจากหัวหนาสวนราชการ โดยการเสนอขอ
อนมุ ัติจา งพรอ มท้ังกบั ใหหัวหนา สว นราชการแตง ต้งั คณะกรรมการตรวจการจา ง (กรณกี ารจา งในวงเงนิ เกนิ กวา
๑๐,๐๐๐ บาทข้นึ ไป) หรอื ผตู รวจการงานจาง (ในกรณกี ารจางในวงเงินไมเกิน ๑๐,๐๐๐ บาท)

การจางโดยวธิ ตี กลงราคาในกรณีจําเปน และเรง ดวนทเ่ี กดิ ขึ้นโดยไมไ ดค าดหมายไวกอนและไม
อาจดาํ เนินการตามปกตไิ ดทนั ใหเจา หนา ท่ีพัสดุหรือเจาหนาท่ีผูรับผิดชอบในการปฎิบัติราชการนั้นดําเนินการ
ไปกอน แลว รีบรายงานขอความเหน็ ชอบตอ หัวหนา สวนราชการ และเมือ่ หัวหนาสวนราชการใหค วามเหน็ ชอบ
แลว ใหถ ือวา รายงานดังกลาวเปนหลกั ฐานการตรวจรบั โดยอนุโลม129

๘.๒ การจางโดยวิธสี อบ/ประกวดราคา
๘.๒.๑ การตรวจสอบผเู สนอราคาหรือผูเสนองานที่มผี ลประโยชนรว มกนั ใหถือปฏบิ ตั ดิ งั น1ี้ 30
(๑) กําหนดหลักเกณฑการรับและเปดซองสอบราคา เพื่อตรวจสอบผูเสนอราคาท่ีมี

ผลประโยชนรวมกัน โดยมีสาระสําคัญเก่ียวกับรายละเอียดที่ตองระบุเพิ่มเติมในเอกสารสอบราคา หนาที่ของ
หัวหนา เจาหนา ท่ีพสั ดุ และอํานาจหนา ท่ีของคณะกรรมการเปด ซองสอบราคา

(๒) กาํ หนดหลักเกณฑก ารรบั และเปดซองประกวดราคา เพอ่ื ตรวจสอบผเู สนอราคาทม่ี ี
ผลประโยชนรวมกัน โดยมีสาระสําคัญเก่ียวกับการกําหนดวัน เวลา เปดซองใบเสนอราคา หนาท่ีของ
คณะกรรมการรับและเปดซองประกวดราคา อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา และ
หลักเกณฑใ นการคืนหลักประกนั ซองใหมีผเู สนอราคาท่ถี ูกตัดรายชอื่ ออกจากการเปนผูเสนอราคา

(๓) ใหใชตัวอยางประกาศและตัวอยางเอกสารประกวดราคาจาง ตามท่ีคณะกรรมการ
วา ดวยการพัสดุ (กวพ.) กาํ หนด สาํ หรับการสอบราคาและประกวดราคา

๘.๒.๒ การกาํ หนดคณุ สมบัติของผูเสนอราคาในการจา งกอสรางใหป ฏบิ ตั ิดังนี้131
(๑) สวนราชการจะกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคาไดเฉพาะตามตัวอยางเอกสาร

ประกวดราคาท่ี กวพ.กําหนด

128 สาํ นักนายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสํานกั นายกรัฐมนตรีวาดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับท่ีแกไขเพมิ่ เตมิ ขอ ๓๕
129 สํานักนายกรฐั มนตรี, ระเบยี บสาํ นักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ทแี่ กไขเพิ่มเตมิ ขอ ๓๙
130 กรมสง กําลังบํารุงทหารเรือ , บันทกึ กบ.ทร. ทตี่ อ กบ.ทร. เลขรบั ๔๐๒๓/๔๒ ลง ๑๗ ก.ย.๔๒
131 กรมสง กําลงั บํารงุ ทหารเรือ , บนั ทกึ กบ.ทร. ท่ีตอ กบ.ทร. เลขรบั ๔๙๒๓/๔๓ ลง ๒๐ ต.ค.๔๓

(๒) การกําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคาในเร่ืองผลงานการกอสราง จะกําหนดได
ไมเกินรอยละ ๕๐ ของวงเงินงบประมาณ รวมทั้งการกําหนดเงื่อนไขตามกฎหมาย ระเบียบและมติ
คณะรัฐมนตรใี นสวนทีเ่ กี่ยวของ (ถา ม)ี ไดเทา น้นั

๘.๒.๓สวนราชการใดประสงคท จ่ี ะดําเนินการประกวดราคาโดยท่ียังไมท ราบแนช ัดวาจะไดรับ
อนุมัติเงินงบประมาณหรือเงินอื่นใดเพ่ือนํามาใชจายในการดําเนินการตามประกาศประกวดราคาหรือไม ให
สว นราชการน้ันระบใุ หช ัดเจนในประกาศประกวดราคาดวยวา สวนราชการนั้นยังไมไ ดร ับอนุมตั ิเงินงบประมาณ
หรือเงินอ่ืนใดเพื่อใชในการดําเนินการตามโครงการที่ประกวดราคานั้น เพื่อใหผูที่ประสงคจะเขาเสนอราคา
ทราบถึงขอเทจ็ จริงดงั กลาวและใชป ระกอบการตดั สนิ ใจวา ประสงคจ ะเขาประกวดราคานั้นหรือไม132

๘.๒.๔ การกําหนดราคากลาง
๘.๒.๔.๑ ในการดําเนินการจางเหมากอสรางแตละคร้ังใหสวนราชการแตงต้ัง

คณะกรรมการกาํ หนดราคากลางงานกอ สรา งน้ันขนึ้ เพ่อื ปฏบิ ัติหนาทกี่ าํ หนดราคากลาง133โดยใหแตงต้ังประธาน
กรรมการ ฯ จากผูดํารงตําแหนงระดับหัวหนากองหรือเทียบเทาขึ้นไปของสวนราชการ และกรรมการ ฯ จาก
ผชู าํ นาญการหรอื ผูทรงคุณวฒุ ิเกี่ยวกบั การประมาณราคา โดยใหมกี รรมการ ฯ จาก ชย.ทร. อยางนอย ๑ คน แตไม
เกิน ๓ คน134

๘.๒.๔.๒ การประกวดราคางานจางเหมากอสรางทุกครั้งใหระบุราคากลางของงาน
กอ สรา งนน้ั ๆ ไวใ นประกาศสอบ/ประกวดราคา135 ตามมาตรการปองกันหรือลดโอกาสในการสมยอมกันใน
การเสนอราคา เฉพาะกรณีการกําหนดราคากลางงานกอสรางของทางราชการ

๘.๒.๕ ผูท่จี ะเขาสอบ/ประกวดราคาสามารถทีจ่ ะขอดรู ายละเอียด พรอ มท้ังขอจดรายละเอียด
หรอื ถา ยสําเนาได โดยเปนเรอ่ื งทแ่ี ตละหนวยงานจะตอ งอํานวยความสะดวกใหตามความสมควรและเหมาะสม136

๘.๒.๖ ในกรณีผลการสอบ/ประกวดราคาปรากฏวา ราคากลางทก่ี ําหนดไวสูงหรือต่ํากวาราคา
ที่สอบ/ประกวดไดเกินรอยละ ๑๕ ในกรณีสวนราชการมีที่ต้ังหนวยอยูในพื้นท่ี กทม. และปริมณฑล ให
คณะกรรมการกําหนดราคากลางชี้แจงรายละเอียดสงถึง กบ.ทร.ภายใน ๑๕ วัน นับถัดจากวันที่หนวยอนุมัติ
จา ง เพื่อให กบ.ทร.ช้ีแจงตอสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน (สตง.) ทราบ และในกรณีสวนราชการมีที่ตั้งอยู
ในพื้นท่ีอ่ืน ใหคณะกรรมการกําหนดราคากลาง ชี้แจงรายละเอียดสงถึงสวนราชการภายใน ๑๕ วัน นับถัด
จากวันท่ีหนวยอนุมัติจาง เพ่ือใหสวนราชการชี้แจง สตง.ภูมิภาค ทราบตอไป137 โดยใหคํานวณใหถูกตอง
ตามท่ี สตง.กาํ หนด138

132 สํานักเลขาธิการนายกรฐั มนตรี , หนงั สือสาํ นักเลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรี ที่ นร ๐๑๐๑/ว ๓๓ ลง ๑๘ ม.ี ค.๔๓
133 มตคิ ณะรัฐมนตรี เม่อื ๒๘ ธ.ค.๓๖ และ ๒๘ มิ.ย.๓๗
134 กรมสง กําลงั บํารุงทหารเรือ , บนั ทึก กบ.ทร. ดวน ทต่ี อ กบ.ทร.เลขรบั ๑๗๖/๔๐ ลง ๒๑ ม.ค.๔๐
135 มติคณะรัฐมนตรี เม่อื ๖ ม.ค.๔๑
136 กรมสงกําลงั บํารุงทหารเรือ , บันทกึ กบ.ทร. ทต่ี อ กบ.ทร.เลขรับ ๕๑๖๘/๔๒ ลง ๑๘ พ.ย.๔๒
137 กรมสง กําลงั บํารุงทหารเรือ , บันทกึ กบ.ทร. ดว น ทตี่ อ กบ.ทร. เลขรบั ๖๕๘/๔๑ ลง ๑๓ ก.พ.๔๑
138 กรมสงกําลังบํารงุ ทหารเรือ , บันทึก กบ.ทร. ท่ี กห ๐๕๐๖/๑๒ ลง ๙ ก.พ.๔๒

๘.๓ ขั้นตอนการจา งโดยวิธสี อบราคา
๘.๓.๑ การจัดทําประกาศและเอกสารสอบราคา ใหเจาหนาที่พัสดุจัดทําเอกสารสอบราคา

และจัดทําเปนประกาศ โดยใหมีรายการตามท่ีกําหนด139 และใหหัวหนาเจาหนาท่ีพัสดุเปนผูลงช่ือกํากับตรา
ชอ่ื สวนราชการพรอมประกาศเผยแพรก ารสอบราคา140

๘.๓.๒ การดําเนินการ การจดั จา งโดยวิธีสอบราคา ใหดําเนินการดังน1ี้ 41
๘.๓.๒.๑ ใหเจา หนาท่พี สั ดเุ ผยแพรการสอบราคาและเอกสารสอบราคากอนวัน

เปดซองสอบราคาไมน อ ยกวา ๑๐ วัน สาํ หรบั การสอบราคาในประเทศ
๘.๓.๒.๒ ในการยื่นซองสอบราคา ผูเสนอราคาจะตองผนึกซองจาหนาถึง

ประธานกรรมการเปดซองสอบราคา แลวสงใหส ว นราชการกอ นวันเปดซองสอบราคา
๘.๒.๒.๓ ใหเจา หนาทล่ี งรบั ซองโดยไมเ ปดซอง แลวสง มอบใหแ กห วั หนา

เจาหนาที่พสั ดทุ นั ที
๘.๒.๓.๔ ใหห ัวหนาเจา หนา ทพ่ี สั ดุเกบ็ รกั ษาซองเสนอราคาทุกรายโดยไมเปด -

ซอง และเมื่อถึงเวลาเปดซองสอบราคา ใหสง มอบใหคณะกรรมการเปด ซองสอบราคาเพือ่ ดาํ เนินการตอไป
๘.๓.๓ คณะกรรมการเปดซองสอบราคา มีหนาที่ตามที่กําหนด142 พรอมตรวจสอบผูเสนอ

ราคาท่ีมีผลประโยชนรวมกันและการขัดขวางการแขงขันราคาอยางเปนธรรม143 รวมท้ังปฏิบัติตามแนวทาง
การพิจารณาเอกสารประกวดราคาจา งของ ทร. ดว ย144

๘.๓.๔ การจางโดยวิธีสอบราคาท่ีราคาของผูเสนอราคาสูงกวาวงเงินท่ีจะจาง (วงเงิน
งบประมาณที่ไดรับจัดสรร)การจาง โดยวิธีสอบราคาท่ีปรากฎวาราคาของผูเสนอราคารายที่คณะกรรมการ
เห็นสมควรจางยงั สงู กวาวงเงินที่จะจางใหค ณะกรรมการ ฯ ดาํ เนินการตามลําดบั ดงั น้ี145

๘.๓.๔.๑ ตอรองราคาใหตํ่าสุดเทาที่จะทําได หากราคาท่ีเสนอใหมไมสูงกวา
วงเงินที่จะจางหรือสูงกวาแตสวนที่สูงกวานั้นไมเกินรอยละ ๑๐ ของวงเงินที่จะจาง ถาเห็นวาราคาดังกลาว
เปน ราคาท่เี หมาะสม (ไมเกินราคากลาง) ก็ใหเ สนอจา งผเู สนอราคารายนน้ั

๘.๓.๔.๒ หากดําเนินการตามขอ ๘.๓.๔.๑ แลวไมไดผล ใหเรียกผูเสนอราคาท่ี
เห็นสมควรจางมาย่ืนซองเสนอราคาใหมทั้งหมด หากราคาท่ีเสนอใหมไมสูงกวาวงเงินท่ีจะจาง หรือสูงกวา

139 สํานักนายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสาํ นักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับที่แกไขเพ่มิ เตมิ ขอ ๔๐
140 กระทรวงกลาโหม, บนั ทึก สงป.กห. ที่ (ฉบบั สงป.กห. เลขรบั ๕๔๑๙/๓๕) ลง ๒๒ ธ.ค.๓๕
141 สาํ นักนายกรฐั มนตรี, ระเบียบสาํ นกั นายกรัฐมนตรีวาดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับท่ีแกไขเพิ่มเตมิ ขอ ๔๑
142 สํานกั นายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับที่แกไขเพิ่มเตมิ ขอ ๔๒
143 กรมสง กําลงั บํารุงทหารเรอื , บันทึก กบ.ทร. ทต่ี อ กบ.ทร.เลขรับ ๔๐๒๓/๔๒ ลง ๑๗ ก.ย.๔๒
144 กรมสง กําลงั บํารุงทหารเรอื , บันทึก กบ.ทร. ที่ กห ๐๕๐๖/๔๓๐ ลง ๒๙ มิ.ย.๔๓
145 สํานกั นายกรฐั มนตรี, ระเบียบสาํ นักนายกรฐั มนตรีวาดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับทแี่ กไขเพม่ิ เตมิ ขอ ๔๓

แตสวนท่ีสูงกวาน้ันไมเกินรอยละ ๑๐ ของวงเงินที่จะจางและเห็นวาเปนราคาท่ีเหมาะสม ก็ใหเสนอจาง
ผูเสนอราคารายนั้น

๘.๓.๔.๓ ถาดําเนินการตามขอ ๘.๓.๔.๒ แลวไมไดผล ใหเสนอความเห็นตอ
หัวหนาสวนราชการ ลดรายการ ลดจํานวน หรือลดเนื้องาน หรือขอเงินเพิ่มเติม หรือยกเลิกการสอบราคา
เพือ่ ดําเนนิ การสอบราคาใหม

๘.๔ ขั้นตอนการจางโดยวิธปี ระกวดราคา
๘.๔.๑ จัดทําประกาศและเอกสารประกวดราคา ใหเจาหนาที่พัสดุจัดทําเอกสารประกวด

ราคาตามตัวอยา งท่ี กวพ.กาํ หนด แลว จดั ทําเปนประกาศ146 และใหหัวหนาเจาหนาท่ีพัสดุ มีหนาที่รับผิดชอบ
ควบคุมดูแลและจัดทําหลักฐานการเผยแพร โดยเปนผูลงช่ือกํากับตราช่ือสวนราชการ รวมทั้ง ปดประกาศ
ประกวดราคาภายในระยะเวลาที่กําหนด147 โดยใหกระทํากอนการขายเอกสารประกวดราคาไมนอยกวา ๗
วนั ทาํ การ

สําหรับการขายเอกสารประกวดราคา จะตองกระทําไมนอยกวา ๗ วันทําการ และ
ตองมีชวงเวลาสําหรับผูประสงคจะเขาเสนอราคาดําเนินการไมนอยกวา ๗ วันทําการ กอนถึงวันรับซอง
ประกวดราคา148 และกรณีท่ีจําเปนจะตองมีการชี้แจงรายละเอียดหรือการช้ีสถานที่ ใหกําหนดวัน เวลาและ
สถานที่ในการชแ้ี จงรายละเอียดหรือการช้ีสถานทใ่ี นประกาศประกวดราคา149

ทั้งน้ี ใหดําเนินการตามแนวปฏิบัติในการกํากับดูแลเผยแพรขาวสารการประกวด
ราคาเพื่อเสรมิ มาตรการปองกนั หรอื ลดโอกาสในการสมยอมกนั ในการเสนอราคา ตามทสี่ ํานักงานเลขาธิการ
คณะรัฐมนตรกี ําหนดดวย150

๘.๔.๒ คาขายแบบ วงเงินผลงาน เงินคาประกันซองและเงินคาปรับ ทร.อนุมัติใหใช
หลักเกณฑค า ขายแบบ วงเงินผลงาน เงนิ ประกันซองและเงินคาปรับตามที่กําหนด151
๘.๔.๓ การจายเงินคาจางลวงหนา ใหแกผูรับจางจะกระทํามิได เวนแตหัวหนาสวนราชการเห็นวามีความ
จําเปนตองจาย โดยการจางโดยวิธีสอบราคา หรือประกวดราคาหรือวิธีพิเศษจายไดไมเกินรอยละ ๑๕ ของ
ราคาจาง152 ซ่ึง ทร.เห็นวาไมควรอนุมัติเปนหลักการที่จะตองจายทุกงาน ควรใหดําเนินการตามเจตนารมณ
ของระเบียบเปนเร่อื ง ๆ ไป153

146 สํานกั นายกรฐั มนตรี, ระเบียบสาํ นักนายกรัฐมนตรวี าดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับท่ีแกไขเพิ่มเตมิ ขอ ๔๔
147 สํานักนายกรฐั มนตรี, ระเบียบสาํ นักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ท่แี กไขเพม่ิ เตมิ ขอ ๔๕
148 สํานักนายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ทแ่ี กไขเพ่ิมเตมิ ขอ ๔๖
149 สาํ นกั นายกรัฐมนตรี, ระเบียบสาํ นักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับท่แี กไขเพมิ่ เติม ขอ ๔๗
150 กรมสง กําลังบํารุงทหารเรือ, บันทกึ กบ.ทร. ทีต่ อ กบ.ทร. เลขรบั ๑๑๕/๔๓ ลง ๑๗ ม.ค.๔๓
151 กรมสง กําลังบํารงุ ทหารเรอื , บันทึก กบ.ทร.ทต่ี อ กบ.ทร.เลขรบั ๔๘๙๒/๓๘ ลง ๑๑ ส.ค.๓๘
152 สํานกั นายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสาํ นักนายกรัฐมนตรวี าดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ทแี่ กไขเพ่ิมเติม ขอ ๖๘
153 กรมสงกําลงั บํารงุ ทหารเรอื , บันทึก กบ.ทร.ทต่ี อ กบ.ทร.เลขรับ ๙๔๐/๓๖ ลง ๓ ม.ี ค.๓๖

๘.๔.๔ การแตงต้ังคณะกรรมการ ใหหัวหนาสวนราชการแตงตั้งคณะกรรมการข้ึนเพ่ือ
ปฏิบัตติ ามระเบยี บ ฯ ดังนี้

(๑) คณะกรรมการกาํ หนดราคากลาง
(๒) คณะกรรมการรับและเปดซองประกวดราคา
(๓) คณะกรรมการพจิ ารณาผลการประกวดราคา
(๔) คณะกรรมการตรวจการจาง
๘.๔.๕ การรับและเปดซองประกวดราคา คณะกรรมการรับและเปดซองประกวดราคา มี
หนาท่ีตามระเบียบ154 โดยคณะกรรมการ ฯ ตองสงมอบใบเสนอราคาและเอกสารหลักฐานท้ังหมด พรอม
บันทึกรายงานการดาํ เนนิ การตอ คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาทันทีในวันเดียวกัน และตองถือ
ปฏิบตั ิตามหลกั เกณฑการรบั และเปด ซองประกวดราคาเพอ่ื ตรวจสอบผเู สนอราคาที่มีผลประโยชนรว มกัน155
๘.๔.๖ การประกวดราคาชนิด ๒ ซอง การจางท่ีมีลักษณะจําเปนจะตอง
คํานึงถึงเทคโนโลยีของพัสดุหรือขอกําหนดคุณสมบัติของผูเขาเสนอราคา ซ่ึงอาจจะมีขอเสนอท่ีไมอยูใน
ฐานเดียวกนั เปนเหตุใหมีปญหาในการพิจารณาตดั สิน ใหถ อื ปฏิบัติเชนเดียวกับการประกวดราคาท่ัวไป เวน
แตก ารกาํ หนดใหผ เู ขาเสนอราคายน่ื ซองประกวดราคาโดยแยกเปน156
(๑) ซองขอ เสนอดานเทคนิคและขอ เสนออื่น ๆ
(๒)ซองขอ เสนอดานราคา
(๓) ซองขอ เสนอทางการเงิน (ถา มี)
ใหคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาทําหนาท่ีเปดซองขอเสนอดาน
เทคนิคของผูเสนอราคาแทนคณะกรรมการรับและเปดซองประกวดราคาและพิจารณาผลการประกวดราคา

157

๘.๔.๗ การพิจารณาผลการประกวดราคา
๘.๔.๗.๑ คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา มีหนาท่ีตามท่ีกําหนด158

และใหคณะกรรมการฯ รายงานผลการพิจารณาและความเห็นพรอมดวยเอกสารท่ีไดรับไวท้ังหมดตอหัวหนา
สว นราชการ โดยเสนอผานหัวหนา เจาหนาท่พี สั ดุ

๘.๔.๗.๒ ในกรณีท่ีผูเสนอราคารายใดเสนอรายละเอียดแตกตางไปจากเง่ือนไข
ท่กี ําหนดไวในเอกสารประกวดราคาในสวนที่มใิ ชสาระสาํ คญั ใหพิจารณาผอนปรนใหผ ูเขาประกวดราคา159

154 สาํ นักนายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรีวาดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับท่แี กไขเพิม่ เตมิ ขอ ๔๙
155 กรมสง กําลงั บํารุงทหารเรอื , บันทกึ กบ.ทร. ทีต่ อ กบ.ทร. เลขรับ ๔๐๒๓/๔๒ ลง ๑๗ ก.ย.๔๒
156 สาํ นักนายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ทแ่ี กไขเพม่ิ เตมิ ขอ ๕๔
157 สาํ นักนายกรัฐมนตรี, ระเบียบสํานกั นายกรฐั มนตรวี าดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ทแ่ี กไขเพมิ่ เตมิ ขอ ๕๕
158 สํานกั นายกรฐั มนตรี, ระเบียบสาํ นกั นายกรฐั มนตรีวาดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ทแี่ กไขเพิ่มเตมิ ขอ ๕๐
159 สาํ นักนายกรัฐมนตรี, ระเบียบสํานกั นายกรฐั มนตรวี าดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ที่แกไขเพมิ่ เตมิ ขอ ๕๐ (๑)

วรรคสอง

ทัง้ น้ีใหป ฏิบัตติ ามแนวทางการพิจารณาเอกสารประกวดราคาจา งกอ สรา งของ ทร.160
๘.๔.๗.๓ ถามีผูเสนอราคาต่ําสุดเทากันหลายราย ใหเรียกผูเสนอราคาดังกลาวมา

ขอใหเสนอราคาใหมพรอมกัน ดวยวิธียื่นซองเสนอราคา161 ถาปรากฏวาราคาของผูเสนอราคารายท่ี
คณะกรรมการ ฯ เหน็ สมควรจางสูงกวา วงเงินทจ่ี ะจา ง (วงเงนิ งบประมาณท่ีไดรับจัดสรร) ใหดําเนินการดังนี้

162

(๑) เรียกผูเสนอราคารายนั้นมาตอรองราคา หากผูเสนอราคารายนั้น
ยอมลดราคาแลว ราคาที่เสนอใหมไมสูงกวาวงเงินที่จะจางหรือสูงกวาไมเกินรอยละสิบของวงเงินท่ีจะจาง
ถาเห็นวาราคาดังกลา วเปนราคาท่เี หมาะสม (ไมเ กนิ ราคากลาง) ก็ใหเสนอจา งผูเสนอราคารายนนั้

(๒) ถาดําเนินการตาม (๑) แลวไมไดผล ใหผูเสนอราคาที่เห็นสมควร
จางทุกรายมาตอรองราคาใหมดวยวิธีย่ืนซองเสนอราคา หากผูเสนอราคาต่ําสุดเสนอราคาไมสูงกวา วงเงินท่ี
จะจา งหรอื สูงกวา ไมเ กินรอ ยละสิบของวงเงนิ ทจี่ ะจา ง ถา เห็นวา ราคาดงั กลาวเปน ราคาที่เหมาะสม ก็ใหเสนอ
จางผูเ สนอราคารายนั้น

(๓) ถาดําเนินการตาม (๒) แลวไมไดผลใหเสนอหัวหนาสวนราชการ
ลดรายการ ลดจาํ นวนหรือลดเนื้องาน หรือขอเงินเพิม่ เติม หรือยกเลิกการประกวดราคาเพื่อดาํ เนินการใหม

๘.๔.๗.๔ กรณีมผี ูเ สนอราคาเพียงรายเดียวหรือมีผูเสนอราคาหลายราย แตถูกตอง
เพียงรายเดียว โดยปกติใหเสนอหัวหนาสวนราชการยกเลิกการประกวดราคานั้น163 แตหากคณะกรรมการ ฯ
เห็นควรวามีเหตุผลสมควรที่จะดําเนินการตอไปโดยไมตองยกเลิกการประกวดราคา ก็ใหดําเนินการตอ
ตามขอ ๘.๔.๗.๓ โดยอนุโลม

๘.๕ การจางโดยวิธีพิเศษ ใหหัวหนาสวนราชการแตงต้ังคณะกรรมการจัดจางโดยวิธีพิเศษข้ึนเพื่อ
ดําเนินการ164 และใหคณะกรรมการ ฯ รายงานผลการพิจารณา และความเห็นพรอมดวยเอกสารที่ไดรับไว
ท้งั หมดตอ หวั หนาสว นราชการเพ่ือสั่งการ โดยเสนอผานหวั หนาเจาหนาท่พี สั ดุ

๙. การขอทําความตกลงกับสาํ นกั งบประมาณเกี่ยวกบั การจดั หาครุภัณฑ
แนวทางปฏิบตั เิ กี่ยวกบั การจดั ซื้อครภุ ณั ฑของสาํ นักงบประมาณ165 สรุปไดดังนี้
(๑) การจัดซื้อครุภัณฑที่มีชื่อเรียกตามรายการและมีรายละเอียดตรงตามบัญชีมาตรฐานครุภัณฑ

กําหนด ใหดําเนินการจัดซ้ือตามราคามาตรฐานครุภัณฑกําหนด หากการดําเนินการจัดซื้อไดราคาสูงกวาท่ี

160 กรมสง กําลังบํารุงทหารเรอื , บันทึก กบ.ทร. ที่ กห ๐๕๐๖/๔๓๐ ลง ๒๙ มิ.ย.๔๓
161 สาํ นักนายกรฐั มนตรี, ระเบียบสํานกั นายกรฐั มนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับทแี่ กไขเพมิ่ เตมิ ขอ ๕๐ (๒)
162 สํานักนายกรัฐมนตรี, ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับท่ีแกไขเพมิ่ เตมิ ขอ ๔๓
163 สาํ นกั นายกรัฐมนตรี, ระเบียบสาํ นกั นายกรัฐมนตรวี าดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับทแ่ี กไขเพิ่มเติม ขอ ๕๑
164 สาํ นักนายกรฐั มนตรี, ระเบยี บสํานกั นายกรัฐมนตรวี าดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับทีแ่ กไขเพ่ิมเตมิ ขอ ๕๘
165 กระทรวงกลาโหม , บันทกึ สงป.กห.ท่ี ฉบบั สงป.กห. ๕๒๗๗/๓๖ ลง ๒๐ ธ.ค.๓๖

กาํ หนดไวตามบัญชีราคามาตรฐานครุภัณฑไมเกินรอยละ ๑๐ ใหดําเนินการจัดซื้อได โดยไมตองขอทําความ
ตกลงกบั สาํ นกั งบประมาณ ยกเวน รายการครุภัณฑ ยานพาหนะและขนสง

(๒) การจัดซือ้ ครุภัณฑท ม่ี ีช่ือเรยี กตามรายการแตมรี ายละเอียด เชน ขนาดหรือชนิดไมตรงตามบัญชี
ราคามาตรฐานครุภัณฑกําหนด เฉพาะรายการครุภัณฑท่ีมีราคาเกิน ๓๐,๐๐๐.-บาทตอหนวย จะตองขอทํา
ความตกลงกับสํานกั งบประมาณกอ นดําเนนิ การจดั ซือ้

(๓) รายการครุภัณฑท่ีมีชื่อเรียกนอกเหนือไปจากรายการที่ปรากฎอยูในบัญชีราคามาตรฐาน
ครุภัณฑใหจัดซื้อไดโดยปฏิบัติตามระเบียบสํานักนายก ฯ ตามราคาท่ีเห็นสมควร โดยไมตองขอทําความ
ตกลงกบั สาํ นักงบประมาณ

(๔) การจดั ซ้ือครุภัณฑรายการท่ีเคยไดรับความเห็นชอบจากสํานักงบประมาณไวแลว หากจะมีการ
จัดซ้ือครุภัณฑรายการน้ันอีกภายในปงบประมาณเดียวกันในราคาท่ีไมสูงกวาท่ีเคยไดรับอนุมัติไวแลวให
ดําเนินการจัดซื้อได โดยไมตองขอทําความตกลงกับสํานักงบประมาณ ท้ังนี้ เม่ือดําเนินการจัดซ้ือแลวให
รายงานใหสํานกั งบประมาณทราบภายใน ๓๐ วัน

(๕) การจัดซอื้ ครภุ ัณฑท ่มี ีลักษณะเปน สิ่งอํานวยความสะดวกสบายแกผปู ฎบิ ัตงิ าน จํานวน ๑๓ รายการ
166 ไดแก ตเู ย็น ตทู ํานํ้าเข็ง เคร่ืองทํานํ้าเย็น เครื่องปงขนมปงไฟฟา เคร่ืองลางจาน เครื่องซักผา เครื่อง อบ
ผา ตูแช เตาอบไฟฟาหรือเตาอบแกส เตาไฟฟาหรือเตาแกส หมอตมน้ํากาแฟ เคร่ืองปรับอากาศ
(ยกเวนที่ติดตั้งไดตามหลักเกณฑ) และเกาอ้ีนอนและเกาอ้ีผาใบ จะตองขอทําความตกลงกับสํานักงบประมาณ
กอ น

๑๐. การทําสัญญา การลงนามในสัญญาเปนอํานาจของหัวหนาสวนราชการ โดยรูปแบบสัญญาใหเปนไป
ตามที่ กวพ.กําหนด หากจําเปนตองมีขอความหรือรายการแตกตางไปจากตัวอยางสัญญาที่ กวพ. กําหนด
ใหสงรางสัญญานั้นไปใหสํานักงานอัยการสูงสุดพิจารณากอน167 ทั้งนี้ กวพ.ไดกําหนดใหใชตัวอยางแบบ
สัญญาจางทเี่ ก่ยี วขอ งกับวิธกี ารจา ยเงนิ ตรง (DIRECT PAYMENT)168

๑๑. การขอใชพัสดเุ ทยี บเทา
ในกรณีท่ีผูรับจางเสนอขอใชสิ่งของท่ีมีคุณสมบัติที่ดีกวาหรือเทียบเทากับพัสดุที่สวนราชการระบุชื่อ

ยหี่ อไว ก็ใหผูรับจางพิสูจนใหเปนท่ีเช่ือถือและยอมรับของกรรมการผูทรงคุณวุฒิไมนอยกวา ๓ คน ซึ่งสวน
ราชการแตงต้ังขึ้นจากผูชํานาญการหรือผูแทนของสวนราชการที่เกี่ยวของ ถาคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิ
ยอมรับพัสดุน้ันแลว ก็ใหสวนราชการยอมรับวาเปนพัสดุเทียบเทาได ความเห็นของคณะกรรมการ
ผทู รงคุณวฒุ ใิ หถอื เปน ท่สี น้ิ สุดเฉพาะคราวนั้น169

166 กรมสง กําลังบํารุงทหารเรอื , บันทกึ กบ.ทร.ทีต่ อ กบ.ทร.เลขรบั ๒๗๑/๓๗ ลง ๒ ก.พ.๓๗
167 สํานักนายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสํานกั นายกรัฐมนตรวี าดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับท่ีแกไขเพมิ่ เติม ขอ ๑๓๒
168 กรมสง กําลงั บํารุงทหารเรอื , บันทึก กบ.ทร. ดวน ทต่ี อ กบ.ทร.เลขรบั ๓๒๙๐/๔๖ ลง ๔ ก.ค.๔๖
169 สาํ นักงานปลดั สาํ นักนายกรัฐมนตรี, หนงั สือสํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ดว นมาก ท่ี สร. ๑๐๐๑/๒๒๓ ลง

๑๘ ส.ค.๒๐

๑๒. การตรวจการจา งและควบคมุ งานกอ สราง

๑๒.๑ คณะกรรมการตรวจการจา งท่หี ัวหนา สว นราชการแตง ตงั้ มีหนาทต่ี ามทีก่ ําหนด170

๑๒.๒ ในการจางกอสรางแตละครั้ง171 ใหหัวหนาสวนราชการแตงต้ังผูควบคุมงานท่ีมีความรูความชํานาญ

ทางดานชางตามลักษณะของงานกอสรางจากขาราชการหรือลูกจางประจําในสังกัดอื่นท่ีไดรับความยินยอมจาก

หัวหนาสวนราชการของผูน้ันแลว ซึ่งโดยปกติผูควบคุมงานจะตองมีคุณวุฒิไมต่ํากวาระดับประกาศนียบัตร

วชิ าชีพ172 และมีหนา ท่ีตามท่ีกําหนด173

๑๒.๓ ระยะเวลาในการตรวจการจา งงานกอสราง สาํ นกั นายกรฐั มนตรไี ดกําหนดดังน1้ี 74

ราคาคางาน ผูควบคุมงาน คณะกรรมการตรวจการจา ง

งวดงาน งวดสดุ ทา ย งวดงาน งวดสดุ ทาย

ทกุ ราคาคางาน ๓ วนั ๓ วัน ๓ วัน ๕ วัน

๑๒.๔ คาตอบแทนคณะกรรมการตรวจการจา งและผคู วบคุมงานกอสรา ง175

๑๒.๔.๑ อตั ราคา ตอบแทนคณะกรรมการตรวจการจา ง

๑๒.๔.๑.๑ คณะกรรมการตรวจการจางตามสัญญาท่ีมีวงเงินต้ังแต ๑๕ ลานบาทข้ึนไป

อตั ราคนละคร้งั ละ ๓๐๐ บาทตอ วัน

๑๒.๔.๑.๒ คณะกรรมการตรวจการจางตามสัญญาท่ีมีวงเงินต่าํ กวา ๑๕ ลา นบาท

อตั ราคนละครั้งละ ๒๕๐ บาทตอ วนั

๑๒.๔.๒ อัตราคา ตอบแทนผูควบคมุ งานกอ สราง

๑๒.๔.๒.๑ หัวหนาผคู วบคุมงาน อตั ราคนละวันละ ๒๕๐ บาท

๑๒.๔.๒.๒ ผูควบคมุ งาน (ปฏบิ ตั กิ าร) อตั ราคนละวนั ละ ๒๐๐ บาท

๑๒.๔.๓ การเบิกจายเงินตามขอ ๑๒.๔.๑ และ ๑๒.๔.๒ ไมรวมถึงผูท่ีมีมาตรฐานกําหนด

ตําแหนง กําหนดใหม ีหนา ทตี่ รวจการจาง และหรอื ควบคุมงานกอ สรางในสว นราชการนนั้ ๆ

๑๓. มาตรการปองกนั และแกไขปญ หาผูร ับจางกอสรา งทํางานลา ชา หรือท้งิ งาน
เพื่อใหงานกอสรางตาง ๆ ของ ทร. เปนไปดวยความเรียบรอยสมตามความประสงคของทางราชการ

และเปนไปตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับท่ีแกไขเพิ่มเติม รวมท้ัง
มติคณะรัฐมนตรีท่ีเก่ียวของ และแนวทางปฏิบัติท่ีทางราชการกําหนด ทร. จึงให นขต.ทร. หนวยเฉพาะกิจ
ทร. และหนวยท่ีถืองบประมาณงานกอสราง ปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขปญหาผูรับจางกอสราง

170 สาํ นักนายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสํานกั นายกรฐั มนตรวี าดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ท่ีแกไขเพิ่มเตมิ ขอ ๗๒
171 สาํ นักนายกรฐั มนตรี, หนังสือสํานักนายกรฐั มนตรี ที่ นร (กวพ.) ๑๒๐๔/ว ๑๙๓๙ ลง ๒๔ ก.พ.๓๗
172 สาํ นกั นายกรฐั มนตรี, ระเบยี บสาํ นักนายกรัฐมนตรวี าดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ท่ีแกไขเพิม่ เติม ขอ ๓๗
173 สาํ นกั นายกรัฐมนตรี, ระเบียบสํานกั นายกรัฐมนตรวี าดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับทีแ่ กไขเพิม่ เตมิ ขอ ๗๓
174 กรมสง กําลงั บํารงุ ทหารเรอื , บนั ทึก กบ.ทร.ท่ตี อ กบ.ทร.เลขรบั ๔๑๖๗/๔๔ ลง ๗ ส.ค.๔๔
175 กระทรวงการคลงั , หนงั สือกระทรวงการคลัง ที่ กค ๐๕๐๒/ว ๑๗๒ ลง ๒๖ ต.ค.๓๕

ทํางานลาชาหรือท้ิงงาน ซึ่งจะประกอบดวยมาตรการในชั้นการพิจารณาจาง ข้ันดําเนินการตามสัญญา และ
ขน้ั รายงานผล176

๑๔. การแกไขสญั ญา
๑๔.๑ สัญญาเปนหนังสือท่ีไดลงนามแลวจะเปลี่ยนแปลงแกไขมิได เวนแตการแกไขน้ันจะเปนความ

จําเปนโดยไมทําใหราชการตองเสียประโยชน หรือเปนการแกไขเพื่อประโยชนแกทางราชการใหอยูในอํานาจ
หวั หนา สว นราชการท่ีจะพจิ ารณาอนมุ ตั ใิ หแ กไขเปล่ียนแปลงได177 ทง้ั น้ี กห.กําหนดให เปนอํานาจของ ผบ.ทร.
แตถามีการเพิ่มวงเงินทําใหวงเงินนั้นสูงเกินอํานาจสั่งการของ ผบ.ทร. ใหเปนอํานาจของปลัดกระทรวงกลาโหม

178

๑๔.๒ การงดหรือลดคาปรับใหแกคูสัญญา หรือการขยายเวลาทําการตามสัญญาใหอยูในอํานาจของ
ผสู งั่ จางเปนผูอ นุมัต1ิ 79 ตามจํานวนวันทม่ี เี หตเุ กดิ ขึ้นจรงิ เฉพาะกรณดี งั ตอ ไปน้ี 180

(๑) เหตเุ กิดจากความผดิ หรือความบกพรองของสว นราชการ
(๒) เหตสุ ุดวสิ ยั
(๓) เหตเุ กดิ จากพฤตกิ ารณอ ันหน่งึ อันใดท่ีคูสัญญาไมต องรบั ผดิ ชอบตามกฎหมาย

๑๕. การตรวจรบั มอบงาน เมื่อการกอสรางแลวเสร็จใหหนวยตนสังกัดรับมอบอาคารและสิ่งกอสราง
จากคณะกรรมการตรวจการจางทันที เมื่อคณะกรรมการตรวจการจางตรวจรับมอบงานจากผูรับจาง
เรียบรอยแลวใหจัดขาราชการช้ันสัญญาบัตรไมนอยกวา ๓ นายข้ึนไป เปนคณะกรรมการตรวจรับมอบงาน
เพ่ือตรวจรับมอบงานน้ันใหถูกตองตามแบบและรายการเฉพาะเทาท่ีแลเห็นไดเทานั้น แลวรายงานให ทร.
ทราบ181

ทัง้ น้ี ทร.ไดกาํ หนดหลกั เกณฑก ารรายงานผลการตรวจรับมอบงาน182 ดงั น้ี
(๑) งานซอมอาคารหรือสถานท่ีใชวงเงินดําเนินการเกินกวา ๒๕๐,๐๐๐.-บาท ใหหนวยรายงานผลการ
ตรวจรบั มอบงานให ทร.ทราบ
(๒) งานตอเติมหรือดัดแปลงอาคารที่มีลักษณะผิดไปจากรูปแบบเดิม ซึ่งขออนุมัติแบบดําเนินการตอ
ทร. ใหห นวยรายงานผลการตรวจรบั มอบงานให ทร.ทราบ

176 กรมสงกําลงั บํารงุ ทหารเรอื , บนั ทกึ กบ.ทร. ดวน ที่ กห ๐๕๐๑/น. ๑๔๗ ลง ๒๘ ก.ค.๔๐
177 สํานกั นายกรฐั มนตรี, ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ที่แกไขเพ่ิมเติม ขอ ๑๓๖
178 กระทรวงกลาโหม, คาํ สั่ง กห.(เฉพาะ) ที่ ๓๙/๓๙ ลง ๕ ม.ี ค.๓๙ ขอ ๑๐
179 สาํ นกั นายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรวี าดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ที่แกไขเพิ่มเติม ขอ ๑๓๙
180 กระทรวงกลาโหม, คําสั่ง กห.(เฉพาะ) ท่ี ๓๙/๓๙ ลง ๕ มี.ค.๓๙ ขอ ๑๑
181 กองทพั เรอื , ขอบงั คับทหารเรอื ท่ี ๓๔ วา ดวยการโยธาฝา ยบก มาตรา ๑๑
182 กรมสง กําลังบํารุงทหารเรอื , บันทกึ กบ.ทร.ที่ กห ๑๑๑๑๖/๑๙ ลง ๙ มิ.ย.๒๐

(๓) งานซอมทาํ อาคารหรือสถานทีน่ อกจากขอ (๑) ใหห นว ยรายงานผลการตรวจรบั มอบงานใหผ ูส งั่ จาง
ทราบ

๑๖. ระยะเวลาการรับประกันความชํารุดบกพรอง ทร.อนุมัติให นขต.ทร. และหนวยเฉพาะกิจ ทร. ทราบ
และถือปฏิบัติใหกําหนดระยะเวลารับประกันความชํารุดบกพรองของงานกอสรางตามระเบียบสํานัก
นายกรฐั มนตรวี าดว ยการพสั ดุ ฯ ซึง่ หมายความรวมถึงงานเคล่ือนยายอาคาร งานดดั แปลง งานตอเติม งานรื้อ
ถอนและงานซอมแซม ไมนอยกวา ๒ ป งานนอกเหนือจากนี้หรืองานซอมปรับปรุงท่ีผูออกแบบไมสามารถ
คาดคะเนความแข็งแรงของโครงสรางเดิมได เห็นควรกําหนดระยะเวลารับประกันความชํารุดบกพรองของ
งานตามความเหมาะสม183

๑๗. แนวทางปฎบิ ัตใิ นการซอมทําสง่ิ ชํารุดบกพรองในระหวา งความรับผดิ ชอบของผูร บั จาง 184
ทร.อนมุ ัตใิ ห นขต.ทร.และหนวยเฉพาะกิจ ทร.ทราบและถือปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติในการซอมทํางาน

ท่ไี ดก อ สรา งหรือซอมแซมสว นท่ชี าํ รุด ซึ่งอยใู นความรับผดิ ชอบของผูรับจาง โดยใหหนวยเจาของงานรายงาน
ใหหนวยคูสัญญาทราบ และหนวยคูสัญญาจะตองแจงใหผูรับจางมาดําเนินการซอมทํา เม่ือทําการซอมทําแลว
เสร็จ เปนท่ีเรียบรอย ใหหนวยเจาของงานรายงานใหหนวยคูสัญญาทราบ หากหนวยคูสัญญาแจงผูรับจาง
แลว ผูรับจางไมเขา มาทําการซอ มทาํ เปน จํานวน ๒ คร้ัง ใหห นวยคูส ัญญาพจิ ารณา คาซอ มทาํ แลวเรียกรอ งไป
ยังธนาคารผูคํ้าประกนั ตอไป และผูร ับจางอยูใ นขา ยทจ่ี ะเปนผูท้งิ งานดวย

๑๘. การคืนหลักประกันสัญญา หลักประกันสัญญาใหคืนแกคูสัญญาหรือผูคํ้าประกันโดยเร็ว และอยางชา
ตองไมเ กนิ ๑๕ วัน นบั แตว ันทีค่ สู ญั ญาพน จากขอ ผกู พนั ตามสญั ญาแลว185

ทั้งนี้ กวพ.ไดกําหนดหลักเกณฑเพ่ิมเติมจากวิธีปฏิบัติตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ
ฯ ขอ ๑๔๔ ดังน้ี186

(๑) เม่ือคูสัญญาพนจากขอผูกพันตามสัญญาแลว ใหสวนราชการคืนหลักประกันสัญญานั้นใหแก
คูสัญญาตามหลักเกณฑของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ ฯ ขอ ๑๔๔ (๒) โดยไมตองรอให
มีการรองขอคืนจากคูสัญญากอน และในกรณีที่หลักประกันสัญญาเปนหนังสือค้ําประกันของธนาคาร
บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย บริษัทเงินทุน หรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย และคูสัญญาไมมา
รับภายในกําหนดเวลาตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ ฯ ขอ ๑๔๔ (๒) ใหสวนราชการ
ดําเนินการตามหลักเกณฑของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ ฯ ขอ ๑๔๔ วรรคทายตอไป พรอม
กับใหมีหนังสือ รับรองตอธนาคาร บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย บริษัทเงินทุน หรือบริษัท

183 กรมสงกําลังบํารงุ ทหารเรือ , บันทึก กบ.ทร.ท่ี กห ๐๕๐๖/๓๘๗ ลง ๙ มิ.ย.๔๓
184 กรมสงกําลังบํารงุ ทหารเรือ , บนั ทกึ กบ.ทร.ที่ กห ๐๕๐๖/๑๗๐ ลง ๒๗ ก.ย.๔๒
185 สาํ นักนายกรฐั มนตรี , ระเบียบสาํ นักนายกรฐั มนตรีวาดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับทแ่ี กไขเพม่ิ เตมิ ขอ ๑๔๔
(๒)
186 สํานักนายกรฐั มนตรี , หนังสอื สํานกั นายกรฐั มนตรี ท่ี นร (กวพ.) ๑๓๐๕/ว ๘๖๐๒ ลง ๕ ต.ค.๔๔

เงินทุนหลักทรัพย ผูคํ้าประกันกํากับไปดวยวา หลักประกันสัญญาดังกลาวหมดระยะเวลาการค้ําประกันเมื่อ
วนั เดือนปใด ท้ังนี้ เพือ่ มิใหคูสัญญาตองเสียคาธรรมเนียมการตออายุหนังสือค้ําประกันนับจากวันท่ีคูสัญญา
พนจากขอผูกพันตามสัญญาจนถึงวันท่ีนําหนังสือคํ้าประกันไปคืนใหธนาคาร บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรม
แหงประเทศไทย บริษทั เงนิ ทุน หรือบริษทั เงินทุนหลักทรพั ย โดยไมจ าํ เปน

(๒) เมื่อคูสัญญาพนจากขอผูกพันตามสัญญาแลว และปรากฏวาสวนราชการคนหาตนฉบับหนังสือ
ค้าํ ประกนั ของธนาคาร บรรษทั เงินทนุ อุตสาหกรรมแหง ประเทศไทย บรษิ ัทเงนิ ทนุ หรอื บรษิ ทั เงนิ ทุนหลักทรัพย
ท่ีคูสัญญานํามาวางเปนหลักประกันสัญญาน้ันไมพบไมวาดวยเหตุใดเปนเหตุใหสวนราชการไมสามารถคืน
หนงั สือคํ้าประกนั สญั ญาดังกลาวใหแกคูสัญญาตามหลักเกณฑของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ
ฯ ขอ ๑๔๔ (๒) ได กรณนี ใ้ี หสวนราชการรีบแจงใหคูสัญญา และธนาคาร บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแหงประเทศ
ไทย บริษัทเงินทุน หรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย ผูค้ําประกันทราบวา หนังสือค้ําประกันสัญญาดังกลาวหมด
ระยะเวลาการค้ําประกันสัญญาแลวเม่ือวันเดือนปใด พรอมท้ังสงสําเนาหนังสือค้ําประกันสัญญาดังกลาว (ถามี)
ไปดวย

๑๙. การเลกิ สัญญา
๑๙.๑ ใหหัวหนาสวนราชการพิจารณาใชสิทธิบอกเลิกสัญญาในกรณีท่ีมีสาเหตุอันเช่ือไดวาผูรับจาง

ไมสามารถทํางานใหแลว เสรจ็ ภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนด เฉพาะกรณีท่ีเปนประโยชนแกทางราชการโดยตรง
หรือเพือ่ แกไขขอ เสยี เปรียบของทางราชการ ในการท่ีจะปฏบิ ัตติ ามสัญญานนั้ ตอไป187

๑๙.๒ ในกรณีที่จํานวนเงินคาปรับจะเกินรอยละสิบของวงเงินคาจาง ใหสวนราชการพิจารณา
ดําเนินการบอกเลิกสัญญา เวนแตคูสัญญาจะไดยินยอมเสียคาปรับใหทางราชการโดยไมมีเง่ือนไขใด ๆ
ทง้ั สน้ิ ใหห วั หนาสวนราชการพจิ ารณาผอนปรนการบอกเลิกสัญญาไดเ ทาที่จาํ เปน 188

ทั้งน้ี กบ.ทร.ไดกาํ หนดแนวทางปฏบิ ัตใิ นกรณนี ี้ ดงั น้ี189
(๑) กอนวันครบกําหนดสงมอบงานประมาณ ๗ - ๑๐ วัน เม่ือพบสิ่งบอกเหตุอันมีแนวโนมวา
การสงมอบงานจะไมทันตามกาํ หนดในสญั ญา ใหม ีการแจงเตือนผูร ับจา งทราบลว งหนา
(๒)เม่ือครบกําหนดสงมอบงาน แตผูรับจางยังมิไดสงมอบ ใหแจงขอใชสิทธิการปรับ รวมทั้ง
ขอสงวนสิทธิตามสัญญาในขออ่นื ๆ ดวย
(๓) เมื่อผูรับจางสงมอบงานภายหลังจากท่ีเลยกําหนดเวลาที่ระบุในสัญญาแลว แตจํานวนเงิน
คา ปรบั ยงั ไมเกินรอยละสิบของวงเงินจาง ใหแจง สงวนสิทธิการปรับเชน เดียวกับ (๒)
(๔) เม่ือเลยกาํ หนดสง งานและจํานวนเงินคาปรบั เทา กบั รอยละสิบของวงเงนิ จา ง จะตอ งบอกเลกิ
สัญญาและแจงการใชสิทธิท่ีไดรับทุกขอตามท่ีระบุไวในสัญญา เวนแตคูสัญญาจะยินยอมเสียคาปรับใหแก
ทางราชการ โดยไมมีเงือ่ นไขใด ๆ ทงั้ ส้ิน ใหพิจารณาผอ นปรนการบอกเลิกสัญญาไดเทา ทจ่ี ําเปน

187 สํานกั นายกรฐั มนตรี , ระเบยี บสํานกั นายกรฐั มนตรวี าดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ทแ่ี กไขเพมิ่ เติม ขอ ๑๓๗
188 สาํ นักนายกรัฐมนตรี , ระเบยี บสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ทแ่ี กไขเพม่ิ เตมิ ขอ ๑๓๘
189 กรมสง กําลงั บํารงุ ทหารเรอื , บันทึก กบ.ทร.ที่ กห ๐๕๐๖/๕๓๒ ลง ๑๗ ก.ค.๓๕

(๕) หนวยท่ีดําเนินการจัดจาง หากมิไดปฏิบัติตามข้ันตอนดังกลาวจนเปนผลใหทางราชการ
เสียประโยชน และทําใหเกิดความเสียหายข้ึน ผูบังคับบัญชาหนวยที่มีอํานาจสั่งจาง จะตองเปนผูรับผิดชอบ
รวมท้งั อาจจะตอ งมกี ารสอบสวนหารบั ผดิ ชดใชทางแพงดวย

๑๙.๓ ทร.อนมุ ัตใิ ห นขต.ทร.และหนวยเฉพาะกจิ ทร. ทราบและถือปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑและแนวทาง
การบอกเลิกสัญญาจางกอสรางของ ทร.190 โดยคํานึงถึงความกาวหนาในการสงมอบงาน และเบิกเงินคาจาง
ตามระยะเวลาท่ีกําหนดในสัญญา ท้ังนี้ การบอกเลิกสัญญาใหดําเนินการตามขั้นตอนท่ีกําหนด และใหเสนอ
ขออนมุ ัติ ทร.กอนบอกเลิกสญั ญา

๒๐. ผูทง้ิ งาน
๒๐.๑ อํานาจในการกาํ หนดรายช่อื ผทู ง้ิ งาน ใหหวั หนาสว นราชการเสนอ ทร.(ผา น กบ.ทร.) ทาํ รายงาน

ไปยังปลัดกระทรวงกลาโหมโดยเร็วเพ่ือพิจารณาใหบุคคลที่ไดรับการคัดเลือก ผูจําหนาย ผูรับจาง คูสัญญา
หรือผูรับจางชวงที่ราชการการอนุญาตใหรับชวงงานไดเปนผูท้ิงงาน เม่ือปรากฎกรณีใดกรณีหนึ่งตามที่
กําหนด191

๒๐.๒ การหามกอนิติสัมพันธกับผูท้ิงงาน ใหผูรักษาการตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการ
พัสดุ ฯ (ปลดั กระทรวงการคลัง) จัดทําบัญชีรายชื่อผูท้ิงงาน และหามสวนราชการกอนิติสัมพันธกับผูท้ิงงาน
ที่ผูรกั ษาการตามระเบยี บไดระบชุ ื่อไวในบัญชรี ายชื่อผูท ้งิ งาน และไดแจง เวียนชอื่ แลว192

๒๑. การรบิ หลักประกนั สญั ญา
ในกรณีทผี่ วู าจางบอกเลกิ สญั ญา ผูวาจางอาจทํางานนั้นเองหรือวาจางใหผูอ่ืนทํางานน้ันตอจนแลวเสร็จ

ไดผูวาจางหรือผูที่รับจางทํางานนั้นตอมีสิทธิใชเคร่ืองใชในการกอสรางส่ิงที่สรางข้ึนช่ัวคราว สําหรับงาน
กอ สรา งและวัสดตุ า ง ๆ ซง่ึ เห็นวาจะตอ งสงวนเอาไวเ พื่อการปฏบิ ัติงานตามสัญญาตามท่ีจะเหน็ สมควร

ในกรณีดังกลาว ผูวาจางมีสิทธิริบหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญาทั้งหมดหรือบางสวนตามแตจะ
เห็นสมควร นอกจากน้ันผูรับจางจะตองรับผิดชอบในคาเสียหาย ซ่ึงเปนจํานวนเกินกวาหลักประกันตาม
สัญญาและคาเสียหายตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึน รวมท้ังคาใชจายท่ีเพ่ิมข้ึนในการทํางานน้ันตอใหแลวเสร็จตามสัญญา
และคา ใชจ า ยในการควบคุมงานเพ่มิ (ถา ม)ี ซึ่งผูวา จา งจะหักเอาจากเงนิ ประกันผลงานหรือจํานวนเงินใด ๆ ท่ี
จะจายใหแกผูรับจางกไ็ ด ตามทก่ี าํ หนดไวใ นตวั อยางแบบสญั ญาจา งของ กวพ. ขอ ๑๘193

๒๒. การจางทป่ี รกึ ษา

190 กองทัพเรอื , บนั ทึก บก.ทร. ดวน ท่ี กห ๐๕๐๑/น. ๑๖๘ ลง ๒๒ ส.ค.๔๐
191 สํานักนายกรัฐมนตรี , ระเบยี บสํานกั นายกรฐั มนตรีวาดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ที่แกไขเพมิ่ เติม ขอ ๑๔๕ ทวิ
192 สาํ นักนายกรฐั มนตรี , ระเบียบสาํ นกั นายกรัฐมนตรวี าดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ท่แี กไขเพ่ิมเตมิ ขอ ๑๔๕
193 คณะกรรมการวาดวยการพัสดุ, หนงั สอื คณะกรรมการวาดว ยการพสั ดุ ดวนทสี่ ดุ ที่ กค (กวพ.) ๐๔๐๘.๔/ว ๑๖๑ ลง

๒๓ พ.ค.๔๖ แจง เวียนตามบนั ทึก กบ.ทร. ดว น ท่ีตอ กบ.ทร.เลขรับ ๓๒๙๐/๔๖ ลง ๔ ก.ค.๔๖

๒๒.๑ วธิ ีการจางทป่ี รกึ ษา กระทาํ ได ๒ วธิ ี คือ194
(๑) วธิ ตี กลง ไดแก การจางทป่ี รึกษาทผ่ี ูว า จางตกลงจา งรายใดรายหน่งึ ซง่ึ เคยทราบหรือเคยเหน็

ความสามารถและผลงานแลว และเปนผูใหบริการที่เช่อื ถอื ได1 95 ใหกระทําไดใ นกรณใี ดกรณหี นึง่ ดงั น1้ี 96
- เปน การจา งทม่ี ีคา จา งไมเ กนิ ๑๐๐,๐๐๐.-บาท
- เปนการจา งเพ่อื ทํางานตอ เนื่องจากงานท่ีไดทาํ อยแู ลว
- เปน การจางในกรณีทท่ี ราบแนช ดั วา ผเู ชี่ยวชาญในงานที่ใหบ รกิ ารตามที่ตอ งการมีจาํ นวน

จาํ กดั ไมเหมาะสมท่ีจะดาํ เนนิ การดวยวิธีคดั เลือกและเปน การจางทีม่ คี างานจา งไมเกนิ ๒,๐๐๐,๐๐๐.-บาท
- เปนการจา งสว นราชการ รัฐวสิ าหกิจ หรอื หนวยงานตามกฎหมายวา ดวยระเบยี บบริหาร

ราชการสว นทอ งถิน่
(๒)วิธีคัดเลือก ไดแก การจางท่ีปรึกษาโดยการคัดเลือกท่ีปรึกษาท่ีมีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะ

ทํางานน้ันใหเหลือนอยราย และเชิญชวนที่ปรึกษาที่ไดรับการคัดเลือกใหเหลือนอยรายดังกลาวย่ืนขอเสนอ
ใหเขารับงานน้ัน เพ่ือพิจารณาคัดเลือกรายท่ีดีที่สุด ในกรณีที่มีเหตุอันสมควรและหัวหนาสวนราชการ
เห็นชอบ ใหเชิญที่ปรึกษาที่มีคุณสมบัติเหมาะสมย่ืนขอเสนอเขารับงาน โดยไมตองทําการคัดเลือกใหเหลือ
นอยรายกอ นก็ได197

๒๒.๒การดําเนนิ การ
(๑) การจา งทป่ี รึกษาใหดําเนินการตามท่ีกําหนด198
(๒) กอนดําเนินการจางท่ีปรึกษาใหเจาหนาที่พัสดุทํารายงานขอความเห็นชอบตอหัวหนา

สวนราชการตามรายการดังตอไปน1ี้ 99
- เหตุผลและความจาํ เปน ท่ีตอ งจางทป่ี รกึ ษา
- ขอบเขตรายละเอยี ดของงานที่จะจางทีป่ รกึ ษา
- คุณสมบัตขิ องท่ปี รึกษาที่จะจาง
- วงเงินคาจา งทีป่ รึกษาโดยประมาณ
- กําหนดระยะเวลาแลวเสรจ็ ของงาน
- วิธจี า งท่ีปรึกษาและเหตุผลท่ีจะตองจางที่ปรึกษาโดยวิธีนั้น
- ขอ เสนออืน่ ๆ (ถามี)

194 สาํ นกั นายกรัฐมนตรี , ระเบยี บสํานกั นายกรัฐมนตรีวาดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ทีแ่ กไขเพิ่มเตมิ ขอ ๗๗
195 สาํ นกั นายกรฐั มนตรี , ระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรวี าดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับทีแ่ กไขเพิ่มเติม ขอ ๘๒
196 สาํ นักนายกรฐั มนตรี , ระเบียบสาํ นกั นายกรฐั มนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับทีแ่ กไขเพม่ิ เติม ขอ ๘๓
197 สาํ นกั นายกรัฐมนตรี , ระเบยี บสาํ นักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับทแ่ี กไขเพม่ิ เตมิ ขอ ๘๕
198 สาํ นกั นายกรัฐมนตรี , ระเบียบสาํ นกั นายกรัฐมนตรวี าดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ทแี่ กไขเพมิ่ เติม ขอ ๗๕
199 สาํ นกั นายกรฐั มนตรี , ระเบียบสาํ นักนายกรฐั มนตรวี าดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับทแ่ี กไขเพม่ิ เตมิ ขอ ๗๘

เม่ือหัวหนาสวนราชการใหความเห็นชอบตามรายงานที่เสนอแลวใหเจาหนาท่ีพัสุดําเนินการ
จา งตามวิธนี น้ั ตอไปได

(๓) ในการดําเนินการจางท่ีปรึกษาแตละคร้ังใหหัวหนาสวนราชการแตงต้ังคณะกรรมการข้ึน
เพ่ือปฏิบัติตามท่ีกาํ หนด200 โดยประกอบดว ย ประธานกรรมการ ๑ คน และกรรมการอยางนอย ๔ คน โดยให
แตงต้ังจากขาราชการชั้นสัญญาบัตรที่มีช้ันยศต้ังแตนาวาตรีขึ้นไป201 ในกรณีจําเปนหรือเพ่ือประโยชนแก
ทางราชการใหแตงตั้งผูแทนจากสวนราชการอ่ืน หรือบุคคลท่ีไมใชขาราชการ ซ่ึงเปนผูชํานาญการหรือ
ผทู รงคณุ วุฒิในงานท่ีจะจางท่ปี รกึ ษาเปน กรรมการดว ย202

(๔) คณะกรรมการดําเนนิ การจา งทปี่ รึกษา โดยวธิ ีตกลงมหี นาทตี่ ามท่ีกาํ หนด203
(๕) คณะกรรมการดาํ เนินการจางที่ปรกึ ษา โดยวิธคี ดั เลอื กมหี นาท่ตี ามท่กี าํ หนด204
๒๒.๓ อํานาจในการส่ังจางที่ปรึกษา ในการส่ังจางท่ีปรึกษาครั้งหน่ึงใหเปนอํานาจของผูดํารงตําแหนง
และภายในวงเงนิ ตามที่ กห. กําหนด205
๒๒.๔ คาจางที่ปรึกษา อัตราคาจางที่ปรึกษาใหเปนไปตามความเหมะสมและประหยัด ในกรณีที่มี
ความจําเปนตองจายเงินคาจางลวงหนา ใหจายไดไมเกินรอยละ ๑๕ ของคาจางตามสัญญา สําหรับการจาง
สว นราชการใหจ า ยคาจางลว งหนา ไดไ มเ กนิ รอยละ ๕๐206 ของคา จางตามสญั ญา

๒๓. การจา งออกแบบและควบคุมงาน
๒๓.๑ วธิ จี างออกแบบและควบคุมงาน กระทําได ๔ วิธ2ี 07 ดังนี้
(๑) การจางโดยวิธีตกลง ไดแก การจางออกแบบและควบคุมงานที่ผูวาจางเลือกจางผูใหบริการ

รายหน่ึงรายใด ซ่ึงเคยทราบหรือเคยเห็นความสามารถแลว และเปนผูใหบริการที่มีหลักฐานตามท่ีคณะกรรมการ
ดาํ เนนิ การจางโดยวธิ ีตกลงไดพิจารณาเสนอแนะ ท้ังนี้ ใหใ ชก ับการกอสรางท่ีมวี งเงนิ งบประมาณคา กอสรางตาม
โครงการหนง่ึ ๆ ไมเ กนิ ๒,๐๐๐,๐๐๐.-บาท208

ใหหัวหนาสวนราชการแตงตั้งคณะกรรมการดําเนินการจางโดยวิธีตกลง ประกอบดวย
ประธาน ๑ คน และกรรมการอื่นอีกอยางนอย ๒ คน209 โดยใหแตงต้ังจากขาราชการชั้นสัญญาบัตรที่มีช้ันยศ
ต้งั แตเรือเอกข้ึนไป210 และมอี าํ นาจหนาท่ตี ามท่ีกาํ หนด๑๑

200 สํานักนายกรฐั มนตรี , ระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับที่แกไขเพ่มิ เติม ขอ ๗๙
201 กระทรวงกลาโหม, คาํ สั่ งกห. (เฉพาะ) ท่ี ๓๙/๓๙ ลง ๕ ม.ี ค.๓๙
202 สาํ นักนายกรัฐมนตรี, ระเบียบสํานกั นายกรฐั มนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับทแ่ี กไ ขเพ่มิ เติม ขอ ๘๐
203 สํานกั นายกรฐั มนตรี, ระเบียบสํานกั นายกรัฐมนตรวี าดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ที่แกไขเพิ่มเติม ขอ ๘๔
204 สาํ นักนายกรฐั มนตรี, ระเบียบสาํ นกั นายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ทแ่ี กไขเพม่ิ เตมิ ขอ ๘๘
205 กระทรวงกลาโหม, คําสั่ งกห. (เฉพาะ) ท่ี ๓๙/๓๙ ลง ๕ ม.ี ค.๓๙
206 สาํ นักนายกรฐั มนตรี, ระเบียบสาํ นักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ที่แกไขเพม่ิ เตมิ ขอ ๙๒
207 สํานักนายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสํานักนายกรฐั มนตรวี าดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับท่ีแกไ ขเพม่ิ เติม ขอ ๙๕
208 สํานกั นายกรัฐมนตรี, ระเบียบสาํ นักนายกรฐั มนตรวี าดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ที่แกไขเพม่ิ เตมิ ขอ ๙๗
209 สํานักนายกรัฐมนตรี, ระเบียบสาํ นกั นายกรัฐมนตรวี าดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ที่แกไขเพิ่มเตมิ ขอ ๙๘

(๒)การจางโดยวิธีคัดเลือก ไดแก การจางออกแบบและควบคุมงานโดยผูวาจางประกาศ
เชญิ ชวนการวาจาง และคณะกรรมการดําเนินการจางจะพิจารณาคัดเลือกผูใหบริการท่ีมีขอกําหนดเหมาะสม
ท่ีสุดเพื่อดําเนินการวาจางตอไป ท้ังน้ี ใหใชกับการกอสรางอาคารท่ีมีวงเงินงบประมาณคากอสรางตาม
โครงการหน่ึง ๆ เกนิ ๒,๐๐๐,๐๐๐.-บาท แตไ มเกนิ ๕,๐๐๐,๐๐๐.-บาท211

ใหหัวหนาสวนราชการแตงตั้งคณะกรรมการรับซองเสนองาน และคณะกรรมการดําเนินการ
จางโดยวิธีคัดเลือก โดยแตละคณะประกอบดวย ประธาน ๑ คน และกรรมการอ่ืนอีกอยางนอย ๒ คน โดย
คณะกรรมการรบั ซอง ฯ ใหแตงตัง้ จากขาราชการชนั้ สญั ญาบัตรหรือผูที่ทางราชการสั่งใหทําหนาท่ีในตําแหนง
นายทหารสัญญาบัตร สวนคณะกรรมการดําเนินการจาง ฯ ใหแตงตั้งจากขาราชการชั้นสัญญาบัตรที่มีช้ันยศ
ตงั้ แตเ รอื เอกข้นึ ไป212 และกรรมการทั้ง ๒ คณะ มีอํานาจหนาที่ตามท่ีกาํ หนด

(๓) การจางโดยวิธีคัดเลือกแบบจํากัดขอกําหนด ไดแก การวาจางออกแบบและควบคุมงานที่
ผูวาจางประกาศเชิญชวนการวาจาง และคณะกรรมการดําเนินการจางโดยวิธีคัดเลือกแบบจํากัดขอกําหนด
พิจารณาคัดเลือกผูใหบริการที่เปนนิติบุคคล โดยคํานึงถึงฐานะทางนิติบุคคล คุณวุฒิและประวัติการทํางาน
จํานวนสถาปนิกและหรือวิศวกรท่ีประจําและไมประจํา หลักฐานแสดงผลงานที่ไดเคยปฏิบัติมาแลว
ตลอดจนแนวความคิดในการออกแบบเพื่อดําเนินการจางตอไป ทั้งน้ีใหใชกับการกอสรางอาคารท่ีมีวงเงิน
งบประมาณคา กอ สรา งตามโครงการหนึ่ง ๆ เกนิ ๕,๐๐๐,๐๐๐.-บาท213

ใหหัวหนาสวนราชการแตงตั้งคณะกรรมการรับซองและคณะกรรมการดําเนินการจางโดย
วิธคี ัดเลอื กแบบจํากัดขอกําหนด214 โดยคณะกรรมการรับซอง ฯ ใหแตงต้ังจากขาราชการช้ันสัญญาบัตรหรือ
ผูท่ีทางราชการสั่งใหทําหนาท่ีในตําแหนงนายทหารสัญญาบัตร สวนคณะกรรมการดําเนินการจาง ฯ ให
แตงตัง้ จากขาราชการช้ันสัญญาบตั รท่มี ีชัน้ ยศตั้งแตเรือเอกข้ึนไป215 และคณะกรรมการดําเนินการจางโดยวิธี
คัดเลือกแบบจาํ กดั ขอ กาํ หนดทห่ี นาทต่ี ามท่กี าํ หนด216

(๔) การจางโดยวิธพี ิเศษ มี ๒ ลกั ษณะ217 ดังน้ี
(ก) วิธีเลือกจาง ไดแก การจางออกแบบและควบคุมงานในกรณีที่มีความจําเปนเรงดวน

และความม่ังคงของชาติ หากดาํ เนินการวา จางวธิ ีอื่นดังกลาวมาแลว จะทําใหเกิดความลาชาเกิดความเสียหาย

210 กระทรวงกลาโหม, คําส่งั กห. (เฉพาะ) ท่ี ๓๙/๓๙ ลง ๕ ม.ี ค.๓๙ ขอ ๔.๓
๑๑ สาํ นกั นายกรฐั มนตรี, ระเบยี บสํานักนายกรฐั มนตรวี าดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ท่ีแกไ ขเพ่มิ เติม ขอ ๙๙
211 สาํ นกั นายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสํานกั นายกรัฐมนตรีวาดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับที่แกไ ขเพิ่มเติม ขอ ๙๗
212 กระทรวงกลาโหม, คาํ สั่ง กห. (เฉพาะ) ท่ี ๓๙/๓๙ ลง ๕ ม.ี ค.๓๙ ขอ ๔.๓
213 สํานกั นายกรัฐมนตรี, ระเบียบสํานกั นายกรฐั มนตรวี าดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ทแ่ี กไขเพ่มิ เติม ขอ ๑๐๔
214 สาํ นักนายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรวี าดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับทแี่ กไขเพิม่ เตมิ ขอ ๑๐๕
215 กระทรวงกลาโหม, คาํ สัง่ กห. (เฉพาะ) ที่ ๓๙/๓๙ ลง ๕ ม.ี ค.๓๙ ขอ ๔.๕
216 สาํ นกั นายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรวี าดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ทีแ่ กไขเพิ่มเติม ขอ ๑๐๖
217 สํานกั นายกรฐั มนตรี, ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรวี าดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับทีแ่ กไ ขเพิม่ เตมิ ขอ ๑๐๗

แกทางราชการและความมั่นคงของประเทศชาติ ใหปลัดกระทรวงมีอํานาจตกลงจางผูใหบริการรายหน่ึง
รายใดตามทีพ่ จิ ารณาเหน็ สมควร

(ข) การวาจางโดยการประกวดแบบ ไดแก การวาจางออกแบบท่ีมีลักษณะพิเศษเปนท่ี
เชดิ ชคู ุณคา ทางดา นศิลปกรรมหรือสถาปตยกรรมของชาติ เชน อนุสาวรยี  รฐั สภา พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ
โรงละครแหงชาติ หรืองานออกแบบอาคารที่มีโครงสรางขนาดใหญ เชน สนามกีฬาแหงชาติ สนามบิน
ใหผ ูวาจางเสนอรายละเอียดเรอ่ื งการจางออกแบบโดยวิธีประกวดแบบตอ กวพ.

๒๓.๒ การดําเนินการ ใหด าํ เนินการดงั นี้
(๑) กอนดําเนินการจางออกแบบและควบคุมงานทุกวิธีใหเจาหนาท่ีพัสดุจัดทํารายงานขอความ

เหน็ ชอบตอ หวั หนา สวนราชการ ตามรายการดังตอไปนี้218
- ขอบเขตของงานรวมทง้ั รายละเอยี ดเทาทจ่ี าํ เปน
- วงเงนิ งบประมาณคา กอ สรา ง
- ประมาณการคา จาง
- กาํ หนดเวลาแลวเสร็จ
- วธิ ที จ่ี ะจางและเหตผุ ลทีต่ อ งจางโดยวิธีนั้น
- ขอเสนออ่นื ๆ (ถาม)ี
เมื่อหัวหนาสวนราชการใหความเห็นชอบตามรายงานท่ีเสนอแลวใหเจาหนาที่พัสดุดําเนินการ

จางตามวธิ นี ้นั ตอ ไปได
(๒)สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เห็นชอบหลักเกณฑการจางออกแบบหรือควบคุมงาน

กอสรางอาคารและใหสวนราชการถือปฏิบัติตามท่ีกําหนด219 โดยสรุป ถาหนวยราชการไมมีหนวยงาน
ออกแบบกอสรางหรือมีแตไมสามารถดําเนินการออกแบบกอสรางไดใหมีหนังสือขอความรวมมือกรม
โยธาธิการ กรมศิลปากร และสวนราชการอ่ืนท่ีมีหนวยงานออกแบบกอสรางอยางนอยอีก ๑ แหง หาก
หนวยงานราชการไมสามารถดําเนินการใหได ใหสวนราชการเจาของงบประมาณจางเอกชนออกแบบ
กอสรางอาคาร โดยทําความตกลงดานการเงนิ กับสาํ นกั งบประมาณตอ ไป

๒๓.๓ อาํ นาจการสัง่ จา ง การส่ังจางออกแบบและควบคุมงานคร้ังหน่ึง ใหเปนอํานาจหนาท่ีของผูดํารง
ตําแหนง และภายในวงเงนิ ตามท่ี กห.กาํ หนด220

๒๓.๔ การตรวจและรับมอบงาน ใหหัวหนาสวนราชการแตงต้ังคณะกรรมการตรวจและรับมอบงาน
ประกอบดวย ประธาน ๑ คน และกรรมการอ่ืนอีกอยางนอย ๒ คน221 โดยใหแตงตั้งจากขาราชการชั้นสัญญา
บัตรทมี่ ชี ้ันยศตั้งแตเรือเอกขึ้นไป222 และมีอํานาจหนา ที่ตามท่กี าํ หนด223

218 สํานักนายกรัฐมนตรี, ระเบียบสํานกั นายกรัฐมนตรวี าดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับทแ่ี กไ ขเพ่มิ เติม ขอ ๙๖
219 สํานกั เลขาธิการคณะรฐั มนตร,ี หนงั สอื สาํ นักเลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี ท่ี นร ๐๒๐๕/ว ๔๔ ลง ๒๒ มี.ค.๓๖
220 สาํ นักนายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสาํ นักนายกรัฐมนตรวี าดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับทีแ่ กไ ขเพมิ่ เติม ขอ ๑๑๔
221 สํานักนายกรัฐมนตรี, ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ทแ่ี กไ ขเพ่ิมเตมิ ขอ ๑๑๖
222 กระทรวงกลาโหม, คาํ ส่ัง กห. (เฉพาะ) ที่ ๓๙/๓๙ ลง ๕ มี.ค.๓๙ ขอ ๔.๓

๒๓.๕ การจายเงินคา ออกแบบและควบคมุ งาน ใหเ ปน ไปตามทก่ี ําหนด ดงั น2ี้ 24
(๑) อาคารท่ีมีงบประมาณคากอสรางไมเกิน ๑๐,๐๐๐,๐๐๐.-บาท ใหจายคาออกแบบหรือคา

คุมงานอยางใดอยางหนึ่งในอัตรารอยละ ๒ ของวงเงนิ งบประมาณคากอ สรา ง
(๒)อาคารที่มงี บประมาณคา กอสราง เกนิ ๑๐,๐๐๐,๐๐๐.-บาท สาํ หรับในสวนทีเ่ กิน

๑๐,๐๐๐,๐๐๐.-บาท ใหจายคาออกแบบหรือคาคุมงานอยางใดอยางหน่ึงในอัตรารอยละ ๑.๗๕ ของวงเงิน
งบประมาณคา กอสราง

223 สาํ นักนายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับที่แกไ ขเพม่ิ เตมิ ขอ ๑๑๗
224 สาํ นักนายกรัฐมนตรี, ระเบียบสํานกั นายกรัฐมนตรวี าดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบบั ที่แกไขเพิม่ เติม ขอ ๑๑๙

บรรณานกุ รม

๑. เรอ่ื ง การพัสดุ
[คําส่งั กห.(เฉพาะ) ท่ี ๓๙/๓๙ ลง ๕ ม.ี ค.๓๙]

๒. ระเบียบ ทร. วาดว ยการงบประมาณ พ.ศ.๒๕๔๒
๓. เร่ือง การมอบอํานาจสั่งการและทําการแทนในนาม ผบ.ทร.

(คําส่งั ทร.ท่ี ๑๘๗/๒๕๔๔ ลง ๓ ธ.ค.๔๔)
๔. เรื่อง แนวทางการปฏิบตั ิในการจดั ทําและเสนอขออนมุ ัตแิ ผนปฏบิ ัติการประจาํ ป

(บนั ทึก สปช.ทร.ที่ กห ๐๕๐๙/๕๐๐๕ ลง ๒๐ มิ.ย.๔๖)
๕. บญั ชีราคามาตรฐานครุภัณฑ สาํ นกั งบประมาณ พ.ศ.๒๕๔๕
๖. เรื่อง แนวทางการขออนุมัติโครงการ การขอตั้งงบประมาณรายจายประจําป และการขออนุมัติแผนการ

จดั ซอ้ื /จาง ของสวนราชการในสังกดั กระทรวงกลาโหม
[คาํ สงั่ กห.(เฉพาะ) ท่ี ๒๘๐/๔๕ ลง ๒๓ ก.ย.๔๕]
๗. เร่อื ง การจําแนกประเภทรายจา ยตามงบประมาณ
๘. เร่ือง ขอทําความตกลงเปนหลักการเกี่ยวกับการจัดหาครุภัณฑที่ไมตรงตามหลักเกณฑท่ีสํานัก
งบประมาณกําหนด (บนั ทกึ กบ.ทร.ท่ีตอ กบ.ทร.เลขรบั ๒๗๑/๓๗ ลง ๒ ก.พ.๓๗)

๙. เร่อื ง การตรวจสอบผูเสนอราคาหรือผูเสนองานทม่ี ผี ลประโยชนรวมกัน
[หนังสือสํานักนายกรัฐมนตรี ดวนมาก ท่ี นร (กวพ) ๑๓๐๕/ว ๗๒๘๖ ลง ๒๐ ส.ค.๔๒ แจงเวียนตาม
บนั ทึก กบ.ทร.ทต่ี อ กบ.ทร.เลขรบั ๔๐๒๓/๔๒ ลง ๑๗ ก.ย.๔๒]

๑๐. เรื่อง แนวปฏิบัติในการกาํ กับดูแลเผยแพรขาวสารการประกาศประกวดราคาเพ่อื เสริมมาตรการปองกัน
หรือลดโอกาสในการสมยอมกันในการเสนอราคา [หนังสือสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๐๕/ว
๑๙๓ ลง ๑๓ ธ.ค.๔๒ แจง เวียนตามบนั ทึก กบ.ทร.ที่ตอ กบ.ทร.เลขรับ ๑๑๕/๔๓ ลง ๑๗ ม.ค.๔๓]

๑๑. เร่ือง ซอมความเขา ใจเก่ยี วกับแนวปฏบิ ัตใิ นการกํากบั ดูแลการเผยแพรข าวสารการประกาศประกวดราคา
[หนังสือสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน ที่ ตผ ๐๐๐๑/ว ๘๖ ลง ๑๐ ก.พ.๔๓ แจงเวียนตามบันทึก กบ.ทร.ที่
ตอ กบ.ทร.เลขรับ ๑๑๗๔/๔๓ ลง ๑๕ มี.ค.๔๓]
๑๒. เร่อื ง แกไขแบบฟอรม มาตรฐานการสืบราคาและเสนอราคาเปนภาษาอังกฤษ

(บันทึก กบ.ทร.ที่ กห ๐๕๐๖/๓๕๕ ลง ๗ เม.ย.๓๕)
๑๓. เรอื่ ง การตรวจสอบการรบั รองเอกสารท่ที าํ ในตางประเทศ

(หนังสอื กระทรวงการตา งประเทศ ท่ี กต ๐๒๑๑/๘๓๐๘๐ ลง ๑ ต.ค.๒๘)
๑๔. เร่ือง กําหนดเสนทางเดินเรือที่ผูสั่งหรือนําของมาจากตางประเทศ ตองบรรทุกของน้ันโดยเรือไทย
สําหรับกรณีท่ีสวนราชการ องคกรของรัฐ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ เปนผูสั่งหรือนําเขา(ประกาศ
กระทรวงคมนาคม ลง ๑๐ ส.ค.๓๘)

๑๕. ระเบียบสาํ นกั นายกรฐั มนตรี วา ดวยการดําเนนิ การการคาตางตอบแทน พ.ศ.๒๕๔๓
๑๖. เร่ือง แนวทางการปฏิบัติในการจางซอมยุทธภัณฑที่จําเปนตองถอดตรวจใหทราบความชํารุดเสียหาย

กอ นจึงจะประมาณคาซอมทําไดของ ทร.
[คําสั่ง ทร.(เฉพาะ) ที่ ๒๖๕/๒๕๔๐ ลง ๙ ธ.ค.๔๐]
๑๗. เรื่อง การกําหนดแนวทาง ข้ันตอน และหลักเกณฑสําหรับการดําเนินการจัดหาพัสดุในรูปแบบการ
ประมลู ดว ยระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส (e – Auction)
(ประกาศกระทรวงการคลัง ลง ๙ ธ.ค.๔๕)
๑๘. เรื่อง การดาํ เนินการจัดหาพสั ดใุ นรปู แบบการประมูลดว ยระบบอิเล็กทรอนกิ ส (e-Auction)
[คาํ สั่งกระทรวงกลาโหม (เฉพาะ) ที่ ๑/๔๖ ลง ๓ ม.ค.๔๖]
๑๙. เรื่อง การกาํ หนดแบบสัญญาสาํ หรบั กรณกี ารจายเงินตรง (Direct Payment)
(หนังสือคณะกรรมการวาดวยการพัสดุ ดวนที่สุด ท่ี กค (กวพ) ๐๔๐๘.๔/๑๖๑ ลง ๒๓ พ.ค.๔๖ แจงเวียน
ตามบนั ทกึ กบ.ทร. ดวน ทตี่ อ กบ.ทร.เลขรับ ๓๒๙๐/๔๖ ลง ๔ ก.ค.๔๖)
๒๐. เร่ือง ตอบขอหารือปญหาการเรียกหลักประกันตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.
๒๕๒๑ (หนงั สอื สํานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร (กวพ) ๑๐๐๒/๓๖๖๖ ลง ๒๘ เม.ย.๓๒)
๒๑. เรื่อง ขอความรวมมือใหแจงรายละเอียดการทําสัญญาซื้อขายและสัญญาจางหรือรายการส่ังซ้ือหรือสั่ง
จางหรือขอตกลง (หนังสือกรมสรรพากร ที่ กค ๐๘๑๔/๑๐๕๘๗ ลง ๑๒ ต.ค.๔๒ แจงเวียนตามบันทึก
กบ.ทร.ท่ีตอ กบ.ทร.เลขรบั ๐๙๑/๔๓ ลง ๑๔ ม.ค.๔๓)
๒๒. เร่อื ง แนวทางปฏิบตั ิตามระเบียบสาํ นกั นายกรฐั มนตรวี า ดว ยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทีแ่ กไ ขเพิ่มเติม

(หนังสือสํานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร (กวพ) ๑๓๐๕/ว ๑๑๙๔๘ ลง ๑๓ ธ.ค.๔๓ แจงเวียนตามบันทึก
กบ.ทร.ท่ีตอ กบ.ทร.เลขรบั ๔๖๒/๔๔ ลง ๙ ก.พ.๔๔)
๒๓. เรอ่ื ง ระยะเวลาในการตรวจการจางงานกอสรางและการตรวจรบั พัสดุ

(หนังสือสํานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๑๓๐๕/ว ๕๘๕๕ ลง ๑๑ ก.ค.๔๔ แจงเวียนตามบันทึก กบ.ทร.
ทต่ี อ กบ.ทร.เลขรบั ๔๑๖๗/๔๔ ลง ๗ ส.ค.๔๔)
๒๔. เรอื่ ง มาตรการเกีย่ วกบั การตรวจรบั พสั ดทุ ่ีเปนของใหมแ ละผลิตในตางประเทศ

(หนังสือสํานักนายกรัฐมนตรี ท่ี นร (กวพ) ๑๐๐๒/ว ๒ ลง ๒๐ ม.ค.๓๕ แจงเวียนตามบันทึก
กบ.ทร.ทตี่ อ กบ.ทร.เลขรบั ๑๐๒๕/๓๕ ลง ๒๑ ก.พ.๓๕)
๒๕. เรอ่ื ง ขอใหอ ุทธรณคาํ พิพากษา

(บันทกึ กบ.ทร.ที่ กห ๐๕๐๖/๒๓๐ ลง ๙ มี.ค.๓๓)
๒๖. เร่อื ง งานกอสรางตามระเบยี บสํานกั นายกรฐั มนตรวี าดว ยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕

[หนงั สอื สาํ นักนายกรัฐมนตรี ท่ี นร (กวพ) ๑๒๐๔/ว ๑๙๓๙ ลง ๒๔ ก.พ.๓๗]
๒๗. ขอบงั คับทหารเรอื ท่ี ๓๔ วาดว ยการโยธาฝา ยบก
๒๘. เรอ่ื ง การกาํ หนดคณุ สมบัติของผูเสนอราคาในการจา งกอสราง

(บันทกึ กบ.ทร.ท่ีตอ กบ.ทร.เลขรับ ๔๙๒๓/๔๓ ลง ๒๐ ต.ค.๔๓)

๒๙. เรอ่ื ง การดําเนินการประกวดราคา
(หนงั สือสํานกั เลขาธิการนายกรฐั มนตรี ท่ี นร ๐๑๐๓/ว ๓๒ ลง ๑๗ ม.ี ค.๔๓)

๓๐. มตคิ ณะรัฐมนตรี เมื่อ ๒๘ ธ.ค.๓๖ และ ๒๘ มิ.ย.๓๗
๓๑. เร่อื ง แนวทางปฏิบัตใิ นการแตงตง้ั คณะกรรมการและการกําหนดราคากลางงานกอสรางของ ทร.

(บนั ทึก กบ.ทร. ดว น ท่ีตอ กบ.ทร.เลขรับ ๑๗๖/๔๐ ลง ๒๑ ม.ค.๔๐)
๓๒. มตคิ ณะรฐั มนตรี เมอ่ื ๖ ม.ค.๔๑
๓๓. เร่ือง มาตรการปองกันหรือลดโอกาสในการสมยอมกันในการเสนอราคาเฉพาะกรณีการกําหนดราคา

กลางในงานกอ สรา งของทางราชการ
(บันทึก กบ.ทร.ที่ตอ กบ.ทร.เลขรับ ๕๑๖๘/๔๒ ลง ๑๘ พ.ย.๔๒)
๓๔. เรอ่ื ง มาตรการปอ งกันหรอื ลดโอกาสในการสมยอมกันในการเสนอราคา : เฉพาะกรณีการกําหนดราคา
กลางงานกอสรางของทางราชการ
(บนั ทึก กบ.ทร.ท่ตี อ กบ.ทร.เลขรับ ๖๕๘/๔๑ ลง ๑๓ ก.พ.๔๑)
๓๕. เรอ่ื ง แกไขแนวทางปฏิบตั ใิ นการแตง ต้งั คณะกรรมการและการกาํ หนดราคากลางงานกอสรางของ ทร.
(บันทกึ กบ.ทร.ท่ี กห ๐๕๐๖/๑๒ ลง ๙ ก.พ.๔๒)
๓๖. เร่ือง การจดั ทาํ เอกสารสอบราคาและประกาศเผยแพรก ารสอบราคา
[บนั ทึก สงป.กห.ท่ี (ฉบับ สงป.กห.เลขรับ ๕๔๑๙/๓๕) ลง ๒๒ ธ.ค.๓๕]
๓๗. เร่อื ง แนวทางการพิจารณาเอกสารประกวดราคาจางกอ สรา งของ ทร.
(บันทึก กบ.ทร.ที่ กห ๐๕๐๖/๔๓๐ ลง ๒๙ มิ.ย.๔๓)
๓๘. เร่ือง การพิจารณาปรับปรุงแกไขวงเงินคากอสราง คาขายแบบ วงเงินรับรองผลงาน เงินคาประกันซอง
และเงนิ คา ปรบั สาํ หรับงานกอ สรา ง ปรบั ปรงุ และซอมแซมอาคารมาตรฐาน กห.
(บนั ทึก กบ.ทร.ที่ตอ กบ.ทร.เลขรับ ๔๘๙๒/๓๘ ลง ๑๑ ส.ค.๓๘)
๓๙. เรื่อง แนวทางปฏิบัติเก่ียวกับการจายเงินลวงหนาสําหรับงานจางตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วา
ดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทีแ่ กไ ขเพมิ่ เติม
(บันทึก กบ.ทร.ที่ตอ กบ.ทร.เลขรบั ๙๔๐/๓๖ ลง ๓ ม.ี ค.๓๖)
๔๐. เรื่อง ขอทําความตกลงเปน หลกั การเกยี่ วกบั การจดั หาครุภณั ฑ
[บันทึก สงป.กห.ที่ (ฉบบั สงป.กห.๕๒๗๗/๓๖ ลง ๒๐ ธ.ค.๓๖)
๔๑. เรื่อง ขอทําความตกลงเปน หลักการเก่ยี วกบั การจดั หาครุภัณฑท่ีไมตรงตามหลักการท่ีสํานักงบประมาณ
กาํ หนด
(บนั ทึก กบ.ทร.ทต่ี อ กบ.ทร.เลขรบั ๒๗๑/๓๗ ลง ๒ ก.พ.๓๗)
๔๒. เรื่อง การระบุคุณลกั ษณะเฉพาะของส่งิ ของหรือยห่ี อสงิ่ ของ
(หนงั สอื สาํ นักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ดว นมาก ท่ี สร ๑๐๐๑/๒๒๓ ลง ๑๘ ส.ค.๒๐)
๔๓. เรื่อง คาตอบแทนคณะกรรมการตรวจการจา งและผคู วบคุมงาม
(หนังสือกระทรวงการคลัง ท่ี กค ๐๕๐๒/ว ๑๗๒ ลง ๒๖ ต.ค.๓๕)

๔๔. เรอ่ื ง การแกไขปญ หาผวู า จา งกอ สรางทาํ งานลาชาหรือทง้ิ งาน
(บนั ทกึ กบ.ทร. ดว น ที่ กห ๐๕๐๑/น ๑๔๗ ลง ๒๘ ก.ค.๔๐)

๔๕. เรื่อง การรายงานผลการตรวจรับมอบงาน
(บนั ทกึ กบ.ทร.ที่ กห ๑๑๑๖/๑๙ ลง ๙ ม.ิ ย.๒๐)

๔๖. เรอื่ ง ซักซอ มความเขาใจในการกาํ หนดระยะเวลารบั ประกนั ความชาํ รุดบกพรองของงานกอ สราง
(บันทึก กบ.ทร.ที่ กห ๐๕๐๖/๓๘๗ ลง ๙ มิ.ย.๔๓)

๔๗. เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการซอมทํางานท่ีไดกอสรางหรือซอมแซมสวนที่ชํารุด ซ่ึงอยูในความ
รับผดิ ชอบของผรู ับจา ง
(บนั ทึก กบ.ทร.ที่ กห ๐๕๐๖/๑๗๐ ลง ๒๗ ก.ย.๔๒)

๔๘. เร่ือง หลักการและวิธปี ฏบิ ัตใิ นการคนื หลกั ประกนั สัญญา
(หนงั สือสาํ นักนายกรฐั มนตรี ท่ี นร (กวพ) ๑๓๐๕/ว ๘๖๐๘ ลง ๕ ต.ค.๔๔)

๔๙. เร่ือง การปฏิบัติตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ ฯ กรณีคาปรับตามสัญญาซื้อ/จาง
เกินรอยละสิบ
(บนั ทกึ กบ.ทร.ท่ี กห ๐๕๐๖/๕๓๒ ลง ๑๗ ก.ค.๓๕)

๕๐. เร่ือง การแกไ ขปญ หากรณีผรู บั เหมากอสรา งทาํ งานลา ชาจนไมสามารถเบกิ จายงบประมาณไดทัน ตามท่ี
ไดข อขยายเวลาเบกิ จายไว
(บนั ทกึ บก.ทร. ดวน ที่ กห ๐๕๐๑/น ๑๖๘ ลง ๒๒ ส.ค.๔๐)

๕๑. เร่ือง การทบทวนมตคิ ณะรัฐมนตรเี ก่ียวกับการจา งเอกชนเปน ผอู อกแบบและควบคมุ งานกอ สราง
(หนังสอื สํานักเลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี ท่ี นร ๐๒๐๕/ว ๔๔ ลง ๒๒ มี.ค.๓๖)


Click to View FlipBook Version