The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การช่วยฟื้นคืนชีพ123

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อภิชญา นัคราเรือง, 2019-12-16 02:36:07

การช่วยฟื้นคืนชีพ123

การช่วยฟื้นคืนชีพ123

การช่วยฟ้ื นคืนชีพ
ผถู้ ูกกระแสไฟฟ้าดูด

คนที่ถกู ไฟฟา้ ดดู จะมีอาการรุนแรงแตกตา่ งกนั ซ่ึงขนึ ้ อยู่
กบั ปัจจยั หลายประการ เช่น ถ้าผิวหนงั แห้งจะทาให้มีแรง
ต้านทานไฟฟา้ มากกว่าผิวหน้าเปียกชืน้ ซงึ่ จะเป็นตวั นา
ไฟฟา้ อยา่ งดี ชนดิ ของกระแสไฟฟา้ ถ้าเป็นไฟฟา้
กระแสตรง เช่น จากแบตเตอรี่หรือถา่ นไฟจะทาอนั ตราย
ได้น้อยกวา่ ไฟฟา้ กระแสสลบั เช่น ไฟฟา้ ท่ีใช้ตาม
บ้านเรือน ตาแหนง่ ท่ีสมั ผสั กระแสไฟฟา้ กม็ ีผลต่ออาการ
ของผ้ปู ระสบอบุ ตั ิเหตเุ ช่นกนั โดยเฉพาะถ้ากระแสไฟฟา้
วงิ่ จากแขนลงสปู่ ลายเท้า กระแสไฟจะผ่านอวยั วะสาคญั
ของร่างกาย ได้แก่ หวั ใจ ตบั ปอด ซง่ึ เป็นอนั ตรายมาก
สาหรับอาการของคนที่ถกู ไฟฟา้ ดดู เชน่ ชกั กล้ามเนือ้
เกร็งตวั ทวั่ ร่างกาย การหายใจหยดุ ชะงกั หวั ใจหยดุ เต้น
หมดสติหรือล้มลงกบั พืน้

ความปลอดภยั ในงานไฟฟ้า

เป็นท่ียอมรับกนั โดยทวั่ ไปวา่ ไฟฟา้ เป็นปัจจยั พืน้ ฐานในการ
ดาเนินชีวติ เน่ืองจากในชีวิตประจาวนั ของมนษุ ย์ ต้องมีการ
เกี่ยวข้องกบั กระแสไฟฟา้ อยตู่ ลอดเวลา และเป็นที่ทราบกนั ดี
วา่ ไฟฟา้ มีคณุ อนนั ต์แตก่ ็มีโทษมหนั ต์เชน่ กนั อนั ตรายท่ี
เกิดขนึ ้ จากไฟฟา้ มีโอกาสเกิดขนึ ้ ได้ตลอดเวลา ทงั้ จากการ
ปฏบิ ตั งิ านกบั อปุ กรณ์ หรือวงจรไฟฟา้ โดยตรง หรือจากการ
ใช้อปุ กรณ์ที่ใช้พลงั งานไฟฟา้ อื่นๆ ดงั นนั้ การมีความรู้ความ
เข้าใจถงึ สาเหตแุ ละผลของอนั ตรายท่ีเกิดขนึ ้ จะช่วยให้ผ้ทู ่ี
เกี่ยวข้องกบั กระแสไฟฟา้ มีความระมดั ระวงั มากขนึ ้ อบุ ตั ภิ ยั
ที่เกิดจากกระแสไฟฟา้ ก็จะลดลง ความเสียหายในชีวติ และ
ทรัพย์สินกจ็ ะลดลงเช่นกนั

อนั ตรายจากกระแสไฟฟ้าท่ีมีต่อ ชีวิตและร่างกาย
1. ไฟฟา้ ดดู ( Electrical Shock ) เป็น
ลกั ษณะของกระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นร่างกายลงสดู่ นิ และ
เป็นอนั ตรายที่มนษุ ย์ได้รับจากไฟฟา้ มากที่สดุ
ประมาณ 85% ของผ้ปู ระสบอนั ตรายจากไฟฟา้
ทงั้ หมด
2. ร่างกายเป็นสว่ นหนง่ึ ของวงจรไฟฟา้ เป็นลกั ษณะที่
กระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นร่างกายแตไ่ มผ่ ่านลงดิน ทาให้
เกิดอนั ตรายถึงชีวิตได้
3. อนั ตรายจากแสงจ้า เสียงดงั หรือประการไฟ จาก
การเกิดไฟฟา้ ลดั วงจร ( Short Circuit )

ผลของกระแสไฟ้ฟ้าที่มีต่อร่างกาย

ถ้า1ก.ระกแลส้าไมฟเนฟือา้้ กไหระลตผกุ่าหนรมือือหแดลตะวัไห(ลMออuกลsงcสดู่uินlทaาrงมือFอีกreข้าeงหzรiือnทgางเ)ท้า
กล้ามเนือ้ ทรวงอกจะหดตวั มากท่ีสดุ ปอดทางานไม่ปกติ ทาให้หายใจ
ติดขดั และขาดอากาศในการหายใจ
ไปหรละ2ผส.า่ารนทะรชบ่าะบงงปกกั ารงะยนั สไาปมรีปชทวั่รชิขมะณางณกัะงตนัมงั้ แีก(ตาNร่ ก1eร0ะr–ตvกุ e1อ5ยา่ mBงแloรAงcกkาจระท)ทาาถงใ้าาหกน้รรขะะอบแงบสหไวั ฟใฟจา้ ท่ี
เป็นอมั พาตชว่ั คราว
เมFลาiยีb้ก3งก.สrวหiมlา่ วlัอaใง5จไt0เมกio่เิดmพอnียางAกพ)าอรเกเขตติดนึ้้นอ่ จไเมปาร็ากวหกกถวัราะใ่ีรรจัวแเตกส้นห็จไฟขะรืออหฟเงย้าตหดุท้นวัเี่ไกตใหจ้รนละผแผติดลา่กุปะนกเ(รสต่าVยี งิ กชกeีาวารติuยสมtบู ีปiฉcรีดิมuเาลณlอื aดrไป
กระ4แ.สหไวัฟใฟจา้หปยรดุ ิมทาาณงามนาทกนัไหทลี ผ( า่Cนหaวั rใจdiเaชน่ cกรAะแrสrไeฟฟst้าป)ริมาเกณิดจ2า5ก0
mA ทาให้กล้ามเนือ้ หวั ใจหดตวั อย่างแรง และหวั ใจหยดุ เต้นทนั ที

5. ทาให้เกิดแผลไหม้สว่ นตา่ งๆ ของร่างกาย กระแสไฟฟา้ ท่ีวิ่งผ่านเข้า
ไปในร่างกายทาให้เกิดแผลไหม้บริเวณกระแสไฟฟา้ เข้าและกระแสไฟฟ้า
ออก ถ้าเป็นไฟฟา้ กระแสตรงจะมีอนั ตรายน้อยกว่าไฟฟา้ กระแสสลบั (
ไAฟฟltา้eเทrา่nกaนั ting Current ) ถึง 3 เท่า ทงั้ ๆ ที่ความเข้มของ

6. เนือ้ เยื่อและเซลล์ตา่ งๆ ของร่างกายถกู ทาลาย เชน่ เยื่อบหุ ลอด
เลอื ดถกู ทาลายก้อนเลอื ดจบั ตวั กนั เลนส์ตาขนุ่ มวั ทาให้เป็นต้อกระจก เป็น
ต้น

การป้องกนั อนั ตรายที่เกิดจากงานไฟฟ้า

1. อยา่ เข้าใกล้หรือแตะสายไฟฟา้ ท่ีห้อยลงมาหรือตกอย่กู บั พืน้ เพราะ
อาจมีกระแสไฟฟ้าอยู่ ควรแจ้งการไฟฟ้าใกล้บ้านโดยเร็ว

2. การก่อสร้างใกล้แนวสายไฟฟา้ ควรตดิ ตอ่ การไฟฟา้ เพือ่
ดาเนินการนาฉนวนมาครอบสายไฟฟา้ แรงสงู เพอ่ื ปอ้ งกนั อนั ตรายจากไฟฟา้ ดดู

3. พบก่ิงไม้ใกล้แนวสายไฟฟา้ แรงสงู ไมค่ วรตดั เอง เพราะอาจถกู
กระแสไฟฟา้ ดดู ได้ ควรแจ้งการไฟฟ้าใกล้บ้านทาการตดั ออก

4. ไม่ควรยิงนกท่ีเกาะสายไฟฟ้า หรือใช้ไฟฟ้าจบั ปลา เพราะอาจ
ได้รับอนั ตรายจากไฟฟ้าดดู

5. ติดตงั้ เสาอากาศโทรทศั น์ ต้องหา่ งสายไฟฟ้าไมน่ ้อยกวา่ 3 เมตร
หรือระยะเสาล้มต้องไม่โดนสายไฟฟา้

6. เมื่อไม่มคี วามรู้ทางไฟฟ้าอย่าแก้ไขอปุ กรณ์ไฟฟา้ เอง หาก
เคร่ืองใช้ไฟฟา้ ชารุดหรือพบสง่ิ ผิดปกติเก่ียวกบั ไฟฟา้ ให้แจ้งชา่ งมาแก้ไข

7. ควรตดิ ตงั้ เต้ารับในระดบั สงู พอเหมาะ เพอ่ ปอ้ งกนั นา้ ท่วมถงึ และ
เดก็ เลก็ อาจใช้นิว้ หรือวสั ดตุ วั นา ( กญุ แจ ) แหย่เต้ารับเลน่ ซง่ึ ทาให้ถกู
กระแสไฟฟ้าดดู ได้

8. เครื่องใช้ไฟฟา้ ชารุด ควรติดปา้ ยห้ามใช้ เพื่อรอนาสง่ ช่างซอ่ ม
ไฟฟา้ ตอ่ ไป

9. การถอดปลก๊ั ไฟฟ้า ควรจบั ดงึ ที่ตวั ปลกั๊ อยา่ ดงึ สายปลกั๊ เพราะ
อาจทาให้สายไฟขาด เกิดอนั ตรายได้

10. ไม่ควรนาอปุ กรณ์เคร่ืองใช้ไฟฟ้าหลายชนิดมาใช้กบั เต้ารับเพียง
อนั เดียว เพราะอาจทาให้เกิดไฟลกุ ไหม้ได้

11. การตรวจสอบกระแสไฟฟา้ ห้ามใช้มือสมั ผสั โดยตรงควรกระทา
โดยช่างผ้ชู านาญและใช้ไขควงทดสอบไฟฟา้

การช่วยเหลือผปู้ ระสบภยั จากกระแสไฟฟ้า

1. ปิดสวิตซ์ไฟฟา้ หรือตดั กระแสไฟฟา้
2. ถ้าหาทางปิดสวติ ซ์หรือตดั กระแสไฟฟา้ ไมไ่ ด้ ให้สวมถงุ มอื ยาง แล้วยืนบน
พืน้ ที่ไม่เป็นตวั นาไฟฟา้ จากนนั้ ให้ดงึ ผ้บู ากเจ็บออกมา
3. หากหาถงุ มือยางไมไ่ ด้ ให้ใช้ไม้เขี่ยสายไฟออก หรือใช้ผ้าหรือเชือกคล้อง
ตวั ผ้ปู ่วยดงึ กระตกุ ออกมา ดงั รูปที่ 1.3
4. ห้ามสมั ผสั ตวั ผ้บู าดเจบ็ โดยตรงอย่างเด็ดขาด เพราะจะทาให้ผ้ชู ่วยเหลือ
ถกู ไฟฟา้ ดดู ด้วย
5. เม่ือนาผ้บู าดเจ็บออกจากกระแสไฟฟา้ ได้แล้ว ให้รีบทาการปฐมพยาบาล
และนาสง่ โรงพยาบาลโดยเร็ว

การปฐมพยาบาลผบู้ าดเจบ็
จากกระแสไฟฟ้า

1. กรณีผ้บู าดเจบ็ หมดสติ

1.1 พยายามหงายศรี ษะผ้บู าดเจบ็ ไปข้างหลงั เทา่ ท่ีจะหงายได้
เพ่ือเปิดทางอากาศเข้าสปู่ อดได้สะดวก

1.2 ใช้ผ้าหนาๆ ม้วนแล้วสอดเข้าใต้ช่วงไหล่ เพื่อหนนุ หงายศรี ษะ
ไว้

1.3 ล้วงสงิ่ ท่อี าจค้างอยใู่ นปากซงึ่ จะขดั ขว้างทางลม เชน่ หมาก
ฝรั่ง ของขบเคยี ้ ว ฟันปลอม โดยอาจใช้ผ้าพนั นิว้ มือก่อน เพราะหาก
ผ้ปู ่วยไม่หมดสติเสียทีเดยี ว อาจงบั นิว้ มือได้ ดงั รูปที่ 1.4

2. กรณีผบู้ าดเจบ็ ไม่หายใจ

2.1 หงายศีรษะผ้บู าดเจ็บไปด้านหลงั เพื่อเปิดทางอากาศเข้าสปู่ อด
2.2 สอดนิว้ หวั แมม่ ือเข้าไปในปาก จบั ขากรรไกรลา่ งยกขนึ ้ จนปากอ้า
2.3 ใช้นิว้ ควานล้วงส่งิ ท่อี าจค้างอย่ใู นปาก เช่น ของขบเคีย้ ว ออกให้
หมด
2.4 เริ่มเป่าอากาศเข้าสปู่ อดของผ้บู าดเจบ็ ถ้าผ้บู าดเจ็บมีลมร่ัวออก
ทางจมกู อาจใช้มือบบี จมกู ไว้ ดงั รูปที่ 1.5
2.5 ถอนปากออกจากผ้บู าดเจบ็ สดู ลมหายใจเตม็ ท่ี แล้วเริ่มเป่า
อากาศเข้าทางปากผ้บู าดเจบ็ อีกในอตั รา 12 – 15 ครัง้ /นาที
2.6 สงั เกตว่าผ้บู าดเจบ็ หายใจได้เองหรือยงั โดยคลาดชู ีพจร ถ้า
ผ้บู าดเจบ็ ยงั ไมห่ ายใจเอก็เป่าตอ่ ไปอีก ถ้ายงั ไมพ่ บชีพจรแสดงวา่
ผ้บู าดเจ็บหวั ใจหยดุ เต้นต้องช่วยกระต้นุ หวั ใจ พร้อมๆ กบั การช่วย
หายใจ


Click to View FlipBook Version