The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by runn0248, 2022-04-15 02:18:29

การตรวจสอบโซ่สมอกผช.อร.

KMอร

Keywords: อร

การจดั การความรู กรมอทู หารเรือ

การกําหนดแนวทางปฏิบัติในการตรวจสอบโซสมอและอุปกรณป ระกอบ
กองออกแบบตอเรือ กรมแผนการชา ง กรมอทู หารเรอื

จดั ทําโดย น.อ.นฤพนธ ปาลศรี (๒๓ ม.ี ค.๖๕)

การกาํ หนดแนวทางปฏบิ ตั ใิ นการตรวจสอบโซส มอและอปุ กรณประกอบ

๑. วัตถปุ ระสงค
การกําหนดแนวทางปฏิบัติในการตรวจสอบโซสมอและอุปกรณประกอบท่ีจัดทําขี้น มีวัตถุประสงคเพ่ือ

กาํ หนดแนวทางในการดูแลรักษา การตรวจสอบหาความชํารุดบกพรอง การวัดหาคาความสึกกรอน ตลอดจน
เปนการกําหนดคาความสึกกรอนท่ียอมรับไดของโซสมอและอุปกรณประกอบ โดยท่ีหนวยผูใชงานสามารถ
ดําเนินการตรวจสอบเบ้ืองตนไดดวยตนเอง กอนท่ีจะถึงกําหนดวงรอบการตรวจสอบสมอ โซสมอ และอุปกรณ
ประกอบ เม่ือเรือถึงกําหนดเขาอูแหง เพ่ือเปนการปองกันการสูญเสียและความเสียหายของอุปกรณ ตลอดจน
เพื่อใหโซส มอและอุปกรณประกอบอยใู นสภาพพรอมใชง านไดตลอดเวลา

๒. คาํ จาํ กดั ความ
โซสมอและอุปกรณประกอบ กลาวโดยท่ัวไปการประกอบสมอ โซสมอและอุปกรณประกอบสามารถ

แสดงไดด ังภาพที่ ๑ โดยมอี ปุ กรณห ลกั ๆ ดังน้ี
๑. สมอและสเกลสมอ (Anchor and Anchor Shackle)โดยปกติขนาดเสน ผานศนู ยกลางของสเกล

สมอขึ้นอยูกบั บริษัทผผู ลิตสมอ
๒. สเกลสาํ หรบั ตอ โซกบั สมอ (Jointing Shackle)โดยปกติจะมีขนาดเสน ผา นศนู ยก ลางเปน ๑.๔ เทา

ของลกู โซธ รรมดา (Common Link)
๓. ลูกโซปลาย (End Link) โดยปกติจะมีขนาดเสนผา นศูนยกลางเปน ๑.๒ เทา ของลูกโซธรรมดา

(Common Link)
๔. ลกู โซกลาง (Enlarge Link) โดยปกติจะมีขนาดเสนผานศูนยกลางเปน ๑.๑ เทา ของลูกโซธรรมดา

(Common Link)
๕. ลกู โซธ รรมดา (Common Link) แสดงขนาดเสนผา นศูนยก ลางของโซ (Nominal Diameter)
๖. กุญแจกล (Swivel)

ภาพที่ ๑.แสดงการตอโซสมอและอปุ กรณประกอบ

๓. แนวทางปฏิบัติในการตรวจสอบโซส มอและอุปกรณป ระกอบ
๓.๑ การดแู ลรักษาและการปอ งกนั การเส่อื มสภาพของโซส มอและสว นประกอบ
๓.๒ การตรวจสภาพเบอ้ื งตน ของโซสมอและอุปกรณป ระกอบ

๔. ข้ันตอนการปฏิบตั งิ าน
๔.๑ การดูแลรักษาและการปองกันการเสื่อมสภาพของโซสมอและสวนประกอบ เปนการดูแลและ

บาํ รุงรักษาหลังจากการใชง านสมอตามปกติ โดยมแี นวทางในการดําเนินการดงั น้ี
๔.๑.๑ ในขณะหะเบสสมอจะตองใชนํา้ ฉีดโคลนที่ตดิ อยูกับโซแ ละตวั สมอใหหมด
๔.๑.๒ ควรเคาะสนิมและทาสกี ันสนมิ อยเู สมอเพือ่ ปองกนั การผุกรอน
๔.๑.๓ ควรยึดสมอใหแนบสนิทกับตัวเรือเพื่อปองกันการสึกกรอนของโซและอุปกรณประกอบโซอัน

เน่อื งมาจากการเสียดสี
๔.๑.๔ ดําเนินการซอมบํารุงรักษาเบ้ืองตนอยางสมํ่าเสมอ เชนการอัดจาระบีในกุญแจกล การชโลม

น้าํ มันแกนแขนสมอ เปน ตน
๔.๒ การตรวจสภาพเบอื้ งตนของโซสมอและอปุ กรณประกอบการดาํ เนนิ การตรวจสอบสภาพเบ้ืองตนของ

โซสมอและอุปกรณป ระกอบสามารถดาํ เนนิ การได ๒ วิธี ดงั นี้
๔.๒.๑ การตรวจสอบดวยสายตา สามารถดําเนินการไดดวยตาเปลา หรือใชแวนขยาย โดยเปนการ

ตรวจสอบหาความชาํ รุดของโซสมอและอุปกรณประกอบ รอยราวบริเวณข่ือของโซสมอ เปนตน หากตรวจพบ
ความชํารดุ เสยี หายใหดาํ เนินการแจงหนว ยเทคนิคเพือ่ ดาํ เนินการซอ มทาํ ดวยวธิ ที เ่ี หมาะสมตอ ไป

๔.๒.๒ การวัดความสึกกรอนของโซสมอและอุปกรณประกอบ โดยทวั่ ไปความสึกกรอ นของอุปกรณ
ประกอบโซสมอตองไมเกิน ๑๒%ของขนาดอุปกรณแตละชนิด ตามขอ ๒.๑ – ๒.๓และความคลอนของแกน
กุญแจกลตองไมเ กิน ๕% ของขนาดเสนผานศูนยกลางดา นหวงของชุดกุญแจกล ตามขอ ๒.๔ โดยการวัดความ
สึกกรอนจะตองวัดในจุดที่เกิดการสึกกรอนสูงที่สุด แตโดยท่ัวไปจุดท่ีสึกกรอนสูงที่สุดและวิธีการวัดความสึก
กรอ นของแตละอุปกรณส ามารถดาํ เนินการตามภาพทีแ่ สดงดงั นี้

๔.๒.๒.๑ การวัดลูกโซปลาย ลูกโซกลาง และ ลูกโซธรรมดา ตําแหนงที่เกิดการสึกกรอนสูง
ท่สี ุดแสดงไดดังภาพ

ภาพที่ ๒ แสดงจุดทสี่ ึกกรอนสงู สุดและการวดั ขนาด โซธรรมดา (Common Link)
โซล ูกกลาง (Enlarge Link) และโซล กู ปลาย (End Link)

ความสึกกรอ นของโซหาไดจ ากสมการ d1  d2 

D 2

โดยท่ี D  0.88D0

เมือ่ D0 คอื ขนาดเสนผานศนู ยกลางปกตขิ องโซ

๔.๒.๒.๒ การวัดความสกึ กรอ นของสเกล (Shackle)ตาํ แหนงที่เกิดการสกึ กรอนสงู ที่สุดแสดงได
ดงั ภาพ

ภาพท่ี ๓ แสดงจุดทส่ี ึกกรอนสงู สุดและการวัดขนาดสเกลโซสมอ (Shackle)

ความสึกกรอนของสเกลหาไดจากสมการ

D D1  D2 

2

โดยที่ D  0.88D0

เมื่อ D0 คอื ขนาดเสนผา นศนู ยก ลางปกติของสเกล (Shackle)

๔.๒.๒.๓ การวัดความสกึ กรอนของกญุ แจกล (Swivel) ตําแหนง ทเี่ กิดการสกึ กรอนสูงท่ีสดุ
แสดงไดด ังภาพ

ภาพท่ี ๔ แสดงจดุ ที่สึกกรอนสงู สดุ และการวัดขนาดของกุญแจกล (Swivel)

ความสึกกรอ นของกญุ แจกลหาไดจากสมการ

D D1  D2 

2

โดยท่ี D  0.88D0

เม่ือ D0 คอื ขนาดเสนผา นศูนยกลางปกติของกุญแจกล(Swivel)

๔.๒.๒.๔ การวัดความคลอนของกญุ แจกล (Swivel) ตําแหนงที่ทําการวัดแสดงไดดังภาพ โดย
ระยะความคลอนตอ งไมเกนิ ๕% ของขนาดแกนกุญแจกล

ภาพท่ี ๕ แสดงการวดั ความคลอนของแกนกญุ แจกล (Swivel)

ตัวอยาง เรือลากจูงลาํ หน่ึงใชโ ซส มอขนาดเสนผานศนู ยก ลาง ๒๔ มิลลิเมตร วัดขนาดเสนผานศูนยก ลางของโซ
สมอและอุปกรณป ระกอบไดด งั นี้

โซแ ละอุปกรณประกอบโซท ่ที าํ การวดั คา ท่ีวัดได (หนว ย มลิ ลิเมตร)

อปุ กรณในคอลมั น A อปุ กรณใ นคอลมั น B

A B d1 d2 d1 d2
Jointing Shackle End Link
Enlarge Link ๓๑ ๒๘ ๒๗ ๒๔
End Link Swivel
Enlarge Link Common Link ๒๖ ๒๕ ๒๕ ๒๓
Enlarge Link
๒๖ ๒๕ ๓๑ ๒๗

๒๓ ๒๒ ๒๐ ๒๑

คํานวณหาคาความสกึ กรอนโซส มอและอปุ กรณประกอบไดดังน้ี

โซแ ละอุปกรณประกอบโซท ท่ี ําการวดั เสน ผา นศนู ยก ลางเฉลี่ย (หนว ย มลิ ลเิ มตร)

อปุ กรณในคอลัมน A อุปกรณในคอลัมน B

A B D=(d1+d2)/2 D=(d1+d2)/2
Jointing Shackle End Link
Enlarge Link ๒๙.๕ ๒๕.๕
End Link Swivel
Enlarge Link Common Link ๒๕.๕ ๒๔
Enlarge Link
๒๕.๕ ๒๙

๒๒.๕ ๒๐.๕

ตารางแสดงคา เสนผา นศนู ยกลางปกตแิ ละเสนผา นศนู ยกลางตํ่าสุด ของโซข นาดเสนผานศนู ยกลาง ๒๔

มลิ ลิเมตร

โซและอปุ กรณป ระกอบ คา เสนผา นศนู ยกลางปกติ D0 คา เสน ผา นศนู ยก ลางตํา่ สุดท่ยี อมรบั ได D

Jointing Shackle ๓๓.๖ ๒๙.๕๖

End Link ๒๘.๘ ๒๕.๓๔

Enlarge Link ๒๖.๔ ๒๓.๒๓

Common Link ๒๔ ๒๑.๑๒

Swivel ๒๘.๘ ๒๕.๓๔

จากตวั อยางนี้จะเห็นไดวาผลการวัดคา หาเสนผา นศนู ยกลางเฉล่ยี ของโซส มอและอุปกรณประกอบนน้ั คา ความ
สกึ กรอ นมีคาใกลเ คยี งกบั คา เสนผานศนู ยต าํ่ สดุ ทย่ี อมรับไดแ ละโซธรรมดา (Common Link) ทต่ี อ อยูก ับโซขอ
กลาง (Enlarge Link) มคี า สึกกรอ นเกนิ กวาทก่ี าํ หนดไว ดังนน้ั โซสมอและอุปกรณป ระกอบโซชุดนี้ ไมอ ยูใน
สภาพพรอ มใชง าน ควรรายงานหนว ยเทคนิคเพือ่ พิจารณาหาแนวทางในการซอมบํารงุ ตอไป

๕. เอกสารอางองิ
๕.๑ IACS Recommendation No.79, Guidance for Anchoring Equipment in Service,

Rec.2003/Rev.1 2014
๕.๒ Naval Ship’s Technical Manual Chapter 581, Anchoring, Revision 3, 24 Nov 1997
๕.๓ การเรือเลม ๑, กรมยุทธศึกษาทหารเรอื , กันยายน ๒๕๕๖


Click to View FlipBook Version