The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by runn0248, 2022-04-16 02:26:51

อทร.๔๐๐๕คู่มือการจัดซื้อ/จ้าง

อทร

Keywords: อทร

อทร. ๔๐๐๕
คูมือการจดั ซอ้ื /จาง

พ.ศ.๒๕๔๖

เอกสารอา งอิงของกองทัพเรอื หมายเลข ๔๐๐๕
คูมือการจดั ซ้อื /จา ง

จดั ทําโดย
คณะทาํ งานพจิ ารณาและจดั ทาํ อทร.ดา นการสงกําลงั บํารงุ

กรกฎาคม ๒๕๔๖

พมิ พครงั้ ที่ ๑
กรกฎาคม ๒๕๔๖

อทร.๔๐๐๕ วนั เดือนป ผแู กไข หมายเหตุ
บนั ทึกการเปลย่ี นแปลงแกไข ทท่ี ําการแกไ ข (ยศ-นาม-ตาํ แหนง)

ลําดับที่ รายการแกไข

คํานํา

คณะทํางานพิจารณาและจัดทํา อทร.ดานการสงกําลังบํารุง ไดพิจารณาปรับปรุงแกไข อทร.
๔๐๐๕ ( คูมือการจัดซื้อ/จาง ) ใหม เปนแบบพรรณนาเชิงวิเคราะห โดยการรวบรวมเนื้อหาสาระจากระเบียบ
สํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แกไขเพ่ิมเติม รวมทั้งมติคณะรัฐมนตรี ตลอดจน
หนงั สือซักซอ มความเขาใจทีเ่ กีย่ วขอ ง โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหหนวยตาง ๆ ของ ทร. ใชเปนคูมือประกอบใน
การปฏิบัติ เกี่ยวกับการจัดซ้ือ/จาง ภายใต กฎ ระเบียบที่กําหนดไว ไดอยางชัดเจนซึ่งจะสงผลใหการ
บรหิ ารงานทจี่ ะใหไดม าซ่งึ พสั ดุทมี่ ีคณุ สมบัติที่ถกู ตอ งหรืองานจา งทม่ี รี ายการละเอยี ดทถี่ กู ตอ ง ในจํานวนที่ตก
ลงใจถูกตอง ในจังหวะหรือเวลาท่ีถูกตอง ในราคาท่ีถูกตอง จากผูขายหรือผูรับจางท่ีถูกตอง และนําไปสงใน
ตําบลท่ีท่ีถูกตองนั้น เปนหนาท่ีที่สําคัญมาก สําหรับผูบริหารงานพัสดุของ ทร. รวมทั้งจะสงผลดีตอการ
บริหารงบประมาณของ ทร. อกี ดว ย

อน่ึง คณะทํางานฯ หวงั เปนอยางยง่ิ วา “ อทร.๔๐๐๕ ( คูมือการจัดซื้อ/จา ง ) ” ฉบับนี้ จะเปน
ประโยชนตอหนวยงานตาง ๆ ของ ทร. หากมีขอบกพรองในสวนใด คณะทํางานฯ ขอรับไว และจะเปน
พระคุณอยางยิ่ง หากทานพบขอบกพรอง พรอมท่ีจะแจงใหคณะทํางานฯ ทราบ เพื่อจะไดปรับปรุงแกไขใน
โอกาสตอ ไป จงึ ขอขอบพระคณุ อยา งสูงไว ณ โอกาสนดี้ ว ย

คณะทํางานพิจารณาและจดั ทาํ อทร.ดา นการสงกาํ ลังบํารุง

สารบญั หนา

หมวดท่ี ๑

หมวด ๑ ขอความท่ัวไป ๒
กลาวโดยทั่วไป
นยิ ามศพั ทท สี่ ําคญั เก่ียวกบั การจัดซือ้ /จาง ๗

หมวด ๒ การจดั ซ้ือ/จา ง ๗
สวนท่ี ๑ การดําเนนิ การกอ นการจัดซอื้ /จาง ๑๐
แผนการจดั ซื้อ/จาง ๑๔
การเตรยี มการทเี่ กยี่ วของ ๑๔
สวนท่ี ๒ การดําเนนิ การจัดซอื้ /จา ง ๑๔
วธิ กี ารจดั ซอื้ /จาง ๑๕
การจดั ซ้อื /จา งโดยวิธีตกลงราคา ๒๐
การจดั ซื้อ/จางโดยวิธสี อบราคา ๒๘
การจัดซ้ือ/จางโดยวิธปี ระกวดราคา ๔๐
การจัดซอื้ /จา งโดยวิธีพิเศษ ๔๑
การจัดซอื้ /จางโดยวธิ กี รณพี เิ ศษ ๔๔
การจดั ซ้อื /จา งโดยวธิ ปี ระมูลดวยระบบอิเลก็ ทรอนิกส( e – Auction) ๔๗
การจดั ทําสัญญาหรือขอ ตกลงเปนหนงั สอื ๔๗
สว นที่ ๓ การดาํ เนินการภายหลังการลงนามในสัญญา ๔๗
การสงสาํ เนาสัญญาให สตง. และกรมสรรพากร ๔๘
การแกไขเปลีย่ นแปลงสญั ญา ๔๘
สทิ ธกิ ารบอกเลิกสัญญาจา งและการตกลงเลิกสญั ญา ๔๘
การบอกเลกิ สัญญากรณคี าปรบั จะเกนิ รอ ยละ ๑๐ และการผอ นปรน ๔๙
การงดหรือลดคา ปรบั หรือการขยายเวลาทาํ การตามสัญญา ๔๙
การใชส ทิ ธติ ามเงื่อนไขของสญั ญาหรือขอ กฎหมาย ๕๑
การตรวจรบั พสั ดุ
วธิ ีปฏบิ ัตใิ นการบอกเลิกสญั ญาซื้อ/จาง ๕๓
๗๓
หมวด ๓ การจางกอสรา ง
บรรณานุกรม

หมวด ๑ ขอความท่ัวไป

กลา วโดยทัว่ ไป

การจัดซ้ือ/จางเปนสวนหน่ึงของการจัดหา ซึ่งเปนขั้นตอนหน่ึงของการสงกําลัง หนวยงาน
ตาง ๆ จึงมีสวนเก่ียวของกับการจัดซื้อ/จางอยูเสมอ จะมากหรือนอยขึ้นอยูกับภารกิจ หนาท่ีและความ
รบั ผดิ ชอบของหนว ยงาน ซึ่งในกระบวนการจัดซอื้ /จา งจะมีการดําเนนิ การหลายขั้นตอน และในแตละ
ข้ันตอนก็มีรายละเอียดการดําเนินการคอนขางมาก นอกจากระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ ที่
หนวยงานตาง ๆ ตองยึดถือเปนหลักและปฏิบัติตามอยางเครงครัดในการจัดซื้อ/จางแลว ปจจุบันยังมีกฎ
ระเบยี บ ขอบงั คบั และคาํ สั่งตาง ๆ เขา มาเก่ยี วของอกี มาก อาทิ พ.ร.บ.วา ดวยความผดิ เกี่ยวกับการเสนอราคา
ตอหนวยงานของรัฐ พ.ศ.๒๕๔๒ พ.ร.บ.วาดวยการใหเอกชนเขารวมงานหรือดําเนินการในกิจการของรัฐ
พ.ศ.๒๕๓๕ มาตรการและแนวทางปฏิบัติเพื่อเรงรัดการเบิกจายเงินงบประมาณประจําปของรัฐบาล ในสวน
ของ กห. ยังมีคําส่ัง กห.(เฉพาะ) ท่ี ๓๙/๓๙ เรื่องการพัสดุ และคําสั่ง กห.(เฉพาะ) ท่ี ๑/๔๖ เรื่อง การ
ดําเนินการ จัดหาพัสดุในรูปแบบการประมูลดวยระบบอิเล็กทรอนิกส (e – Auction) บังคับใชอีกดวย
ดังน้ันการดําเนินการจัดซ้ือ/จางจึงมีความยุงยาก โดยเฉพาะอยางย่ิงการจัดซื้อ/จางรายการใหญ ๆ และมี
วงเงินสงู ๆ หนว ยงานท่รี บั ผิดชอบในการจดั ซื้อ/จา งตอ งมกี ารวางแผนการจัดซือ้ /จางท่ีดี มีความรู และความ
เขาใจ รวมทั้งมีประสบการณในการจัดซ้ือ/จาง จึงจะทําใหการจัดซื้อ/จางสําเร็จตามวัตถุประสงค เปนไป
ตามกฎ ระเบียบ ขอ บังคับ และคาํ ส่งั ทีเ่ ก่ียวของ ซ่ึงจะสงผลใหหนว ยงานไดรับประโยชนส งู สุด

เพื่อใหเกิดความสะดวกและงายตอการนํา อทร.๔๐๐๕ (คูมือการจัดซ้ือ/จาง) ฉบับน้ี มาใชเปน
แนวทางในการปฏบิ ตั งิ าน จงึ ไดแบง เนือ้ หาของเอกสารฉบบั นี้ ออกเปน ๓ หมวด ดงั น้ี

๑. หมวด ๑ ขอ ความทั่วไป
๒. หมวด ๒ การจดั ซื้อ/จาง

๒.๑ สว นที่ ๑. การดาํ เนนิ การกอนการจัดซ้อื /จาง จะเร่มิ ตง้ั แตก ารจัดทําแผนการจดั ซือ้ /จาง
การแตงต้ังหัวหนาเจาหนาที่พัสดุและเจาหนาท่ีพัสดุ รวมท้ังการเสนอแตงต้ังคณะกรรมการดําเนินการ
จัดซื้อ/จา ง ตลอดจนการเตรียมการในเร่อื งอนื่ ๆ ทีเ่ กีย่ วของกบั การจัดซ้ือ/จาง

๒.๒ สวนที่ ๒. การดําเนินการจัดซ้ือ/จาง ไดแก การรายงานขอซ้ือขอจาง การประกาศ
การติดตอขอใหเสนอราคา การรบั และการเปด ซองเสนอราคา การพิจารณาการเสนอราคา การทาํ สญั ญา หรอื
ขอ ตกลงเปนหนงั สือ และการลงนามในสญั ญา หรอื ขอตกลงในการจัดซือ้ /จา ง

๒.๓ สวนท่ี ๓. การดําเนินการภายหลังการจัดทําสัญญา เปนการดําเนินการภายหลังการ
ลงนามในสญั ญาหรอื ขอ ตกลงในการจัดซื้อ/จาง หรืออาจเรียกวา เปนชวงการบริหารสัญญา หรือขอตกลงใน
การจัดซ้ือ/จาง โดยมีข้ันตอนการดําเนินการ ไดแก การเปลี่ยนแปลง และ/หรือยกเลิกสัญญา การดําเนินการ
ภายหลงั ยกเลิกสญั ญา รวมท้ังการตรวจรับพสั ด/ุ การตรวจการจา ง

๓. หมวด ๓ การจา งกอ สรา ง

แมวาการจัดซ้ือ/จาง จะมีการดําเนินการหลายขั้นตอน แตเอกสารฉบับนี้ ไดแบงการจัดซ้ือ/จาง
ซ่ึงอยูในหมวด ๒ ออกเปน ๓ สวน ตามขอ ๒. และเน่ืองจากการจางกอสรางมีขั้นตอนการปฏิบัติ
คอนขางมาก รวมทั้งมีบางประเด็นแตกตางจากการจัดซื้อ/จางท่ัวไป จึงไดแยกการจางกอสรางไวตางหาก ใน
หมวด ๓ ท้ังนี้ เพื่อใหเห็นภาพการจัดซื้อ/จาง และการจางกอสราง ทั้งกระบวนการไดงายขึ้น และเปนไป
ตามลําดับ ข้ันตอนการจัดซ้ือ/จาง และการจางกอสรางในแตละวิธี อยางไรก็ตามเอกสารฉบับนี้ไมรวมถึง
การจัดหาพัสดุที่ไดรับการชวยเหลือทางทหารกับตางประเทศ (โดยวิธี FMS) และการจัดหาพัสดุระหวาง
รัฐบาลกับรฐั บาลโดยตรง
นยิ ามศพั ทท ี่สําคัญเกย่ี วกบั การจดั ซ้อื /จาง

นยิ ามศัพทที่สาํ คญั เกี่ยวกับการจัดซื้อ/จา ง ในสว นทสี่ าํ นักนายกรัฐมนตรี กาํ หนดไว ดงั นี้ 1
“ การพัสดุ ” หมายความวา การจัดทําเอง การซื้อ การจาง การจางท่ีปรึกษา การจางออกแบบ
และควบคุมงาน การแลกเปลี่ยน การเชา การควบคุม การจําหนาย และการดําเนินการอื่น ๆ ที่กําหนดไวใน
ระเบยี บน้ี
“ พัสดุ ” หมายความวา วัสดุ ครุภัณฑ ที่ดินและส่ิงกอสรางที่กําหนดไวในหนังสือการจําแนก
ประเภทรายจายตามงบประมาณของสํานักงบประมาณ หรือการจําแนกประเภทรายจายตามสัญญาเงินกูจาก
ตางประเทศ
“ การซื้อ ” หมายความวา การซื้อพัสดุทุกชนิดท้ังท่ีมีการติดต้ัง ทดลอง และบริการท่ี
เกยี่ วเนอื่ งอนื่ ๆ แตไมรวมถงึ การจดั หาพัสดุในลกั ษณะการจาง
“ การจาง ” ใหหมายความรวมถึงการจางทําของและการรับขนตามประมวลกฎหมายแพงและ
พาณิชย และการจางเหมาบริการ แตไมรวมถึงการจางลูกจางของสวนราชการตามระเบียบของ
กระทรวงการคลัง การรับขนในการเดินทางไปราชการตามกฎหมายวาดวยคาใชจายในการเดินทางไป
ราชการ การจางที่ปรึกษา การจางออกแบบและควบคุมงาน และการจางแรงงานตามประมวลกฎหมายแพง
และพาณชิ ย
“ การจางที่ปรึกษา ” หมายความวา การจางบริการจากที่ปรึกษา แตไมรวมถึงการจางออกแบบ
และควบคมุ งานกอสรา งอาคารดวยเงนิ งบประมาณ
“ การจางออกแบบและควบคุมงาน ” หมายความวา การจางบริการจากนิติบุคคล หรือบุคคล
ธรรมดาทปี่ ระกอบธรุ กจิ บรกิ ารดานงานออกแบบและควบคมุ งานกอสรางอาคารดวยเงนิ งบประมาณ
“ เงินงบประมาณ ” หมายความวา งบประมาณรายจายประจําป งบประมาณรายจายเพิ่มเติม
และเงินซ่ึงสวนราชการไดรับไวโดยไดรับอนุญาตจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังใหไมตองสงคลัง
ตามกฎหมายวา ดวยวธิ ีการงบประมาณ แตไ มร วมถงึ เงินกู และเงินชวยเหลือตามระเบียบนี้

“ เงินกู ” หมายความวา เงินกูตามกฎหมายวาดวยการใหอํานาจกระทรวงการคลังกูเงินจาก
ตา งประเทศ

1 สาํ นกั นายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสาํ นกั นายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทีแ่ กไขเพ่ิมเตมิ ขอ ๕

“ เงินชว ยเหลือ ” หมายความวา เงินที่ไดรับความชวยเหลือจากรัฐบาลตางประเทศ องคการ
ระหวางประเทศ สถาบันการเงินระหวางประเทศ องคการตางประเทศทั้งในระดับรัฐบาล และท่ีมิใช
ระดับ รฐั บาล มูลนธิ หิ รือเอกชนตา งประเทศ

“ อาคาร ” หมายความวา สิ่งปลูกสรางถาวรท่ีบุคคลอาจเขาอยูหรือใชสอยได เชน อาคารที่ทํา
การ โรงพยาบาล โรงเรียน สนามกีฬา สถานีนํารอง หรือสิ่งปลูกสรางอยางอ่ืนท่ีมีลักษณะทํานองเดียวกัน
และรวมตลอดถึงสิ่งกอสรางอ่ืน ๆ ซ่ึงสรางขึ้นเพ่ือประโยชนใชสอยสําหรับอาคารนั้น ๆ เชน เสาธง ร้ัว
ทอระบายนํ้า หอถังน้ํา ถนน ประปา และสิ่งอื่น ๆ ซ่ึงเปนสวนประกอบของตัวอาคาร เชน
เคร่อื งปรับอากาศ ลิฟต เฟอรนิเจอร ฯลฯ

“ พัสดุท่ีผลิตในประเทศ ” หมายความวา ผลิตภัณฑท่ีผลิตสําเร็จรูปแลว โดยสถานท่ีผลิต
ตง้ั อยูในประเทศไทย

“ กจิ การของคนไทย ” หมายความวา กิจการท่ีเปนของบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล
สัญชาตไิ ทย

“ ท่ีปรึกษา ” หมายความวา บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลที่ประกอบธุรกิจ หรือสามารถ
ใหบริการเปนท่ีปรึกษาทางวิศวกรรม สถาปตยกรรม เศรษฐศาสตร หรือสาขาอ่ืน รวมท้ังใหบริการดาน
ศึกษา สํารวจ ออกแบบและควบคุมงาน และการวิจัย แตไมรวมถึงการใหบริการออกแบบและ
ควบคุมงาน กอสรา งอาคารดวยเงินงบประมาณ

“ ที่ปรึกษาไทย ” หมายความวา ที่ปรึกษาท่ีมีสัญชาติไทย และไดจดทะเบียนไวกับศูนย
ขอมูลทปี่ รกึ ษาของกระทรวงการคลัง

“ สวนราชการ ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม สํานักงาน หรือหนวยงานอ่ืนใดของ
รัฐ ท้ังในสวนกลาง สวนภูมิภาค หรือในตางประเทศ แตไมรวมถึงรัฐวิสาหกิจ หนวยงานตาม
กฎหมาย วาดวยระเบียบบริหารราชการสวนทองถ่ิน หรือหนวยงานอื่นซ่ึงมีกฎหมายบัญญัติใหมีฐานะ
เปน ราชการบริหารสวนทอ งถนิ่

“ รัฐวิสาหกจิ ” หมายความวา รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวา ดว ยวธิ กี ารงบประมาณ

“ ปลัดกระทรวง ” หมายความรวมถงึ ปลดั สาํ นกั นายกรัฐมนตรแี ละปลัดทบวงดว ย
“ หัวหนาสวนราชการ ”

- สําหรับราชการบริหารสวนกลาง หมายความวา อธิบดี หรือหัวหนาสวนราชการ
ทเี่ รยี กชื่ออยางอ่นื และมฐี านะเปนนติ บิ ุคคล

- สําหรับราชการบริหารสว นภูมภิ าค หมายความวา ผวู า ราชการจงั หวดั
“ หัวหนาเจาหนาที่พัสดุ ” หมายความวา หัวหนาหนวยงานระดับกองหรือที่มีฐานะเทียบ
กองซง่ึ ปฏบิ ัติงานในสายงานที่เกี่ยวกับการพัสดุตามท่ีองคกรกลางบริหารงานบุคคลกําหนด หรือขาราชการอ่ืน
ซง่ึ ไดรบั แตงตัง้ จากหัวหนาสว นราชการใหเ ปน หวั หนา เจาหนาที่พสั ดุ แลว แตกรณี

“ เจาหนาที่พัสดุ ” หมายความวา เจาหนาที่ซ่ึงดํารงตําแหนงท่ีมีหนาที่เก่ียวกับการพัสดุ หรือผู
ไดร บั แตง ต้งั จากหัวหนาสว นราชการใหมหี นาทห่ี รือปฏบิ ตั งิ านเก่ยี วกับการพัสดุ

“ ผูอํานวยการโครงการ ” หมายความวา ผูซ่ึงไดรับแตงต้ังหรือมอบหมายใหมีหนาท่ี
รับผิดชอบในการดาํ เนนิ การเกยี่ วกบั การพัสดุตามโครงการเงินกหู รอื โครงการเงินชว ยเหลอื

“ โรงงานที่ไดรับการรับรองระบบคุณภาพ ” หมายความวา โรงงานที่ไดรับการรับรองระบบ
คุณภาพตามมาตรฐานเลขที่ มอก.๙๐๐๑ หรือ มอก.๙๐๐๒ในกิจการและขอบขายท่ีไดรับการรับรองจาก
สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมหรือสถาบันรับรองมาตรฐาน ไอ เอส โอ หรือหนวยงานที่
กระทรวงอุตสาหกรรมใหก ารรบั รองระบบงาน (accreditation)

“ ผูเสนอราคาท่ีมีผลประโยชนรวมกัน ” หมายความวา บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลที่เขา
เสนอราคาขายในการซ้ือพัสดุของทางราชการ หรือเขาเสนอราคาเพื่อรับจางทําพัสดุ หรือเขาเสนองาน เพ่ือ
รบั จา งเปน ท่ปี รกึ ษา หรอื รับจา งออกแบบและควบคุมงานใหแกสวนราชการใด เปนผูมีสวนไดเสีย ไมวาโดย
ทางตรงหรือทางออมในกิจการของบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลอ่ืนท่ีเขาเสนอราคาหรือเขาเสนองานใหแก
สวนราชการนั้นในคราวเดียวกัน

การมสี ว นไดเสยี ไมว า โดยทางตรงหรอื ทางออมของบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลดังกลาวขางตน
ไดแ กก ารทบ่ี ุคคลธรรมดาหรือนติ ิบคุ คลดงั กลา วมคี วามสัมพนั ธก นั ในลักษณะ ดังตอ ไปน้ี

(๑) มคี วามสมั พนั ธกันในเชิงบรหิ าร โดยผจู ัดการ หนุ สว นผูจ ัดการ กรรมการผูจัดการ ผูบริหาร
หรือผูมีอํานาจในการดําเนินงานในกิจการของบุคคลธรรมดาหรือของนิติบุคคลรายหนึ่ง มีอํานาจหรือ
สามารถใชอํานาจในการบริหารจัดการกิจการของบุคคลธรรมดา หรือของนิติบุคคลอีกรายหนึ่ง หรือ
หลายรายท่ีเสนอราคาหรือเสนองานใหแกสวนราชการนั้นในคราวเดียวกัน

(๒) มีความสัมพันธกันในเชิงทุน โดยผูเปนหุนสวนในหางหุนสวนสามัญหรือผูเปนหุนสวน
ไมจ ํากดั ความรับผดิ ในหางหนุ สว นจํากัด หรอื ผถู อื หนุ รายใหญในบรษิ ัทจํากดั หรือบริษัทมหาชนจํากัด เปน
หุนสวนในหางหุนสวนสามัญหรือหางหุนสวนจํากัด หรือเปนผูถือหุนรายใหญในบริษัทจํากัด หรือบริษัท
มหาชนจํากัด อีกรายหนึ่งหรือหลายรายที่เสนอราคาหรือเสนองานใหแกสวนราชการนั้นในคราวเดียวกัน
คําวา “ ผูถือหุนรายใหญ ” ใหหมายความวา ผูถือหุนซึ่งถือหุนเกินกวารอยละย่ีสิบหาในกิจการน้ันหรือใน
อตั ราอน่ื ตามที่ กวพ. เห็นสมควรประกาศกําหนดสําหรับกจิ การบางประเภทหรือบางขนาด

(๓) มีความสัมพนั ธกันในลกั ษณะไขวกันระหวาง (๑) และ (๒) โดยผจู ดั การ หุนสว นผูจัดการ
กรรมการผูจดั การ ผูบ รหิ าร หรือผมู ีอํานาจในการดําเนินงานในกิจการของบุคคลธรรมดา หรือของนิติบุคคล
รายหนึ่ง เปนหุนสวนในหางหุนสวนสามัญหรือหางหุนสวนจํากัด หรือเปนผูถือหุนรายใหญในบริษัทจํากัด
หรือบริษัทมหาชนจํากัด อีกรายหน่ึงหรือหลายรายท่ีเขาเสนอราคาหรือเสนองานใหแกสวนราชการน้ันใน
คราวเดยี วกัน หรอื ในนยั กลับกัน

การดํารงตําแหนง การเปนหุนสวน หรือการเขาถือหุนดังกลาวขางตนของคูสมรส หรือบุตร
ทยี่ งั ไมบ รรลนุ ติ ิภาวะของบุคคลใน (๑) , (๒) หรือ (๓) ใหถือวาเปนการดํารงตําแหนง การเปนหุนสวนหรือ
การถอื หนุ ของบคุ คลดังกลาว

ในกรณีบุคคลใดใชช่ือบุคคลอื่นเปนผูจัดการ หุนสวนผูจัดการ กรรมการผูจัดการ ผูบริหาร
ผูเปนหุนสวนหรือผูถือหุน โดยที่ตนเองเปนผูใชอํานาจในการบริหารที่แทจริง หรือเปนหุนสวน หรือผูถือ
หุนท่ีแทจริงของหางหุนสวน หรือบริษัทจํากัด หรือบริษัทมหาชนจํากัด แลวแตกรณี และหางหุนสวนหรือ
บรษิ ทั จาํ กัด หรือบริษัทมหาชนจํากัดที่เกี่ยวของ ไดเขาเสนอราคาหรือเสนองานใหแกสวนราชการนั้นในคราว
เดยี วกัน ใหถือวา ผูเสนอราคาหรือผูเสนองานนัน้ มีความสัมพันธกนั ตาม (๑) , (๒) หรือ (๓) แลวแตก รณี

“ การขัดขวางการแขงขันราคาอยางเปนธรรม ” หมายความวา การท่ีผูเสนอราคา หรือผู
เสนองานรายหน่ึงหรือหลายรายกระทําการอยางใด ๆ อันเปนการขัดขวางหรือเปนอุปสรรค หรือไมเปด
โอกาสใหมกี ารแขงขันราคาอยางเปนธรรมในการเสนอราคา หรือเสนองานตอสวนราชการ ไมวาจะกระทํา
โดยการสมยอมกัน หรือโดยการให ขอให หรือรับวาจะให เรียก รับ หรือยอมจะรับเงินหรือทรัพยสินหรือ
ประโยชนอ่ืนใดหรือใชกําลังประทุษรายหรือขมขูวาจะใชกําลังประทุษรายหรือแสดงเอกสารอันเปนเท็จ หรือ
กระทําการใดโดยทุจริต ทั้งนี้โดยมีวัตถุประสงคที่จะแสวงหาประโยชนในระหวางผูเสนอราคาหรือผู
เสนองานดวยกัน หรือเพ่ือใหประโยชนแกผูเสนอราคาหรือผูเสนองานรายหนึ่งรายใดเปนผูมีสิทธิทําสัญญา
กับสวนราชการนั้น หรือเพื่อหลีกเลี่ยงการแขงขันราคาอยางเปนธรรม หรือเพ่ือใหเกิดความไดเปรียบ
สว นราชการ โดยมิใชเ ปนไปในทางการประกอบธรุ กจิ ปกติ

“ เจาหนาท่ีท่ีมีหนาท่ีตรวจสอบคุณสมบัติ ” หมายความวา คณะกรรมการเปดซองสอบราคา
ตามขอ ๔๒ คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา ตามขอ ๕๐ คณะกรรมการดําเนินการจางที่
ปรึกษา โดยวิธีคัดเลือก ตามขอ ๘๖ คณะกรรมการดําเนินการจางโดยวิธีคัดเลือก ตามขอ ๑๐๓
คณะกรรมการดําเนินการจางโดยวิธีคัดเลือกแบบจํากัดขอกําหนด ตามขอ ๑๐๖ หรือผูวาจางในกรณีการ
จา งออกแบบและควบคมุ งานโดยวิธพี ิเศษ ทเ่ี ปน การวา จางโดยการประกวดแบบ ตามขอ ๑๐๗ (๒)

“ งานกอสรางสาธารณปู โภค ” หมายความวา งานกอ สรา งซอ มแซม และบาํ รุงรกั ษางาน

อันเกย่ี วกับการประปา การไฟฟา การส่ือสาร การโทรคมนาคม การระบายน้ํา ระบบการขนสงปโตรเลียม
โดยทางทอ ทางหลวง ทางรถไฟ และการอื่นที่เก่ียวของซึ่งดําเนินการในระดับพื้นดิน ใตพื้นดิน หรือ
เหนอื พื้นดนิ นิยามศพั ทที่สําคญั เกี่ยวกบั การจดั ซือ้ /จา ง ในสว นท่ี กห. กาํ หนดไว ดงั น้ี 2

“ สว นราชการ ” หมายความวา สาํ นกั งานปลัดกระทรวงกลาโหม กรมราชองครกั ษ
กองบัญชาการทหารสูงสุด กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ หรือ หนวยงานท่ีไดรับจัดสรร
งบประมาณรายจาย

2 กระทรวงกลาโหม, คาํ ส่ังกระทรวงกลาโหม (เฉพาะ) ที่ ๓๙/๓๙ เรือ่ ง การพัสดุ ลง ๕ มี.ค.๓๙

“ หัวหนาสวนราชการ ” หมายความวา หัวหนาสวนราชการ ตาม “ สวนราชการ ” หรือ ผูท่ี
ไดรับงบประมาณรายจา ย

“ พัสดุ ” หมายความวา ส่ิงของหรือวัสดุ ครุภัณฑ ท่ีดินและสิ่งกอสรางใด ๆ ที่ใชในทางธุรการ
เพอ่ื สนบั สนุนกิจกรรมทางทหาร

“ ยุทธภัณฑ ” หมายความวา ส่ิงทั้งมวล (รวมถึงเรือรบ รถถัง อาวุธอัตตาจร อากาศยาน ฯลฯ
และอะไหลที่เกี่ยวของ ช้ินสวนอะไหล ช้ินสวนซอมและอุปกรณสนับสนุน แตไมรวมถึงอสังหาริมทรัพย
สถานท่ีตั้งและสาธารณูปโภค) อันจําเปนเพื่อปฏิบัติการ เพื่อดํารงและสนับสนุนการปฏิบัติการรบของ
หนว ยทหาร

หมวด ๒ การจัดซือ้ /จา ง
สว นท่ี ๑ การดําเนินการกอนการจัดซ้ือ/จาง
ในสวนนี้ จะเริ่มตั้งแตการจัดทําแผนการจัดซื้อ/จาง การเตรียมการจัดซื้อ/จาง การแตงตั้ง
หวั หนาเจา หนาท่พี ัสดแุ ละเจาหนาทพ่ี สั ดุ (กรณีทห่ี นวยยงั ไมมีหวั หนาเจาหนาที่พสั ดแุ ละเจาหนาที่พัสดุโดย
ตําแหนง) รวมทัง้ การเสนอแตงต้งั คณะกรรมการดาํ เนนิ การจดั ซอื้ /จา ง ตลอดจนการเตรียมการในเร่ืองอ่ืน ๆ
ท่ีเกยี่ วของกับการจัดซ้อื /จา ง

แผนการจัดซือ้ /จาง
แผนการจัดซื้อ/จางเปนสวนหนึ่งของแผนปฏิบัติการประจําป จัดทําขึ้นตามระเบียบกองทัพเรือ

วาดว ยการงบประมาณ พ.ศ.๒๕๔๒ โดยมวี ตั ถุประสงคเพื่อควบคุมการใชจายงบประมาณในการจัดซื้อ/จาง
ของหนวยท่ีไดรบั จดั สรรงบประมาณใหเปน ไปอยา งเหมาะสมและสอดคลองกับกําหนดการดา นงบประมาณ
ของ ทร. และสว นราชการท่ีเก่ยี วขอ ง

แผนการจดั ซอ้ื /จาง เปนแผนในการดําเนินการดานงบประมาณที่มีการกําหนดระยะเวลาเริ่มตน
และระยะเวลาสิ้นสุดของงานงบประมาณท่ีใช ขั้นตอนการดําเนินงาน และกําหนดระยะเวลาเริ่มตน และ
ระยะเวลาสนิ้ สดุ ของแตละขน้ั ตอน 3

๑. การจัดทาํ แผนการจดั ซ้อื /จา ง
เม่ือหนวยทราบยอดวงเงนิ จัดสรรงบประมาณจาก สปช.ทร. แลว ใหหนวยรับผิดชอบ

งบประมาณ หรือหนวยถืองบประมาณจัดทาํ แผนการจัดซ้ือ/จางประจําป เสนอ ทร. ผาน กบ.ทร. ในฐานะ
กรมฝายอํานวยการทีร่ ับผิดชอบในการพิจารณาความเหมาะสมของแผน ฯ และผาน สปช.ทร.ในฐานะหนวย
ทีร่ บั ผิดชอบในการพิจารณาดานงบประมาณ 4

การจัดทําแผนการจัดซ้ือ/จาง ใหใชแบบฟอรมที่ ทร. กําหนด5 สําหรับการจัดซื้อ/จางทํา
พัสดุและการจางกอสราง โดยแบบ งป.ทร.๐๓ ผ. จะเปนสรุปแผนการจัดซื้อ/จางประจําป มี งป.ทร. ๐๓-๑
และ งป.ทร.๐๓-๒ เปนรายละเอียดประกอบกรณีการจัดหาพัสดุและการซอมทําพัสดุดวย โดยแผนการ
จัดซ้ือ/จางจะมีหัวขอและประเด็นท่ีสําคัญ ไดแก แผนงาน งาน ผลผลิต กิจกรรม งบรายจาย ยอดคาใชจาย
รหัสหนวยรบั ผิดชอบงบประมาณ ราคาซอ้ื /จางครงั้ สดุ ทาย เปน ตน

๒. การเสนอแผนการจัดซ้อื /จาง
หลังจากหนวยจัดทาํ แผนการจัดซื้อ/จาง เสร็จเรียบรอยแลว ใหเสนอแผนการจัดซ้ือ/จาง

ตอ ทร. ผาน กบ.ทร. ในฐานะกรมฝายอํานวยการ ที่รับผิดชอบในการพิจารณาความเหมาะสม ภายในเวลา
ที่กําหนดไวในปฏิทินบริหารงบประมาณประจําป ที่ สปช.ทร.กําหนด เมื่อ กบ.ทร. พิจารณาแผนการ

3 กองทัพเรอื , ระเบยี บกองทพั เรือวา ดวยการงบประมาณ พ.ศ.๒๕๔๒
4 กองทัพเรือ, คําสงั่ ทร. ท่ี ๑๘๗/๒๕๔๔ ลง ๓ ธ.ค.๔๔ เร่ือง การมอบอํานาจสั่งการและทําการแทน ในนาม ผบ.ทร.
5 สํานกั งานปลัดบญั ชีทหารเรอื , บันทกึ สปช.ทร. ที่ กห ๐๕๐๙/๕๐๐๕ ลง ๒๐ มิ.ย.๔๖ เรือ่ ง แนวทางปฏิบัติในการจัดทํา

และการเสนอขออนมุ ตั ิแผนปฏิบัตกิ ารประจําป

จัดซื้อ/จางแลว จะเสนอผลการพิจารณาแผนการจัดซ้ือ/จาง ให สปช.ทร. จากนั้น สปช.ทร.จะทําการ
พิจารณาแผนการจัดซ้ือ/จางในดานงบประมาณ เม่ือเห็นวาเหมาะสม ก็จะเสนอ ทร. เพื่อขออนุมัติแผนการ
จัดซ้ือ/จางและโอนงบประมาณใหหนวยถืองบประมาณ และเมื่อ ทร.อนุมัติแผนการจัดซ้ือ/จาง แลว หนวยจึง
จะสามารถไปดําเนินการตามกระบวนการจัดซื้อ/จาง ตามระเบียบสาํ นักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพสั ดุ พ.ศ.
๒๕๓๕ และท่ีแกไ ขเพมิ่ เตมิ รวมทั้ง กฎระเบียบท่ีเกย่ี วขอ งตอไป

๓. ขอพิจารณาในการจัดทําแผนการจัดซื้อ/จาง ในการจัดทําแผนการจัดซื้อ/จาง เพื่อใหเกิด
ความเหมาะสม ใหหนวยคํานึงถึงขอ พจิ ารณา ดงั นี้

๓.๑ ความสอดคลองกับนโยบายและแผนของหนว ยเหนือ รวมท้งั แผนของหนว ยอ่ืน ๆ
ทเ่ี ก่ยี วขอ ง แผนการจดั ซือ้ /จา ง ทีห่ นว ยจดั ทํานัน้ จะตอ งมีความสอดคลองและเปน ไปตามนโยบายและแผนของ
หนวยเหนือ อาทิ นโยบาย ทร. แผนหลักในการสงกําลังบํารุงของ ทร. เปนตน รวมทั้ง ตองสอดคลองกับแผน
ของหนวยท่ีเก่ียวของ ทั้งน้ี เพ่ือใหการจัดซ้ือ/จางของหนวยตาง ๆ เปนไปเพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติงานของ
หนว ยตาง ๆ ในภาพรวม

๓.๒ ความจําเปน การจัดซื้อ/จางในแผนการจัดซื้อ/จาง ตองเปนไปตามความจําเปน
เชน พัสดนุ ้ันขาดจากอัตราที่กําหนด ของเดิมเกา ชํารุด ตองซอมหรือจัดหาทดแทน เปนตน

๓.๓ วงเงิน วงเงินในแผนการจัดซือ้ /จาง จะตอ งไมเกนิ วงเงนิ ที่ ทร. จดั สรร
๓.๔ ราคาพัสดุ ถาเปนครุภัณฑ ใหตรวจสอบราคากับบัญชีราคามาตรฐานครุภัณฑ ท่ี
สํานักงบประมาณกําหนด 6 โดยครุภัณฑที่จะจัดซ้ือ/จาง ตองมีราคาไมเกินราคาตามบัญชี ฯ ดังกลาว หากไม
มีกําหนดในบัญชี ฯ จะตองเปนการประมาณการ โดยใชราคาที่เคยดําเนินการในปงบประมาณที่ผานมา และ
เปน ราคาทไี่ ดจากการสบื ขอมลู ในทอ งตลาดและตวั แทนจําหนา ยประกอบกนั
๓.๕ หนว ยดําเนินการ ควรพจิ ารณาจากเหตุผล ดงั น้ี

๓.๕.๑ ประเภทของพัสดุ หากพัสดุที่จะจัดซื้อจัดจางมีหนวยเทคนิครับผิดชอบ
ก็ควรใหหนว ยเทคนิคนั้น ๆ เปนหนว ยดาํ เนินการจัดหา ท้งั นี้ เน่อื งจากหนว ยเทคนิคจะมีความรูความชํานาญ
และประสบการณในการดําเนินการ รวมทั้ง มีขอมูลทางเทคนิคเก่ียวกับพัสดุน้ัน ๆ ซึ่งจะทําใหหนวยที่มี
ความตองการไดรับพัสดุที่มีคุณภาพมากท่ีสุด ยกเวน กรณีการจัดหาพัสดุท่ัวไปท่ีมีคุณลักษณะทางเทคนิค
ไมซ ับซอน จํานวนไมมากนัก และสามารถจัดหาในพ้ืนที่ไดสะดวก รวดเร็ว รวมท้ัง มีคาใชจายตํ่ากวาการ
ดาํ เนนิ การจดั หาจากสวนกลาง ทร. อาจจะมอบหมายใหหนว ยตาง ๆ ดาํ เนนิ การเองได

๓.๕.๒ ความพรอมของหนวย เน่ืองจากการจัดซื้อ/จางมีกระบวนการ และ
รายละเอียดการดําเนินการเปนจํานวนมาก รวมทั้ง เก่ียวของกับกฎ ระเบียบ ของทางราชการ หนวยท่ีจะทํา
หนาที่จัดซื้อ/จาง ควรมีความพรอมในการดําเนินการ เชน มีหนวยงานที่รับผิดชอบ และไดรับการบรรจุ
กําลังพลท่ีมีความรูและความชํานาญ และมีจํานวนเพียงพอตอการปฏิบัติงาน ตลอดจน ควรเปนหนวยที่มี

6 สํานกั งบประมาณ , บัญชีราคามาตรฐานครภุ ัณฑ สาํ นักงบประมาณ พ.ศ.๒๕๔๕

หนาท่ีสนับสนุนหรือเปนหนวยที่มีหนวยสนับสนุนในสังกัด สําหรับหนวยกําลังรบซ่ึงมีภารกิจหลักในการ
ปฏบิ ัตทิ างยทุ ธการ ไมค วรมาดาํ เนินการจดั ซ้ือ/จา งงานใหญ ๆ ซ่ึงจะทาํ ใหเปนภาระกบั หนวยโดยใชเ หตุ

๓.๖ กําหนดเวลา แผนการจัดซ้ือ/จาง จะตองกําหนดเวลาการปฏิบัติท่ีสําคัญและใหเปนไป
ตามขอกําหนดของหนวยเหนือ และสวนราชการท่ีควบคุมดูแลดานงบประมาณ เชน มติ ครม. ที่กําหนดให
หนว ยที่จดั ซือ้ /จาง จะตองทาํ สัญญาผกู พนั งบประมาณใหไดภายใน มี.ค. ของปง บประมาณนนั้ เปน ตน

๔. การเสนอขอปรับแผนการจดั ซอื้ /จา ง
๔.๑ หากหนว ยถืองบประมาณไมส ามารถดาํ เนินการตามแผนการจัดซ้ือ/จาง ท่ี ทร. อนุมัติ

ไวไ ดและมคี วามจําเปน ตอ งปรับแผน ใหเ สนอขออนุมัติ ทร. ผาน กบ.ทร. และ สปช.ทร. ทุกกรณี โดยชี้แจง
เหตุผล ความจําเปน รายการและวงเงนิ ทเี่ สนอปรับแผน ยกเวนกรณี ดังน้ี 7

๔.๑.๑ การเปล่ยี นแปลงรายละเอียดของรายการจัดซ้ือ/จาง อันเน่ืองมาจากผูผลิตยกเลิก
หรือเปลี่ยนแปลงหมายเลขพัสดุ การเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะเฉพาะ และยกเลิกสายการผลิต ตามสภาพของ
ตลาดและเทคโนโลยีทเี่ ปล่ียนแปลงไป

๔.๑.๒ พัสดุที่จะจัดซื้อ/จาง มีรายการกําหนดไวในบัญชีราคามาตรฐานวัสดุท่ี
กระทรวงการคลังกําหนด หรือในบัญชีราคามาตรฐานครุภัณฑท่ีสํานักงบประมาณกําหนดแลวแตกรณี เมื่อ
หนวยถือ งบประมาณไดดําเนินการจัดซ้ือ/จาง แลวมีราคาสูงขึ้นไมเกินกวารอยละ ๑๐ ของวงเงินที่ไดรับ
อนุมัติไวตามแผนการจัดซ้ือ/จางและสามารถใชงบประมาณรายการสํารองไวปรับแตงวงเงินท่ีหนวยถือ
งบประมาณสนับสนุนได

๔๑.๓ การลดจํานวนพัสดุท่ีจะจดั ซื้อ/จางอนั เน่ืองมาจากราคาที่สูงขึ้นและไมสามารถ
ใชงบประมาณรายการสาํ รองไวป รับแตง วงเงินทห่ี นวยถืองบประมาณสนับสนนุ ได

๔.๒ หากไมสามารถปรับแผนได แตมีความจําเปนตองใชงบประมาณเพิ่มเติม ใหเสนอ
ขอรับการสนับสนุนจากหนวยเทคนิคกอน หนวยเทคนิคจะพิจารณาความเหมาะสม หากไมสามารถสนับสนุน
ได หนว ยเทคนคิ จะเสนอ ทร. ( ผาน กบ.ทร. และ สปช.ทร. ) เพอ่ื พจิ ารณาตอ ไป

๕. การจดั ซอ้ื /จา ง ท่มี วี งเงินอยใู นอาํ นาจอนุมัตขิ อง รมว.กห. 8
สําหรับการจัดซ้ือ/จางท่ีมีวงเงินอยูในอํานาจอนุมัติของ รมว.กห. ใหจัดทําแผนการจัดซื้อ/

จาง โดยแสดงรายละเอียดความตองการชนิด ประเภทและคุณลักษณะเฉพาะของวัสดุอุปกรณ อาวุธ
ยุทโธปกรณ รวมท้ังรายละเอียดความตองการงบประมาณ และหวงระยะเวลาดําเนินการจัดซ้ือ/จางตาม
ตัวอยางแบบฟอรม ท่ีแนบ แลวเสนอแผนฯ ตอ ทร. ผาน กบ.ทร. ในโอกาสแรก เพื่อดําเนินการเสนอขอ
อนุมัติตอ รมว.กห. ภายใน ๓๐ วัน นับตัง้ แตพ ระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจา ยประจาํ ปป ระกาศใช

การเตรียมการทเ่ี ก่ยี วของ

7 กองทัพเรอื , ระเบียบกองทพั เรือวา ดวยการงบประมาณ พ.ศ.๒๕๔๒ หนา ๑๐
8 กระทรวงกลาโหม , คําส่งั กระทรวงกลาโหม(เฉพาะ)ที่ ๒๘๐/๔๕ ลง ๒๓ ก.ย.๔๕

สําหรับหนวยงานท่ีไมมีหนวยระดับกอง หรือหนวยระดับอ่ืนที่มีฐานะเทียบกอง ซึ่ง
ปฏิบตั งิ านในสายงานที่เกี่ยวของกับการพสั ดแุ ลว หวั หนาสว นราชการ จะตอ งแตง ต้ังหัวหนาเจาหนาที่พัสดุ
และเจา หนา ทีพ่ สั ดุ ใหม ีหนาที่หรอื ปฏบิ ตั ิงานเก่ียวของกับการพัสดุ เพอื่ ดําเนนิ การตามระเบียบฯ

หลังจากไดทราบยอดเงินท่ีจะนํามาใชในการจัดหาแลว ใหสวนราชการรีบดําเนินการให
เปนไปตามแผน และตามข้ันตอนของระเบียบฯ เพ่ือใหพรอมท่ีจะทําสัญญาไดทันทีเม่ือไดรับอนุมัติทาง
การเงินแลว การจัดหาโดยวิธีสอบราคา และวิธีประกวดราคา ใหสวนราชการวางแผนในการจัดหา และ
ดําเนินการใหเปน ไปตามแผนดว ย 9

การจัดหาพัสดุตามระเบียบฯ ผูมีหนาที่รับผิดชอบในแตละข้ันตอนของการจัดหาตอง
ดําเนินการโดยเปดเผย โปรงใส และเปดโอกาสใหมีการแขงขันกันอยางเปนธรรม ในการดําเนินการ แตละ
ข้ันตอนผูมีหนาท่ีรับผิดชอบตองมีการบันทึกหลักฐานในการดําเนินการ พรอมทั้งตองระบุเหตุผลในการ
พิจารณาส่งั การในขัน้ ตอนที่สําคญั ไวประกอบการพจิ ารณาดว ย

การวางแผนในการจดั หาพัสดุ จะตองตรวจสอบรายละเอียด ขอจํากัด ขั้นตอน และวิธีการที่มี
ระเบยี บ / มติ ค.ร.ม. / กฎ / ขอ บงั คับตางๆ ซ่ึงใชควบคุมดว ย เชน

- ผลติ ภณั ฑใ นประเทศและกิจการคนไทย 10
- การจาํ แนกพสั ดุวา เปน วสั ดหุ รือครภุ ัณฑตามการจาํ แนกประเภทรายจา ยตามงบประมาณ11
- พสั ดุท่มี ีการควบคุมคณุ ลักษณะเฉพาะและ/หรอื ราคามาตรฐาน เชน ครภุ ัณฑตามรายการ
มาตรฐานครภุ ณั ฑข องสํานักงบประมาณ วัสดุตามบัญชีราคามาตรฐานของกระทรวงการคลงั และมาตรฐาน
ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (มอก.) ซ่ึงจะตองจัดหาตามมาตรฐาน/ราคาดังกลาว หรือขอผอนผัน ขอยกเวน หรือ
ขอทําความตกลงกับหนวยงานท่ีรับผิดชอบกอนการจัดซ้ือ/จาง ในกรณีท่ีไมสามารถหรือมีความจําเปน
ไมส ามารถดําเนนิ การจดั ซ้อื /จา งตามมาตรฐานดังกลาวได
- พัสดุซึ่งระบุใหจัดซ้ือ/จางจากหนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือหนวยงานท่ีไดรับสิทธิ
พิเศษ
- พัสดุซ่ึงจัดเปนสิ่งอํานวยความสะดวก 12 และกําหนดใหจัดหาไวใชงานไดเฉพาะ
บางหนวยงานหรอื บางกรณี หากจัดหาไวใชน อกหลักเกณฑดังกลา ว ตอ งทาํ ความตกลงกบั สํานกั งบประมาณ
กอ นการจดั ซ้ือ
- พัสดุ/งานจาง ที่มีขอกําหนดตองผานการพิจารณา/การอนุญาตจากสวนราชการท่ีเก่ียวของ
กอ น เชน การจัดซื้อเครอ่ื งรบั -สง วิทยุ ตองไดรับอนญุ าตเกยี่ วกบั ความถห่ี รอื กําลงั สงจากกรมไปรษณียโทรเลข

9 สํานักนายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรวี าดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทแ่ี กไขเพ่ิมเตมิ ขอ ๑๓
10 สํานักนายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสํานกั นายกรัฐมนตรวี าดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แกไขเพมิ่ เตมิ ขอ ๑๖
11 สํานกั งบประมาณ, การจาํ แนกประเภทรายจายตามงบประมาณ
12 กรมสงกําลังบํารงุ ทหารเรือ, บันทกึ กบ.ทร. ที่ตอ กบ.ทร.เลขรับ ๒๗๑/๓๗ ลง ๒ ก.พ.๓๗ เร่อื ง ขอทําความตกลงเปน

หลักการเกี่ยวกับการจดั หาครุภัณฑท ่ีไมตรงตามหลกั เกณฑท่สี ํานกั งบประมาณกาํ หนด

การติดตั้งวางสายเคเบิลพาดเสาไฟฟา ของการไฟฟา ตองไดรับอนุญาตจากการไฟฟานครหลวง หรือ
การไฟฟาสว นภูมภิ าค แลว แตละกรณี

๑. การรายงานขอซ้อื หรอื ขอจา ง
เจาหนาที่พัสดุตองจัดทํารายงานขอซ้ือหรือขอจาง เสนอหัวหนาสวนราชการ เพื่อใหความ

เห็นชอบ กอนการดําเนินการจัดซื้อ/จาง โดยแบงการรายงานขอซ้ือหรือขอจางไดเปน ๒ กรณี ไดแก การ
รายงานขอซื้อพัสดุหรือขอจาง ซ่ึงไมใชท่ีดิน หรือส่ิงกอสราง 13 และ การรายงานขอซ้ือที่ดิน หรือ
ส่ิงกอสราง 14

๑.๑ รายละเอียดการรายงานขอซื้อพัสดุหรอื ขอจางกรณีท่ไี มใ ชท ีด่ ินหรือสิ่งกอ สรา ง
ประกอบดวย

๑.๑.๑ เหตผุ ลและความจาํ เปน ที่ตอ งซือ้ หรือจา ง
๑.๑.๒ รายละเอียดของพัสดุทีจ่ ะซอ้ื หรอื งานท่จี ะจาง
๑.๑.๓ ราคามาตรฐาน หรือราคาที่เคยซ้ือหรือจาง คร้ังหลังสุดภายในระยะเวลา ๒ ป
งบประมาณ
๑.๑.๔ วงเงินท่ีจะซื้อหรือจางโดยใหระบุวงเงินท่ีจะซ้ือหรือจางในคร้ังนั้นทั้งหมด ถา
ไมมวี งเงนิ ดังกลา ว ใหระบุวงเงินทีป่ ระมาณวา จะซือ้ หรือจา งในครง้ั นั้น
๑.๑.๕ กาํ หนดเวลาท่ตี องการใชพัสดุน้ัน หรอื ใหง านนนั้ แลวเสร็จ วธิ ที ่ีจะซื้อหรอื จาง
และเหตผุ ลทีต่ องซื้อหรือจางโดยวธิ ีนนั้
๑.๑.๖ ขอเสนออ่นื ๆ เชน การขออนุมัติแตงต้ังคณะกรรมการตาง ๆ ที่จําเปนในการ
ซ้ือหรอื จาง การออกประกาศสอบราคาหรอื ประกาศประกวดราคา
การซื้อหรอื จางโดยวิธีตกลงราคาในวงเงินไมเกิน ๑๐,๐๐๐.- บาท และการซื้อหรือจาง
โดยวิธีพิเศษกรณีเรงดวน15 ซึ่งไมอาจทํารายงานตามปกติได เจาหนาที่พัสดุหรือเจาหนาที่ผูรับผิดชอบใน
การปฏบิ ตั ริ าชการนน้ั จะทาํ รายงานเฉพาะรายการทเ่ี หน็ วา จาํ เปนก็ได
๑.๒ รายละเอียดการรายงานขอซือ้ ท่ีดินหรอื สงิ่ กอสรา ง ประกอบดว ย
๑.๒.๑ เหตุผลและความจําเปน ที่ตองซ้อื
๑.๒.๒ รายละเอียดของทด่ี นิ และหรอื ส่ิงกอสรา งท่ีตอ งการซ้ือ รวมทั้งเน้ือท่แี ละทองที่
ที่ตอ งการ
๑.๒.๓ ราคาประเมินของทางราชการในทอ งท่ีนั้น
๑.๒.๔ ราคาซื้อขายของที่ดิน และหรือส่ิงกอสรางใกลเคียงบริเวณท่ีจะซื้อครั้งหลังสุด
ประมาณ ๓ ราย

13 สาํ นกั นายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรวี าดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทแี่ กไขเพม่ิ เติม ขอ ๒๗
14 สํานักนายกรฐั มนตรี, ระเบียบสํานกั นายกรฐั มนตรวี าดว ยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทีแ่ กไขเพิม่ เติม ขอ ๒๘
15 สํานักนายกรฐั มนตรี, ระเบียบสํานกั นายกรฐั มนตรีวาดว ยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แกไขเพมิ่ เตมิ ขอ ๒๓(๒)
หรอื ๒๔(๓)

๑.๒.๕ วงเงนิ ทจ่ี ะซอ้ื โดยใหระบุวงเงนิ ทจ่ี ะซอื้ ในครงั้ นนั้ ท้งั หมด

๑.๒.๖ วิธีที่จะซ้อื หรอื จา ง และเหตผุ ลท่ตี องซอื้ หรอื จา งโดยวิธนี น้ั

๑.๒.๗ ขอ เสนออื่น ๆ เชน การขออนุมัติแตงต้ังคณะกรรมการตาง ๆ ที่จําเปนในการ

ซอ้ื การออกประกาศสอบราคาหรือประกาศประกวดราคา

การซื้อท่ีดิน และ/หรือส่ิงกอสรางใหติดตอกับเจาของโดยตรง เวนแตการซื้อที่ดินและ/หรือ

สิ่งกอสรางในตางประเทศท่ีจําเปนตองติดตอผานนายหนา หรือดําเนินการในทํานองเดียวกันตามกฎหมาย

หรอื ประเพณนี ยิ มของทอ งถนิ่

๒. การใหค วามเหน็ ชอบรายงานขอซื้อหรือขอจาง 16

เมื่อหัวหนาสวนราชการไดรับรายงานขอซ้ือหรือขอจางจากเจาหนาท่ีพัสดุแลว ควรพิจารณาวา

รายงานดังกลาวมีรายละเอียดครบถวนเพียงพอ มีความเหมาะสม มีความจําเปนท่ีจะตองดําเนินการตามท่ี

เจาหนาท่ีพัสดุเสนอหรือไม หากเห็นวาเปนไปโดยถูกตองยอมรับไดแลว หัวหนาสวนราชการจึงพิจารณา

ใหความเห็นชอบในรายงานขอซ้อื หรอื ขอจางนัน้ ๆ เพื่อเจา หนาท่ีพัสดุ จะไดด าํ เนินการตามวิธีการซ้ือ หรือ

การจางตอ ไป

๓. การแตง ตงั้ คณะกรรมการเพอ่ื ดาํ เนนิ การซ้ือหรอื จา ง 17

หัวหนาสวนราชการมีอํานาจและหนาที่ในการแตงตั้งคณะกรรมการเพื่อดําเนินการซื้อหรือจาง

ตามที่เจาหนาที่พัสดุรายงานขอซ้ือหรือขอจาง ซ่ึงการแตงต้ังคณะกรรมการแตละคณะ ประกอบดวย

ประธานกรรมการ ๑ คน และกรรมการอยางนอย ๒ คน โดยปกติใหแตงตั้งจากขาราชการตั้งแตระดับ ๓

หรอื เทยี บเทาข้ึนไป การแตงตั้งคณะกรรมการทุกคณะ ควรแตงต้ังผูชํานาญการหรือผูทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับพัสดุ

หรืองานจางนั้น ๆ เขารวมเปนกรรมการดวย โดยกําหนดระยะเวลาในการพิจารณาของคณะกรรมการแตละ

คณะ แลว แตกรณี คณะกรรมการเพ่อื ดาํ เนินการซอ้ื หรือจา งทห่ี วั หนาสว นราชการแตงตงั้ ไดแก

- คณะกรรมการเปด ซองสอบราคา

- คณะกรรมการรบั และเปด ซองประกวดราคา

- คณะกรรมการพจิ ารณาผลการประกวดราคา

- คณะกรรมการจัดซ้ือโดยวิธพี ิเศษ

- คณะกรรมการจัดจา งโดยวธิ พี ิเศษ

- คณะกรรมการตรวจรับพสั ดุ

- คณะกรรมการตรวจการจา ง และ

- คณะกรรมการจัดหาพัสดุโดยวิธีประมูลดวยระบบอิเล็กทรอนิกส 18

(คณะกรรมการ e – Auction)

16 สํานกั นายกรฐั มนตรี, ระเบียบสํานกั นายกรัฐมนตรวี าดว ยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทแ่ี กไขเพ่มิ เตมิ ขอ ๒๙
17 สาํ นักนายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสํานกั นายกรฐั มนตรวี าดว ยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่แี กไขเพ่ิมเติม ขอ ๓๔
18 สํานักนายกรฐั มนตรี, ระเบียบสํานกั นายกรัฐมนตรีวาดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แกไ ขเพมิ่ เติม ขอ ๑๘(๖)

สําหรับการซื้อหรือจางในวงเงิน ไมเกิน ๑๐,๐๐๐.- บาท หัวหนาสวนราชการ จะแตงตั้ง
ขาราชการหรือลูกจางประจําคนหนึ่ง ซึ่งมิใชผูจัดซื้อหรือจัดจางเปนผูตรวจรับพัสดุหรืองานจางนั้น โดย
ปฏิบัติหนาที่เชนเดียวกับคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือคณะกรรมการตรวจการจางก็ได 19

ในการประชุมปรึกษาของคณะกรรมการแตละคณะ ตองมีกรรมการมาพรอมกันไมนอยกวา
กึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด ใหประธานกรรมการ และกรรมการแตละคน มีเสียงหน่ึงในการลงมติ
และมติของคณะกรรมการ ใหถือเสียงขางมาก ถาคะแนนเสียงเทากัน ใหประธานกรรมการออกเสียงเพ่ิมขึ้น
อีกเสียงหนึ่ง เปนเสียงช้ีขาด เวนแตคณะกรรมการตรวจรับพัสดุและคณะกรรมการตรวจการจางใหถือมติ
เอกฉันท รวมทั้งกรรมการของคณะใด ไมเห็นดวยกับมติของคณะกรรมการใหทําบันทึกความเห็นแยง
ไวดวย 20

19 สาํ นักนายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสาํ นักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แกไขเพ่ิมเตมิ ขอ ๓๕วรรคหา
20 สํานกั นายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรวี าดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่แี กไขเพ่มิ เติม ขอ ๓๖

สวนที่ ๒ การดําเนินการจัดซ้ือ/จาง
ในสวนน้ี จะมีการดําเนินการ ไดแก การรายงานขอซ้ือขอจาง ตามวิธีที่จะซ้ือ/จาง การเสนอ
แตงตง้ั คณะกรรมการดําเนนิ การจดั ซือ้ /จาง การประกาศ การติดตอขอใหเสนอราคา การรบั และการเปดซอง
เสนอราคา การพจิ ารณาการเสนอราคา การจดั ทาํ สญั ญาหรือขอตกลงเปน หนงั สือ

วิธีซื้อและวธิ จี า ง

๑. การจัดซอื้ /จางโดยวธิ ีตกลงราคา ไดแก การซื้อหรือการจางครั้งหนึ่งซ่ึงมีราคาไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐.-
บาท21

๑.๑ การจดั ซ้อื /จางโดยวิธีตกลงราคาตามปกติ โดยท่วั ไปมีขัน้ ตอนการปฏิบัติ (ตามแผนภาพที่
๑) ดงั น้ี

๑.๑.๑ การรายงานขอซ้ือหรือขอจางโดยวิธีตกลงราคา เจาหนาท่ีพัสดุจัดทํารายงานขอซื้อ
หรือขอจา ง เสนอ หัวหนาสว นราชการตามรายการทีก่ าํ หนดไว 22

๑.๑.๒ การขออนมุ ัติซ้ือหรือจาง
เมื่อหัวหนาสวนราชการใหความเห็นชอบตามรายงานขอซื้อขอจางท่ีเสนอตามขอ

๑.๑.๑23แลวใหเจาหนาที่พัสดุติดตอตกลงราคากับผูขายหรือผูรับจางโดยตรงแลวใหหัวหนาเจาหนาที่พัสดุ
เสนอหัวหนาสวนราชการเพื่อขออนุมัติจัดซื้อหรือจางไดภายในวงเงินที่ไดรับความเห็นชอบ พรอมทั้งแตต้ัง
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ 24 (กรณีการซ้ือหรือการจางในวงเงินเกินกวา ๑๐,๐๐๐ บาทข้ึนไป) หรือ
ผูต รวจรับพัสดุ25 (กรณกี ารซื้อหรือการจา งในวงเงินไมเกิน ๑๐,๐๐๐.- บาท)

๑.๑.๓ การแจง ตกลงซอ้ื หรอื ตกลงจาง
เมื่อหัวหนาสวนราชการอนุมัติซ้ือหรือจาง พรอมกับแตงตั้งคณะกรรมการ

ตรวจรับพัสดุหรือผูตรวจรับพัสดุ แลวแตกรณี ตามขอ ๑.๑.๒ แลว เจาหนาที่พัสดุจัดทําหนังสือตกลงซื้อ
หรือหนังสือตกลงจางใหหัวหนาเจาหนาที่พัสดุ (ท่ีไดรับมอบอํานาจจากหัวหนาสวนราชการ) ลงนาม เพ่ือ
แจงใหผูขายหรือผูรับจางมารับหนังสือตกลงซื้อหรือตกลงจาง แลวใหสําเนาเรื่องทั้งหมดใหหนวยที่เก่ียวของ
และคณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรอื ผูตรวจรับพสั ดุทราบ เพือ่ ดําเนินการในสว นที่เก่ยี วของตอ ไป

๑.๒ การจัดซ้อื /จาง โดยวธิ ตี กลงราคา ในกรณจี ําเปน และเรง ดว น
การจัดซื้อ/จางโดยวิธีตกลงราคาในกรณจี ําเปนและเรงดวนท่ีเกิดขึ้นโดยมิไดคาดหมาย

ไวก อนและไมอาจดําเนินการตามปกติไดทัน ใหเจาหนาพัสดุหรือเจาหนาท่ีผูรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ

21 สาํ นกั นายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสาํ นักนายกรัฐมนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แกไขเพิม่ เติม ขอ ๑๙
22 สาํ นักนายกรัฐมนตรี, ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทแี่ กไขเพม่ิ เตมิ ขอ ๒๗
23 สาํ นกั นายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แกไขเพิ่มเตมิ ขอ ๒๙
24 สํานักนายกรฐั มนตรี, ระเบียบสาํ นักนายกรฐั มนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่ีแกไขเพม่ิ เติม ขอ ๓๔
25 สํานกั นายกรฐั มนตรี, ระเบียบสํานกั นายกรัฐมนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่แี กไขเพิ่มเติม ขอ ๓๕

วรรคหา

นั้นดําเนินการไปกอน แลวรีบรายงานขอความเห็นชอบตอหัวหนาสวนราชการ และเม่ือหัวหนาสวนราชการ
ใหค วามเหน็ ชอบแลว ใหถอื วา รายงานดังกลา วเปนหลักฐานการตรวจรับโดยอนโุ ลม26

๒. การจดั ซือ้ /จา ง โดยวธิ ีสอบราคา ไดแ ก การซ้ือหรอื การจางคร้ังหน่ึงซ่ึงมีราคาเกิน ๑๐๐,๐๐๐.-
บาท แตไมเกิน ๒,๐๐๐,๐๐๐.- บาท 27 โดยมีขั้นตอนการปฏบิ ตั ิ (ตามแผนภาพที่ ๒ ) ดงั น้ี

๒.๑ การรายงานขอซื้อหรือขอจางโดยวิธีสอบราคา เจาหนาท่ีพัสดุจัดทํารายงานขอซ้ือ
หรือขอจา ง เสนอหวั หนา สวนราชการตามรายการท่กี ําหนดไว 28

การจัดทําเอกสารสอบราคา ใหเจาหนาที่พัสดุจัดทําเอกสารสอบราคา โดยการ
กําหนดคุณสมบัติของผูเสนอราคาจะตองไมเปนผูที่มีผลประโยชนรวมกัน และจะตองไมเปนผูท่ีกระทําการ
ขัดขวางการแขงขันราคาอยางเปนธรรม ตามหลักเกณฑการรับและเปดซองสอบราคา เพ่ือตรวจสอบผูเสนอราคา
ท่ีมีผลประโยชนรวมกัน 29 รวมท้ังใหเจาหนาท่ีพัสดุจัดทําเอกสารสอบราคา โดยอยางนอยใหแสดง
รายการ ดัง ตอไปน้ี 30

๒.๑.๑ คุณลักษณะเฉพาะของพัสดุท่ีตองการซ้ือ และจํานวนท่ีตองการ หรือแบบ
รปู รายการละเอยี ด และปริมาณทต่ี องการจา ง

ในกรณีท่ีจําเปนตองดูสถานท่ี หรือช้ีแจงรายละเอียดเพ่ิมเติมประกอบตามวรรค
หนึง่ ใหก าํ หนดสถานที่ วัน เวลา ท่ีนดั หมายไวดว ย

๒.๑.๒ คุณสมบัติของผูเขาเสนอราคาซ่ึงจะตองมีอาชีพขายพัสดุหรือรับจางทํางาน
น้นั โดยตรง โดยใหผเู สนอราคาแสดงหลักฐานดงั กลา วดว ย

๒.๑.๓ ในกรณีจําเปนใหระบุผูเขาเสนอราคาสงตัวอยาง แคตตาล็อก หรือแบบรูป
และรายการละเอยี ดไปพรอ มกับใบเสนอราคา

๒.๑.๔ ถาจําเปนตองมีการตรวจทดลอง ใหกําหนดจํานวนตัวอยางใหพอแกการ
ตรวจทดลอง และเหลือไวส าํ หรบั การทําสัญญาดวย ทั้งนี้ ใหม ขี อกําหนดไวด วยวา ทางราชการไมร บั ผิดชอบ
ในความเสยี หายใด ๆ ที่เกิดข้ึนจาการตรวจทดลองตวั อยางนน้ั

๒.๑.๕ สถานทตี่ ิดตอ เกยี่ วกบั แบบรปู รายการละเอยี ด ในกรณที มี่ กี ารขายใหร ะบรุ าคา
ขายไวด ว ย

๒.๑.๖ ขอกําหนดใหผูเขาเสนอราคารวมท้ังสิ้น และราคาตอหนวยหรือตอรายการ
(ถาทําได) พรอมท้งั ระบหุ ลักเกณฑโดยชัดเจนวา จะพิจารณาราคารวมหรือราคาตอหนวยหรือตอรายการ ใน

26 สาํ นกั นายกรัฐมนตรี, ระเบียบสาํ นักนายกรัฐมนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แกไขเพิ่มเติม ขอ ๓๙
วรรคสอง
27 สํานกั นายกรัฐมนตรี, ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทแ่ี กไขเพม่ิ เติม ขอ ๒๐
28 สาํ นกั นายกรัฐมนตรี, ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่แี กไขเพ่ิมเติม ขอ ๒๗
29 สาํ นกั นายกรัฐมนตรี, หนงั สอื สํานักนายกรัฐมนตรี ดวนมาก ท่ี นร (กวพ) ๑๓๐๕/ว ๗๒๘๖ ลง ๒๐ ส.ค.๔๒
แจง เวียน ตามบันทกึ กบ.ทร.ท่ตี อ กบ.ทร.เลขรบั ๔๐๒๓/๔๒ ลง ๑๗ ก.ย.๔๒
30 สาํ นกั นายกรฐั มนตรี, ระเบียบสํานักนายกรฐั มนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทแ่ี กไขเพม่ิ เติม ขอ ๔๐

กรณีท่ีไมไดกําหนดไวในเอกสารสอบราคาใหพิจารณาราคารวม ท้ังนี้สวนราชการอาจจะระบุหรือกําหนด
เง่อื นไขอนั เปน สาระสําคญั ดวยการขีดเสน ใตหรอื พิมพตัวหนาหรอื อืน่ ๆ กไ็ ด เพื่อเนน สาระสําคัญของเงอ่ื นไข
นั้น ๆ

๒.๑.๗ แบบใบเสนอราคา โดยใหกําหนดไวดวยวาในการเสนอราคาใหลงราคารวม
ทั้งส้นิ เปนตวั เลขและตอ งมตี วั หนังสือกํากับ ถาตัวเลขและตวั หนังสอื ไมตรงกัน ใหถ อื ตวั หนังสือเปนสําคัญ

๒.๑.๘ กําหนดระยะเวลายืนราคาเทาท่ีจําเปนตอทางราชการ และมีเง่ือนไขดวยวา
ซองเสนอราคาท่ยี ืน่ ตอทางราชการและลงทะเบียนรับซองแลว จะถอนคนื มิได

๒.๑.๙ กําหนดสถานท่ีสง มอบพสั ดแุ ละวันสงมอบโดยประมาณ
๒.๑.๑๐ กําหนดสถานที่ วัน เวลา เปดซองสอบราคา
๒.๑.๑๑ ขอกําหนดใหผูเสนอราคาผนึกซองราคาใหเรียบรอย กอนย่ืนตอทาง
ราชการ จาหนาถึงประธานกรรมการเปดซองสอบราคาการซ้ือคร้ังนั้น และสงถึงสวนราชการกอนวัน
เปด ซอง โดยใหสงเอกสารหลกั ฐานตา ง ๆ พรอมจัดทาํ บัญชรี ายการเอกสารเสนอไปพรอมกับซองราคาดวย
สาํ หรับกรณที จ่ี ะใหม ีการยืน่ ซองทางไปรษณียไ ด ใหกาํ หนดวธิ กี ารปฏิบตั ิไวใหชัดเจนดวย
๒.๑.๑๒ กําหนดเงื่อนไขในการสงวนสิทธ์ิท่ีจะถือวาผูไมไปทําสัญญา หรือ
ขอ ตกลงกับทางราชการ เปน ผูท ิง้ งาน
๒.๑.๑๓ ขอกําหนดวาผูเขาเสนอราคาที่ไดรับการคัดเลือกใหไปทําสัญญา จะตอง
วางหลกั ประกันสญั ญาตามชนิดหลกั ประกนั อยา งใดอยา งหนง่ึ ดงั ตอ ไปน้ี 31

- เงินสด
- เช็คท่ีธนาคารเซ็นส่ังจาย ซึ่งเปนเช็คลงวันท่ีที่ใชเช็คน้ัน ชําระตอ
เจาหนา ที่ หรอื กอนวันนัน้ ไมเ กิน ๓ วนั ทาํ การ
- หนังสือค้ําประกันของธนาคารภายในประเทศตามตามตัวอยางที่ กวพ.
กาํ หนด
- หนังสือคํ้าประกันของบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
บริษัทเงินทุน หรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย ที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการเงินทุนเพื่อพาณิชยและ
ประกอบธุรกิจคํ้าประกันตามประกาศของธนาคารแหงประเทศไทย ตามรายชื่อบริษัทเงินทุนท่ีธนาคาร
แหงประเทศไทยแจงเวียนใหสวนราชการตาง ๆ ทราบแลว โดยอนุโลม ใหใชตามตัวอยางหนังสือ
คา้ํ ประกนั ของธนาคารท่ี กวพ. กําหนด
- พันธบัตรรัฐบาลไทย และอัตราหลักประกันสัญญาดังกลาว ใหกําหนด
มูลคา เปน จํานวนเตม็ ในอัตรารอยละหาของวงเงินหรือราคาพสั ดุที่จดั หาคร้ังนน้ั แลว แตกรณี เวนแตการจัดหา
พัสดุท่ีหัวหนาสวนราชการเห็นวามีความสําคัญเปนพิเศษ จะกําหนดอัตราสูงกวารอยละหาแตไมเกินรอยละ
สบิ ก็ได 32

31 สํานกั นายกรัฐมนตรี, ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แกไขเพิ่มเติม ขอ ๑๔๑
32 สํานกั นายกรัฐมนตรี, ระเบียบสํานักนายกรฐั มนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทแ่ี กไขเพมิ่ เตมิ ขอ ๑๔๒

๒.๑.๑๔ รางสัญญา รวมทั้งการแบงงวดงาน การจายเงิน เงื่อนไขการจายเงิน
ลวงหนา (ถา ม)ี และอตั ราคาปรบั

๒.๑.๑๕ ขอสงวนสิทธิ์วาสวนราชการ จะไมพิจารณาผูเสนอราคาท่ีเปนผูท้ิงงานของ
ทางราชการ และสวนราชการทรงไวซึ่งสิทธิ์ที่จะงดซื้อ หรือเลือกซ้ือ โดยไมจําเปนตองซื้อจากผูเสนอราคา
ต่ําสุดเสมอไป รวมทั้งจะพิจารณายกเลิกการสอบราคา และลงโทษผูเสนอราคาเสมือนเปนผูท้ิงงาน หากมี
เหตุทเี่ ชือ่ ไดว า การเสนอราคากระทําไปโดยไมสุจริต หรอื มีการสมยอมกนั ในการเสนอราคา

๒.๒ การประกาศ การย่ืนซอง และการรบั ซองสอบราคา
เม่ือหัวหนา สว นราชการใหค วามเห็นชอบในรายงานขอซ้อื หรอื ขอจาง ตามขอ ๒.๑

แลว การประกาศ การย่ืนซอง และการรบั ซองสอบราคา ใหดําเนินการ ดังนี้ 33
๒.๒.๑ กอนวันเปดซองสอบราคาไมนอยกวา ๑๐ วัน สําหรับการสอบราคาใน

ประเทศ หรือไมนอยกวา ๔๕ วัน สําหรับการสอบราคานานาชาติ ใหเจาหนาท่ีพัสดุสงประกาศเผยแพรการ
สอบราคาและเอกสารการสอบราคาไปยังผูมีอาชีพขายพัสดุหรือผูรับจางทํางานนั้นโดยตรง หรือโดยทาง
ไปรษณียลงทะเบียนใหมากที่สุดเทาที่จะทําได กับใหปดประกาศเผยแพรการสอบราคาไวโดยเปดเผย ณ ที่
ทําการของสว นราชการนัน้

๒.๒.๒ ในการย่ืนซองสอบราคา ผูเสนอราคาจะตองผนึกซองจาหนาถึงประธาน
คณะกรรมการเปดซองสอบราคาการซ้ือหรือการจางครั้งน้ัน และสงถึงสวนราชการผูดําเนินการสอบราคา
กอนวันเปดซองสอบราคา โดยยื่นโดยตรงตอสวนราชการ หรือสงทางไปรษณียลงทะเบียน ในกรณีที่
สว นราชการกําหนดใหกระทาํ ได

๒.๒.๓ ใหเจาหนาท่ีลงรับโดยไมเปดซองพรอมระบุวันและเวลาที่รับซองในกรณี
ที่ผเู สนอราคามายื่นซองโดยตรง ใหออกใบรบั ใหแ กผยู ื่นซอง สําหรับกรณที ี่เปน การยืน่ ซองทางไปรษณยี  ให
ถือวันและเวลา ที่สวนราชการนั้นลงรับจากไปรษณียเปนเวลารับซอง และใหสงมอบซอง ใหแกหัวหนา
เจา หนา ท่พี ัสดุทันที

๒.๒.๔ ใหหัวหนาเจาหนาที่พัสดุ เก็บรักษาซองเสนอราคาทุกราย โดยไมเปดซอง
และเมื่อถงึ กําหนดเวลาเปดซองสอบราคาแลว ใหสงมอบซองเสนอราคา พรอมท้ังรายงานผลการรับซองตอ
คณะกรรมการเปดซองสอบราคา เพือ่ ดําเนนิ การตอไป

๒.๓ การเปดซองและพิจารณาผลการสอบราคา ในการเปดซองและพิจารณาผลการสอบ
ราคาเปน หนา ท่ขี องคณะกรรมการเปด ซองสอบราคา ดังน้ี

๒.๓.๑ คณะกรรมการเปดซองสอบราคา มีหนาท่ีตรวจสอบคุณสมบัติของผูเสนอ
ราคา หรือผูเสนองานแตละรายวาเปนผูเสนอราคาหรือผูเสนองานที่มีผลประโยชนรวมกันหรือไม กอนเปด
ซองสอบราคา 34 แลวประกาศรายชื่อผูที่ไดรับการคัดเลือกและแจงผูเสนอราคาหรือผูเสนองาน(ถาอยู) ทราบ

วรรคหนงึ่
33 สํานักนายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสํานกั นายกรฐั มนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่ีแกไขเพ่ิมเติม ขอ ๔๑
34 สํานกั นายกรฐั มนตรี, ระเบียบสาํ นกั นายกรฐั มนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่ีแกไขเพิม่ เติม ขอ ๑๕

35 ตัดรายช่ือผูที่มีผลประโยชนรวมกันทุกรายและแจงใหผูเสนอราคาหรือผูเสนองานดังกลาวทราบโดยพลัน36
เปดซองเฉพาะผูท่ีมีสิทธิทุกราย และใหพิจารณาตรวจสอบการกระทําอันเปนการขัดขวางการแขงขันการ
เสนออยางเปนธรรมดวย คือ หากกอนหรือขณะเปดซองสอบราคา ปรากฏตอคณะกรรมการเปดซอง
สอบราคาวามีผูเสนอราคาหรือผูเสนองานกระทําการอันเปนการขัดขวางการแขงขันราคาอยางเปนธรรม ให
คณะกรรมการเปด ซองสอบราคาตรวจสอบขอเทจ็ จรงิ ดงั กลา ว หากเชือ่ ไดว ามีการกระทาํ อันเปนการขัดขวาง
การแขงขันราคาอยางเปนธรรม ใหคณะกรรมการเปดซองสอบราคาตัดรายชื่อผูเสนอราคาหรือผูเสนองานที่
กระทําการดังกลาวทุกรายออกจากการเปนผูเสนอราคาหรือผูเสนองานในครั้งน้ัน และหากคณะกรรมการ
เปดซองสอบราคาวินิจฉัยวาผูเสนอราคาหรือผูเสนองานน้ัน เปนผูใหความรวมมือเปนประโยชนตอการ
พิจารณาของทางราชการและมิไดเปนผูริเริ่มการกระทําดังกลาว จะไมตัดรายชื่อผูเสนอราคาหรือผูเสนองาน
นั้นออกจากการเปนผูเสนอราคาหรือผูเสนองานในครั้งน้ันก็ได 37 เม่ือไดดําเนินการตรวจสอบดังกลาว
เรียบรอยแลว ก็ใหดาํ เนนิ การตงั้ แตขอ ๒.๓.๒ ถงึ ขอ ๒.๓.๖ ตอไป ตามลาํ ดับ 38

๒.๓.๒ เปดซองใบเสนอราคา และอานแจงราคา พรอมบัญชีรายการเอกสาร
หลักฐานตาง ๆ ของผูเสนอราคาทุกราย โดยเปดเผยตาม วัน เวลา และสถานที่ที่กําหนด และตรวจสอบ
รายการเอกสารตามบัญชีของผูเสนอราคาทุกราย แลวใหกรรมการทุกคนลงลายมือชื่อกํากับไวในใบเสนอ
ราคา และเอกสารประกอบใบเสนอราคาทกุ แผน๒.๓.๓ ตรวจสอบคุณสมบัติของผูเสนอราคา ใบเสนอราคา
แคตตาลอ็ กหรือแบบรูป และรายละเอยี ด แลว คัดเลือกผูเสนอราคาท่ีถกู ตอง ตามเงื่อนไขในเอกสารสอบราคา

๒.๓.๔ พิจารณาคัดเลือกพัสดุหรืองานจางของผูเสนอราคาท่ีถูกตอง ตามขอ
๒.๓.๓ ทม่ี คี ุณภาพ และคุณสมบตั ิเปน ประโยชนต อ ทางราชการ และเสนอใหซอื้ หรอื จางจากรายทีค่ ัดเลือก
ไวแลว ซ่งึ เสนอราคาตา่ํ สุด

ในกรณีท่ีผูเสนอราคาตํ่าสุดดังกลาวไมยอมเขาทําสัญญาหรือขอตกลงกับ
สวนราชการในเวลาที่กําหนดตามเอกสารสอบราคา ใหคณะกรรมการพิจารณาจากผูเสนอราคาต่ํารายถัดไป
ตามลําดับ

ถามีผูเสนอราคาเทากันหลายรายใหเรียกผูเสนอราคาดังกลาวมาขอใหเสนอราคา
ใหมพ รอ มกันดว ยวิธยี นื่ ซองเสนอราคา

ตรี วรรคสอง
35 สาํ นักนายกรฐั มนตรี, ระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แกไขเพิ่มเติม ขอ ๑๕
จัตวา วรรคสาม
36 สํานกั นายกรฐั มนตรี, ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่แี กไขเพิ่มเตมิ ขอ ๑๕

เบญจ วรรคหนึ่ง
37 สํานกั นายกรฐั มนตรี, ระเบียบสาํ นกั นายกรัฐมนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่แี กไขเพิม่ เตมิ ขอ ๑๕ ฉ
วรรคหนึ่ง
38 สาํ นกั นายกรัฐมนตรี, ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แกไขเพ่มิ เติม ขอ ๔๒

ถาปรากฏวาราคาของผูเสนอราคาที่คณะกรรมการเห็นสมควรซื้อหรือจางสูงกวา
วงเงินท่ีจะซอื้ หรือจางใหคณะกรรมการเปดซองสอบราคาดําเนินการ ตามขอ ๒.๔

๒.๓.๕ ในกรณีท่ีมีผูเสนอราคาถูกตองตามรายการละเอียดและเงื่อนไขท่ีกําหนดไว
ในเอกสารสอบราคาเพียงรายเดียว ใหคณะกรรมการดาํ เนนิ การตามขอ ๒.๓.๔ โดยอนุโลม

๒.๓.๖ ใหค ณะกรรมการรายงานผลการพจิ ารณาและความเห็นพรอมดวยเอกสารท่ี
ไดร บั ไวทั้งหมด ตอ หวั หนา สว นราชการเพือ่ สงั่ การ โดยเสนอผา นหวั หนาเจา หนาที่พัสดุ

๒.๓.๗ ภายหลังจากการเปดซองสอบราคา หากปรากฏวาผูเสนอราคาหรือผูเสนอ
งานท่ีมีสิทธิไดรับการคัดเลือก ตามท่ีไดประกาศรายชื่อไว ตามขอ ๒.๓.๑ เปนผูเสนอราคาที่มีผลประโยชน
รวมกันกับผูเสนอราคา หรือผูเสนองานรายอ่ืน หรือเปนผูเสนอราคา หรือผูเสนองานที่กระทําการอันเปนการ
ขัดขวางการแขง ขันราคาอยางเปนธรรม ใหหัวหนาสวนราชการมีอํานาจที่จะตัดรายชื่อผูเสนอราคาหรือผูเสนอ
งานทม่ี ีสิทธไิ ดรบั การคัดเลอื กดังกลา วออกจากประกาศรายชอื่ ได 39

๒.๔ การดาํ เนนิ การ กรณเี สนอราคาสูงกวาวงเงนิ
การซ้ือหรือการจางโดยวิธีสอบราคา ที่ปรากฏวาราคาของผูเสนอราคารายที่

คณะกรรมการเห็นสมควรซื้อหรือจางยังสูงกวาวงเงินที่จะซ้ือหรือจาง แลวแตกรณี ใหคณะกรรมการ
ดาํ เนินการ
ตามลําดับ ดงั น้ี 40

๒.๔.๑ เรียกผูเสนอราคารายน้ันมาตอรองราคาใหตํ่าสุดเทาท่ีจะทําได หากผูเสนอ
ราคารายน้ันยอมลดราคาแลว ราคาท่ีเสนอใหม ไมสูงกวาวงเงินที่จะซ้ือหรือจาง หรือสูงกวา แตสวนที่สูง
กวานั้น ไมเ กนิ รอยละสิบของวงเงินที่จะซ้ือหรือจาง หรือตอรองราคาแลวไมยอมลดราคาลงอีก แตสวนที่สูง
กวาเงินท่ีจะซ้ือหรือจางน้ัน ไมเกินรอยละสิบของวงเงินท่ีจะซ้ือหรือจาง ถาเห็นวาราคาดังกลาวเปนราคาที่
เหมาะสมกใ็ หเ สนอซ้อื หรอื จา งจากผูเสนอราคารายน้ัน

๒.๔.๒ ถาดําเนินการ ตามขอ ๒.๔.๑ แลวไมไดผลใหเรียกผูเสนอราคาที่
คณะกรรมการเห็นสมควรซื้อหรือจางทุกรายมาตอรองราคาใหมพรอมกัน ดวยวิธียื่นซองเสนอราคาภายใน
กาํ หนดระยะเวลาอันสมควร หากรายใดไมม ายน่ื ซอง ใหถือวา รายนน้ั ยืนราคาตามท่ีเสนอไวเดิม หากผูเสนอ
ราคาตํา่ สุดในการตอรองราคาคร้ังนี้ เสนอราคาไมส งู กวา วงเงินทจี่ ะซือ้ หรอื จา ง หรอื สูงกวา แตสว นทสี่ ูงกวา
น้ัน ไมเกินรอยละสิบของวงเงินท่ีจะซ้ือหรือจาง ถาเห็นวาราคาดังกลาวเปนราคาท่ีเหมาะสม ก็ใหเสนอซื้อ
หรอื จางจากผเู สนอราคารายน้นั

39 สํานักนายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสํานกั นายกรฐั มนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แกไขเพ่ิมเติม ขอ ๑๕
สัตต วรรคหนึง่
40 สาํ นกั นายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสาํ นักนายกรัฐมนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทแ่ี กไขเพมิ่ เตมิ ขอ ๔๓

๒.๔.๓ ถาดําเนินการ ตามขอ ๒.๔.๒ แลวไมไดผล ใหเสนอความเห็นตอหัวหนา
สวนราชการเพ่ือประกอบการใชดุลพินิจวา จะสมควรลดรายการ ลดจํานวนหรือลดเนื้องาน หรือขอเงิน
เพ่มิ เตมิ หรือยกเลกิ การสอบราคา เพอ่ื ดําเนนิ การสอบราคาใหม

๓. การจัดซื้อ/จา ง โดยวธิ ปี ระกวดราคา ไดแก การซื้อหรือการจา งคร้งั หน่ึงซึ่งมีราคาเกนิ
๒,๐๐๐,๐๐๐.- บาท 41 โดยมีขน้ั ตอนการปฏบิ ัติ (ตามแผนภาพที่ ๓ ) ดงั นี้

๓.๑ รายงานขอซ้ือหรือขอจางโดยวิธีประกวดราคา เจาหนาท่ีพัสดุจัดทํารายงานขอซื้อ
หรือขอจาง เสนอหัวหนาสวนราชการตามรายการท่ีกําหนดไว 42 และใหเจาหนาที่พัสดุจัดทําเอกสาร
ประกวดราคา ตามตัวอยางท่ี กวพ. กําหนด 43 หรือตามแบบท่ีผานการตรวจพิจารณาของสํานักงานอัยการ
สูงสดุ แลว

การจัดทําเอกสารประกวดราคารายใดจําเปนตองมีขอความหรือรายการแตกตางไป
จากที่ กวพ. กําหนดหรือแบบที่ผานการตรวจพิจารณาของสํานักงานอัยการสูงสุด โดยมีสาระสําคัญตามที่
กําหนดไวในตัวอยางหรือแบบดังกลาว และไมทําใหทางราชการเสียเปรียบก็ใหกระทําได เวนแตหัวหนา
สวนราชการเห็นวา จะมีปญหาในทางเสียเปรียบ หรือไมรัดกุมพอ ก็ใหสงรางเอกสารประกวดราคาไปให
สํานักงานอยั การสูงสดุ ตรวจพิจารณากอน

การเผยแพรเอกสารประกวดราคาใหจดั ทาํ เปนประกาศ และมสี าระสําคัญดงั น้ี
๓.๑.๑ รายการพสั ดุทตี่ องการซอ้ื หรืองานที่ตอ งการจาง
๓.๑.๒ คุณสมบัตขิ องผูมสี ทิ ธเิ์ ขา ประกวดราคา
๓.๑.๓ กาํ หนดวนั เวลา รับซอง ปดการรับซอง และเปดซองประกวดราคา
๓.๑.๔ สถานท่ีและระยะเวลาในการขอรบั หรอื ขอซือ้ เอกสารการประกวดราคาและ
ราคาของเอกสาร
๓.๑.๕ แหลงเงินกูและประเทศผูมีสิทธิเขาประกวดราคาในกรณีประกวดราคา
นานาชาติ
๓.๒ การประกาศขาวประกวดราคา
การซื้อหรือการจางโดยวิธีประกวดราคา ใหหัวหนาเจาหนาที่พัสดุ มีหนาท่ี
รับผิดชอบควบคมุ ดแู ล และจดั ทาํ หลักฐานการเผยแพร และการปด ประกาศประกวดราคาภายในระยะเวลาที่

41 สํานักนายกรัฐมนตรี, ระเบียบสาํ นกั นายกรฐั มนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทีแ่ กไขเพมิ่ เตมิ ขอ ๒๑
42 สาํ นักนายกรฐั มนตรี, ระเบียบสาํ นักนายกรัฐมนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทแี่ กไขเพิ่มเตมิ ขอ ๒๗
43 สํานักนายกรฐั มนตรี, ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่แี กไขเพ่ิมเติม ขอ ๔๔
และตัวอยางเอกสารประกวดราคาซ้ือ ตามหนังสอื สาํ นกั นายกรฐั มนตรี ดวนมาก ท่ี นร (กวพ) ๑๓๐๕/ว ๗๒๘๖
ลง ๒๐ ส.ค.๔๒ แจงเวียนตามบนั ทกึ กบ.ทร.ทตี่ อ กบ.ทร.เลขรับ ๔๐๒๓/๔๒ ลง ๑๗ ก.ย.๔๒

กําหนด โดยใหเจา หนาทพ่ี ัสดุดําเนนิ การ ดังนี้ 44
๓.๒.๑ ปดประกาศประกวดราคาโดยเปดเผย ณ ท่ีทําการของสวนราชการน้ัน การ

ปด ประกาศดังกลาว ใหกระทําในตูปดประกาศที่มีกุญแจปดตลอดเวลา โดยผูปดประกาศและผูปลดประกาศ
ออกจากตูปดประกาศจะตองจัดทําหลักฐานการปดประกาศและปลดประกาศออกเปนหนังสือมีพยานบุคคล
รับรอง ท้ังนี้ ผูปดประกาศและผูปลดประกาศออก จะตองมิใชบุคคลเดียวกัน และจะตองมิใชบุคคลท่ีเปน
พยานในแตละกรณีดว ย

๓.๒.๒ สงไปประกาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียง และ/หรือประกาศใน
หนงั สือพิมพ

๓.๒.๓ สง ใหกรมประชาสัมพนั ธ และองคการสอ่ื สารมวลชนแหงประเทศไทยเพื่อ
เผยแพร

๓.๒.๔ สงไปเผยแพรท่ีศูนยรวมขาวประกวดราคาของทางราชการ โดยใหสง
เอกสารประกวดราคาไปพรอมกันดวย

๓.๒.๕ สงใหสํานักงานการตรวจเงินแผนดินหรือสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน
สว นภูมิภาค แลว แตก รณี โดยใหสงเอกสารประกวดราคาไปพรอมกนั ดวย

นอกจากการดําเนินการตามวรรคหนึ่ง หากเห็นสมควร จะสงประกาศไปยังผูมี
อาชพี ขายหรอื รบั จางทํางานน้นั โดยตรง หรอื จะโฆษณาโดยวิธีอืน่ อีกดว ยก็ได

การสงประกาศประกวดราคาตามวรรคหน่ึง หากจัดสงทางไปรษณีย ใหจัดสงโดย
ใชบริการไปรษณียดวนพิเศษ (EMS) เวนแตทองท่ีใดไมมีบริการไปรษณียดวนพิเศษ (EMS) จึงใหจัดสงทาง
ไปรษณียลงทะเบยี น

การดําเนินการตามวรรคหน่ึง วรรคสอง และวรรคสาม ใหกระทํากอนการใหหรือ
การขายเอกสารประกวดราคาไมนอ ยกวา ๗ วนั ทําการ

สําหรับการซ้ือหรือการจางโดยวิธีประกวดราคานานาชาติ ใหสวนราชการถือ
ปฏิบัตติ ามหลกั เกณฑของแหลงเงนิ กูหรอื แหลง ใหเ งินชวยเหลอื

๓.๒.๖ นอกจากข้ันตอนการปฏิบัติตามท่ีกลาวไวในขางตนแลวยังมีแนวปฏิบัติ
และการซอมความเขาใจ ซึ่งสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี และสํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดกําหนด
ขึ้น เพื่อเปนการควบคุมขั้นตอนในการเผยแพรประกาศประกวดราคาใหเปนระบบมากย่ิงขึ้น โดยใหใชเปน
แนวปฏิบัตเิ พิ่มเตมิ จํานวน ๒ เรื่อง ดังนี้

๓.๒.๖.๑ แนวปฏิบัติในการกํากับดูแลการเผยแพรขาวสารการประกาศประกวด
ราคา เพ่ือเสริมมาตรการปองกัน หรือลดโอกาสในการสมยอมกันในการเสนอราคา โดยมีหลักการที่สําคัญ
ในการควบคุมขั้นตอนการประกาศประกวดราคา รวม ๙ ขอ ดังนี้ ๒

44 สาํ นักนายกรัฐมนตรี, ระเบียบสํานกั นายกรฐั มนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่ีแกไขเพิม่ เติม ขอ ๔๕
๒ สํานกั เลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี, หนังสอื สาํ นกั เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๐๕/ว ๑๙๓ ลง ๑๓ ธ.ค.๔๒
แจง เวียนตามบันทึก กบ.ทร.ท่ตี อ กบ.ทร.เลขรับ ๑๑๕/๔๓ ลง ๑๗ ม.ค.๔๓

(๑) ใหหนวยตา ง ๆ ของรัฐจดั ใหมที ะเบยี นประกาศประกวดราคา เพื่อ
ควบคุมประกาศประกวดราคาทุกประกาศ ใหเปนไปตามขั้นตอนของระเบียบ และผูบริหารสามารถ
ตรวจสอบได หากมีปญหาเกิดขึน้ ภายหลงั

(๒) ใหมีการมอบหมายความรับผิดชอบแกเจาหนาที่อยางชัดเจนทุก
ขัน้ ตอน

(๓) กําหนดวันที่จะตองดําเนินการใหแลวเสร็จในแตละข้ันตอน
เพือ่ ใหการเผยแพรกระทําอยางถูกตอ งและรวดเร็ว

(๔) กําหนดใหม ซี องทมี่ ีลักษณะพเิ ศษแตกตางจากซองทั่วไป สําหรับ
ใชเปนการเฉพาะสําหรับการสงประกาศประกวดราคาเทานั้นเพื่อความรวดเร็วในการคัดแยกของ
การสื่อสารแหง ประเทศไทย และหนวยรับเพือ่ เผยแพร เพ่อื ขจัดปญหาสําคัญอันเปนเหตุของความเสียหายแก
เงินของชาติอยใู นปจจุบนั ซงึ่ สืบเน่ืองจากการสูญหายและความลาชาในการจัดสงประกาศประกวดราคาทาง
ไปรษณยี  ทัง้ ทเ่ี ปน การกระทาํ โดยเจตนาหรอื ไมเ จตนา ทงั้ น้ี ใหเร่ิมใชซองดังกลาวหลังจากคณะรัฐมนตรีมี
มติแลวไมเ กิน ๖ เดือน

(๕) กรณสี ง ประกาศประกวดราคาทางไปรษณยี ใหนาํ สงโดยใชบริการ
ไปรษณียดวนพิเศษ (EMS) หรือบริการไปรษณียดวนพิเศษ (EMS) ตอบรับ เทานั้น เพราะบริการประเภท
น้ี สามารถตรวจสอบและหาตัวผูรับผิดชอบไดเมื่อเกิดกรณีสูญหายหรือสงลาชา { ปจจุบันที่ทําการไปรษณีย
ทกุ แหงเปด ใหบ ริการไปรษณียดว นพเิ ศษ (EMS) แลว }

(๖) ใหการส่ือสารแหงประเทศไทยกําหนดมาตรการที่เห็นวาจําเปน
เพ่ือสนับสนนุ ใหเกิดประสิทธภิ าพในการดาํ เนนิ การใหสอดคลอ งกบั แนวปฏิบัตฯิ ท่ีกําหนด

(๗) ใหผูบริหารส่ังการใหผูตรวจสอบภายในของหนวยงานตาง ๆ ของ
รัฐตรวจสอบการดําเนนิ การเก่ยี วกับเร่อื งนอ้ี ยางสมํา่ เสมอ

(๘) ใหถือเปนนโยบายท่ีทุกจังหวัดจะสงเสริมหรือสนับสนุนใหมี
สถานทก่ี ลางสาํ หรับใหท กุ สว นราชการในสังกดั หนว ยงานอืน่ ของรฐั และรฐั วสิ าหกิจทม่ี ที ี่ต้ังในสว นภูมภิ าค
ใชในการรับและเปดซองประกาศประกวดราคา เพื่อแกปญหาการใชอิทธิพลขมขูโดยอาศัยความหางไกล
ของสถานที่ตงั้ ของสวนราชการ ทงั้ น้ี หากเหน็ วา จาํ เปนองคกรปกครองทอ งถิน่ จะขอใชด วยกไ็ ด

(๙) หากแนวปฏิบัติฯ มีผลบังคับใชแลว ใหมีบทกําหนดโทษกับบุคคล
ใด ๆ ที่ฝา ฝน ภายใตหลักเกณฑบ ทกาํ หนดโทษตามระเบียบพสั ดุของหนวยงานนั้น

๓.๒.๖.๒ การซอมความเขาใจเก่ียวกับแนวปฏิบัติในการกํากับดูแลการเผยแพร
ขาวสารการประกาศประกวดราคา ซ่ึงเปนสาระสําคัญที่จะตองทราบ และดําเนินการในลําดับแรกของ
แนวปฏบิ ัตใิ นการกาํ กับดูแลการเผยแพรข า วสารการประกาศประกวดราคา 45

45 สาํ นกั งานการตรวจเงนิ แผนดิน, หนังสือสาํ นกั งานการตรวจเงนิ แผน ดนิ ท่ี ตผ ๐๐๐๑/ว ๘๖ ลง ๑๐ ก.พ.๔๓
แจงเวยี นตามบนั ทึก กบ.ทร.ที่ตอ กบ.ทร.เลขรับ ๑๑๗๔/๔๓ ลง ๑๕ มี.ค.๔๓

๓.๓ การใหห รือการขายเอกสารประกวดราคา 46

การใหหรือการขายเอกสารประกวดราคา รวมท้งั เอกสารท่เี กยี่ วกับคณุ ลกั ษณะเฉพาะ

หรือรายละเอียด ใหกระทํา ณ สถานท่ีท่ีสามารถติดตอไดโดยสะดวก และไมเปนเขตหวงหาม และจะตอง

จัดเตรียมเอกสารประกวดราคาไวใหมากพอสําหรับความตองการของผูมาขอรับหรือขอซ้ือท่ีมีอาชีพขายหรือ

รบั จา งทาํ งานนั้นรายละ ๑ ชุด โดยไมมเี ง่ือนไขอืน่ ใดในการใหหรือขาย

การใหหรือการขายเอกสารประกวดราคา ตองกระทําไมนอยกวา ๗ วันทําการ และ

จะตอ งมีชวงเวลาสําหรับการคํานวณราคาของผูประสงคจะเขาเสนอราคาหลังปดการใหหรือการขายเอกสาร

ประกวดราคาจนถึงกอนวันรับซองประกวดราคาไมนอยกวา ๗ วันทําการ หรือไมนอยกวาจํานวนวันท่ี

มากกวา นั้น ตามที่ กวพ. กาํ หนด โดยคาํ นึงถึงขนาด ปรมิ าณ และลักษณะของพสั ดทุ ี่จะซอื้ หรือจาง

ในกรณีท่ีมีการขาย ใหกําหนดราคาพอสมควรกับคาใชจายที่ทางราชการตองเสียไปใน

การจัดทาํ สาํ เนาเอกสารประกวดราคานนั้

ถามกี ารยกเลกิ การประกวดราคาคร้ังนัน้ และมกี ารประกวดราคาใหม ใหผูร ับหรอื ซอ้ื

เอกสารประกวดราคาในการประกวดราคาคร้ังกอน มีสิทธิใชเอกสารประกวดราคานั้น หรือไดรับเอกสาร

ประกวดราคาใหม โดยไมตองเสยี คา ซื้อเอกสารประกวดราคาอีก

๓.๔ การชีแ้ จงรายละเอยี ดหรอื การแกไขคุณลักษณะในเอกสารประกวดราคา 47

ในกรณีท่ีการซ้ือหรือการจางใด มีรายละเอียดท่ีมีความซับซอนหรือมีความจําเปนโดย

สภาพของการซื้อหรือการจางที่จะตองมีการช้ีแจงรายละเอียดหรือการชี้สถานท่ีใหสวนราชการกําหนดวัน

เวลา และสถานที่ ในการช้ีแจงรายละเอยี ดหรือการช้สี ถานท่ีในประกาศประกวดราคา

กอนวันปดการรับซองประกวดราคา หากสวนราชการเห็นวา มีความจําเปนท่ี

จะตองกําหนด รายละเอียดเพิ่มเติม หรือมีการช้ีสถานท่ีอันเปนการแกไขคุณลักษณะเฉพาะท่ีเปน

สาระสําคัญ ซ่ึงมิไดกําหนดไวในเอกสารประกวดราคาตั้งแตตน ใหสวนราชการจัดทําเปนเอกสารประกวด

ราคาเพ่ิมเติม และใหระบุ วัน เวลา และสถานท่ี ในการช้ีแจงรายละเอียดหรือการช้ีสถานที่ไวดวย และให

ดําเนินการ ตามขอ ๓.๒ วรรคหน่ึง โดยอนุโลม รวมท้ังใหแจงเปนหนังสือใหผูที่ไดรับหรือไดซื้อเอกสาร

ประกวดราคาไปแลว ทกุ รายทราบ โดยมิชักชา

การชี้แจงรายละเอียดหรือการชี้สถานท่ีตามวรรคหน่ึงหรือวรรคสอง ใหเจาหนาท่ี

ผูรับผิดชอบจดั ทาํ บันทกึ การช้แี จงรายละเอยี ดหรือการชี้สถานท่เี ปนลายลักษณอ กั ษรไวเ ปนหลักฐานทกุ ครัง้

ถามกี ารดําเนินการตามวรรคสอง ใหสว นราชการพิจารณาเลื่อนวัน เวลารับซอง การ

ปด การรบั ซอง และการเปด ซองประกวดราคา ตามความจําเปนแกกรณดี ว ย

๓.๕ ขอหามรน เลอ่ื น หรือเปล่ียนแปลงกําหนดเวลารับซองและเปดซองประกวดราคา 48

46 สํานกั นายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรี วาดว ยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทีแ่ กไ ขเพ่มิ เตมิ ขอ ๔๖
47 สํานักนายกรฐั มนตรี, ระเบียบสาํ นักนายกรฐั มนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่ีแกไขเพมิ่ เติม ขอ ๔๗
48 สํานักนายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสํานกั นายกรัฐมนตรวี าดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่ีแกไขเพ่มิ เติม ขอ ๔๘

นอกจากกรณีที่กําหนดไว ตามขอ ๓.๔ เมื่อถึงกําหนดวันรับซองประกวดราคา หาม
มใิ หร นหรอื เลอื่ น หรอื เปล่ยี นแปลงกําหนดเวลารับซอง และเปด ซองประกวดราคา

การรับซองทางไปรษณียจะกระทํามิได เวนแต การประกวดราคานานาชาติซ่ึง
กําหนดใหม กี ารย่ืนซองทางไปรษณียไ ด โดยใหถอื ปฏิบัติ ตามขอ ๒.๒.๒, ๒.๒.๓ และ ๒.๒.๔ โดยอนุโลม

๓.๖ การรับและเปดซองประกวดราคา ในการรับและเปดซองประกวดราคา เปนหนาท่ี
ของคณะกรรมการรับและเปดซองประกวดราคา ดงั ตอ ไปน้ี 49

๓.๖.๑ รับซองประกวดราคา ลงทะเบียนรับซองไวเปนหลักฐานลงชื่อกํากับซองกับ
บนั ทกึ ไวที่หนาซองวา เปนของผใู ด

๓.๖.๒ ตรวจสอบหลักประกันซองรวมกับเจาหนาที่การเงิน และใหเจาหนาที่การเงิน
ออกใบรับใหแกผูยื่นซองไวเปนหลักฐาน หากไมถูกตองใหหมายเหตุในใบรับและบันทึกในรายงานดวย
กรณีหลักประกันซองเปนหนังสือคํ้าประกันใหสงสําเนาหนังสือค้ําประกันใหธนาคาร บรรษัทเงินทุน
อุตสาหกรรมแหงประเทศไทย บริษัทเงินทุนหรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพยผูออกหนังสือคํ้าประกัน ทราบ ทาง
ไปรษณยี ล งทะเบียนตอบรบั ดวย

๓.๖.๓ รับเอกสารหลักฐานตาง ๆ ตามบัญชีรายการเอกสารของผูเสนอราคาพรอมทั้ง
พัสดุตวั อยา ง แคตตาลอ็ ก หรอื แบบรปู และรายละเอียด(ถาม)ี หากไมถ กู ตอ งใหบ นั ทึกในรายงานไวดวย

๓.๖.๔ เมื่อพนกําหนดเวลารับซองแลว หามรับซองประกวดราคา หรือเอกสาร
หลักฐานตาง ๆ ตามเงื่อนไขท่ีกําหนดในเอกสารประกวดราคาอีก เวนแตกรณีที่ผูเสนอราคาพัสดุอยูระหวาง
การขอรับรองระบบคุณภาพ หรือการขอรับใบอนุญาตแสดงเคร่ืองหมายมาตรฐาน หรือการขอจดทะเบียน
ผลติ ภณั ฑไวกับกระทรวงอตุ สาหกรรมโดยแนบใบรับมาพรอมกับใบเสนอราคา 50

๓.๖.๕ สงมอบเอกสารหลักฐานสวนท่ี ๑ (ตามเอกสารประกวดราคา) ให
คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา เพ่ือพิจารณาตรวจสอบคุณสมบัติของผูเสนอราคาแตละรายวา
เปน ผูเสนอราคาท่ีมีผลประโยชนรวมกันกับผูเสนอราคารายอื่น ณ วันประกาศประกวดราคาหรือไม โดย
เกบ็ เอกสารหลักฐาน สวนที่ ๒ (ตามเอกสารประกวดราคา) และซองใบเสนอราคาไว

๓.๖.๖ หลังจากท่ีไดรับผลการพิจารณาตรวจสอบคุณสมบัติและการกําหนดอันเปน
การขัดขวางการแขงขันราคาอยางเปนธรรมของผูเสนอราคา หรือผูเสนองานจากคณะกรรมการพิจารณา
ผลการประกวดราคาตามขอ ๓.๗.๕ แลว ใหดําเนินการเปดซองใบเสนอราคาและอานแจงราคาพรอมบัญชี
รายการเอกสารหลักฐานตาง ๆ ของผูเสนอราคาทุกราย โดยเปดเผยตามเวลา และสถานท่ีท่ีกําหนด และให
กรรมการทกุ คนลงลายมอื ช่ือกาํ กบั ไวใ นใบเสนอราคา และเอกสารประกอบใบเสนอราคาทกุ แผน

ในกรณีที่มีการย่ืนซองขอเสนอทางเทคนิคและขอเสนออื่น ๆ กอนตามเงื่อนไขท่ีได
กําหนดไวตามขอ ๓.๑๐ และขอ ๓.๑๒ คณะกรรมการรับและเปดซองประกวดราคา ไมตองปฏิบัติหนาท่ี
ตามวรรคหนงึ่ โดยใหเปน หนาท่คี ณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาท่ีจะตองดําเนินการตอไป

49 สํานักนายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสาํ นกั นายกรัฐมนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่แี กไขเพ่มิ เติม ขอ ๔๙
50 สาํ นักนายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสาํ นักนายกรัฐมนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่ีแกไขเพม่ิ เติม ขอ ๑๖(๙)

๓.๖.๗ สง มอบใบเสนอราคาทัง้ หมด และเอกสารหลักฐานตาง ๆ พรอมดวยบันทึก
รายงานการดําเนนิ การตอคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา ทนั ทใี นวนั เดยี วกนั

๓.๗ การพิจารณาผลการประกวดราคา ในการพิจารณาผลการประกวดราคา เปนหนาที่
ของคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา มหี นาทด่ี ังน้ี

๓.๗.๑ ตรวจสอบคุณสมบัติของผูเสนอราคาหรือผูเสนองานแตละรายวาเปนผูเสนอ
ราคาทมี่ ีผลประโยชนรวมกันกบั ผเู สนอราคาหรอื ผูเ สนองานรายอืน่ ณ วันประกาศประกวดราคาหรอื ไม ๑

๓.๗.๒ ประกาศรายช่ือผูเสนอราคาหรือผูเสนองานที่มีสิทธิไดรับการคัดเลือกไวใน
ที่เปด เผย ณ สถานที่ทําการของสวนราชการนัน้ ๆ โดยพลนั ๒

๓.๗.๓ ตัดรายช่ือผูเสนอราคาหรือผูเสนองาน ท่ีมีผลประโยชนรวมกันกับผูเสนอ
ราคาหรือผูเสนองานรายอ่ืน ณ วันประกาศประกวดราคา ทุกรายออกจากการเปนผูเสนอราคาหรือผูเสนองาน
ในครั้งนนั้ พรอมท้งั แจงใหผูเ สนอราคาหรือผเู สนองานรายดังกลาวทราบโดยพลัน๓

๓.๗.๔ กอนหรือขณะเปดซองประกวดราคา หากปรากฏตอคณะกรรมการพิจารณา
ผลการประกวดราคาวา มีผูเสนอราคาหรือผูเสนองาน กระทําการอันเปนการขัดขวางการแขงขันราคาอยาง
เปนธรรม ใหคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา ตรวจสอบขอเท็จจริงดังกลาว หากเช่ือไดวามีการ
กระทําอันเปนการขัดขวางราคาอยางเปนธรรม ใหคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา ดําเนินการ
ตามหลักเกณฑการพิจารณาตรวจสอบการกระทําอันเปนการขัดขวางราคาอยางเปนธรรมท่ีไดกําหนดไว
ตามขอ ๒.๓.๑

๓.๗.๕ สง ผลการพจิ ารณาตรวจสอบใหค ณะกรรมการรับและเปด ซองประกวดราคา
๓.๗.๖ หลังจากไดรับเรื่องจากคณะกรรมการรับและเปดซองประกวดราคา ตามขอ
๓.๖.๗ แลวใหดําเนนิ การดงั นี้ ๔

(๑) ตรวจสอบคณุ สมบัตขิ องผูเสนอราคา ใบเสนอราคา เอกสาร หลักฐาน
ตาง ๆ พัสดุตัวอยาง แคตตาล็อก หรือแบบรูปและรายการละเอียด แลวคัดเลือกผูเสนอราคาที่ถูกตองตาม
เงื่อนไขในเอกสารประกวดราคา

ในกรณีที่ผูเสนอราคารายใดเสนอรายละเอียดแตกตางไปจากเงื่อนไขที่
กําหนดในเอกสารประกอบราคาในสวนที่มิใชสาระสําคัญ และความแตกตางนั้นไมมีผลทําใหเกิดการ

๑ สํานักนายกรฐั มนตรี, ระเบียบสาํ นกั นายกรัฐมนตรวี าดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่ีแกไ ขเพม่ิ เติม ขอ ๑๕ ตรี
วรรคสอง
๒ สํานักนายกรฐั มนตรี, ระเบียบสาํ นักนายกรฐั มนตรวี าดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทแี่ กไขเพมิ่ เตมิ ขอ ๑๕ จัตวา
วรรคสาม
๓ สาํ นกั นายกรฐั มนตรี, ระเบียบสาํ นักนายกรฐั มนตรวี าดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่ีแกไ ขเพ่ิมเตมิ ขอ ๑๕ เบญจ
วรรคหนง่ึ
๔ สาํ นกั นายกรฐั มนตรี, ระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรวี าดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่แี กไขเพ่ิมเติม ขอ ๕๐

ไดเปรียบเสียเปรียบตอผูเสนอราคารายอื่น หรือเปนการผิดพลาดเล็กนอย ใหพิจารณาผอนปรนใหผูเขา
ประกวดราคา โดยไมตดั ผเู ขา ประกวดราคารายนัน้ ออก

ในการพิจารณา คณะกรรมการอาจสอบถามขอเท็จจริงจากผูเสนอราคา
รายใดกไ็ ด แตจะใหผ เู สนอราคารายใดเปลยี่ นแปลงสาระสําคัญทีเ่ สนอไวแลว มิได

(๒) พิจารณาคัดเลือกส่ิงของหรืองานจางหรือคุณสมบัติของผูเสนอราคาที่
ตรวจสอบแลวตามขอ(๑) ซ่ึงมีคุณภาพและคุณสมบัติเปนประโยชนตอทางราชการ แลวเสนอใหซื้อหรือจาง
จากผูเสนอราคารายทค่ี ดั เลือกไวแลว ซง่ึ เสนอราคาตํา่ สุด

ในกรณีท่ีผูเสนอราคาตํ่าสุดดังกลาว ไมยอมเขาทําสัญญา หรือขอตกลงกับ
สวนราชการ ในเวลาท่ีกําหนดตามเอกสารประกวดราคา ใหคณะกรรมการพิจารณาจากผูเสนอราคาต่ํา
รายถัดไปตามลาํ ดบั

ถามผี เู สนอราคาเทา กนั หลายราย ใหเ รียกผเู สนอราคาดงั กลาวมาขอใหเสนอ
ราคาใหมพ รอมกนั ดวยวธิ ยี ืน่ ซองเสนอราคา

ถาปรากฏวาราคาของผูเสนอราคารายที่คณะกรรมการเห็นสมควรซ้ือ หรือ
จางสูงกวาวงเงินท่ีจะซื้อหรือจางใหคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาดําเนินการ ตามขอ ๒.๔
โดยอนุโลม

(๓) ใหคณะกรรมการรายงานผลการพิจารณา และความเห็นพรอมดวย
เอกสารทีไ่ ดร บั ไวท ง้ั หมดตอ หวั หนาสว นราชการ โดยเสนอผานหัวหนาเจา หนาทพี่ สั ดุ

๓.๗.๗ ภายหลังการเปดซองประกวดราคา หากปรากฏวาผูเสนอราคาหรือ
ผูเสนองานที่มีสิทธิไดรับการคัดเลือก ตามท่ีประกาศรายช่ือไวตามขอ ๓.๗.๒ เปนผูเสนอราคาที่มี
ผลประโยชนรวมกันกับผูเสนอราคาหรือผูเสนองานรายอื่น หรือเปนผูเสนอราคาหรือผูเสนองานท่ีกระทํา
การอันเปนการขัดขวางการแขงขันราคาอยางเปนธรรม ใหหัวหนาสวนราชการมีอํานาจดําเนินการตามขอ
๒.๓.๗

๓.๘ การพิจารณากรณีมีผูเสนอราคารายเดียว ๑
เม่ือคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาไดพิจารณา ตามขอ ๓.๗.๖(๑) แลว

ปรากฏวา มีผเู สนอราคารายเดยี ว หรอื มผี เู สนอราคาหลายราย แตถ กู ตองตรงตามรายการละเอียดและเง่ือนไข
ท่กี ําหนดไวใ นเอกสารประกวดราคาเพียงรายเดยี ว โดยปกติใหเสนอหัวหนาสวนราชการยกเลิกการประกวด
ราคาครั้งนั้น แตถาคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาเห็นวามีเหตุผลสมควรท่ีจะดําเนินการตอไป
โดยไมต อ ง ยกเลิกการประกวดราคา กใ็ หดําเนนิ การตามขอ ๓.๗.๖(๒) โดยอนุโลม

๓.๙ การดาํ เนนิ การ กรณีไมม ีผเู สนอราคาถกู ตอ ง

๑ สํานักนายกรัฐมนตรี, ระเบียบสาํ นกั นายกรฐั มนตรีวาดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทแ่ี กไขเพ่มิ เตมิ ขอ ๕๑

ในกรณีไมมีผูเสนอราคา หรือมีแตไมถูกตองตรงตามรายการละเอียด และเงื่อนไขที่
กําหนดใหเสนอหัวหนาสวนราชการยกเลิกการประกวดราคาคร้ังนั้น เพ่ือดําเนินการประกวดราคาใหม หาก
หวั หนาสวนราชการ เห็นวา การประกวดราคาใหมจะไมไ ดผลดี จะส่ังใหดาํ เนินการซ้อื หรือจางโดยวิธีพเิ ศษ
ในกรณีเปน พัสดุที่ไดด ําเนินการซอ้ื หรอื จางโดยวธิ อี ่นื แลว ไมไดผล 51 และหลังจากการประกวดราคาแลว แต
ยังไมไดท ําสัญญาหรอื ตกลงซอ้ื หรอื จางกบั ผูเสนอราคารายใด ถามีความจาํ เปนเพื่อประโยชนของทางราชการ
เปน เหตุใหตองเปล่ียนแปลงสาระสําคัญในรายการละเอียด หรือเง่ือนไขท่ีกําหนดไวในเอกสารประกวดราคา
ซ่ึงทําใหเกิดการไดเปรียบเสียเปรียบระหวางผูเขาเสนอราคาดวยกัน ใหหัวหนาสวนราชการพิจารณายกเลิก
การประกวดราคาครง้ั น้ัน 52

๓.๑๐ หลักการประกวดราคาแบบ ๒ ซอง 53
การซ้ือหรอื การจา งท่มี ีลักษณะจําเปนจะตองคํานึงถึงเทคโนโลยีของพัสดุ และหรือ

ขอกําหนดคุณสมบัติของผูเขาเสนอราคา ซ่ึงอาจจะมีขอเสนอที่ไมอยูในฐานเดียวกันเปนเหตุใหมีปญหาใน
การพิจารณาตัดสิน และเพ่ือขจัดปญหาดังกลาวจําเปนตองใหมีการปรับปรุงขอเสนอใหครบถวนและเปนไป
ตามความตองการกอนพิจารณาดานราคา หรือการซื้อหรือการจางแบบเหมารวม (Lump Sum Turnkey) ที่
คณะรัฐมนตรีไดอนุมัติใหดําเนินการได ใหถือปฏิบัติเชนเดียวกับการประกวดราคาท่ัวไป เวนแตการ
กําหนดใหผูเขา เสนอราคาย่ืนซองประกวดราคาโดยแยกเปน

๓.๑๐.๑ ซองขอเสนอดา นเทคนคิ และขอ เสนออน่ื ๆ
๓.๑๐.๒ ซองขอเสนอดานราคา
๓.๑๐.๓ ซองขอเสนอทางการเงนิ ตามขอ ๓.๑๒ (ถา ม)ี
ทง้ั น้ี ใหกาํ หนดวิธีการ ข้นั ตอน และหลักเกณฑก ารพจิ ารณาไวเ ปนเง่อื นไขในเอกสารประกวดราคาดวย
๓.๑๑ การเปด ซองและพจิ ารณาขอเสนอทางเทคนิค 54
เพ่ือใหเปนไป ตามขอ ๓.๑๐ ใหคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาทํา
หนาที่เปดซองขอเสนอดานเทคนิคของผูเสนอราคา แทนคณะกรรมการรับและเปดซอง ตามขอ ๓.๖.๖ และ
พิจารณาผลการประกวดราคา ตามขอ ๓.๑๐ โดยถือปฏิบัติ ตามขอ ๓.๗ ในสวนท่ีไมขัดกับการดําเนินการ
ดงั ตอ ไปน้ี
๓.๑๑.๑ พิจารณาขอเสนอดานเทคนิคและขอเสนออ่ืนของผูเขาเสนอราคาทุกราย
และคัดเลือกเฉพาะรายท่ีเสนอไดตรงหรือใกลเคียงตามมาตรฐานความตองการของสวนราชการมากที่สุด ใน
กรณจี ําเปนจะเรยี กผเู สนอราคามาชแ้ี จงในรายละเอยี ดขอเสนอเปน การเพมิ่ เตมิ ขอหนึง่ ขอใดกไ็ ด

51 สํานักนายกรฐั มนตรี, ระเบยี บสํานกั นายกรฐั มนตรีวา ดว ยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่ีแกไขเพิม่ เติม ขอ ๕๒
52 สาํ นักนายกรัฐมนตรี, ระเบียบสาํ นกั นายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แกไขเพมิ่ เตมิ ขอ ๕๓
53 สํานกั นายกรฐั มนตรี, ระเบยี บสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่แี กไขเพมิ่ เติม ขอ ๕๔
54 สํานักนายกรฐั มนตรี, ระเบยี บสํานักนายกรัฐมนตรวี า ดว ยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทแ่ี กไขเพมิ่ เตมิ ขอ ๕๕

๓.๑๑.๒ เปดซองราคาเฉพาะรายที่ไดผานการพิจารณาคัดเลือก ตามขอ ๓.๑๑.๑
แลว สําหรับ รายที่ไมผานการพิจารณา ใหสงคืนซองขอเสนอดานราคา และซองขอเสนอทางการเงิน (ถามี)
โดยไมเปด ซอง

ในการพิจารณาขอเสนอดานเทคนิค และขอเสนอทางการเงินในกรณีน้ี ให
สวนราชการแตงตั้งผูเชี่ยวชาญดานเทคนิค และผูเชี่ยวชาญดานการเงินที่เก่ียวของกับการซ้ือหรือการจางอยาง
นอ ยดา นละ ๑ คน เขา รว มเปนคณะกรรมการพจิ ารณาผลการประกวดราคา ตามวรรคหนงึ่ ดวย

๓.๑๒ การเปด ซองและพจิ ารณาขอเสนอทางการเงิน 55
การซอื้ หรือการจา งที่เปด โอกาสใหผ ูเขา เสนอราคาย่ืนขอเสนอทางการเงินมาดวย ให

กําหนดใหผูเสนอราคาย่ืนซองขอเสนอทางการเงินแยกมาตางหาก และใหเปดซองขอเสนอทางการเงินพรอม
กับการเปด ซองราคา ตามขอ ๓.๑๑.๒ เพ่อื ทําการประเมินเปรียบเทยี บตอไป ทงั้ น้ีใหกําหนดวิธีการ ขน้ั ตอนและ
หลกั เกณฑการพิจารณาไวเปน เง่อื นไขในเอกสารประกอบราคาดวย

๔. การจัดซอ้ื /จาง โดยวธิ พี เิ ศษ
๔.๑ การจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ 56 ไดแก การซ้ือคร้ังหน่ึงซ่ึงมีราคาเกิน ๑๐๐,๐๐๐.- บาท ให

กระทาํ ไดเ ฉพาะกรณหี น่งึ กรณใี ด ดังตอ ไปนี้
(๑) เปนพัสดุท่ีจะขายทอดตลาดโดยสวนราชการหนวยงานตามกฎหมายวาดวย

ระเบียบบริหารราชการสวนทองถ่ิน หนวยงานอื่นซ่ึงมีกฎหมายบัญญัติใหมีฐานะเปนราชการบริหารสวน
ทองถิ่น รฐั วสิ าหกจิ องคก ารระหวา งประเทศ หรือหนวยงานของตา งประเทศ

(๒) เปน พสั ดุที่ตอ งซอ้ื เรงดวน หากลาชาอาจจะเสียหายแกราชการ
(๓) เปนพสั ดเุ พ่ือใชในราชการลบั
(๔) เปนพัสดุท่ีมีความตองการใชเพ่ิมข้ึนในสถานการณท่ีจําเปนหรือเรงดวน หรือ
เพื่อประโยชนของสวนราชการ และจําเปนตองซ้ือเพิ่ม (Repeat Order)
(๕) เปนพัสดุท่ีจําเปนตองซื้อโดยตรงจากตางประเทศ หรือดําเนินการโดยผาน
องคก ารระหวางประเทศ
(๖) เปนพัสดุท่ีโดยลักษณะของการใชงานหรือมีขอจํากัดทางเทคนิคที่จําเปนตอง
ระยุย่หี อเปนการเฉพาะ ซ่ึงหมายความรวมถึงอะไหล รถประจําตําแหนง หรอื ยารกั ษาโรคท่ีไมตอ งจดั ซ้ือตาม
ช่ือสามัญในบัญชียาหลักแหงชาติ ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แกไข
เพ่ิมเติม ขอ ๖๐
(๗) เปนพสั ดุทีเ่ ปน ท่ดี นิ และหรือสงิ่ กอสรางทจ่ี าํ เปน ตองซอ้ื เฉพาะแหง
(๘) เปนพัสดุที่ไดดําเนินการซ้ือโดยวิธีอ่ืนแลวไมไดผลดี และในการจัดซ้ือโดยวิธี
พเิ ศษ โดยทั่วไปมขี นั้ ตอนการปฏิบัต(ิ ตามแผนภาพที่ ๔) ดงั นี้

55 สาํ นักนายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสํานกั นายกรฐั มนตรีวา ดว ยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทแ่ี กไขเพมิ่ เติม ขอ ๕๖
56 สํานกั นายกรฐั มนตรี, ระเบยี บสํานกั นายกรัฐมนตรี วาดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่ีแกไ ขเพ่มิ เตมิ ขอ ๒๓

๔.๑.๑ การจัดทํารายงานขอซื้อ 57
หลังจากท่ีไดรับแจงการจัดสรรงบประมาณตามแผนการจัดสรรงบประมาณ

รายจายและ/หรือ ทร. อนุมัติแผนจัดซื้อ/จางประจําปงบประมาณแลว ใหเจาหนาท่ีพัสดุจัดทํารายงานขอซื้อ
เสนอหัวหนาสวนราชการ ตามรายการท่ีกําหนดไว เพื่อใหหัวหนาสวนราชการใหความเห็นชอบ 58 พรอม
กบั การแตงตงั้ คณะกรรมการจัดซ้อื โดยวธิ ีพิเศษ 59

๔.๑.๒ การดําเนนิ การของคณะกรรมการจดั ซอื้ โดยวธิ ีพเิ ศษ 60
เม่ือหัวหนาสวนราชการไดใหความเห็นชอบใหจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ กรณี

ใดกรณีหนง่ึ และแตง ตั้งคณะกรรมการจดั ซื้อโดยวธิ พี เิ ศษแลว ใหค ณะกรรมการฯ ดาํ เนินการ ดังตอ ไปนี้
(๑) ในกรณีเปนพัสดุจะขายทอดตลาดใหดําเนินการซ้ือโดยวิธีเจรจา

ตกลงราคา
(๒) ในกรณีเปนพสั ดุที่ตองซือ้ เรง ดวน หากลา ชา อาจเสียหายแกราชการให

เชิญผูมีอาชีพขายพัสดุนั้นโดยตรงมาเสนอราคา หากเห็นวาราคาที่เสนอนั้น ยังสูงกวาราคาในทองตลาดหรือ
ราคาที่คณะกรรมการฯ เหน็ สมควร ใหตอ รองราคาลงเทา ทจ่ี ะทําได

(๓) ในกรณเี ปน พสั ดทุ ใ่ี ชใ นราชการลบั ใหปฏิบตั เิ ชน เดยี วกับขอ (๒)
(๔) ในกรณีที่เปนพัสดุท่ีไดซื้อไวแลวแตมีความจําเปนตองใชเพิ่มใน
สถานการณทจี่ าํ เปน หรอื เรงดวน หรือเพือ่ ประโยชนข องสวนราชการ ใหเจรจากับผูขายรายเดิมตามสัญญาหรือ
ขอตกลง ซ่ึงยังไมสิ้นสุดระยะเวลาการสงมอบ เพ่ือขอใหมีการขายพัสดุตามรายละเอียดและราคาท่ีต่ํากวา
หรือราคาเดิม ภายใตเงื่อนไขท่ีดีกวา หรอื เง่ือนไขเดิม โดยคํานึงถงึ ราคาตอหนว ยตามสัญญาเดิม(ถามี) เพื่อให
บังเกดิ ผลประโยชน สูงสดุ ทสี่ ว นราชการจะไดรับ
(๕) ในกรณีเปนพัสดุที่จําเปนตองซ้ือโดยตรงจากตางประเทศ ใหเสนอ
หัวหนาสวนราชการ เพ่ือติดตอส่ังซ้ือโดยตรงจากตางประเทศหรือสืบราคาจากตางประเทศ โดยขอความ
รวมมือใหสถานเอกอัครราชทูตหรือสวนราชการอ่ืนในตางประเทศ ชวยสืบราคา คุณภาพ ตลอดจน
รายละเอียด สว นการซือ้ โดยผานองคการระหวา งประเทศใหต ิดตอ กับสาํ นักงานขององคการระหวา งประเทศ
ท่ีมีอยูในประเทศโดยตรง เวนแตกรณีไมมีสํานักงานในประเทศ ใหติดตอกับสํานักงานในตางประเทศได
โดยคณะกรรมการฯ จะตอ งดําเนินการดงั น้ี

(ก) กรณผี ขู ายในตา งประเทศมีผูประสานงานในประเทศ
คณะกรรมการฯ ติดตอกับผูประสานงานเพ่ือขอหนังสือเสนอ

ราคาจากผูขายโดยใหคณะกรรมการฯ แจงรายละเอียดของพัสดุ เงื่อนไข รวมทั้ง วิธีปฏิบัติตลอดจน กําหนด
วัน เวลา และสถานที่ ในการยื่นเสนอราคาใหผูประสานงานทราบ สําหรับรายละเอียดของเง่ือนไข อยาง

57 สาํ นกั นายกรฐั มนตรี, ระเบยี บสํานกั นายกรฐั มนตรี วา ดว ยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่ีแกไขเพมิ่ เติม ขอ ๒๗
58 สาํ นักนายกรฐั มนตรี, ระเบยี บสํานักนายกรฐั มนตรี วาดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่แี กไ ขเพมิ่ เตมิ ขอ ๒๙
59 สาํ นกั นายกรัฐมนตรี, ระเบียบสํานกั นายกรัฐมนตรี วา ดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทีแ่ กไ ขเพ่มิ เตมิ ขอ ๓๔
60 สาํ นักนายกรฐั มนตรี, ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่แี กไขเพ่ิมเตมิ ขอ ๕๗

นอยจะตองเปนไปตามที่ ทร. กําหนดไว 61 และเม่ือคณะกรรมการฯ ไดรับหนังสือเสนอราคาแลว หากมีขอ
สงสัยใหพิจารณาตรวจสอบความเช่ือถือของเอกสาร 62 เง่ือนไขตาง ๆ และความเหมาะสมของราคา หาก
เงื่อนไขในหนังสือเสนอราคาไมเปนไปตามเงื่อนไขของทางราชการ หรือคณะกรรมการฯ มีความประสงค
จะตอรองราคา ใหแ จงผูประสานงานทราบ เพ่ือเสนอใหผูขายในตางประเทศพิจารณาตอไป หลังจากท่ีไดรับ
คืนแลว ใหคณะกรรมการฯ พิจารณาจนไดขอยุติ พรอมทั้งลงนามในเอกสารทุกแผนแลวจัดทํารายงานเสนอ
ความเหน็ ตอ หัวหนาสวนราชการ(ผา นหวั หนา เจาหนาท่พี ัสดุ) เพื่อพิจารณาส่งั การตอ ไป

(ข) กรณีผูขายในตางประเทศไมมีผูประสานงานในประเทศแตใน
ประเทศผูข ายมี ผชท.ทร.

คณะกรรมการฯ จะตองจัดทํารายงาน โดยรวบรวมรายละเอียด
ของพัสดุ เงื่อนไข วิธีการปฏิบัติ ตลอดจนกําหนดวัน เวลาสถานที่ในการย่ืนซองเสนอราคา{รายละเอียดของ
เง่ือนไขเชนเดียวกับขอ (ก)} เสนอหัวหนาสวนราชการใหมีหนังสือถึง ขว.ทร. เพ่ือแจงให ผชท.ทร.
สืบราคาจากผูขาย เมื่อ สน.ผชท.ทร.ไดรับหนังสือเสนอราคาจากผูขายแลวใหสงเอกสารท้ังหมดใหหัวหนา
สวนราชการ เพ่ือสงตอใหคณะกรรมการฯ เพ่ือพิจารณาความเหมาะสมของราคา เง่ือนไขของผูขาย และเมื่อ
ไดขอยุติประการใด ใหรายงานเสนอหัวหนาสวนราชการ (ผานหัวหนาเจาหนาที่พัสดุ) เพ่ือพิจารณาส่ังการ
ตอ ไป

(ค) กรณีผูขายในตางประเทศไมมีผูประสานงานในประเทศและใน
ประเทศผขู ายไมม ี ผชท.ทร.

คณะกรรมการฯ เสนอหัวหนาสวนราชการมีหนังสือถึงบริษัท
ผูขายในตางประเทศเพือ่ ขอใหเสนอราคา โดยใหแ จงเงอื่ นไขในการจดั ซ้ือของสว นราชการไปดวย {รายละเอียด
ของเง่ือนไขเชนเดียวกับขอ (ก)} ซึ่งการดําเนินการในกรณีนี้เม่ือคณะกรรมการฯ ไดรับใบเสนอราคาจาก
บริษัทผูขายในตางประเทศแลวจะพิจารณาความเหมาะสมของคุณลักษณะเฉพาะเงื่อนไขและราคาของบริษัท
ผูขายในตางประเทศจนไดขอยุติแลวจัดทํารายงานเสนอหัวหนาสวราชการ(ผานหัวหนาเจาหนาท่ีพัสดุ) เพ่ือ
พจิ ารณาสงั่ การตอ ไป

(ง) กรณีพัสดุที่ตองการจัดซื้อมีผูขายหรือผูผลิตในตางประเทศหลาย
ราย

คณะกรรมการฯ จะตองเชิญผูผลิตหรือผูแทนจําหนายเขารวมการ
แขงขันราคาใหมากท่ีสุดเทาที่จะทําได การดําเนินการจะมีลักษณะเชนเดียวกับการดําเนินการ ตามขอ (ค)
ยกเวนในสวนของการกําหนดเงือ่ นไข ซง่ึ จะตอ งเพม่ิ เตมิ หลกั เกณฑใ นการพิจารณาคดั เลอื กไวดว ย ในกรณนี ้ี
เมื่อถึงกําหนดวันยื่นซองเสนอราคา คณะกรรมการฯ เปนผูรับซองจากผูเสนอราคา แลวจึงพิจารณา

61 กรมสง กาํ ลังบํารุงทหารเรือ, บันทึก กบ.ทร. ที่ กห ๐๕๐๖/๓๕๕ ลง ๗ เม.ย.๓๕ เรอื่ ง แกไ ขแบบฟอรม มาตรฐาน
การสืบราคาและเสนอราคาเปนภาษาองั กฤษ
62 กระทรวงการตางประเทศ, หนงั สอื กระทรวงการตา งประเทศ ท่ี กต ๐๒๑๑/๘๓๐๘๐ ลง ๑ ต.ค.๒๘
เรื่อง การตรวจสอบการรับรองเอกสารท่ีทําในตางประเทศ

ตรวจสอบคุณสมบัติของผูเสนอราคาคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุท่ีจัดซ้ือ ตลอดจนเง่ือนไขตางๆ วาเปนไป
ตามท่กี าํ หนดหรอื ไม แลว จงึ พจิ ารณาทางดานราคาตอ ไป ในกรณีทไี่ ดกาํ หนดใหผ ูเสนอราคาเสนอราคาแบบ
๒ ซอง คือ ซองขอเสนอดานเทคนิค และซองขอเสนอดานราคา ใหคณะกรรมการฯ เปดซองราคาเฉพาะ
รายทไ่ี ดผ านการพจิ ารณาขอ เสนอดานเทคนิค เพื่อพิจารณาคัดเลือกจนไดขอยุติ พรอมทั้งลงนามในเอกสาร
ทุกแผน แลว จัดทาํ รายงานเสนอหวั หนาสว นราชการ (ผา นหัวหนาเจาหนา ท่พี ัสด)ุ เพ่อื พจิ ารณาส่งั การตอ ไป

(๖) ในกรณีเปนพสั ดุที่โดยลกั ษณะของการใชง านหรือมขี อ จํากดั ทางเทคนิค
ที่จําเปนตองระบุยี่หอเปนการเฉพาะ ใหเชิญผูผลิตหรือผูแทนจําหนายพัสดุนั้นโดยตรงมาเสนอราคา หากเห็น
วาราคาทเ่ี สนอนน้ั ยังสงู กวา ราคาในทองตลาดหรือราคาท่ีคณะกรรมการฯเห็นสมควรใหตอรองราคาลงเทาที่
จะทําได

(๗) ในกรณีเปนพัสดุท่ีเปนท่ีดินหรือส่ิงกอสรางซึ่งจําเปนตองซื้อเฉพาะ
แหงใหเชิญเจาของท่ีดินโดยตรงมาเสนอราคา หากเห็นวาราคาท่ีเสนอน้ันยังสูงกวาราคาในทองตลาดหรือ
ราคาท่ีคณะกรรมการฯ เห็นสมควร ใหตอรองราคาลงเทาท่ีจะทําได สําหรับการจัดซ้ือที่ดินหรือสิ่งกอสราง
ในตางประเทศ ในกรณีจําเปนจะติดตอกับนายหนา หรือดําเนินการในทํานองเดียวกัน ตามกฎหมายหรือ
ประเพณีนยิ มทอ งถ่นิ แทนเจา ของทด่ี นิ ก็ได

(๘) ในกรณีเปนพัสดุที่ไดดําเนินการซื้อโดยวิธีอ่ืนแลวไมไดผลดี ให
สืบราคาจากผูมีอาชีพขายพัสดุน้ันโดยตรง และผูเสนอราคาในการสอบราคาหรือประกวดราคาซ่ึงถูกยกเลิก
ไป (ถามี) หากเห็นวาผูเสนอราคารายท่ีเห็นสมควรซื้อเสนอราคาสูงกวาราคาในทองตลาดหรือราคาที่
คณะกรรมการฯเหน็ สมควร ใหตอ รองราคาลงเทาทีจ่ ะทําได

๔.๑.๓ การอนุมตั ซิ ้ือ
เม่ือหัวหนาสวนราชการไดพิจารณาขอเสนอแนะจากคณะกรรมการฯ

ในแตละกรณใี ด กรณหี น่ึงแลว หากเหน็ วา สมควรดําเนนิ การตกลงซือ้ ใหอนมุ ตั ิซ้อื หรือกรณีทไ่ี มม อี าํ นาจใน
การอนมุ ตั ซิ อื้ จะตอ งใหความเห็นชอบและเสนอขออนุมตั ิจากผมู อี ํานาจ 63 ตอ ไป

๔.๑.๔ การสง่ั ซอ้ื
(๑) เม่ือผูมีอํานาจไดอนุมัติซื้อแลว ใหสวนราชการที่จัดซื้อดําเนินการ

ส่ังซื้อกับบริษัทผูขาย โดยมีหนังสือส่ังซื้อและตอบรับหรือลงนามในสัญญาซื้อแลวแตกรณี {การซ้ือโดยวิธี
พิเศษ ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แกไขเพ่ิมเติม ขอ ๒๓ (๑) , (๒)
(๓) , (๔) และ (๕) สามารถทําขอตกลงเปนหนังสือได 64 } สําหรับการดําเนินการ ดังกลาว บริษัทผูขาย
จะเปนผลู งนามเองหรือมอบอาํ นาจใหต ัวแทนหรอื ผูป ระสานงานของบริษัทลงนามก็ได

(๒) การส่ังซื้อท่ีมอบให ผชท.ทร.ไทยในตางประเทศ เปนผูดําเนินการ
ควรกระทํา เมื่อมีความจําเปนและมีวงเงินจัดซื้อไมมากนัก หรือพัสดุท่ีสั่งซื้อมีคุณภาพ/คุณสมบัติเปนที่

63 กระทรวงกลาโหม, คําสงั่ กห (เฉพาะ) ท่ี ๓๙/๓๙ เรือ่ ง การพัสดุ ลง ๕ มี.ค.๓๙
64 สาํ นักนายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรีวา ดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทีแ่ กไขเพม่ิ เตมิ ขอ ๑๓๓

ยอมรับ และไมตองตรวจสอบอีก เมื่อ ผชท.ทร.ไดดําเนินการสั่งซ้ือจนไดรับเอกสารตอบรับหรือลงนาม
ในสัญญาแลว ใหสงสําเนาเอกสารที่เก่ียวกับการดําเนินงานท้ังหมดใหสวนราชการที่เปนเจาของเร่ือง
ดําเนนิ การตอ ไป

(๓) การติดตอสั่งซื้อควรติดตอโดยตรงกับผูผลิตหรือผูขายหลีกเลี่ยง
การส่ังซ้ือกับนายหนาซ้ือขาย (Broker) และควรมีการตรวจสอบความเช่ือถือของบริษัทผูขายกอน ท่ีจะมี
หนงั สอื สั่งซือ้ หรอื ลงนามในสญั ญาซือ้ แลว แตกรณี

(๔) ในกรณีที่หนังสือตอบรับการสั่งซื้อของผูขายมีเง่ือนไขไมตรงกับ
หนังสอื ส่ังซอ้ื หากสวนราชการท่จี ัดซอื้ พิจารณาแลว เหน็ สมควรยอมรับได ใหเสนอขอแกไขเง่ือนไขในเร่ือง
ท่ีไดอนุมัติซ้ือแลว หากไมเห็นดวยกับเง่ือนไขใหมตามหนังสือตอบรับการสั่งซื้อ ใหสวนราชการที่จัดซื้อ
ติดตอผูขายใหมีหนังสือตอบรับการสั่งซ้ือตามเงื่อนไขเดิมใหเรียบรอยเสียกอน แลวจึงดําเนินการตาม
เง่ือนไขการชําระเงิน ตอไป

๔.๑.๕ การดาํ เนนิ การตามเง่ือนไขและวธิ กี ารชําระเงิน
ในการจัดซ้ือโดยวิธีพิเศษ กรณีเปนพัสดุที่จําเปนตองซื้อโดยตรงจาก

ตา งประเทศ 65 การดาํ เนินการตามเงอ่ื นไขและวิธีการชําระเงินจะเร่ิมปฏิบัติหลังจากสวนราชการจัดซื้อไดทํา
สญั ญากบั ผูข ายหรือไดร บั การตอบรับการสง่ั ซอ้ื จากผูขายแลว โดยมวี ิธีปฏบิ ัตดิ ังน้ี

(๑) กรณีไมมีการชําระเงินลวงหนาใหเปดเลตเตอรออฟเครดิต ๑๐๐%
โดยใหสวนราชการท่ีจัดซ้ือแจง กง.ทร. ใหเปดเลตเตอรออฟเครดิต โดยใหแนบเอกสารประกอบการขอเปด
เลตเตอรอ อฟเครดิตดังตอไปน้ี

- สําเนาอนมุ ัติซ้ือ
- สําเนาสัญญาหรือสําเนาหนังสือส่ังซื้อ และหนังสือตอบรับการ
ส่งั ซ้อื จากผูขาย รวมทง้ั เอกสารอนื่ ๆ ท่เี กย่ี วของ
- สําเนาใบเสนอราคา และเอกสารอืน่ ๆ ทีเ่ กย่ี วของกบั ใบเสนอราคา
(๒) กรณีมีการชําระเงินลวงหนา สวนท่ีเหลือเปดเลตเตอรออฟเครดิต ให
สวนราชการที่จัดซ้อื ดาํ เนนิ การขอเบิกเงินลวงหนา และขอเปด เลตเตอรออฟเครดิตในสวนที่เหลือโดยปฏิบัติ
ดังน้ี
(ก) การขอเบิกเงินลว งหนา เมื่อสวนราชการท่ีจัดซื้อไดรับหนังสือคํ้า
ประกัน การปฏิบัติตามสัญญา ( เฉพาะกรณีที่มีระบุไวในสัญญา/หนังสือส่ังซ้ือ ) หนังสือคํ้าประกันการ
จายเงินลวงหนาของธนาคารทหารไทยจํากัด(มหาชน) หรือธนาคารพาณิชยในประเทศไทย และหนังสือ
แจงหน้ีจากผูขายแลว ใหต้ังฎีกาเบิกเงินลวงหนาจากกระทรวงการคลัง (ผาน กง.ทร.) โดยมีเอกสารแนบ
ประกอบฎกี า ดังน้ี

- สําเนาอนมุ ตั ิซอ้ื

65 สาํ นกั นายกรฐั มนตรี, ระเบียบสาํ นักนายกรฐั มนตรีวา ดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แกไขเพม่ิ เตมิ ขอ ๒๓ (๕)

- สําเนาสัญญาหรือสําเนาหนังสือส่ังซ้ือและหนังสือตอบรับการ
ส่งั ซอื้ จากผขู าย

- สําเนาหนงั สอื ค้าํ ประกันการรับเงินลว งหนาของธนาคารทหารไทย
จํากัด (มหาชน) หรือธนาคารพาณชิ ยในประเทศไทย

- สํานาหนังสือคํ้าประกันการปฏิบัติตามสัญญาของธนาคารทหาร
ไทยจํากัด (มหาชน) หรอื ธนาคารพาณชิ ยใ นประเทศไทย ( เฉพาะกรณที ี่ระบุไวในสัญญา/หนังสือสั่งซือ้ )

- หนงั สอื แจง หนีข้ อรับเงนิ ลว งหนา จากผขู าย
- สําเนาเอกสารอื่นๆ ที่สัญญา/หนังสือส่ังซื้อระบุใหย่ืนในการ
ขอรบั เงินลวงหนา เชน ใบอนุญาตสงออก เปนตน
เม่ือสวนราชการท่ีจัดซื้อไดรับเงินท่ีเบิกแลวใหนําสง กง.ทร. เพ่ือ
สงใหกับผูขายตอไป การสงเงินลวงหนาจะดําเนินการได ๒ กรณี คือ โดยการโอนเงินทางโทรเลข
( TELEGRAPHIC TRANSFER ) กง.ทร.จะแจงใหธนาคารทหารไทย จํากัด(มหาชน) ดําเนินการโอนเงินไป
เขาบัญชีเงินฝากของผูขายที่ธนาคารในตางประเทศ ( ผูขายตองแจงเลขท่ีบัญชี ช่ือธนาคารและที่อยูให
กง.ทร.ทราบ ) และอีกวิธีหน่ึงคือโดยการซ้ือดราฟต กง.ทร.จะซื้อดราฟต จากธนาคารทหารไทย จํากัด
(มหาชน) แลวสง ให สน.ผชท.ทร. หรือหนวยจัดซือ้ เพอ่ื สงตอใหผ ขู ายอีกทอดหน่ึง
(ข) การขอเปดเลตเตอรออฟเครดิต เพื่อชําระเงินสวนท่ีเหลือ
สวนราชการทีจ่ ัดซ้อื แจงให กง.ทร. เปด เลตเตอรอ อฟเครดติ โดยมีวธิ ีปฏบิ ัติ เชน เดยี วกับขอ (๑) ซ่ึงไมตอง
รอการเบกิ เงินลวงหนา
(๓) การเบิกจายเงินตามเลตเตอรออฟเครดิต หลังจาก กง.ทร.ขอใหธนาคาร
ทหารไทยจํากัด(มหาชน)เปด เลตเตอรออฟเครดติ แลว ใหส ว นราชการจัดซือ้ ดาํ เนินการเบกิ จายตามกรณดี ังนี้
(ก) เมื่อธนาคารฯ เรียกเก็บเงินคาธรรมเนียมเปดเลตเตอรออฟเครดิต
และคาธรรมเนียมธนาคารอ่ืนๆ กง.ทร.จะสงหนังสือแจงหนี้ของธนาคารฯ ใหสวนราชการท่ีจัดซื้อดําเนินการ
ขออนมุ ตั ิ งป. และตัง้ ฎีกาเบิกเงินจากกระทรวงการคลงั ผา น กง.ทร. โดยมเี อกสารประกอบฎกี า ดงั น้ี
- สาํ เนาอนุมัตซิ ือ้
- อนมุ ตั ิ งป. คา ธรรมเนียม ทีข่ อเบิก
- หนงั สือแจงหน้ขี องธนาคารฯ
(ข) กรณีเลตเตอรออฟเครดิตกําหนดเง่ือนไขใหจายเงิน หลังจากเมื่อ
ผขู ายสงของ ลงเรือ/ข้ึนเครื่องบิน เม่ือธนาคารฯ สงใบทวงหน้ีเรียกเก็บเงินคาสิ่งของที่สั่งซ้ือ พรอมกับสําเนา
เอกสารการสงของลงเรือหรือข้ึนเครื่องบิน มายัง กง.ทร. สวนราชการที่จัดซื้อตองชําระเงินใหธนาคาร ฯ
ภายใน ๑๕ วัน หากชําระเงินไมทันกําหนด ธนาคารจะเรียกเก็บดอกเบี้ยนับแตวันท่ีธนาคารในตางประเทศ
หักบัญชีเงินฝากของธนาคารทหารไทย จํากัด(มหาชน) ไปจนถึงวันท่ี ที่ ทร. ชําระเงินใหกับธนาคารฯ ซึ่ง
การเบกิ เงนิ คา ดอกเบี้ยกรณีดังกลาวน้ี กระทรวงการคลังไดกําหนดใหสอบสวนเจาหนาท่ี เพื่อหาตัวผูรับผิด

ทางแพง นําเงินมาชดใชใหทางราชการ ดังนั้น เมื่อสวนราชการท่ีจัดซ้ือไดรับหนังสือทวงหนี้ของธนาคารฯ
จาก กง.ทร. ใหเ รง รัดดาํ เนินการตง้ั ฎีกาเบิกเงินมายัง กง.ทร. โดยเรว็ พรอ มทั้งแนบเอกสารประกอบฎกี าดงั น้ี

- สาํ เนาอนุมตั ซิ ้อื
- สาํ เนาสญั ญา หรือสาํ เนาหนังสอื สง่ั ซือ้ และหนังสอื ตอบรับ
- การส่งั ซอื้ จากบรษิ ัทผูขาย
- หนังสอื ทวงหนขี้ องธนาคาร
- สําเนาเอกสารแสดงการสงของลงเรือ/ข้ึนเครื่องบินประกอบดวย
INVOICE, BILL OF LADING/AIRWAY BILL, PACKING LIST และ INSURANCE
POLICY/CERTIFICATE ( กรณจี ดั ซอ้ื ในราคา C.I.F. หรอื C.I.P. )
(ค) กรณีเลตเตอรออฟเครดิตกําหนดเง่ือนไขการจายเงิน เมื่อ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ไดตรวจรับสิ่งของในประเทศไทยเรียบรอยแลว ธนาคารฯ จะสงหนังสือแจงหนี้
เรียกเก็บเงินพรอมกับแนบ INVOICE ของผูขาย สวนราชการท่ีจัดซื้อ จะตองเรงรัดดําเนินการตรวจรับ
สิ่งของทีซ่ อ้ื ใหเสรจ็ ส้ิน และดาํ เนินการตัง้ ฎกี าเบิกเงนิ มายงั กง.ทร. โดยแนบเอกสารประกอบฎกี า ดังน้ี
- สําเนาอนมุ ตั ิซอ้ื
- สําเนาสญั ญา หรือสําเนาหนงั สอื สง่ั ซอ้ื และหนังสือตอบรับ
- การสั่งซื้อจากบริษทั ผขู าย
- หนังสอื แจงหน้ีของธนาคาร ฯ และ INVOICE ของผูขาย
- รายงานผลการตรวจรบั ของคณะกรรมการฯตรวจรับของ ทร.
หากผูขายสงของเกินกําหนด และสัญญา/หนังสือสั่งซื้อระบุ
เ ง่ือนไขการปรับใหหักคาปรับในฎีกาดวยและถา ทร.ชําระเงินใหธนาคารทหารไทย จํากัด ไมทันกําหนด
ทําใหนาคาร ฯ ถกู หักบญั ชไี ปกอน ธนาคารฯ จะคดิ ดอกเบย้ี กับทางราชการเชนเดยี วกบั ขอ (ข)
(ง) กรณีสัญญา/หนังสือสั่งซื้อระบุใหผูขายยื่นหนังสือทวงหน้ีจําลอง
(PROFORMA INVOICE) เรียกเก็บเงินลวงหนามายงั ทร.ไมน อ ยกวา ๓๐ วัน หรือ ๔๕ วัน ไมวาการจายเงิน
ในงวดน้ันจะมีเง่ือนไขจายเงิน เมื่อสงของลงเรือ/ขึ้นเคร่ืองบินหรือจายเงินตามผลงานท่ีระบุไวในสัญญา/
หนังสือสั่งซ้ือ ใหสวนราชการท่ีจัดซื้อดําเนินการตั้งฎีกาเบิกเงินมายัง กง.ทร.โดยแนบเอกสารประกอบฎีกา
ดงั นี้
- สําเนาอนุมัตซิ ้ือ
- สําเนาสัญญา หรือสาํ เนาหนังสอื สัง่ ซอื้ และหนงั สือตอบรบั
- การสง่ั ซอ้ื จากบริษัทผขู าย
- หนังสือทวงหน้ีของธนาคารฯ และหนังสือทวงหนี้จําลอง
(PROFORMA INVOICE) ของผูขาย
กรณีน้ี หากธนาคารฯ ถูกหักบัญชีไปกอนที่จะไดรับการชําระเงิน
จาก ทร. ธนาคารฯ จะคดิ ดอกเบีย้ จากทางราชการ เชน เดยี วกับขอ (ข)

(จ) เม่ือสวนราชการจัดซ้ือไดรับเงินท่ีเบิกตามฎีกาแลว ใหนําสง กง.ทร.
เปนเช็คส่ังจายธนาคารทหารไทย จํากัด(มหาชน) กง.ทร.จะชําระเงินดังกลาวใหธนาคารฯ และรับตนฉบับ
เอกสารสงของจากธนาคารฯ นําสง ให พธ.ทร. ดําเนนิ การออกของตอ ไป

๔.๑.๖ การติดตามสถานะการจดั ซื้อและการดําเนนิ การตามเงอื่ นไขการปรับ
(๑) เมื่อไดสั่งซื้อ หรือลงนามในสัญญาแลว หนวยราชการเจาของเรื่องตอง

คอยติดตามสอบถามความกาวหนาในการซื้อตลอดเวลาและเมื่อใกลถึงกําหนดสงมอบของตาม L/C หาก
สว นราชการท่ีจดั ซอ้ื ไมไ ดรับการแจง สง ของจากผูข าย ใหติดตอ ผูประสานงานหรือ สน.ผชท.ทร. หรือผูขาย
ตามแตกรณี เพ่ือเรงรัดใหผูขายสงของตามกําหนดเวลา หากผูขายเพิกเฉย เมื่อครบกําหนดเวลาสงของให
เสนอผูส ่งั ซือ้ คราวน้ันพิจารณาวา จะยกเลิกการส่งั ซื้อ หรอื ดําเนินการอยางไรตอไป

(๒) เม่ือครบกําหนดสงของตามสัญญา หรือ L/C ใหสวนราชการท่ีจัดซ้ือ
แจงสงวนสิทธิการปรับกับผูขาย การแจงสงวนสิทธิน้ีตองดําเนินการภายใน ๓ วัน นับตั้งแตวันครบกําหนด
สงมอบของ

(๓) หลังจากครบกําหนดสงของ หากผูขายไมสามารถปฏิบัติตามสัญญา
หรือขอตกลงไดครบถวนและจะตองมีการปรับตามสัญญาหรือขอตกลงนั้น หากจํานวนเงินคาปรับจะเกิน
รอยละสิบของวงเงินคาพัสดุ ใหสวนราชการที่จัดซ้ือพิจารณาดําเนินการบอกเลิกสัญญา หรือขอตกลง
(เฉพาะในสวนท่ียังสงมอบไมครบถวน) เวนแตผูขายจะยินยอมเสียคาปรับใหทางราชการ โดยไมมีเง่ือนไข
ใด ๆ ท้ังสนิ้ ใหห ัวหนา สวนราชการพิจารณาผอนปรนการบอกเลกิ สญั ญาไดเ ทาท่ีจาํ เปน

(๔) กรณีการชําระเงิน เม่ือมีการตรวจรับพัสดุ โดยการโอนทางโทรเลข หรือ
โดยการซอ้ื ดราฟต เม่อื ผูขายสงสง่ิ ของทั้งหมดหรือบางสวนใหสวนราชการท่ีจัดซื้อและไดมีการตรวจรับพัสดุ
เรียบรอยแลว ใหสวนราชการท่ีจัดซ้ือดําเนินการจัดสงรายงานการตรวจรับพรอมเอกสารแนบประกอบฎีกา
ดังนี้

(ก) สาํ เนาอนมุ ัตซิ อ้ื
(ข) สําเนาสัญญาหรือสําเนาหนังสือส่ังซ้ือและหนังสือตอบรับการ
สั่งซือ้ จากผขู าย รวมท้งั เอกสารอ่นื ๆ ที่เกยี่ วขอ ง
(ค) สําเนาใบเสนอราคาและเอกสารท่เี ก่ยี วขอ งกับใบเสนอราคา
(ง) ใบแจง หนข้ี องผูขาย (INVOICE)
เมื่อสวนราชการที่จัดซื้อไดรับเงินที่เบิกแลว ใหนําสง กง.ทร. เพื่อโอน
เงินเขาบัญชีเงินของผูขายท่ีธนาคารในตางประเทศโดยผานธนาคารทหารไทย จํากัด(มหาชน) สวนวิธีการ
ชําระเงินโดยดราฟต กง.ทร.จะซ้ือดราฟตจากธนาคารทหารไทย จํากัด(มหาชน) ในนามผูขาย แลวสงให
สน.ผชท.ทร. หรอื หนวยจดั ซื้อ เพือ่ สงตอ ใหผ ูขายตอไป

๔.๒ การจัดจางโดยวิธีพิเศษ 66 ไดแก การจา งคร้งั หนง่ึ ซ่งึ มรี าคาเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท ให
กระทาํ ไดเฉพาะกรณีหนงึ่ กรณีใด ดังตอไปนี้

(๑) เปนงานท่ีจะตองจา งชางผูม ีฝม อื โดยเฉพาะหรอื ผมู ีความชาํ นาญเปนพเิ ศษ
(๒) เปนงานจางซอมพัสดุท่ีจําเปนตองถอดตรวจใหทราบความชํารุดเสียหาย
เสียกอ นจึงจะประมาณการคาซอมได เชน งานจางซอมเครื่องจักร เคร่ืองมือกล เครื่องยนต เคร่ืองไฟฟา หรือ
เครอื่ งอิเล็กทรอนิกส เปนตน
(๓) เปน งานตอ งกระทาํ โดยเรงดวน หากลา ชาอาจจะเสียหายแกราชการ
(๔) เปนงานท่ีตอ งปกปด เปนความลบั ของทางราชการ
(๕) เปนงานที่จําเปนตองการจางเพิ่มในสถานการณท่ีจําเปนหรือเรงดวน หรือ
เพอื่ ประโยชนของสวนราชการ และจําเปน ตองจา งเพ่ิม ( Repeat Order )
(๖) เปน งานทไี่ ดด าํ เนินการจา งโดยวธิ ีอน่ื แลว ไมไดผลดี
และ ในการจดั จางโดยวิธีพิเศษ โดยทัว่ ไปมีข้ันตอนการปฏบิ ตั ิ (ตามแผนภาพที่ ๕) ดงั น้ี

๔.๒.๑ การจัดทํารายงานขอจาง 67 เจาหนาที่พัสดุจัดทํารายงานขอจาง
เสนอหัวหนาสวนราชการตามรายการที่กําหนดไว เพ่ือใหความเห็นชอบ68 พรอมกับแตงตั้งคณะกรรมการ
จัดจางโดยวิธีพิเศษ 69

๔.๒.๒ การดําเนินการของคณะกรรมการจัดจา งโดยวธิ ีพเิ ศษ 70
เม่ือหัวหนาสวนราชการไดใหความเห็นชอบใหจัดจางโดยวิธี

พิเศษ กรณีใด กรณีหนึ่ง และแตงตั้งคณะกรรมการจัดจางโดยวิธีพิเศษ แลว ใหคณะกรรมการฯ ดําเนินการ
ดงั ตอไปน้ี

(๑) การจา งโดยวิธีพิเศษ ตามขอ (๑), (๒), (๓) และ (๔) ใหเชิญผูมี
อาชีพรับจางทํางานนั้นโดยตรงมาเสนอราคา หากเห็นวาราคาที่เสนอน้ันยังสูงกวาราคาในทองถิ่น หรือราคา
ท่ปี ระมาณไดห รอื ราคาท่ีคณะกรรมการเห็นสมควรใหต อรองราคาลงเทาทจ่ี ะทาํ ได

(๒) การจางโดยวิธีพิเศษ ตามขอ (๕) ใหเจรจากับผูรับจาง
รายเดมิ ตามสญั ญาหรอื ขอ ตกลง ซ่งึ ยงั ไมส้ินสุดระยะเวลาการสง มอบเพื่อขอใหม กี ารจา งตามรายละเอียดและ
ราคาทต่ี ่ํากวาหรอื ราคาเดิม โดยคาํ นึงถึงราคาตอหนวยตามสัญญาเดมิ ( ถา มี ) เพอ่ื ใหบงั เกดิ ผลประโยชนส งู สดุ
ท่สี ว นราชการจะไดร บั

66 สาํ นกั นายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสํานกั นายกรัฐมนตรวี า ดว ยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทแี่ กไขเพ่มิ เติม ขอ ๒๔
67 สํานกั นายกรฐั มนตรี, ระเบียบสาํ นกั นายกรัฐมนตรีวา ดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทแ่ี กไขเพมิ่ เตมิ ขอ ๒๗
68 สาํ นกั นายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรวี า ดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทแ่ี กไขเพ่ิมเตมิ ขอ ๒๙
69 สาํ นกั นายกรฐั มนตรี, ระเบยี บสํานักนายกรฐั มนตรีวาดว ยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แกไขเพม่ิ เติม ขอ ๓๔
70 สาํ นกั นายกรฐั มนตรี, ระเบยี บสาํ นกั นายกรัฐมนตรีวาดว ยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่ีแกไขเพมิ่ เติม ขอ ๕๘

(๓) การจางโดยวิธีพิเศษตามขอ (๖) กรณีเปนพัสดุท่ีได
ดําเนินการจางโดยวิธีอื่น แลวไมไดผลดี ใหสืบราคาจากผูมีอาชีพรับจางทํางานน้ันโดยตรง และผูเสนอราคา
ในการสอบราคาหรือประกวดราคา ซง่ึ ถูกยกเลิกไป (ถา ม)ี หากเหน็ วาผูเสนอราคารายที่เห็นสมควรจางเสนอ
ราคาสูงกวาราคาในทองถ่ิน หรือราคาท่ีประมาณได หรือราคาที่คณะกรรมการเห็นควรใหตอรองราคาลง
เทา ท่จี ะทําได

๔.๒.๓ รายละเอียดการดําเนินการของคณะกรรมการจัดจางโดยวิธีพิเศษ
ในกรณขี องการจา ง ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับท่ีแกไขเพิ่มเติม
ขอ ๒๔ (๑), (๒), (๓) และ (๔) คณะกรรมการฯ จดั ทาํ หนงั สือเชิญชวนใหเ สนอราคา โดยมีรายละเอยี ดดังนี้

๔.๒.๓.๑ ขอความท่ีควรกําหนดไวในหนังสือเชิญชวนใหเสนอ
ราคา อยางนอยตอ งมรี ายละเอียดดังตอ ไปนี้

(๑) รายละเอียดความตองการและเง่ือนไขของงานที่
ตองการจา ง

(๒) สถานท่ีใหยื่นเอกสารและเสนอราคาและเวลา
ปดการรับซองเอกสารในกรณีที่งานมีความซับซอนหรือจะตองมีการชี้แจงรายละเอียดหรือการชี้สถานท่ีให
กําหนดวัน เวลา และสถานท่ใี นการชแ้ี จงรายละเอียดหรือการช้ีสถานทีไ่ วด วย

(๓) เอกสารหลักฐานตาง ๆ ที่ทางราชการตองการ
ใชในการพจิ ารณา เชน หนังสือ รับรองการจดทะเบยี นนิตบิ ุคคล

(๔) กําหนดเวลาแลวเสร็จของาน และสถานท่ี
สง มอบงาน

(๕) ราคารวมหรือยกเวนคาอากรทางศุลกากร
(๖) กําหนด วิธีการ ขั้นตอน และหลักเกณฑที่เปน
สาระสาํ คญั ในการพจิ ารณาคัดเลือก
(๗) หนังสืออนุญาตใหทํา/ซอมทํา/รับรอง
ความสามารถจากบริษทั ผูผลติ เพ่อื พิจารณาความนาเชอ่ื ถอื
(๘) เงื่อนไขการจายเงินของทางราชการ ( อาจ
กําหนดใหมีการเจรจาปรับแตงได เพื่อความออนตัวในข้ันเจรจารางสัญญา ทั้งนี้ ควรอยูในขอบเขตของ
แผนการดําเนนิ การของผเู สนอราคา )
(๙) อัตราคาปรับ71 และการเรียกรองคาเสียหายหาก
ผรู ับจางกรณี ผดิ เงอื่ นไข ตามขอตกลงหรือสัญญา
(๑๐) ระยะเวลาการรับประกนั ผลงาน
(๑๑) การบรรจุหีบหอ

71 สาํ นกั นายกรฐั มนตรี, ระเบยี บสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่ีแกไขเพ่มิ เติม ขอ ๑๓๔

(๑๒) การขนสง 72
(๑๓) กําหนดวิธีการผูกพันเปนสัญญา หรือเปน
หนงั สอื ขอตกลง
(๑๔) เงื่อนไข และอัตราสวนการทําการคาตาง
ตอบแทน ตามมติของคณะกรรมการการคาตางตอบแทน 73 ในประกาศเชิญชวนเสนองานหรือเสนอราคา
โดยกําหนดหนังสือยอมรับรองการทําการคาตางตอบแทน ( Form of Letter of Undertaking for Counter
trade :LOU ) เปนเอกสารหน่ึงในการย่ืนเสนองานหรือเสนอราคา เพ่ือประกอบการพิจารณาคุณสมบัติของผู
เสนองานหรอื เสนอราคา
(๑๕) การจางโดยวิธีพิเศษกรณีเปนงานจางซอม
พัสดุท่ีจําเปนตองถอดตรวจใหทราบความชํารุดเสียหายเสียกอน จึงจะประมาณคาซอมได ตามขอ (๒) ให
ระบเุ งือ่ นไขเกยี่ วกับการประกอบช้ินสวนยทุ ธภัณฑท ่ีถอดตรวจใหอ ยสู ภาพเดมิ และการรับผิดชอบคาใชจาย
ในการขนสง กรณีท่ไี มมีการตกลงจา ง ตามที่ ทร. กาํ หนด74
(๑๖) ขอกําหนดการรับรองเอกสารท่ีทําใน
ตางประเทศ ซ่ึงผูเสนอราคานํามาแสดงเปนหลักฐานเพื่อประกอบการเสนอราคา ซึ่งเก่ียวของกับการ
ดําเนินการจางของทางราชการ ผูที่ทําเอกสารหรือผูลงลายมือช่ือในเอกสาร จะตองเปนผูมีอํานาจในการ
ลงลายมือช่ือในเอกสารนั้นในนามของหนวยงานหรือนิติบุคคลหรือโดยสวนตัวแลวแตกรณี และเอกสาร
ดังกลาวจะตอ งไดร ับการตรวจสอบ และรบั รองจากเจา หนา ที่ ตามขั้นตอนของทางราชการ 75

เสนอราคาจะประกอบดวย ๔.๒.๓.๒ เอกสารแนบทาย เอกสารประกอบหนังสือเชิญชวนให

(๑) เอกสารทที่ างราชการจะจัดสง ให (ถา ม)ี
(๒) แบบใบเสนอราคา (ถา ม)ี
(๓) แบบหลักประกันการรบั เงินลวงหนา 76 (ถามี)

72 กระทรวงคมนาคม, ประกาศ เรือ่ ง กําหนดเสนทางเดินเรอื ทผ่ี สู ั่งหรือนําของมาจากตางประเทศ ตองบรรทกุ ของน้ันโดย
เรอื ไทย สาํ หรบั กรณีที่ราชการ องคก รของรัฐ หนวยงานของรฐั หรอื รัฐวิสาหกจิ เปนผสู ่งั หรือนาํ เขา ประกาศ ณ วันที่ ๑๐
สิงหาคม พ.ศ.๒๕๓๘

73 สาํ นักนายกรฐั มนตรี, ระเบียบสาํ นกั นายกรฐั มนตรีวาดว ยการดําเนินการการคา ตา งตอบแทน พ.ศ.๒๕๔๓
74 กองทัพเรอื , คาํ สงั่ ทร. (เฉพาะ) ท่ี ๒๖๕/๒๕๔๐ ลง ๙ ธ.ค.๔๐
75 กระทรวงการตางประเทศ, หนงั สือ ท่ี กต ๐๒๑๑/๘๓๐๔๐ เรอ่ื ง การตรวจรับรองเอกสารท่ีทําในตา งประเทศ
ลง ๑ ต.ค.๒๕๒๘
76 สํานักนายกรฐั มนตร,ี ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรวี าดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่ีแกไขเพิ่มเติม ขอ ๖๘(๔),(๕)

(๔) กรณกี าํ หนดเงื่อนไขการผกู พันเปนการทาํ
สัญญา จะตองมเี อกสาร ไดแก แบบสัญญาจา ง , แบบหนงั สือคํา้ ประกัน , หลักประกันสัญญา 77

(๕) แบบหนังสือรับรองการทําการคาตางตอบแทน
( Form of Letter of Undertaking for Counter trade ) กรณีวงเงนิ เกนิ ๓๐๐ ลานบาท ข้ึนไป

๔.๒.๔ การพจิ ารณาของคณะกรรมการฯ ใหพิจารณาคัดเลือกผูเสนอราคา
ตามหลักเกณฑทกี่ ําหนดไว ในหนังสอื เชญิ ชวนใหเสนอราคา หรือประกาศเชญิ ชวนใหเสนอรายละเอียดของ
งานตามลาํ ดบั ดงั นี้

๔.๒.๔.๑ ตรวจสอบความถูกตอง ครบถวนของเอกสารหลักฐาน
และคุณสมบัติของผเู สนอราคา

๔.๒.๔.๒ ตรวจสอบ เง่ือนไขผูเสนอราคา เปนไปตามหลักเกณฑท่ี
กําหนดไวใน หนงั สือเชญิ ชวนใหเ สนอราคา หรือประกาศเชิญชวนใหเ สนอรายละเอียดของงาน หรอื ไม

๔.๒.๔.๓ แผนงานและรายละเอียดเนื้องานของผูเสนอราคา
เปนไปตามที่ทางราชการกําหนดในหนังสือเชิญชวนใหเสนอราคา หรือ ประกาศเชิญชวนใหเสนอ
รายละเอยี ดของงานหรือไม

๔.๒.๔.๔ ตรวจสอบ และพจิ ารณาราคาของผเู สนอ
๔.๒.๔.๕ ใหตอรองราคาใหถึงท่ีสุด เพ่ือใหเกิดประโยชนกับ
ทางราชการ ถงึ แมวาจะอยูในวงเงินราคาประมาณของทางราชการก็ตาม
๔.๒.๕ รายละเอียดการดําเนินการของคณะกรรมการจัดจางโดยวิธีพิเศษ
ในกรณีเปนงานที่จําเปนตองการจางเพ่ิมในสถานการณที่จําเปนหรือเรงดวน หรือเพ่ือประโยชนของ
สวนราชการ และจําเปนตองจางเพิ่ม
๔.๒.๕.๑ ใหคณะกรรมการจัดจาง ฯ เจรจากับผูรับจางรายเดิม
โดยมเี งอื่ นไขดังน้ี

(๑) เงื่อนไขเปนไปตามสัญญา หรือขอตกลงท่ียังไม
สน้ิ สุดระยะเวลาการสง มอบ เพ่ือขอให มกี ารจา งตามรายละเอียดของสญั ญาเดิม

(๒)ราคาท่ตี ํา่ กวาหรือราคาเดิมโดยคํานึงถึงราคาตอหนวย
ตามสญั ญาเดิม(ถา ม)ี

(๓) เกิดประโยชนส ูงสุดกับสว นราชการ
๔.๒.๕.๒ คณะกรรมการรายงานผลการพิจารณา และความเห็น
พรอ มเอกสารท่รี บั ไวท ้งั หมด เสนอ หน.สว นราชการ เพือ่ ส่ังการ ผาน หน.เจาหนาท่พี สั ดุ
๔.๒.๖ รายละเอียดการดําเนินการของคณะกรรมการจัดจางโดยวิธีพิเศษ
ในกรณีการจางโดยวิธอี ่นื แลวไมไ ดผ ลดี

77 สาํ นักนายกรฐั มนตรี, ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรวี า ดว ยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แกไขเพ่มิ เติม ขอ ๑๔๒

(๑) ใหคณะกรรมการจัดจาง ฯ สืบราคาจากผูมีอาชีพรับจางทํางานนั้น
โดยตรงและจากผูเสนอราคาในการสอบราคา หรือประกวดราคาซ่ึงถูกยกเลิกไป(ถามี) ท้ังน้ี จะตองดําเนินการตาม
ข้ันตอนการจดั จาง ฯ [ การจดั จางโดยวธิ พี ิเศษ ตามระเบยี บสาํ นักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ ขอ ๒๔ (๑),
(๒), (๓) และ(๔) ] ดว ย

(๒) คดั เลือกผเู สนอราคาทส่ี มควรจา ง
(๓) ใหตอรองราคาเทาท่ีจะทําได หากเห็นวาผูเสนอราคา
รายที่สมควรจางเสนอราคาสูงกวาราคาในทองถิ่นหรือราคาท่ีประมาณได หรือราคาที่คณะกรรมการจัดจางฯ
เห็นสมควร
(๔) คณะกรรมการฯ รายงานผลการพิจารณาและความเห็นพรอม
เอกสารท่รี บั ไวทัง้ หมด
๔.๒.๗ การรายงานผลของคณะกรรมการฯ ใหรายงานผลการพิจารณาและ
ความเหน็ พรอ มเอกสาร ที่ไดรับไวทั้งหมดตอหัวหนาสวนราชการเพื่อพิจารณาอนุมัติ โดยเสนอผานหัวหนา
เจา หนา ท่ีพสั ดุ 78
๔.๒.๘ การอนุมัติ หัวหนาสวนราชการอนุมัติ / ไมอนุมัติ โดยใหเปนไป
ตามอาํ นาจส่ังจางตามวงเงินท่ี กห. กําหนดไว 79
การดําเนินการตามเง่ือนไขการชําระเงนิ เชนเดียวกบั การจัดซ้ือโดย
วิธพี ิเศษ (หนา ๓๔ ของ อทร.๔๐๐๕)
๕. การจัดซอ้ื /จา งโดยวิธกี รณีพิเศษ
๕.๑ การจัดซ้ือ/จาง โดยวิธีกรณีพิเศษ ไดแก การซ้ือหรือการจางจากสวนราชการ
หนวยงานตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการสวนทองถ่ิน หนวยงานอื่นซึ่งมีกฎหมายบัญญัติใหมี
ฐานะเปนราชการบริหารสวนทองถ่ิน หรือรัฐวิสาหกิจ ในกรณีเปนผูผลิตพัสดุหรือทํางานจางน้ันเอง และ
นายกรัฐมนตรีอนุมัติใหซื้อหรือจาง หรือมีกฎหมายหรือมติคณะรัฐมนตรีกําหนดใหซื้อหรือจาง และกรณีนี้
ใหรวมถึงหนวยงานอ่ืนท่ีมีกฎหมายหรือมติคณะรัฐมนตรีกําหนดดวย80 ซึ่งหัวหนาสวนราชการสามารถ
สง่ั ซือ้ สั่งจางโดยไมจาํ กดั วงเงนิ แตตองไมเกนิ งบประมาณทไี่ ดรับ81
๕.๒ การดําเนนิ การจดั ซือ้ /จา ง โดยวธิ กี รณพี ิเศษ ใหหัวหนา สว นราชการสง่ั ซ้อื หรือสง่ั จา ง
จากผูขายหรือผูรับจางดังกลาวในขางตนไดโดยตรง เวนแตการซื้อหรือการจางครั้งหน่ึงซึ่งมีราคาไมเกิน
๑๐๐,๐๐๐.- บาท ใหหัวหนาเจาหนาที่พัสดุจัดซ้ือ/จางได ภายในวงเงินท่ีไดรับความเห็นชอบจากหัวหนา
สวนราชการ 82 โดยมขี นั้ ตอนการดาํ เนินการ (ตามแผนภาพท่ี ๖) ดงั น้ี

78 สํานักนายกรฐั มนตร,ี ระเบยี บสํานักนายกรฐั มนตรวี า ดว ยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่แี กไขเพ่ิมเติม ขอ ๕๘ วรรคสอง
79 กระทรวงกลาโหม, คาํ สั่ง กห (เฉพาะ) ท่ี ๓๙/๓๙ เร่ือง การพัสดุ ลง ๕ มี.ค.๓๙
80 สาํ นักนายกรฐั มนตรี, ระเบยี บสํานกั นายกรัฐมนตรวี าดวยการพสั ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทแ่ี กไ ขเพิม่ เตมิ ขอ ๒๖
81 กระทรวงกลาโหม, คําส่งั กห (เฉพาะ) ท่ี ๓๙/๓๙ เรื่อง การพสั ดุ ลง ๕ มี.ค.๓๙
82 สํานักนายกรัฐมนตรี, ระเบียบสาํ นกั นายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทแ่ี กไขเพมิ่ เตมิ ขอ ๕๙

๕.๒.๑ การรายงานขอซื้อหรือขอจาง เจาหนาท่ีพัสดุจัดทํารายงานขอซื้อหรือขอจาง
เสนอหวั หนา สว นราชการตามรายการ ท่ีกาํ หนดไว 83

๕.๒.๒ การขออนุมัติซื้อหรือจาง เม่ือหัวหนาสวนราชการใหความเห็นชอบตาม
รายงานขอซื้อหรือขอจางที่เสนอ ตามขอ ๕.๒.๑ 84 แลวใหหัวหนาเจาหนาท่ีพัสดุท่ีไดรับมอบอํานาจจาก
หัวหนาสวนราชการมีหนังสือถึงสวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจเพ่ือขอใหเสนอราคา เมื่อไดรับใบเสนอราคา
จากสว นราชการหรือรฐั วิสาหกจิ และไดต รวจสอบรายละเอียดในใบเสนอราคาแลว ตรงกบั ความตอ งการท่ีจะ
ซื้อหรือจางแลว ใหเสนอขออนุมัติซื้อหรือจางพรอมกับใหหัวหนาสวนราชการแตงตั้งคณะกรรมการ
ตรวจรบั พัสดุ 85 และลงนามในหนงั สือตกลงซ้อื หรือตกลงจางแลว แตก รณี

๕.๒.๓ การแจงตกลงซ้ือหรือตกลงจา ง เมื่อหัวหนาสวนราชการอนุมัติซื้อหรือ
จางพรอมกับแตงตั้งคณะกรรมการตรวจรับพัสดุและลงนามในหนังสือตกลงซื้อหรือตกลงจาง ตามขอ
๕.๒.๒ แลว ใหแจงสวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจมารับหนังสือตกลงซื้อหรือตกลงจาง ตลอดจนสําเนาเร่ือง
ทง้ั หมดใหคณะกรรมการตรวจรบั พัสดแุ ละหนว ยท่ีเกย่ี วของทราบ เพอื่ ดาํ เนนิ การในสวนท่เี ก่ียวของตอไป

๖. การจัดซื้อ/จาง โดยวิธีประมูลดวยระบบอิเล็กทรอนิกส (e-Auction) ตามหลักเกณฑที่
กระทรวงการคลังกําหนด 86 ไดแก การจัดหาพัสดุในรูปแบบการประมูลดวยระบบอิเล็กทรอนิกส
(e-Auction) ซึ่งเปนการประมูลแบบ On – line ผานทางระบบ Internet โดยมีผูใหบริการตลาดกลาง
อิเลคทรอนิกส (e – Market Place Service) เปนผูจัดการประมูล และแนะนําผูซ้ือในการจัดหาพัสดุ รวมท้ัง
ทาํ หนาที่เปนส่ือกลางระหวางผูซื้อกับผูขาย ตลอดจนจัดหาผูขายสินคาเพ่ิมเติมผานทางระบบอิเล็กทรอนิกส
และมีศูนยกลางการติดตออยูท่ีเว็บไซตของตลาดกลาง โดยท่ัวไปจะเปนการจัดหาพัสดุประเภทครุภัณฑ
สํานักงาน วสั ดุส้นิ เปลือง ครุภัณฑค อมพวิ เตอรและอปุ กรณประกอบ การเชาเครื่องถายเอกสาร การจางเหมา
บริการทําความสะอาด และการรักษาความปลอดภัย87 อยางไรก็ตามในการจัดหาพัสดุในแตละครั้งควรเปน
พัสดุประเภทและมีคุณสมบัติ(Specification) เดียวกันหรือใกลเคียงกัน เพื่อใหมีผูเสนอหลายรายและมาจาก
แหลงผลิตหรือแหลงขายพัสดุในแตละประเภทโดยตรง ซ่ึงจะสงผลใหการประมูลมีความคลองตัว และมี
ประสิทธิภาพในการดําเนินการ สวนอํานาจการส่ังซ้ือและการสั่งจางในวิธีน้ีสําหรับสวนราชการ
กระทรวงกลาโหมโดยสรุปมีวงเงินเชนเดียวกับอํานาจการสั่งซื้อและการสั่งจาง โดยวิธีสอบราคา และวิธี
ประกวดราคา ตามคําสงั่ กห.(เฉพาะ) ท่ี ๓๙/๓๙ เรอ่ื ง การพสั ดุ ลง ๕ มี.ค.๓๙ 88

83 สาํ นักนายกรฐั มนตรี, ระเบียบสํานกั นายกรฐั มนตรวี าดว ยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่ีแกไขเพมิ่ เตมิ ขอ ๒๗
84 สาํ นกั นายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรวี า ดว ยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทแ่ี กไขเพมิ่ เตมิ ขอ ๒๙
85 สาํ นกั นายกรฐั มนตรี, ระเบียบสํานกั นายกรัฐมนตรวี า ดว ยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทีแ่ กไขเพม่ิ เตมิ ขอ ๓๔
86 สาํ นักนายกรฐั มนตรี, ระเบยี บสํานักนายกรฐั มนตรวี าดว ยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่แี กไขเพ่มิ เติม ขอ ๑๘(๖)
87 กระทรวงการคลัง, ประกาศกระทรวงการคลัง ลง ๙ ธ.ค.๔๕ ขอ ๓
88 กระทรวงกลาโหม, คาํ สง่ั กระทรวงกลาโหม(เฉพาะ)ท่ี ๑/๔๖ ลง ๓ ม.ค.๔๖ ขอ ๕

การดาํ เนนิ การจดั หาโดยวิธี e-Auction หวั หนาสว นราชการตองแตง ตง้ั คณะกรรมการจัดหาโดย
วิธีประมูลดวยระบบอิเล็กทรอนิกส (คณะกรรมการ e-Auction)89 ซึ่งในสวนของ กห. คณะกรรมการฯ จะ
ประกอบดว ย ผอู ํานวยการกอง หรือเทยี บเทา ขน้ึ ไป แลว แตกรณี เปน ประธานกรรมการ กรรมการอยางนอย
๒ คน ประกอบดวย ขาราชการชั้นสัญญาบัตรซึ่งปฏิบัติหนาท่ีหรือมีความรูทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ
และผูแทนสวนราชการที่ตองการจัดหาพัสดุ โดยหัวหนาเจาหนาท่ีพัสดุของสวนราชการเปนกรรมการและ
เลขานุการ ท้ังน้ีใหแตงต้ังขาราชการชั้นสัญญาบัตรเปนผูชวยเลขานุการไดตามความจําเปน90 ซึ่งการจัดหา
โดยวิธี e-Auction นี้ จะมีกรรมวิธีคลายกับการจัดซ้ือ/จาง โดยวิธีสอบราคา หรือวิธีประกวดราคา กลาวคือ
มีขั้นตอนเร่ิมตั้งแตการรายงานขอซ้ือหรือขอจาง จนถึงขั้นการทําสัญญา และการตรวจรับพัสดุ สําหรับ
ข้นั ตอนการปฏิบตั ทิ ี่แตกตา งจากวิธสี อบราคา หรือวิธีประกวดราคา ไดแก เมื่อผูเสนอราคาผานการตรวจสอบ
คุณสมบัติและขอเสนอทางเทคนิคแลว จะสามารถแขงขันการเสนอราคาไดหลายครั้ง ซึ่งจะสงผลใหทาง
ราชการไดรับประโยชนสูงสุด โดยท่ัวไปการดําเนินการจัดหาโดยวิธี e-Auction มีขั้นตอนการปฏิบัติ (ตาม
แผนภาพท่ี ๗) ดังน้ี

๖.๑ การรายงานขอซื้อหรือขอจาง โดยวิธี e-Auction เจาหนาที่พัสดุจัดทํารายงานขอซ้ือ
หรือขอจางเสนอหวั หนา สวนราชการตามรายการท่กี าํ หนดไว 91 พรอมท้ัง แตงต้ังคณะกรรมการ e-Auction
ดาํ เนนิ การ ตามขอ ๖.๒

๖.๒การดําเนินการของคณะกรรมการ e - Auction เม่ือไดรับความเห็นชอบจากหัวหนาสวน
ราชการแลว ใหคณะกรรมการ e-Auction ดาํ เนินการ ดงั น้ี

๖.๒.๑ ดําเนินการคัดเลือกผูใหบริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส (e-MarketPlace
Service) ตามทะเบียนรายชื่อที่กระทรวงการคลังแจงเวียน โดยพิจารณาจากอัตราคาบริการในการใหบริการ
จัดประมูลซื้อดวยระบบอิเล็กทรอนิกสที่เปนประโยชนตอทางราชการมากที่สุด แลวเสนอหัวหนาสวน
ราชการพจิ ารณาอนุมัตจิ างผใู หบรกิ ารตลาดกลางอิเลก็ ทรอนิกสด าํ เนนิ การจัดประมูลตอไป

๖.๒.๒ จัดทําเอกสารประมูลซื้อดวยระบบอิเล็กทรอนิกสตามตัวอยางที่กระทรวงการคลัง
กําหนด และประกาศเผยแพรขาวการประมูลซ้ือดวยระบบอิเล็กทรอนิกส โดยใหนําการประกาศขาวการ
ประกวดราคา ตามขอ ๓.๒ มาใชโดยอนุโลม สําหรับการจัดหาท่ีมีวงเงินอยูในวิธีประกวดราคา สวนการ
จัดหาท่ีมีวงเงินอยูในวิธีสอบราคา ใหสงประกาศเผยแพรพรอมเอกสารประมูลซื้อดวยระบบอิเล็กทรอนิกส
ไปยังผูมีอาชีพขายพัสดุท่ีสวนราชการจะดําเนินการจัดหาใหมากรายที่สุดเทาที่จะทําได โดยนําการประกาศ
การย่ืนซองและการรับซองสอบราคา ตามขอ ๒.๒ มาใชโดยอนุโลม รวมทั้งประกาศทางเว็บไซตของสวน
ราชการที่ตองการจัดหาพัสดุและเว็บไซต ของศูนยจัดซื้อจัดจางภาครัฐ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
www.gprocurement.or.th โดยมีหลักเกณฑ ดังนี้

89 กระทรวงการคลงั , ประกาศกระทรวงการคลัง ลง ๙ ธ.ค.๔๕ ขอ ๔(๒)
90 กระทรวงกลาโหม, คาํ ส่ังกระทรวงกลาโหม(เฉพาะ)ที่ ๑/๔๖ ลง ๓ ม.ค.๔๖ ขอ ๒
91 สํานักนายกรฐั มนตรี, ระเบียบสาํ นกั นายกรฐั มนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แกไขเพม่ิ เตมิ ขอ ๒๗

(๑) ประกาศเผยแพรขาวการประมูลซื้อดวยระบบอิเล็กทรอนิกส อยางนอย ๗
วนั ทําการ กอนวันขอรบั หรอื ขอซอ้ื เอกสาร

(๒) การใหห รือการขายเอกสารการประมลู ซอื้ ดวยระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส สําหรับ
การจดั หาท่อี ยใู นวงเงินโดยวิธีประกวดราคาใหกระทําอยางนอย ๗ วันทําการ กอนวันรับเอกสารขอเสนอของ
ผูเ สนอราคา

(๓) การกําหนดวัน เวลา ประกาศรายชื่อผูมีสิทธิไดรับการคัดเลือกใหเขาเสนอ
ราคาใหคํานึงระยะเวลาท่ีคณะกรรมการ e - Auction จะตองใชในการดําเนินการตรวจสอบคุณสมบัติของ
ผูเสนอราคาแตละรายวาเปนผูเสนอราคาที่มีผลประโยชนรวมกันกับผูเสนอราคารายอ่ืนหรือเปนผูมี
ประโยชนรวมกันระหวางผูเสนอราคากับผูใหบริการตลาดกลาง ณ วันประกาศประมูลซื้อดวยระบบ
อิเลก็ ทรอนกิ สห รือไม และใหค ํานงึ ระยะเวลาทคี่ ณะกรรมการฯ ใชใ นการพิจารณาขอเสนอตามเอกสารสว น
ที่ ๒ โดยนาํ เร่อื งการพจิ ารณาผลการประกวดราคา ตามขอ ๓.๗ มาใชโ ดยอนุโลม

(๔) ราคาเรม่ิ ตน ในการประมูลใหใชวงเงินงบประมาณท่ีไดรับในการจัดหาพัสดุ
นน้ั ๆ

(๕) ในการเสนอราคาผเู สนอราคาตอ งเสนอราคาลดลงเปนรายหนวย โดยแตละ
หนวยท่ีจะลดราคาลงใหพิจารณากําหนดจากอัตรารอยละ ๓ - ๕ ของวงเงินงบประมาณ หรือใหใชดุลยพินิจ
หรือรว มหารอื กับผูใหบ รกิ ารตลาดกลางอเิ ล็กทรอนกิ ส ในการกาํ หนดราคาลดลงเปนรายหนวย

๖.๓ การประกาศรายช่ือผูมีสิทธิไดรับการคัดเลือกใหเขาเสนอราคา คณะกรรมการ e – Auction
ตองประกาศรายชอ่ื ผูมสี ทิ ธิไดร ับการคดั เลือกใหเขาเสนอราคาตามวนั เวลา ที่กาํ หนดไวในประกาศประมูลโดย
ปดประกาศท่ีสวนราชการผูจัดหาพัสดุและประกาศทางเว็บไซตของสวนราชการท่ีจัดหาพัสดุ และเว็บไซต
ของศูนยจัดซ้อื จัดจางภาครัฐ กรมบัญชกี ลาง กระทรวงการคลัง กับแจงใหผูท่ีไมไดรับประกาศรายชื่อทราบ
โดยแยกเปน ๒ สว น คอื

๖.๓.๑ การแจงใหผมู ีผลประโยชนรวมกนั ทราบ ใหแจงขอ เทจ็ จริง เหตผุ ล และแจง สิทธิ
อุทธรณใ หทราบ โดยผูเสนอราคาหรือผูเสนองานท่ีถูกตัดรายชื่อ อาจอุทธรณคําสั่งการถูกตัดรายชื่อออกจาก
การเปนผูเสนอราคาหรือเสนองานในคร้ังนั้นตอปลัดกระทรวง ภายใน ๓ วัน นับแตวันที่ไดรับแจงพรอมทั้ง
แสดงเหตผุ ลของการอทุ ธรณแ ละเอกสารท่เี กี่ยวของมาดว ย 92

๖.๓.๒ การแจงใหผูท่ีผิดเง่ือนไขอื่น นอกเหนือจากการมีผลประโยชนรวมกันตาม
๖.๓.๑ ใหแจงขอเท็จจริง เหตุผล และสิทธิอุทธรณ ใหทราบ โดยถือปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติ
ราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ มาตรา ๔๔ ดว ย

๖.๔ การสังเกตการณการเสนอราคา ในการเสนอราคาของผูท่ีผานการคัดเลือกตองมีผูแทน
คณะกรรมการ e-Auction เขารวมสังเกตการณ ณ ที่ทําการของผูใหบริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส จน
เสรจ็ ส้ินการประมูล

๑ สาํ นกั นายกรัฐมนตร,ี ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรีวาดว ยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และทีแ่ กไขเพ่มิ เตมิ ขอ ๑๕ เบญจ วรรคสอง

๖.๕ การประกาศรายช่ือผูชนะการประมูล เมื่อไดผูชนะการประมูลแลว คณะกรรมการ
e – Auction จะตองปดประกาศรายช่ือท่สี วนราชการผูจัดหาพัสดุ และประกาศทางเว็บไซตของสวนราชการ
ที่จัดหาพัสดุ และเว็บไซตของศูนยจ ดั ซอ้ื จัดจางภาครัฐ กรมบญั ชีกลาง กระทรวงการคลัง
การจดั ทําสัญญาหรือขอตกลงเปนหนงั สอื

๑. รูปแบบสญั ญาและอาํ นาจลงนามในสญั ญา ดําเนนิ การดงั น้ี 93
การลงนามในสัญญาในการจัดหาตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.

๒๕๓๕ และที่แกไขเพ่ิมเติม นี้ เปนอํานาจของหัวหนาสวนราชการ และใหทําเปนภาษาไทยหรือ
ภาษาอังกฤษตามตวั อยา งท่ี กวพ. กําหนด94

การทําสัญญารายใดถาจําเปนตองมีขอความหรือรายการแตกตางไปจากตัวอยางสัญญาที่
กวพ. กําหนด โดยมีสาระสําคัญตามท่ีกําหนดไวในตัวอยางสัญญาและไมทําใหทางราชการเสียเปรียบก็ให
กระทาํ ได เวน แตห วั หนา สวนราชการเห็นวา จะมีปญหาในทางเสียเปรียบหรือไมรัดกุมพอ ก็ใหสงรางสัญญา
น้นั ไปใหส าํ นักงานอยั การสงู สดุ พจิ ารณากอ น

ในกรณที ีไ่ มอ าจทาํ สญั ญาตามตวั อยา งที่ กวพ. กาํ หนดได และจําเปนตองรางสัญญาข้ึนใหม
ตองสง รางสญั ญานั้นใหอ ยั การสงู สุดพิจารณากอ น เวน แตหวั หนาสวนราชการเห็นสมควรทาํ สัญญาตามแบบ
ทเ่ี คยผานการพจิ ารณาของสํานกั งานอยั การสูงสุดมาแลว กใ็ หก ระทําได

ในกรณีจําเปนตองทําสัญญาเปนภาษาตางประเทศ ใหทําเปนภาษาอังกฤษ แตตองมีคําแปล
ตัวสัญญาและเอกสารแนบทายสัญญาเฉพาะที่สําคัญเปนภาษาไทยไวดวย เวนแตเปนการทําสัญญาตาม
ตวั อยางท่ี กวพ. กาํ หนด ไมต องแปลเปน ภาษาไทย

การทําสัญญาของสว นราชการในตางประเทศ จะทําสัญญาเปน ภาษาอังกฤษ หรือภาษาของ
ประเทศท่ีหนวยงานน้ันตั้งอยู โดยผานการพิจารณาของผูเช่ียวชาญหรือผูรูกฎหมายของสวนราชการน้ัน ๆ
ก็ได

๒. หลกั เกณฑการทําขอตกลงเปนหนังสือ 95
การจัดหาในกรณีดังตอไปนี้ จะทําขอตกลงเปนหนังสือไวตอกัน โดยไมตองทําเปนสัญญา

กไ็ ด โดยใหอ ยใู นดุลพนิ จิ ของหัวหนาสว นราชการ
- การซื้อ การจาง หรือการแลกเปลี่ยนโดยวิธีตกลงราคา หรือการจางที่ปรึกษาโดยวิธีตกลง

ราคา ทีม่ วี งเงินไมเ กนิ ๑๐๐,๐๐๐ บาท
- การจัดหาท่ีคูสัญญาสามารถสงมอบพัสดุไดครบถวนภายในหาวันทําการของทางราชการ

นับต้ังแตว ันถัดจากวนั ทําขอตกลงเปน หนังสอื

93 สาํ นกั นายกรัฐมนตรี, ระเบยี บสาํ นักนายกรัฐมนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับท่แี กไขเพม่ิ เติม ขอ ๑๓๒
94 กระทรวงการคลัง, หนงั สือคณะกรรมการวาดวยการพสั ดุ ดวนที่สดุ ท่ี กค (กวพ.) ๐๔๐๘.๔/ว ๑๖๑ ลง ๒๓ พ.ค.๔๖

เรื่อง การกําหนดแบบสญั ญาสาํ หรับกรณีการจายเงนิ ตรง (Direct Payment) แจง เวยี นตามบนั ทึก กบ.ทร. ดว น ท่ี ตอ
กบ.ทร. เลขรับ ๓๒๙๐/๔๖ ลง ๔ ก.ค.๔๖
95 สาํ นักนายกรฐั มนตรี, ระเบยี บสํานกั นายกรัฐมนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับท่แี กไขเพม่ิ เติม ขอ ๑๓๓

- การซ้อื หรือการจางโดยวิธกี รณพี ิเศษ และการจัดหาจากสว นราชการ
- การซอ้ื โดยวธิ ีพเิ ศษในกรณี
(๑) เปนพัสดุที่จะขายทอดตลาดโดยสวนราชการ หนวยงานตามกฎหมายวาดวยระเบียบ
บริหารราชการสวนทองถิ่น หนวยงานอื่นซ่ึงมีกฎหมายบัญญัติใหมีฐานะเปนราชการบริหารสวนทองถิ่น
รัฐวิสาหกจิ องคก ารระหวา งประเทศ หรือหนวยงานของตางประเทศ
(๒) เปน พสั ดทุ ต่ี องการซ้อื เรง ดว น หากลา ชาอาจจะเสียหายแกราชการ
(๓) เปน พัสดุเพ่ือใชในราชการลบั
(๔) เปนพัสดุท่ีมีความตองการใชเพ่ิมข้ึนในสถานการณท่ีจะเปนหรือเรงดวน หรือเพ่ือ
ประโยชนของสวนราชการ และจําเปนตอ งซอื้ เพิม่ (Repeat Order)
(๕) เปน พสั ดุทจ่ี าํ เปน ตองซอื้ โดยตรงจากตา งประเทศ หรอื ดาํ เนนิ การโดยผานองคการ
ระหวางประเทศ
- การจางโดยวธิ ีพเิ ศษในกรณี
(๑) เปน งานทตี่ องจางชางฝมอื โดยเฉพาะหรือผูม ีความชาํ นาญเปน พเิ ศษ
(๒) เปนงานจางซอ มพัสดทุ ี่จําเปนตอ งถอดตรวจใหท ราบความชํารดุ เสียหายเสียกอ น จึงจะ
ประมาณคาซอมได เชน งานจางซอมเครื่องจักร เครื่องมือกล เคร่ืองยนต เครื่องใชไฟฟา หรือเครื่อง
อเิ ลก็ ทรอนิกส เปน ตน
(๓) เปนงานท่ตี องกระทําโดยเรงดวน หากลา ชา อาจจะเสยี หายแกร าชการ
(๔) เปนงานทต่ี อ งปกปดเปนความลับของทางราชการ
(๕) เปนงานที่จําเปนตองการจางเพิ่มในสถานการณที่จําเปน หรือเรงดวน หรือเพื่อ
ประโยชนของสวนราชการ และจําเปน ตองจางเพม่ิ (Repeat Order)

การจัดทําขอตกลงเปนหนังสือภาษาไทย ตองมีรายการอยางนอย คือ รายการ และ
จาํ นวนของพัสดุทตี่ กลงซ้ือขายกัน ราคาพสั ดทุ ่ตี กลงซือ้ ขายกนั ตอหนว ย กาํ หนดวนั สงพสั ดุ อตั ราคา ปรบั 96

ในกรณี การจัดหาซ่ึงมีราคาไมเกิน ๑๐,๐๐๐ บาท หรือในกรณีการซื้อหรือการจางซ่ึง
ใชวธิ ีดําเนนิ การโดยวธิ ตี กลงราคาในกรณจี ําเปนและเรงดวนท่ีเกิดข้ึนโดยไมไดคาดหมายไวกอนและไมอาจ
ดําเนินการตามปกตไิ ดท ัน จะไมทาํ เปน ขอตกลงเปนหนังสอื ไวต อ กันกไ็ ด

การจัดทําขอตกลงเปนหนังสือภาษาอังกฤษ นอกจากตองมีรายการอยางนอย
เหมือนกับการจัดทําขอตกลงเปนหนังสือภาษาไทยแลว จะตองเพ่ิมเติมรายการอยางนอยคือ เงื่อนไขการชําระ
เงิน การใชเรือไทย การกําหนดเงื่อนไขราคาสินคา สําหรับการคาระหวางประเทศ (INCOTERM 2000) เขา
ไวดว ย

๓. การกาํ หนดคา ปรบั 97

96 สาํ นักนายกรฐั มนตรี, หนังสือสาํ นักนายกรฐั มนตรี ที่ นร(กวพ) ๑๐๐๒/๓๖๖๖ ลง ๒๘ เม.ย.๓๒
97 สาํ นกั นายกรฐั มนตรี, ระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่แี กไขเพ่มิ เติม ขอ ๑๓๔


Click to View FlipBook Version