The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kiadtisak1839, 2022-05-12 01:29:30

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

Keywords: กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

กฎหมายด้านการศึกษา
และทเ่ี กยี่ วข้อง

จัดทาโดย
นายวชิ ญ์ รัตนสุทธิกลุ วิทยากรชานาญการ และ

นางสาวสิรินทรา ขวญั สง่า นิติกรปฏิบตั ิการ
กล่มุ งานคณะกรรมาธิการการศึกษา
สำนักกรรมำธิกำร ๓

สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร

หนา้

สารบญั

๑. กฎหมายดา้ นการศึกษา ๑
๒. สรปุ สาระสาคญั

พระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ๑๕
พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ ๑๖
กฎหมายการศึกษาสภาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ.๒๕๔๖ ๒๔
พระราชบญั ญตั ิการศึกษาภาคบังคบั พ.ศ. ๒๕๔๕ ๒๖
พระราชบัญญตั ิสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๖ ๒๙

ภ คผ ว
- รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตราทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับการศกึ ษา

รายนามผจู้ ดั ทารายงาน



กฎหมายดา้ นการศกึ ษา

กฎหมายเกีย่ วกับการศึกษา ประกอบด้วย พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง และอ่ืน ๆ
ซ่งึ จัดหมวดหมู่ได้ ๑๒ หมวด ดงั น้ี

๑. โครงสรา้ งการบริหาร
๒. การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน
๓. อาชวี ศกึ ษา
๔. การศกึ ษาเอกชน
๕. การสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
๖. อุดมศกึ ษา
๗. อดุ มศกึ ษาเอกชน
๘. ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
๙. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๑๐. เด็ก เยาวชน คนพกิ าร ผู้สูงอายุ
๑๑. ภาษกี ารศึกษา
๑๒. อ่นื ๆ

ทง้ั นี้ มีรายละเอยี ดข้อมูลดงั นี้
๑. โครงสร้างการบริหาร

พระราชบญั ญตั ิ
- พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
- พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕
- พระราชบญั ญัตริ ะเบยี บบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๖
- พระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ.๒๕๕๓
- พระราชบัญญตั ิระเบยี บบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๕๓

กฎกระทรวง
- กฎกระทรวงแบ่งสว่ นราชการสานักงานรฐั มนตรี กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖
- กฎกระทรวงแบง่ ส่วนราชการสานกั งานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.

๒๕๔๖
- กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

พ.ศ. ๒๕๔๖
- กฎกระทรวงแบง่ ส่วนราชการสานักงานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖
- กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๖
- กฎกระทรวงกาหนดจานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีสรรหา การเลือก

คณะกรรมการ วาระการดารงตาแหน่งและการพ้นจากตาแหน่งของกรรมการในคณะกรรมการสภาการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๔๖



- กฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์การแบ่งส่วนราชการภายในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ
๒๕๔๖

- กฎกระทรวงกาหนดจานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการสรรหา การเลือกประธาน
กรรมการและกรรมการ วาระการดารงตาแหน่งและการพน้ จากตาแหน่งของคณะกรรมการเขตพื้นท่ีการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๔๖

- กฎกระทรวงว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาต่ากว่าปริญญารูปแบบวิทยาลัยชุมชน พ.ศ.
๒๕๔๖

- กฎกระทรวงกาหนดจานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการสรรหา การเลือกประธาน
กรรมการและกรรมการ วาระการดารงตาแหน่งและการพ้นจากตาแหน่งของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ัน
พน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๔๖

- กฎกระทรวงกาหนดจานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการสรรหา การเลือกประธาน
กรรมการและกรรมการ วาระการดารงตาแหน่งและการพ้นจากตาแหน่งของคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๔๖

- กฎกระทรวงกาหนดจานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการสรรหา การเลือกประธาน
กรรมการและกรรมการ วาระการดารงตาแหน่งและการพ้นจากตาแหน่งของคณะกรรมการการอุดมศึกษา
พ.ศ. ๒๕๔๖

- กฎกระทรวงกาหนดจานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการสรรหา การเลือกประธาน
กรรมการและกรรมการ วาระการดารงตาแหน่งและการพ้นจากตาแหน่งของคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
พ.ศ. ๒๕๔๖

- กฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์การแบ่งส่วนราชการภายในสถานศึกษา ที่จัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน
หรือสว่ นราชการทเ่ี รยี กช่อื อยา่ งอื่น พ.ศ. ๒๕๔๗

- กฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และลักษณะของงานที่จะให้สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
เป็นผู้รับผิดชอบปฏิบัติงานเฉพาะอย่างแทนสถานศึกษาที่จัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและ ส่วนราชการที่เรียกช่ือ
อยา่ งอน่ื พ.ศ. ๒๕๔๗

- กฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินความพร้อมในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานของ
องค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ พ.ศ. ๒๕๔๗

- กฎกระทรวงว่าดว้ ยการบรหิ ารงานบุคคลของขา้ ราชการพลเรอื นในมหาวิทยาลยั พ.ศ. ๒๕๔๗
- กฎกระทรวงกาหนดจานวน หลักเกณฑ์ และวิธีการได้มาของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผล และนิเทศการศกึ ษาของเขตพ้ินท่กี ารศึกษา พ.ศ.๒๕๔๘
- กฎกระทรวงกาหนดจานวน หลักเกณฑ์ และวธิ กี ารได้มาของคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาพิเศษ
พ.ศ.๒๕๔๘
- กฎกระทรวงกาหนดจานวน หลักเกณฑ์ และวิธีการได้มาของคณะกรรมการส่งเสริมสนับสนุนและ
ประสานความร่วมมอื การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย พ.ศ.๒๕๔๘
- กฎกระทรวงกาหนดจานวน หลักเกณฑ์ และวิธกี ารไดม้ าของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และ
ประเมนิ ผล การจดั การศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.๒๕๔๘
- กฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินความพร้อมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของ
องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๙



ประกาศกระทรวง
- ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่ือง มาตรฐานสถาบันอุดมศกึ ษา พ.ศ.๒๕๕๔
๒. การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน

พระราชบญั ญัติ
- พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบงั คบั พ.ศ. ๒๕๔๕

พระราชกฤษฎกี า
- พระราชกฤษฎกี าจดั ตัง้ โรงเรียนมหดิ ลวทิ ยานสุ รณ์ พ.ศ.๒๕๔๓

กฎกระทรวง
- กฎกระทรวงกาหนดหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารนับอายุเดก็ เพ่ือเข้ารบั การศกึ ษาภาคบังคบั พ.ศ.๒๕๔๕
- กฎกระทรวงว่าดว้ ยการแบ่งระดับและประเภทการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ.๒๕๔๖
- กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับ

การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พ.ศ.๒๕๔๖
- กฎกระทรวงว่าด้วยสิทธใิ นการจัดการศึกษาขน้ั พ้นื ฐานโดยครอบครวั พ.ศ. ๒๕๔๗
- กฎกระทรวงว่าด้วยสิทธิของสถานประกอบการในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานในศูนย์การเรียน

พ.ศ.๒๕๔๗
- กฎกระทรวงว่าดว้ ยสิทธใิ นการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานโดยสถาบนั พระพทุ ธศาสนา พ.ศ.๒๕๔๘
- กฎกระทรวงว่าด้วยสิทธิขององค์กรวิชาชีพในการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานในศูนย์การเรียน พ.ศ.

๒๕๕๔
- กฎกระทรวงว่าด้วยสิทธิขององค์กรเอกชนในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานในศูนย์การเรียนรู้ พ.ศ.

๒๕๕๕

๓. อาชวี ศึกษา
พระราชบญั ญตั ิ

- พระราชบัญญัตกิ ารอาชวี ศกึ ษา พ.ศ.๒๕๕๑

๔. การศกึ ษาเอกชน
พระราชบญั ญตั ิ

- พระราชบัญญตั ิโรงเรียนเอกชน พ.ศ.๒๕๕๐
- พระราชบญั ญตั โิ รงเรียนเอกชน (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔
กฎกระทรวง
- กฎกระทรวงว่าดว้ ยการกาหนดคุณสมบตั แิ ละลกั ษณะต้องหา้ มของผ้บู รหิ ารโรงเรียนนอกระบบ พ.ศ.
๒๕๕๓
- กฎกระทรวงกาหนดค่าธรรมเนยี มสาหรับการประกอบกจิ การโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๓



๕. การส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
พระราชบัญญตั ิ

- พระราชบัญญตั ิส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.๒๕๕๑
กฎกระทรวง

- กฎกระทรวงว่าด้วยการแบ่งระดับและการเทียบระดับการศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย
พ.ศ.๒๕๔๖

๖. อุดมศึกษา
พระราชบญั ญัติ

- พระราชบญั ญัติมหาวทิ ยาลัยราชภฎั พ.ศ. ๒๕๔๗
- พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บขา้ ราชการพลเรอื นในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.๒๕๔๗
- พระราชบญั ญตั สิ ถาบันเทคโนโลยปี ทมุ วนั พ.ศ.๒๕๔๗
- พระราชบญั ญตั ิมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล พ.ศ.๒๕๔๘
- พระราชบัญญัติสถาบนั การพลศกึ ษา พ.ศ.๒๕๔๘
- พระราชบญั ญตั ิมหาวิทยาลยั นราธิวาสราชนครนิ ทร์ พ.ศ.๒๕๔๘
- พระราชบญั ญตั มิ หาวิทยาลัยนครพนม พ.ศ. ๒๕๔๘
- พระราชบัญญัตกิ ารบริหารสว่ นงานภายในของสถาบนั อุดมศกึ ษา พ.ศ.๒๕๕๐
- พระราชบญั ญตั มิ หาวทิ ยาลัยมหดิ ล พ.ศ.๒๕๕๐
- พระราชบัญญตั ิมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ พ.ศ.๒๕๕๐
- พระราชบัญญตั มิ หาวทิ ยาลยั บูรพา พ.ศ.๒๕๕๐
- พระราชบัญญตั จิ ุฬาภรณ์มหาวิทยาลยั พ.ศ.๒๕๕๑
- พระราชบัญญัตมิ หาวิทยาลยั เชยี งใหม่ พ.ศ.๒๕๕๑
- พระราชบัญญตั มิ หาวทิ ยาลัยพะเยา พ.ศ.๒๕๕๓
- พระราชบญั ญตั ิมหาวิทยาลัยกรงุ เทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๓
กฎกระทรวง
- กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึ กษา
ระดบั อดุ มศกึ ษา พ.ศ.๒๕๔๖
- กฎกระทรวงจัดตง้ั ส่วนราชการในมหาวิทยาลยั ราชภฏั กาญจนบรุ ี กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจดั ตัง้ ส่วนราชการในมหาวิทยาลยั ราชภัฏกาฬสินธ์ุ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจัดต้ังส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.
๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจัดต้ังส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.
๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจัดต้งั สว่ นราชการในมหาวิทยาลยั ราชภัฏชัยภมู ิ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจัดตง้ั สว่ นราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภัฏเชียงราย กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๘



- กฎกระทรวงจัดตั้งสว่ นราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงใหม่ กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจัดตั้งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจัดตง้ั สว่ นราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจดั ตง้ั สว่ นราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจดั ตั้งส่วนราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครพนม กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจัดตั้งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.
๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจัดต้ังส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.
๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจัดตั้งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.
๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจัดต้ังส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจดั ตั้งส่วนราชการในมหาวิทยาลยั ราชภฏั บุรรี มั ย์ กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจดั ตง้ั สว่ นราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนคร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจดั ตั้งสว่ นราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.
๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจัดตั้งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.
๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจัดตงั้ สว่ นราชการในมหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ ี กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจัดต้ังส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจัดตั้งส่วนราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบูรณ์ กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจดั ต้งั ส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภฏั ภเู กต็ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจัดตั้งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.
๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจดั ตง้ั ส่วนราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏยะลา กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจัดต้ังส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.
๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจดั ตั้งส่วนราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภัฏรอ้ ยเอ็ด กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจัดตั้งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.
๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจัดตง้ั สว่ นราชการในมหาวิทยาลยั ราชภฏั เลย กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจัดตง้ั สว่ นราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏลาปาง กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจัดตง้ั สว่ นราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจัดตั้งสว่ นราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภัฏสกลนคร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจัดตง้ั ส่วนราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสงขลา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๘



- กฎกระทรวงจดั ตั้งสว่ นราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนดุสิต กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจัดตั้งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.
๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจัดตั้งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.
๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจัดตงั้ ส่วนราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภัฏสุรินทร์ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจัดต้ังส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.
๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจัดตัง้ ส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏอดุ รธานี กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจดั ตัง้ สว่ นราชการในมหาวิทยาลยั ราชภฏั อตุ รดติ ถ์ กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจัดตั้งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.
๒๕๔๘

๗. อดุ มศึกษาเอกชน
พระราชบญั ญตั ิ

- พระราชบญั ญัตสิ ถาบนั อดุ มศึกษาเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๖
- พระราชบญั ญัตสิ ถาบันอุดมศึกษาเอกชน (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๕๐
กฎกระทรวง
- กฎกระทรวงกาหนดลักษณะของมหาวิทยาลัย สถาบัน และวิทยาลัยของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
พ.ศ.๒๕๔๙
- กฎกระทรวงกาหนดหลกั เกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขอรับใบอนุญาตและการออกใบอนุญาต
ใหจ้ ัดต้งั สถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชน พ.ศ.๒๕๔๙
- กฎกระทรวงกาหนดลักษณะและเน้ือท่ดี นิ ที่จะใช้เป็นทจี่ ดั สถาบันอดุ มศึกษาเอกชน พ.ศ.๒๕๔๙
- กฎกระทรวงวา่ ด้วยหลกั เกณฑใ์ ห้อนุปริญญาสาหรับผู้ท่ีสอนไว้ได้ครบทุกลักษณะวิชา ตามหลักสูตร
ปรญิ ญาตรี พ.ศ. ๒๕๔๙
- กฎกระทรวงกาหนดชั้น สาขาของปริญญา และหลักเกณฑ์การให้ปริญญากิตติมศักด์ิของ
สถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ.๒๕๔๙
- กฎกระทรวงกาหนดลักษณะ ชนิด ประเภท และส่วนประกอบของครุยวิทยฐานะ และเข็มวิทย
ฐานะของสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชน พ.ศ.๒๕๔๙
- กฎกระทรวงว่าด้วยการคุ้มครองการทางานและผลประโยชน์ตอบแทนของผู้ปฏิบัติงานใน
สถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชน พ.ศ.๒๕๔๙

๘. ครูและบุคลากรทางการศึกษา
พระราชบญั ญตั ิ

- พระราชบญั ญตั ิระเบียบบริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๖
- พระราชบญั ญตั ิบาเหน็จบานาญขา้ ราชการ (ฉบับท่ี ๒๒) พ.ศ.๒๕๔๗
- พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ.๒๕๔๗



- พระราชบญั ญตั ิเงินเดือน เงนิ วิทยฐานะ และเงินประจาตาแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา พ.ศ.๒๕๔๗

- พระราชบัญญตั เิ งนิ เดือนและเงนิ ประจาตาแหนง่ (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ.๒๕๔๗
- พระราชบญั ญตั ริ ะเบียบขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๕๑
- พระราชบญั ญัตริ ะเบยี บขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ.๒๕๕๓
พระราชกฤษฎีกา
- พระราชกฤษฎกี าการปรับอตั ราเงินเดือนขา้ ราชการครู และบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ.๒๕๔๙
- พระราชกฤษฎีกาการปรับอัตราเงินเดือนข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ.๒๕๕๐
- พระราชกฤษฎีกาการได้รับเงินประจาตาแหน่งของข้าราชการ และผู้ดารงตาแหน่งผู้บริหาร ซึ่งไม่
เป็นข้าราชการ (ฉบับที่ ๗) พ.ศ.๒๕๔๗
- พระราชกฤษฎีกาการได้รับเงินประจาตาแหน่งของข้าราชการ และผู้ดารงตาแหน่งผู้บริหาร ซึ่งไม่
เปน็ ข้าราชการ (ฉบับที่ ๙) พ.ศ.๒๕๔๙
กฎกระทรวง
- กฎกระทรวงการประกอบวชิ าชีพควบคุม พ.ศ.๒๕๔๙

๙. วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
พระราชบญั ญตั ิ

- พระราชบัญญตั สิ ถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๘
- พระราชบัญญตั วิ า่ ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวตั กรรมแหง่ ชาติ พ.ศ.๒๕๕๑

๑๐. เด็ก เยาวชน คนพกิ าร ผู้สงู อายุ
พระราชบญั ญตั ิ

- พระราชบญั ญัตคิ ุม้ ครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖
- พระราชบญั ญตั ิผสู้ งู อายุ พ.ศ.๒๕๔๖
- พระราชบญั ญัติส่งเสรมิ การพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๐
- พระราชบญั ญัตกิ ารจัดการศกึ ษาสาหรบั คนพิการ พ.ศ.๒๕๕๑
กฎกระทรวง
- กฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑแ์ ละวิธีการให้คนพิการมีสทิ ธิไดร้ บั สิ่งอานวยความสะดวก ส่ือ บริการ
และความช่วยเหลืออื่นใดทางการศกึ ษา พ.ศ.๒๕๕๐
- กฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรงบประมาณทางการศึกษา สาหรับคนพิการ พ.ศ.
๒๕๔๕
- กฎกระทรวงกาหนดหลักเกณแ์ ละวิธีการให้คนพิการมีสิทธิได้รับสิ่งอานวยความสะดวก สื่อ บริการ
และความช่วยเหลืออ่นื ใดทางการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๐



๑๑. ภาษกี ารศกึ ษา
พระราชกฤษฎกี า

- พระราชกฤษฏีกาออกตามความในประมวลรษั ฎากรวา่ ด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ ๒๘๔) พ.ศ.
๒๕๓๘

- พระราชกฤษฏกี าออกตามความในประมวลรษั ฎากรวา่ ด้วยกาหนดกจิ การท่ไี ดร้ ับยกเว้นภาษีธุรกจิ
เฉพาะกจิ (ฉบบั ที่ ๓๘๖) พ.ศ.๒๕๔๔

- พระราชกฤษฏีกาออกตามความในประมวลรษั ฎากรวา่ ด้วยการยกเว้นรษั ฎากร (ฉบับที่ ๔๒๐) พ.ศ.
๒๕๔๗

- พระราชกฤษฏีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้นภาษมี ูลค่าเพมิ่ (ฉบับที่
๔๒๒) พ.ศ.๒๕๔๗

- พระราชกฤษฏีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรวา่ ด้วยการยกเวน้ รัษฎากร (ฉบับที่ ๔๒๗) พ.ศ.
๒๕๔๘

- พระราชกฤษฏีกาออกตามความในประมวลรัษฏากร วา่ ดว้ ยการยกเวน้ รษั ฏากร (ฉบับท่ี ๔๓๗)
พ.ศ.๒๕๔๘

- พระราชกฤษฏีออกตามความในประมวลรษั ฎากรว่าด้วยการยกเวน้ รัษฎากร (ฉบับท่ี ๔๗๖) พ.ศ.
๒๕๕๑

- พระราชกฤษฏอี อกตามความในประมวลรัษฎากรวา่ ดว้ ยการยกเว้นรษั ฎากร (ฉบับท่ี ๕๒๖) พ.ศ.
๒๕๕๔

๑๒. อน่ื ๆ
พระราชบัญญตั ิ

- พระราชบญั ญัติลูกเสือ พ.ศ.๒๕๕๑
พระราชกฤษฎกี า

- พระราชกฤษฎีกาจัดต้งั สานักงานบริหารและพฒั นาองค์ความรู้ (องค์กรมหาชน) พ.ศ. ๒๕๔๗
- พระราชกฤษฎีกาจดั ต้ังสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๔๘
กฎกระทรวง
- กฎกระทรวงว่าดว้ ยการจดั การศึกษาเฉพาะทาง พ.ศ. ๒๕๔๗
- กฎกระทรวงว่าดว้ ยระบบ หลกั เกณฑ์ และวิธกี ารประกนั คุณภาพทางการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๓



สรุปสาระสาคัญ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
สรุปสาระสาคัญเกย่ี วกับ พ.ร.บ.การศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ แยกเปน็ หมวด ๆ ดังน้ี
หมวด ๑ บททัว่ ไป ความมงุ่ หมายและหลักการ

พระราชบญั ญัติฉบับนมี้ เี จตนารมณ์ท่ีต้องการเน้นย้าว่าการจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพ่ือพัฒนาคนไทย
ให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ ท้ังร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการ
ดารงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกบั ผูอ้ น่ื ไดอ้ ยา่ งมีความสุข
การจดั การศึกษา ให้ยดึ หลักดังนี้

๑) เป็นการศกึ ษาตลอดชีวิตสาหรบั ประชาชน
๒) ใหส้ งั คมมีส่วนร่วมในการจดั การศึกษา
๓) การพฒั นาสาระและกระบวนการเรยี นรู้ใหเ้ ป็นไปอย่างต่อเนื่อง
สาหรับเร่อื งการจดั ระบบ โครงสรา้ งและกระบวนการจดั การศึกษา ให้ยึดหลกั ดงั นี้

๑) มเี อกภาพดา้ นนโยบายและมีความหลากหลายในการปฏบิ ัติ
๒) มีการกระจายอานาจไปสู่เขตพ้ืนที่การศึกษา สถานศึกษา และองค์กรปกครอง ส่วน
ทอ้ งถ่นิ
๓) มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษาและจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุก ระดับและ
ประเภท
๔) มีหลักการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพและการพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากร ทาง
การศึกษาอยา่ งต่อเน่อื ง
๕) ระดมทรัพยากรจากแหล่งตา่ ง ๆ มาใช้ในการจัดการศกึ ษา
๖) การมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น
เอกชน องค์กรเอกชน องคก์ รวิชาชพี สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สงั คมอื่น
หมวด ๒ สิทธแิ ละหนา้ ท่ที างการศึกษา
บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาข้ันพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปี ที่รัฐต้องจัดให้
อยา่ งทั่วถึง และมคี ุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
- บุคคล ซึ่งมีความบกพร่องทางด้านต่าง ๆ หรือมีร่างกายพิการ หรือมีความต้องการเป็นพิเศษ หรือ
ผดู้ ้อยโอกาสมีสิทธิและโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพืน้ ฐานเป็นพเิ ศษ
- บิดามารดา หรือผู้ปกครองมีหน้าท่ีจัดให้บุตรหรือบุคคลในความดูแลได้รับการศึกษาทั้งภาคบังคับ
และนอกเหนอื จากภาคบงั คับตามความพร้อมของครอบครวั
- บิดามารดา บุคคล ชุมชน องค์กร และสถาบันต่าง ๆ ทางสังคมที่สนับสนุนหรือจัดการศึกษาขั้น
พื้นฐาน มีสทิ ธไิ ดร้ ับสิทธปิ ระโยชน์ตามควรแกก่ รณดี งั นี้
- การสนับสนุนจากรัฐให้มีความรู้ ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาแก่บุตรหรือผู้ซ่ึง
อยูใ่ นความดแู ล รวมทง้ั เงินอดุ หนนุ สาหรับการจัดการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
- การลดหยอ่ นหรือยกเวน้ ภาษสี าหรบั คา่ ใช้จ่ายการศึกษา
หมวด ๓ ระบบการศกึ ษา
การจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศยั สถานศึกษาจดั ไดท้ ้งั สามรูปแบบ และให้มีการเทียบโอนผลการเรียนท่ีผู้เรียนสะสมไว้ระหว่างรูปแบบ
เดยี วกนั หรอื ตา่ งรปู แบบได้ ไม่วา่ จะเป็นผลการเรยี นจากสถานศึกษาเดยี วกนั หรือไม่ก็ตาม การศึกษาในระบบมี

๑๐

สองระดับ คือ การศึกษาขั้นพ้ืนฐานซ่ึงจัดไม่น้อยกว่า ๑๒ ปี ก่อนระดับอุดมศึกษา และระดับอุดมศึกษา ซึ่ง
แบ่งเป็นระดับตา่ กว่าปรญิ ญา และระดบั ปริญญา

ให้มีการศึกษาภาคบังคับเก้าปี นับจากอายุย่างเข้าปีที่เจ็ด จนอายุย่างเข้าปีท่ีสิบหก หรือเมื่อสอบได้
ชน้ั ปีทีเ่ กา้ ของการศกึ ษาภาคบงั คบั

- สาหรบั เรอื่ งสถานศกึ ษาน้ัน การศกึ ษาปฐมวัย และการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน ใหจ้ ดั ใน
๑) สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย
๒) โรงเรยี น ได้แก่ โรงเรยี นของรัฐ เอกชน และโรงเรียนที่สังกดั สถาบันศาสนา
๓) ศูนย์การเรยี น ได้แก่ สถานที่เรียนท่ีหน่วยงานจัดการศึกษานอกโรงเรียน บุคคล ครอบครัว ชุมชน
องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ
โรงพยาบาล สถาบนั ทางการแพทย์ สถานสงเคราะห์ และสถาบันสังคมอน่ื เป็นผ้จู ัด
- การจัดการศกึ ษาระดับอุดมศึกษา ให้จดั ในมหาวทิ ยาลยั สถาบนั วทิ ยาลัย หรือ หน่วยงานที่เรียกช่ือ
อย่างอืน่ ท้งั น้ใี ห้เป็นไปตามกฎหมายทเี่ กยี่ วขอ้ ง
- การจัดการอาชีวศึกษา การฝึกอบรมวิชาชีพ ให้จัดในสถานศึกษาของรัฐ สถาน ศึกษาของเอกชน
สถานประกอบการ หรือโดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษากับสถานประกอบการ กระทรวง ทบวง กรม
รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ อาจจัดการศึกษา เฉพาะทางตามความต้องการและความชานาญของ
หน่วยงานน้นั ได้โดยคานึงถึงนโยบายและมาตรฐานการศึกษาของชาติ
หมวด ๔ แนวการจดั การศึกษา
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด ผู้เรียนทุกคน สามารถเรียนรู้และพัฒนา
ตนเองได้ ดังน้ันกระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน ได้พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
การจัดการศึกษาทั้งสามรูปแบบในหมวด ๓ ต้องเน้นท้ังความรู้ คุณธรรม และ กระบวนการเรียนรู้ ในเร่ือง
สาระความรู้ ให้บูรณาการความรู้และทักษะด้านต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับแต่ ละระดับการศึกษา ได้แก่ ด้าน
ความรู้เก่ียวกับตนเองและความสัมพันธ์ระหว่างตนเองกับสังคม ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้านศาสนา
ศลิ ปวฒั นธรรม การกฬี า ภูมิปัญญาไทย และการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา ด้านภาษา โดยเฉพาะการใช้ภาษาไทย
ดา้ นคณติ ศาสตร์ ด้านการประกอบอาชีพ และการดารงชวี ิตอย่างมีความสุข ในเรื่องการจัดกระบวนการเรียนรู้
ให้จัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมท่ีสอดคล้องกับ ความสนใจ ความถนัดของผู้เรียน และความแตกต่างระหว่าง
บุคคล รวมท้ังให้ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการการเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ความรู้มาใช้
ป้องกันและแก้ปัญหา จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจริง ผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างสมดุล และ
ปลกู ฝงั คณุ ธรรม คา่ นยิ มทด่ี ี คุณลักษณะอันพึงประสงคใ์ นทุกวิชา นอกจากนน้ั ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ยัง
ต้องส่งเสริมให้ผู้สอน จัดบรรยากาศ และส่ิงแวดล้อมที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ ใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของ
กระบวนการเรยี นรู้ ผสู้ อนและผเู้ รียนอาจเรียนรไู้ ปพร้อมกันจากสื่อและแหล่งวิทยาการประเภทต่าง ๆ จัดการ
เรียนรใู้ ห้เกดิ ขนึ้ ไดท้ กุ เวลา ทุกสถานท่ี มีการประสานความร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชน รวมท้ังส่งเสริมการ
ดาเนินงาน และการจัดต้ังแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ การประเมินผลผู้เรียน ให้สถานศึกษา
พิจารณาจากพฒั นาการของผู้เรียน ความ ประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม และการ
ทดสอบ ส่วนการจัดสรรโอกาสการเข้าศึกษาต่อ ให้ใช้วิธีการที่หลากหลายและนาผลการประเมินผู้เรียนมาใช้
ประกอบด้วย หลักสูตรการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท ต้องมีความหลากหลาย โดยส่วน กลางจัดทา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน เน้นความเป็นไทยและความเป็นพลเมืองดี การดารงชีวิตและการ
ประกอบอาชีพตลอดจนเพ่ือการศึกษาต่อและให้สถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานจัดทาหลักสูตรในส่วนท่ีเกี่ยวกับสภาพ

๑๑

ปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน และคุณลักษณะของสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชนสังคมและ
ประเทศชาติ สาหรับหลักสูตรการศึกษาระดับอุดมศึกษาเพิ่มเรื่องการพัฒนาวิชาการ วิชาชีพชั้นสูงและการ
ค้นคว้าวิจยั เพ่ือพฒั นาองคค์ วามรูแ้ ละสงั คมศึกษา
หมวด ๕ การบริหารและการจดั การศึกษา

ส่วนที่ ๑ การบริหารและการจดั การศึกษาของรฐั
แบ่งเป็นสามระดับ คอื ระดับชาติ ระดับเขตพน้ื ท่ีการศึกษาและระดับสถานศึกษา เพ่ือเป็นการกระจายอานาจ
ลงไปสทู่ อ้ งถิน่ และสถานศึกษาใหม้ ากท่ีสุด

๑.๑ ระดับชาติ
ให้มีกระทรวงการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีอานาจหน้าท่ี กากับดูแลการศึกษาทุกระดับ

และทุกประเภทรวมทั้ง การศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม กาหนดนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษา
สนับสนุนทรัพยากรรวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษา ศาสนา ศิลปะและ
วฒั นธรรม

กระทรวงการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีองค์กรหลักท่ีเป็นคณะ บุคคลในรูปสภาหรือ
คณะกรรมการสี่องคก์ ร คอื

- สภาการศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรมแหง่ ชาติ
- คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
- คณะกรรมการการอดุ มศึกษา
- คณะกรรมการการศาสนาและวฒั นธรรม
- มีหน้าที่พิจารณาให้ความเห็นหรือให้คาแนะนาแก่รัฐมนตรี หรือคณะรัฐ มนตรีและมีอานาจหน้าที่
อนื่ ตามทกี่ ฎหมายกาหนด
- ให้สานักงานของท้ังสี่องค์กรเป็นนิติบุคคล มีคณะกรรมการแต่ละองค์กร ประกอบด้วยกรรมการ
โดยตาแหน่งจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้แทนองค์กรเอกชน ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนองค์กร
วิชาชีพ และผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งมีจานวนไม่น้อยกว่าจานวนกรรมการประเภทอื่นรวมกัน มีเลขาธิการของแต่ละ
สานักงาน เปน็ กรรมการและเลขานกุ าร
- สภาการศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรมแห่งชาติ มีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐาน
การศึกษาของชาติ นโยบายและแผนด้านศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม การสนับสนุนทรัพยากร การ
ประเมินผลการจัดการศึกษา การดาเนินการด้านศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม รวมท้ังการพิจารณากล่ันกรอง
กฎหมายและกฎกระทรวง
- คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีหน้าท่ีพิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐานและ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานที่สอดคล้องกับแผนการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมแห่งชาติ
การสนับสนุนทรัพยากร การตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจดั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
- คณะกรรมการการอุดมศึกษา มีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการ
อุดมศึกษาท่ีสอดคล้องกับแผนการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมแห่งชาติ การสนับสนุนทรัพยากร การ
ติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษาระดับอดุ มศึกษา โดยคานงึ ถึงความเป็นอิสระตามกฎหมาย
วา่ ด้วยการจัดต้ังสถานศึกษาแตล่ ะแหง่
- คณะกรรมการการศาสนาและวัฒนธรรม มีหน้าท่ีพิจารณาเสนอนโยบายและแผนพัฒนาท่ีสอดคล้อง
กับแผนการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมแห่งชาติ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบและ

๑๒

ประเมินผลการดาเนินการด้านศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม สถานศึกษาของรัฐท่ีจัดการศึกษาระดับปริญญา
เป็นนิติบุคคล ดาเนินการจัดการศึกษาและอยู่ภายใต้การกากับดูแลของสภาสถานศึกษาตามกฎหมายว่าด้วย
การจดั ตั้งสถานศึกษานัน้ ๆ

๑.๒ ระดบั เขตพื้นท่กี ารศกึ ษา
การบริหารและการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและการอุดมศึกษาระดับต่า กว่าปริญญา ให้ยึดเขต

พ้ืนทกี่ ารศึกษาโดยคานึงถึงปริมาณสถานศึกษา และจานวนประชากรเป็นหลัก รวมท้ังความเหมาะสมด้านอ่ืน
ด้วย ในแต่ละเขตพื้นที่การศึกษาให้มีคณะกรรมการและสานักงานการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเขตพ้ืนท่ี
การศึกษา ทาหน้าที่ในการกากับดูแลสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับต่ากว่า
ปริญญา ประสานส่งเสริมและสนับสนุนสถานศึกษาเอกชนในเขตพ้ืนที่การศึกษาประสานและส่งเสริมองค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ินให้สามารถจัดการศึกษาสอดคล้องกับนโยบายและมาตรฐานการศึกษา ส่งเสริมและ
สนับสนุนการจัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา
สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่นที่จัดการศึกษาในรูปแบบท่ีหลากหลาย รวมท้ังการกากับดูแล
หน่วยงานด้านศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมในเขตพื้นที่การศึกษา คณะกรรมการเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประกอบด้วยผู้แทนองค์กรชุมชน ผู้แทนองค์กรเอกชน ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนสมาคมผู้
ประกอบวิชาชีพครู และผู้ประกอบวิชาชีพบริหารการศึกษา ผู้แทนสมาคมผู้ปกครองและครู ผู้นาทางศาสนา
และผทู้ รงคุณวุฒิด้านการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม โดยให้ผู้อานวยการสานักงานการศึกษา ศาสนา และ
วฒั นธรรมเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาเป็นกรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการ

๑.๓ ระดับสถานศกึ ษา
ให้แต่ละสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และสถานศึกษาอุดมศึกษาระดับ ต่ากว่าปริญญา มี

คณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อทาหน้าที่กากับและส่งเสริมสนับสนุนกิจการของสถานศึกษาและจัดทาสาระ
ของหลักสูตรในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคมภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงค์
คณะกรรมการสถานศึกษาประกอบด้วย ผู้แทน ผู้ปกครอง ผู้แทนครู ผู้แทนองค์กรชุมชน ผู้แทนองค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ิน ผู้แทนศิษย์เก่าของสถานศึกษา และผู้ทรงคุณวุฒิ และให้ผู้บริหารสถานศึกษาเป็น
กรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการ ทั้งน้ี ให้กระทรวงกระจายอานาจ ท้ังด้านวิชาการ งบประมาณ
การบรหิ ารงานบคุ คล และการบริหารท่ัวไป ไปยงั คณะกรรมการและสานักงานการศึกษาฯ เขตพื้นที่การศึกษา
และสถานศึกษาในเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาโดยตรง

สว่ นท่ี ๒ การบริหารและการจดั การศกึ ษาขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดการศึกษาได้ทุกระดับและทุกประเภทตามความพร้อม ความ

เหมาะสมและความตอ้ งการภายในท้องถ่ิน เพ่ือเป็นการรองรับสิทธิและการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ตามที่กาหนดในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย โดยกระทรวงกาหนด
หลักเกณฑ์และวธิ กี ารประเมินความพร้อม รวมท้ังประสานและส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถ
จดั การศกึ ษาได้

ส่วนท่ี ๓ การบรหิ ารและการจัดการศกึ ษาของเอกชน
สถานศึกษาเอกชนเป็นนิติบุคคลจัดการศึกษาได้ทุกระดับและทุกประเภท มีคณะกรรมการ

บรหิ าร ประกอบด้วยผู้บรหิ ารสถานศึกษาเอกชน ผู้รับใบอนุญาต ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนองค์กรชุมชน ผู้แทน
ครู ผู้แทนศษิ ยเ์ ก่าและผ้ทู รงคุณวฒุ ิ การบรหิ ารและการจัดการศึกษาของเอกชนให้มีความเป็นอิสระ โดยมีการ
กากับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาจากรัฐ และต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การประเมิน

๑๓

คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเช่นเดียวกับสถานศึกษาของรัฐ รวมท้ังรัฐต้องให้การสนับสนุนด้านวิชาการ
และด้านเงินอุดหนุน การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษี รวมทั้งสิทธิประโยชน์อ่ืนตามความเหมาะสม ทั้งน้ี การ
กาหนดนโยบายและแผนการจัดการศึกษาของรัฐของเขตพื้นท่ีการศึกษา หรือขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
ให้คานึงถึงผลกระทบต่อการจัดการศึกษาของเอกชน โดยให้รับฟังความคิดเห็นของเอกชน และประชาชน
ประกอบการพิจารณาด้วย ส่วนสถานศึกษาของเอกชนระดับปริญญา ให้ดาเนินกิจการโดยอิสระภายใต้การ
กากบั ดแู ลของสภาสถานศกึ ษาตามกฎหมายว่าดว้ ยสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชน
หมวด ๖ มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา

ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับ ประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายใน
และระบบการประกนั คณุ ภาพภายนอก หนว่ ยงานต้นสังกัด และสถานศึกษา จัดให้มีระบบการประกับคุณภาพ
ภายใน ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของการบริหาร และจัดทารายงานประจาปีเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผย
ต่อสาธารณชน ให้มีการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาทุกแห่งอย่างน้อยหนึ่งครั้งทุกห้าปี โดย
สานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา ซึง่ เป็นองค์การมหาชนทาหน้าท่ีพัฒนาเกณฑ์วิธีการ
ประเมินและจัดใหม้ ีการประเมินดงั กล่าว รวมท้ังเสนอผลการประเมินต่อหน่วยงานที่เก่ียวข้องและสาธารณชน
ในกรณีที่ผลการประเมินภายนอกไม่ได้มาตรฐานให้สานักงานรับรองมาตรฐานฯ จัดทาข้อเสนอแนะต่อ
หน่วยงานต้นสังกัด ให้สถานศึกษาปรับปรุง ภายในระยะเวลาที่กาหนด หากมิได้ดาเนินการ ให้สานักงาน
รบั รองมาตรฐานฯ รายงานตอ่ คณะกรรมการตน้ สงั กัด เพื่อใหด้ าเนินการปรบั ปรุงแก้ไขต่อไป
หมวด ๗ ครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา

ใหก้ ระทรวงสง่ เสริมให้มีระบบ กระบวนการผลิตและพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
ให้มคี ุณภาพและมาตรฐานที่เหมาะสมกับการเปน็ วิชาชีพช้ันสงู โดยรฐั จดั สรรงบประมาณและกองทุนพัฒนาครู
คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาอย่างเพียงพอ มีกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน ค่าตอบแทน สวัสดิการ ฯลฯ
ให้มีองค์กรวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา เป็นองค์กรอิสระมีอานาจหน้าท่ีกาหนด
มาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพกิ ถอนใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพ รวมท้ังกากับดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานและ
จรรยาบรรณของวิชาชพี

ครู ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ผบู้ รหิ ารการศกึ ษาและบุคลากรทางการศึกษาอ่นื ทั้งของรัฐและเอกชน ต้องมี
ใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพ ทัง้ นี้ ยกเว้น ผู้ที่จัดการศึกษาตามอัธยาศัย จัดการศึกษาในศูนย์การเรียน วิทยากร
พเิ ศษ และผบู้ ริหารการศกึ ษาระดบั เหนือเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

ให้ข้าราชการของหน่วยงานทางการศึกษาในระดับสถานศึกษาและระดับเขตพ้ืนที่การศึกษาเป็น
ข้าราชการในสังกัดองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู ตามหลักการกระจายอานาจการ
บรหิ ารงานบุคคลสเู่ ขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาและสถานศกึ ษา

การผลิตและพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา การพัฒนามาตรฐานและจรรยาบรรณของ
วิชาชีพ และการบริหารงานบุคคลของข้าราชการหรือพนักงานของรัฐในสถานศึกษาระดับปริญญาที่เป็นนิติ
บคุ คลให้เปน็ ไปตามกฎหมายเฉพาะของสถานศึกษาน้ัน ๆ
หมวด ๘ ทรัพยากรและการลงทนุ เพอื่ การศึกษา

ให้มีการระดมทรัพยากรและการลงทุนด้านงบประมาณ การเงิน และทรัพย์สิน ท้ังจากรัฐ องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบัน
ศาสนา สถานประกอบการ สถาบันสังคมอ่ืนและต่างประเทศมาใช้จัดการศึกษา โดยให้รัฐและองค์กรปกครอง

๑๔

ส่วนท้องถิ่น ใช้มาตรการภาษีส่งเสริมและให้แรงจูงใจ รวมท้ังใช้มาตรการลดหย่อน หรือยกเว้นภาษีตามความ
เหมาะสม

สถานศึกษาของรัฐท่ีเป็นนิติบุคคล มีอานาจในการปกครอง ดูแล บารุงรักษา ใช้และจัดหา
ผลประโยชน์จากทรัพย์สินของสถานศึกษา ท้ังที่เป็นที่ราชพัสดุ และท่ีเป็นทรัพย์สินอ่ืน รวมทั้งหารายได้จาก
บริการของสถานศึกษาที่ไม่ขัดกับภารกิจหลักอสังหาริมทรัพย์ท่ีสถานศึกษาของรัฐได้มา ทั้งจากผู้อุทิศให้หรือ
ซ้ือหรือแลกเปล่ียนจากรายได้ของสถานศึกษา ให้เป็นกรรมสิทธิ์ของสถานศึกษา บรรดารายได้และ
ผลประโยชนต์ ่าง ๆ ของสถานศึกษาของรฐั ดังกล่าว ไมเ่ ป็นรายได้ทีต่ ้องส่งกระทรวงการคลงั

ให้สถานศึกษาของรัฐที่ไม่เป็นนิติบุคคล สามารถนารายได้และผลประโยชน์ต่าง ๆ มาจัดสรรเป็น
คา่ ใช้จ่ายในการจดั การศกึ ษาของสถาบันน้นั ๆ ไดต้ ามระเบยี บที่กระทรวงการคลงั กาหนด

ใหร้ ฐั จดั สรรงบประมาณแผ่นดินให้กับการศึกษา โดยจัดสรรให้ผู้เรียนและสถานศึกษา ท้ังของรัฐและ
เอกชน ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ในรูปเงินอุดหนุนทั่วไปเป็นค่าใช้จ่ายรายบุคคล กองทุนประเภทต่าง ๆ และ
ทนุ การศึกษา รวมท้ังใหม้ ีระบบการตรวจสอบ ตดิ ตามและประเมนิ ประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ลการใชจ้ ่ายงบ
ประมาณการจัดการศกึ ษาดว้ ย
หมวด ๙ เทคโนโลยเี พ่ือการศกึ ษา

รัฐจัดสรรคลื่นความถี่ ส่ือตัวนาและโครงสร้างพื้นฐานท่ีจาเป็นต่อการส่งวิทยุกระจายเสียง วิทยุ
โทรทัศน์ วิทยุโทรคมนาคม และการส่ือสารในรูปอื่นเพื่อประโยชน์สาหรับการศึกษา การทะนุบารุง ศาสนา
ศิลปะและวัฒนธรรมตามความจาเป็น รัฐส่งเสริมสนับสนุนให้มีการวิจัยและพัฒนา การผลิตและพัฒนา
แบบเรยี น ตารา สอื่ สงิ่ พมิ พอ์ ืน่ วสั ดอุ ุปกรณแ์ ละเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอ่ืน โดยจัดให้มีเงินสนับสนุนและเปิด
ให้มีการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม รวมท้ังการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการใช้เทคโนโลยีเพ่ือ
การศกึ ษา

ให้มีการพัฒนาบุคลากรท้ังด้านผู้ผลิตและผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพ่ือให้ผู้เรียนได้พัฒนาขีด
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาในโอกาสแรกท่ีทาได้ อันจะนาไปสู่การแสวงหาความรู้ได้ด้วย
ตนเองอยา่ งตอ่ เน่ืองตลอดชีวติ

ให้มีการระดมทุน เพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา จากเงินอุดหนุนของรัฐ ค่า
สัมปทานและผลกาไรท่ีได้จากการดาเนินกิจการ ด้านส่ือสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ และโทรคมนาคม
จากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรประชาชน รวมท้ังให้มีการลดอัตราค่าบริการเป็น
พเิ ศษในการใช้เทคโนโลยี

ให้มีหนว่ ยงานกลาง ทาหน้าทพี่ ิจารณาเสนอนโยบาย แผน ส่งเสริม และประสานการวิจัย การพัฒนา
และการใช้ รวมทั้งการประเมินคณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพของการผลติ และการใชเ้ ทคโนโลยีเพ่อื การศึกษา
บทเฉพาะกาล

๑. นบั แตว่ ันท่พี ระราชบัญญัตินใี้ ช้บังคบั
- ให้กฎหมาย ข้อบังคับ คาสั่ง ฯลฯ เกี่ยวกับการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมเดิมที่ใช้อยู่ยังคง
ใชบ้ งั คบั ได้ตอ่ ไป จนกว่าจะมีการปรบั ปรงุ แก้ไขตามพระราชบัญญัติน้ี ซงึ่ ตอ้ งไม่เกินหา้ ปี
- ให้กระทรวง ทบวง กรม หน่วยงานการศึกษาและสถานศกึ ษาท่ีมีอยู่ ยังคงมี ฐานะและอานาจหน้าท่ี
เช่นเดิม จนกว่าจะจัดระบบการบริหารและการจดั การศกึ ษาใหมต่ ามพระราชบญั ญัติน้ี ซงึ่ ต้องไมเ่ กนิ สามปี

๑๕

- ให้ดาเนินการออกกฎกระทรวง เพื่อแบ่งระดับและประเภทการศึกษาของการ ศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
รวมทั้งการแบ่งระดับหรือการเทียบระดับการศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตามอัธยาศัยให้แล้วเสร็จภายใน
หน่ึงปี

๒. ในวาระเร่ิมแรก มิให้นา
- บทบัญญัติเกี่ยวกบั การจัดการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานสบิ สองปี และการศึกษาภาค บังคับเก้าปี มาใช้บังคับ
จนกว่าจะมกี ารดาเนนิ การให้เปน็ ไปตามพระราชบัญญัติน้ี ซ่ึงต้องไม่เกินห้าปี นับจากวันท่ีรัฐธรรมนูญใช้บังคับ
และภายในหกปี ใหก้ ระทรวงจัดให้สถานศึกษาทกุ แห่ง มกี ารประเมินผลภายนอกครง้ั แรก
- นาบทบญั ญตั ิในหมวด ๕ การบรหิ ารและการจดั การศกึ ษา และหมวด ๗ ครู คณาจารย์และบุคลากร
ทางการ ศกึ ษามาใชบ้ ังคบั จนกว่าจะมกี ารดาเนินการให้เปน็ ไปตามพระราชบัญญตั ิน้ี ซึ่งต้องไมเ่ กนิ สามปี
- ทั้งนข้ี ณะทีก่ ารจดั ต้ังกระทรวงยงั ไม่แล้วเสร็จให้นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
และรัฐมนตรีวา่ การทบวงมหาวิทยาลัย รักษาการตามพระราชบัญญัติน้ี และให้ออกกฎกระทรวงระเบียบ และ
ประกาศเพอื่ ปฏิรูปตามพระราชบัญญัตนิ ใ้ี นสว่ นทเ่ี กยี่ วกับอานาจหน้าที่ของตน รวมทั้งให้กระทรวงศึกษาธิการ
ทบวงมหาวิทยาลยั และสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาติ ทาหน้าที่กระทรวงการศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรมในส่วนทเ่ี กีย่ วข้องแล้วแตก่ รณี
๓. ให้จดั ต้ังสานกั งานปฏริ ูปการศึกษา เป็นองค์การมหาชนเฉพาะกิจ ทาหนา้ ท่ี
- เสนอการจัดโครงสร้าง องค์กร การแบง่ ส่วนงาน ตามสาระบัญญัติในหมวดท่ีว่า ด้วยการบริหารและ
การจัดการศึกษา การจัดระบบครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา การจัดระบบทรัพยากร และการ
ลงทุนเพื่อการศึกษา
- เสนอร่างกฎหมาย และปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ และคาสั่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับ
การจัดโครงสรา้ งและระบบต่าง ๆ ดังกล่าวขา้ งต้นเพื่อใหส้ อดคลอ้ งกบั พระราชบญั ญัตนิ ้ี
- ตามอานาจหน้าที่อ่นื ท่ีกาหนดในกฎหมายองค์การมหาชน
๔. คณะกรรมการบริหารสานักงานปฏิรูปการศึกษามีเก้าคน ประกอบด้วย ประธานกรรมการและ
กรรมการ ซง่ึ คณะรฐั มนตรีแตง่ ตง้ั จากผูม้ คี วามรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ และมีความเชี่ยวชาญ ด้านการ
บริหาร การศึกษา การบริหารรัฐกิจ การบริหารงานบุคคล การงบประมาณการเงินและการคลัง กฎหมาย
มหาชน และกฎหมายการศึกษา ท้ังน้ี ต้องมีผู้ทรงคุณวุฒิ ซ่ึงมิใช่ข้าราชการหรือผู้ปฎิบัติงานในหน่วยงานของ
รัฐ ไม่น้อยกว่าสามคน ให้เลขาธิการสานักงานปฏิรูปการศึกษา เป็นกรรมการและเลขานุการคณะกรรมการ
และเลขาธิการมวี าระการตาแหน่งวาระเดียว เป็นเวลาสามปี

ท้ังน้ี ให้มีคณะกรรมการสรรหา จานวนสิบห้าคน ทาหน้าท่ีเสนอช่ือบุคคลท่ีสมควร เป็น
คณะกรรมการบริหารสานักงานปฏิรูปการศึกษา จานวนสิบแปดคนเพ่ือให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาแต่งต้ังเป็น
คณะกรรมการบรหิ ารสานักงานปฏิรปู จานวนเกา้ คน

สรุปสาระสาคัญ พระราชบัญญตั ิ การศึกษาแห่งชาติ ฉบับท่ี ๓ พ.ศ. ๒๕๕๓
๑. ให้ไว้ ณ วันท่ี ๑๒ กรกฏาคม ๒๕๕๓
๒. ประกาศใช้ วนั ที่ ๒๒ กรกฏาคม ๒๕๕๓
๓. มผี ลบังคับใช้ วนั ท่ี ๒๓ กรกฏคม ๒๕๕๓
๔. การตราพระราชบัญญัตขิ ้ึนไว้ โดยคาแนะนาและยินยอมของรัฐสภา
๕. พระราชบญั ญตั ิ การศกึ ษาแห่งชาติ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ นี้ มี ๔ มาตรา

๑๖

มาตรา ๑ คอื พรบ.นี้ เรยี กว่า พระราชบญั ญัติ การศกึ ษาแหง่ ชาติ ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๕๓
มาตรา ๒ คอื พรบ.น้ี ใหใ้ ชบ้ ังคับตง้ั แตว่ ันถดั จาก วันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา
มาตร ๓ คือ ยกเลิก มาตรา ๓๗ ของ พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และ
(ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ให้ใช้ขอ้ ความนี้แทน
มาตรา ๓๗ การบรหิ ารและการจดั การ ใหย้ ึดเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา โดยคานงึ ถึง

-ระดับการศกึ ษาการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
-จานวนสถานศึกษา
-จานวนประชากร
-วฒั นธรรม
-และความเหมาะสมด้านอนื่ ด้วย
.........รฐั มนตรี โดยคาแนะนาของสภาการศกึ ษา มอี านาจประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา
กาหนดเขตพน้ื ทขี่ องประถมและมธั ยม
........กรณีสถานศึกษามีนักเรียนทั้งประถมและมัธยม ให้สถานศึกษาน้ันอยู่ในเขตใด ให้ยึดระดับ
การศึกษาของสถานศึกษานนั้ เป็นสาคัญ ท้งั นี้ ตามที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดโดยคาแนะนาของคณะกรรมการ
การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน

สรุปสาระสาคญั พรบ.สภาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.๒๕๔๖
กฎหมายฉบับน้ีมีหลักการสาคัญ คือแก้ไขพระราชบัญญัติครู พุทธศักราช ๒๔๘๘ ให้เป็นกฎหมายว่า
ดว้ ยสภาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา และกาหนดให้มีองค์กรเกี่ยวกับวิชาชีพครู ๒ องค์กร ได้แก่ (๑) สภาครู
และบุคลากรทางการศึกษา เรียกว่า คุรุสภา มีฐานะเป็นนิติบุคคล อยู่ในกากับของกระทรวงศึกษาธิการ มี
หน้าท่เี กี่ยวกบั ศึกษา ตามมาตรา ๕๓ แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และ(๒) สานักงาน
คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา ภายใต้การบริหารของ
คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากร ทางการศึกษา มีฐานะเป็นนิติบุคคล อยู่ใน
กากับของกระทรวงศึกษาธิการ มีอานาจหน้าที่เก่ียวกับการส่งเสริมสวัสดิการ สวัสดิภาพ และส่งเสริม
สนบั สนนุ การจัดการศึกษาของกระทรวง รวมทง้ั บรหิ ารจัดการองค์การคา้ ของคุรสุ ภา
สาระสาคญั เก่ียวกับคุรสุ ภา
วัตถุประสงค์ของคุรสุ ภา (มาตรา ๘.) ไดแ้ ก่
(๑) กาหนดมาตรฐานวิชาชพี ออกและเพกิ ถอนใบอนุญาต กากับดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ
และจรรยาบรรณของวชิ าชีพ รวมท้ังการพัฒนาวิชาชีพ
(๒) กาหนดนโยบายและแผนพฒั นาวชิ าชพี
(๓) ประสานส่งเสรมิ การศกึ ษาและการวิจัยเกี่ยวกบั การประกอบวิชาชีพ
อานาจหนา้ ที่ของคุรสุ ภา (มาตรา๙)
คุรุสภามหี นา้ ท่ี
(๑) กาหนดมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชพี
(๒) ควบคุมความประพฤตขิ องผ้ปู ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา
(๓) ออกใบอนุญาตให้แก่ผูข้ อประกอบวชิ าชพี
(๔) พกั ใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนญุ าต

๑๗

(๕) สนบั สนุนและพัฒนาวิชาชีพ
(๖) ยกยอ่ ง และผดงุ เกยี รตผิ ้ปู ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา
(๗) รบั รองปรญิ ญา ประกาศนยี บตั ร หรอื วฒุ บิ ตั รของสถาบนั ตา่ ง ๆ ตามมาตรฐานวิชาชพี
(๘.) รับรองความรปู้ ระสบการณ์ ในการประกอบวชิ าชีพ
(๙) ส่งเสริมการศึกษาและการวจิ ัยเกี่ยวกับการประกอบวชิ าชีพ
(๑๐) เป็นตวั แทนผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษาของประเทศไทย
(๑๑)ออกข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วย (ก) การกาหนดลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๓ (ข) การออก
ใบอนญุ าต อายใุ บอนุญาต การพักใช้ใบอนุญาต การเพิกถอนใบอนุญาต และการรับรองความรู้ ประสบการณ์
ทางวิชาชีพ (ค) หลักเกณฑ์และวิธีการในการขอรับใบอนุญาต (ง) คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้ขอรับ
ใบอนญุ าต(จ) จรรยาบรรณของวชิ าชีพ และการประพฤตผิ ิดจรรยาบรรณ (ฉ) มาตรฐานวชิ าชีพ (ช) วิธีการสรร
หา การเลือก การเลือกต้ัง และการแต่งตั้งคณะกรรมการคุรุสภาและคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ (ซ)
องคป์ ระกอบ หลักเกณฑ์ วิธีการคดั เลอื กคณะกรรมการสรรหา (ฌ) หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาเลขาธิการคุรุ
สภา และ(ญ) การใด ๆ ตามทีก่ าหนดในพระราชบญั ญัติน้ี
(๑๒) ใหค้ าปรกึ ษาหรอื เสนอแนะตอ่ คณะรัฐมนตรีเก่ียวกับนโยบายการพัฒนาวชิ าชีพ
(๑๓) ให้คาแนะนาหรือเสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีเก่ียวกับการประกอบวิชาชีพ หรือ การออก
กฎกระทรวง ระเบยี บ
(๑๔) กาหนดให้มีคณะกรรมการเพ่ือกระทาการใด ๆ อันอยใู่ นอานาจหนา้ ทีข่ องครุ ุสภา และ
(๑๕) ดาเนินการใหเ้ ป็นไปตามวตั ถปุ ระสงค์ของคุรุสภา
การเสนอร่างขอ้ บังคบั ครุ ุสภา
จะกระทาได้เม่ือคณะกรรมการคุรุสภามีมติเห็นชอบกับร่างข้อบังคับดังกล่าว และให้ประธาน
กรรมการคุรุสภาเสนอร่างข้อบังคับนั้นต่อรัฐมนตรีโดยไม่ชักช้า รัฐมนตรีอาจยับยั้งร่างข้อบังคับนั้นได้ แต่ต้อง
แสดงเหตผุ ลโดยแจง้ ชดั นอกจากอานาจหนา้ ทตี่ ามวรรคหน่งึ ให้คุรุสภามอี านาจกระทากิจการ ดัง ต่อไปนี้ด้วย
(๑) ถือกรรมสทิ ธ์ิ หรือมีสิทธิครอบครองในทรพั ยส์ ิน ตลอดจนรับทรพั ยส์ นิ ท่ีมีผู้อทุ ิศให้
(๒) ทานิติกรรมสัญญาหรือขอ้ ตกลงใด ๆ
(๓) กูย้ ืมเพ่อื ประโยชน์ในการดาเนนิ การตามวตั ถุประสงค์ของ ครุ ุสภา
(๔) สนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านของหน่วยงานอ่ืนที่เกี่ยวข้อง ๒-๓ รายได้ของคุรุสภา (มาตรา ๑๐) ได้แก่
(๑) ค่าธรรมเนียมตามพระราชบัญญัติน้ี (๒) เงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน (๓) ผลประโยชน์จากการ
จัดการทรพั ยส์ ินและการดาเนนิ กิจการของคุรสุ ภา (๔) เงินและทรัพยส์ นิ ซึง่ มผี ู้อุทิศให้แก่ครุ ุสภา และ
(๕) ดอกผลของเงินและทรัพย์สิน ตาม (๑) (๒) (๓) และ (๔) รายได้ของคุรุสภา ไม่เป็นรายได้ที่ต้องนาส่ง
กระทรวงการคลังตามกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลงั และ กฎหมายว่าดว้ ยวิธีการงบประมาณ รวมทัง้ ไมอ่ ยูใ่ นขา่ ย
การบังคับตามกฎหมายภาษอี ากร
คณะกรรมการคุรสุ ภา
เป็นองค์กรบริหาร มีอานาจหน้าทบ่ี ริหารอานาจหนา้ ทีข่ องคุรุสภา องค์ประกอบของคณะกรรมการคุรุ
สภา มจี านวน ๓๙ คน (มาตรา ๑๒) ประกอบดว้ ย
(๑) ประธานกรรมการซึ่งคณะรฐั มนตรีแต่งตั้งจากผทู้ รงคณุ วุฒิ
(๒) กรรมการโดยตาแหน่ง๘ คน ได้แก่ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เลขาธิการสภา การศึกษา
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เลขาธิการ

๑๘

คณะกรรมการการอาชีวศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ผู้อานวยการ
สานักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน หัวหน้าสานักงานคณะกรรมการมาตรฐานการ
บรหิ ารงานบุคคลสว่ นทอ้ งถิ่น

(๓) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒซิ ง่ึ คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจาก ผูท้ ีป่ ระสบการณ์สงู ด้านละ ๑ คน รวม ๗ คน
(๔) กรรมการจากผู้ดารงตาแหน่งคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ ซึ่งเลือกตั้งกันเอง ๔ คน จาก
สถาบันอดุ มศึกษาของรฐั ๓ คน และเอกชน ๑ คน
(๕) กรรมการจากผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาซึ่งเลือกตั้งจากผู้ท่ีดารงตาแหน่ง ครู ผู้บริหาร
ทางการศึกษา และมาจากสังกัดเขตพื้นท่ีการศึกษา สถาบันอาชีวศึกษา สถานศึกษาเอกชน และองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น ตามสดั ส่วนจานวน ผู้ประกอบวิชาชีพ๑๙ คน และ
(๖) เลขาธกิ ารคุรสุ ภา เป็นเลขานกุ าร
การไดม้ าซ่งึ คณะกรรมการครุ สุ ภา (มาตรา ๑๒ วรรคท้าย และมาตรา ๑๘)
วิธกี าร
(๑) ประธานกรรมการและกรรมการผทู้ รงคณุ วุฒิ ใช้วธิ ีการสรรหา
(๒) กรรมการจากผู้แทนผูด้ ารงตาแหน่งคณบดีคณะ หรอื ศกึ ษาศาสตร์ ใชว้ ิธกี ารเลือกกันเอง และ
(๓) กรรมการจาก ผปู้ ระกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ใช้วธิ กี ารเลอื กต้ัง
วาระการดารงตาแหนง่ ของกรรมการคุรุสภา (มาตรา ๑๖)
ให้กรรมการตามข้อ (๑) (๓) (๔) และ (๕) อยู่ในตาแหน่งคราวละ ๔ ปี และอาจได้รับการแต่งต้ังอีก
แต่จะดารงตาแหน่งเกนิ ๒ วาระติดตอ่ กันไมไ่ ด้
หน้าท่ีของคณะกรรมการครุ ุสภา (มาตรา ๒๐)
กรรมการครุ ุสภามีหน้าที่
(๑) บรหิ ารตามอานาจหน้าทีข่ องครุ สุ ภา
(๒) ใหค้ าปรึกษาแกค่ ณะกรรมการมาตรฐานวิชาชพี
(๓) พิจารณาวนิ จิ ฉัยอทุ ธรณค์ าสง่ั ของคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชพี ตามมาตรา ๕๔
(๔) เร่งรัดให้พนักงานเจ้าหน้าท่ี ส่วนราชการ หรือคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพปฏิบัติตามอานาจ
และหน้าท่ีทก่ี ฎหมายกาหนด
(๕) แต่งตงั้ คณะอนกุ รรมการเพื่อกระทาการใด ๆ อันอยู่ในอานาจและหน้าท่ีของคณะกรรมการคุรสุ ภา
(๖) ควบคุมดูแลการบริหารงานทั่วไป ตลอดจนออกระเบียบข้อบังคับ หรือข้อกาหนดเก่ียวกับ
สานักงานเลขาธิการคุรุสภา ในเร่ืองดังต่อไปนี้ (ก) การจัดแบ่งส่วนงานและหน้าท่ีของสานักงานคุรุสภา (ข)
การกาหนดตาแหน่ง คณุ สมบตั ิเฉพาะ อตั ราเงนิ เดือน ค่าจา้ ง และคา่ ตอบแทนอืน่ ของเจ้าหน้าท่ีของคุรุสภา (ค)
การคดั เลือก การบรรจุ การแต่งต้ัง การถอดถอน วินัยและการลงโทษทางวินัย การออกจากตาแหน่ง การร้อง
ทกุ ข์ และการอทุ ธรณ์การลงโทษของเจ้าหน้าที่ รวมทั้งวิธีการเงื่อนไขในการจ้างพนักงานเจ้าหน้าท่ีของคุรุสภา
(ง) การจัดการการเงิน การพัสดุ และทรัพย์สินของคุรุสภา (จ) กาหนดอานาจหน้าท่ีและระเบียบเกี่ยวกับการ
ปฏบิ ตั ิหนา้ ทีข่ องผูต้ รวจสอบภายใน
(๗) กาหนดนโยบายการบริหารงาน และให้ความเหน็ ชอบแผนการดาเนนิ งานของสานักงานเลขาธิการ
ครุ ุสภา
(๘.) ปฏิบตั กิ ารอ่นื ใดตามท่ีกฎหมายกาหนดไวใ้ ห้เปน็ อานาจและหน้าทข่ี องคณะกรรมการ คุรุสภา
(๙) พิจารณาหรือดาเนนิ การในเรือ่ งอื่นตามทร่ี ฐั มนตรีมอบหมาย

๑๙

คณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชพี
คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ มีหน้าที่ควบคุมและรักษามาตรฐานการประกอบวิชาชีพของผู้
ประกอบวิชาชีพ โดยมี องค์ประกอบของคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ มีจานวน ๑๗ คน (มาตรา ๒๑)
ประกอบดว้ ย
(๑) ประธานกรรมการซงึ่ รัฐมนตรีแต่งต้งั จาก กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒใิ นคณะกรรมการคุรสุ ภา
(๒) กรรมการโดยตาแหน่ง ๓ คน ได้แก่ เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เลขาธิการ
คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา และ เลขาธกิ ารคณะกรรมการข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
(๓) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งคณะกรรมการคุรุสภาสรรหา จากผู้ทรงคุณวุฒิสูงด้านการศึกษา การ
บริหารและกฎหมาย๔ คน
(๔) กรรมการจากคณาจารย์ในคณะศึกษาศาสตร์ ทัง้ ของรฐั และเอกชน ซ่งึ เลือกกันเอง๒ คน
(๕) กรรมการจากผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาซึ่งเลือกต้ังจาก ผู้ท่ีดารงตาแหน่งครูท่ีมี
ประสบการณ์ด้านการสอนไม่น้อยกว่า ๑๐ ปี หรือดารงตาแหน่งอาจารย์ ๓ หรือ มีวิทยฐานะเป็นครูชานาญ
การข้ึนไป ๖ คน ผู้ท่ีดารงตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาและ มีประสบการณ์ในตาแหน่งไม่น้อยกว่า ๑๐ ปี ผู้ท่ี
ดารงตาแหน่งผู้บริหารการศึกษาท่ีมีประสบการณ์ในตาแหน่งไม่น้อยกว่า ๑๐ ปี และ บุคลากรทางการศึกษา
อื่นทมี่ ีประสบการณ์ ในตาแหนง่ ไม่นอ้ ยกว่า ๑๐ ปี และ
(๖) เลขาธิการครุ สุ ภา เปน็ กรรมการและเลขานุการ
การได้มาซึง่ คณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชีพ (มาตรา ๒๒)
ใชว้ ธิ ีการสรรหา การเลือกและการเลือกตั้ง ตามท่ีกาหนดในข้อบังคับคุรุสภา วาระดารงตาแหน่งของ
กรรมการมาตรฐานวิชาชพี (มาตรา ๒๔) ให้กรรมการตามข้อ ๒.๕.๑ (๓) (๔) และ (๕) อยู่ในตาแหน่งคราวละ
๔ ปี และอาจได้รบั การแตง่ ตั้งอีกแตจ่ ะดารงตาแหนง่ เกนิ ๒ วาระตดิ ต่อกันไม่ได้
อานาจและหน้าที่ของคณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชพี
คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชพี มีหน้าท่ี
(๑) พิจารณาการออกใบอนุญาตให้แก่ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา และการพักใช้หรือเพิกถอน
ใบอนุญาต
(๒) กากับดแู ลการปฏบิ ัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณ
(๓) พฒั นา และเสนอแนะคณะกรรมการครุ ุสภากาหนดมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพ
(๔) สง่ เสริม และพฒั นาวชิ าชพี ไปสูค่ วามเป็นเลศิ
(๕) แต่งตั้งที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการ หรือมอบหมายกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ เพื่อกระทาการใด
ๆ อนั อยูใ่ นอานาจและหนา้ ที่ของคณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชพี
(๖) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกาหนดไว้ให้เป็นอานาจและหน้าท่ีของคณะกรรมการ มาตรฐาน
วิชาชพี และ
(๗) พิจารณาหรือดาเนินการในเรื่องอื่นตามที่รัฐมนตรีหรือคณะกรรมการคุรุสภามอบ หมาย ให้
คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพเสนอรายงานการดาเนินงานประจาปีต่อคณะกรรมการ คุรุสภาตามระเบียบที่
คณะกรรมการคุรุสภากาหนดให้มีสานักงานเลขาธิการคุรุสภา รับผิดชอบเกี่ยวกับการดาเนินงานของคุรุสภา
(มาตรา ๓๔) โดยมีเลขาธิการคุรุสภาบริหารกิจการของสานักงานเลขาธิการคุรุสภา และมีวาระอยู่ในตาแหน่ง
คราวละ ๔ ปี และอาจไดร้ บั แต่งตัง้ อกี ได้แตไ่ มเ่ กิน ๒ วาระติดต่อกนั (มาตรา ๓๕-๔๒)

๒๐

ให้วชิ าชพี ครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผบู้ รหิ ารการศึกษา เป็นวชิ าชีพควบคุม
ตามพระราชบัญญัตินี้ การกาหนดวชิ าชพี ใหเ้ ปน็ ไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวงห้ามมิให้ผู้ใดประกอบ
วิชาชีพควบคุม โดยไมไ่ ด้รบั ใบอนุญาตตามพระราชบญั ญตั ินี้ เว้นแตก่ รณีอย่างใดอย่างหนงึ่ ดงั ตอ่ ไปนี้ (มาตรา ๔๓)
(๑) วทิ ยากรพิเศษทางการศึกษา
(๒) ผู้ท่ไี ม่ไดป้ ระกอบวชิ าชพี หลกั ทางด้านการสอนแตใ่ นบางครัง้ ต้องทาหน้าทีส่ อน ดว้ ย
(๓) นักศึกษา หรือผู้ได้รับใบอนุญาตปฏิบัติการสอน ซ่ึงฝึกหัดในความควบคุมของผู้ประกอบวิชาชีพ
ทางการศกึ ษา
(๔) ผทู้ จ่ี ัดการศึกษาตามอธั ยาศยั
(๕) ผู้สอนในศูนย์การเรียนตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ หรือสถานที่เรียนท่ีหน่วยงานจัด
การศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัย บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ โรงพยาบาล สถาบันทางการแพทย์ สถาน
สงเคราะห์ และสถาบันสังคมอ่ืนเปน็ ผู้จัด
(๖) คณาจารย์ ผบู้ ริหารในระดับอุดมศึกษาระดบั ปรญิ ญาท้ังของรฐั และเอกชน
(๗) ผบู้ ริหารการศกึ ษาระดับเหนือเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา และ
(๘.) บุคคลอน่ื ตามที่คณะกรรมการคุรุสภากาหนด
ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี
คุณสมบตั ิและลักษณะตอ้ งห้ามของผ้ขู อรบั ใบอนญุ าต (มาตรา ๔๔) คณุ สมบตั ิ
(๑) มีอายุไม่ต่ากว่า ๒๐ ปบี ริบูรณ์
(๒) มีวุฒปิ ริญญาทางการศกึ ษาหรือเทียบเทา่
(๓) ผ่านการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามหลักสูตรปริญญาทางการศึกษา เป็นเวลาไม่น้อยกว่า
หนง่ึ ปี และผ่านเกณฑ์การประเมินปฏิบัติการสอน ลักษณะต้องห้าม (๑) เป็นผู้มีความประพฤติเสื่อมเสีย หรือ
บกพรอ่ งในศีลธรรมอันดี (๒) เป็นคนไร้ความสามารถ (๓) เคยต้องโทษจาคุกในคดีท่ีคุรุสภาเห็นว่าอาจนามาซึ่ง
ความเส่ือมเสยี เกียรติ ศักดิแ์ หง่ วิชาชพี
การขอรบั ใบอนุญาต
การออกใบอนุญาต การกาหนดอายุใบอนุญาต การต่ออายุใบอนุญาต การขอรับใบแทนใบอนุญาต
และการออกใบแทนใบอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ท่ีกาหนดในข้อบังคับของคุรุสภา (มาตรา ๔๕) ผู้
ขอรับใบอนุญาต ขอต่ออายุใบอนุญาต ซ่ึงคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพพิจารณาวินิจฉัยไม่ออกใบอนุญาต
ไม่ต่ออายุใบอนุญาต ตามวรรคหน่ึง อาจอุทธรณ์คาสั่งดังกล่าวต่อคณะกรรมการ คุรุสภาภายในสามสิบวันนับ
แต่วนั ทไี่ ด้รบั การแจ้ง
การประกอบวิชาชพี
มขี ้อกาหนด
๑. ห้ามมิใหผ้ ูใ้ ดแสดงด้วยวิธีใด ๆ ให้ผู้อ่ืนเข้าใจวา่ ตนมสี ทิ ธหิ รือพร้อมจะประกอบวิชาชีพ โดยไม่ได้รับ
ใบอนุญาตจากคุรุสภา และห้ามมิให้สถานศึกษารับผู้ไม่ได้รับใบอนุญาต เข้าประกอบวิชาชีพควบคุมใน
สถานศกึ ษา เว้นแต่จะได้รับอนญุ าตจากครุ สุ ภา
๒. ผซู้ ่งึ ไดร้ บั ใบอนุญาตตอ้ งประกอบวิชาชพี ภายใต้ข้อบังคับของครุ ุสภา (มาตรา ๔๗)
๓. ผ้ซู ึ่งไดร้ บั ใบอนญุ าตตอ้ งประพฤตติ นตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพตามข้อ บังคับของ
คุรุสภา (มาตรา ๔๘)

๒๑

๔. หา้ มมใิ ห้ผไู้ ด้รบั ใบอนุญาตซึง่ อยู่ในระหว่างถูกส่ังพักใช้ใบอนุญาตผู้ใด ประกอบวิชาชีพควบคุมหรือ
แสดงด้วยวธิ ใี ด ๆ ใหผ้ ้อู ่นื เข้าใจว่าตนมีสิทธิหรือพร้อมจะประกอบวิชาชีพควบคุมนับแต่วันที่ ทราบคาส่ังพักใช้
ใบอนุญาตนั้น (มาตรา ๕๖)

มาตรฐานวิชาชีพ (มาตรา ๔๙)
ประกอบด้วย
(๑) มาตรฐานความรแู้ ละประสบการณว์ ิชาชพี
(๒) มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน และ
(๓) มาตรฐานการปฏิบตั ิตน การกาหนดระดับคุณภาพของมาตรฐานในการประกอบวิชาชีพ ให้เป็นไป
ตามขอ้ บังคับของครุ สุ ภา
จรรยาบรรณของวิชาชีพ (มาตรา ๕๐) ประกอบด้วย
(๑) จรรยาบรรณต่อตนเอง
(๒) จรรยาบรรณต่อวชิ าชีพ
(๓) จรรยาบรรณตอ่ ผรู้ ับบรกิ าร
(๔) จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวชิ าชพี และ
(๕) จรรยาบรรณตอ่ สงั คม
อานาจการวินิจฉัยชีข้ าด (มาตรา ๕๔)
ให้คณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชพี มีอานาจวินจิ ฉัยช้ีขาดอยา่ งใดอย่างหน่ึงดงั ต่อไปน้ี
(๑) ยกข้อกล่าวหา (๒) ตักเตือน (๓) ภาคทัณฑ์ (๔) พักใช้ใบอนุญาตมีกาหนดระยะเวลาตามที่
เห็นสมควร แต่ไม่เกิน ๕ ปี (๕) เพิกถอนใบอนุญาต การอุทธรณ์คาวินิจฉัยช้ีขาด (มาตรา ๕๕) ให้ (๑) ผู้ได้รับ
ใบอนุญาตซึ่งคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพช้ีขาดตาม (๒) (๓) (๔) หรือ (๕) อาจอุทธรณ์คาวินิจฉัยต่อ
คณะกรรมการครุ ุสภาภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งคาวินิจฉัย(๒)คาวินิจฉัยช้ีขาดของคณะกรรมการคุรุ
สภาให้ทา เป็นคาสั่งคุรุสภาพร้อมด้วยเหตุผลของการวินิจฉัยช้ีขาด การขอรับใบอนุญาตของผู้ถูกส่ังเพิกถอน
ใบอนุญาต ผู้ได้รับใบอนุญาตซึ่งถูกส่ังเพิกถอน จะย่ืนขออีกไม่ได้จนกว่าจะพ้น ๕ ปีนับแต่วันที่ถูกสั่งเพิกถอน
(มาตรา ๕๗)
สมาชกิ ของครุ ุสภา
ประเภทสมาชิกของครุ สุ ภา (มาตรา ๕๘) มี ๒ ประเภทดังน้ี (๑) สมาชิกสามัญ (๒) สมาชิกกิตติมศักดิ์
คุณสมบัติของสมาชิก (มาตรา ๕๙)) สมาชิกสามัญ ต้องเป็นผู้มีใบอนุญาตตามพระราชบัญญัติน้ี (๒) สมาชิก
กติ ติมศักดิ์ ต้องเป็นผู้ทรงคณุ วฒุ ิซง่ึ คณะกรรมการครุ สุ ภาแต่งตงั้ โดยมติเปน็ เอกฉนั ท์
สาระสาคัญเกีย่ วกับคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดกิ ารและสวัสดภิ าพครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
วัตถุประสงค์เพื่อ
(๑) สง่ เสริมสวัสดกิ าร สวัสดภิ าพ สิทธปิ ระโยชน์เก้อื กลู อนื่ ของ ผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา
(๒) สง่ เสริมความสามคั คีและผดุงเกยี รติของผ้ปู ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา
(๓) ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาของกระทรวงในเร่ืองสื่อการเรียนการสอน และเร่ืองอ่ืนที่
เกย่ี วกบั การจัดการศกึ ษา
(๔) สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การศกึ ษาวิจัยเก่ียวกับการพัฒนา การดาเนินงานด้านสวัสดิการ สวัสดิภาพ
และผดงุ เกยี รติของผ้ปู ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา

๒๒

อานาจหน้าทขี่ องคณะกรรมการสง่ เสริมสวัสดกิ ารและสวัสดภิ าพครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
(มาตรา ๖๓) ไดแ้ ก่

(๑) ดาเนินงานด้านสวัสดิการ สวัสดิภาพ สิทธิประโยชน์เกื้อกูลอื่นของผู้ประกอบ วิชาชีพทางการ
ศึกษา

(๒) ผดุงเกยี รติของผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา
(๓) ส่งเสริมให้ผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศกึ ษาได้รบั สวสั ดิการตา่ งๆ
(๔) ให้คาแนะนาในเร่ืองการส่งเสริมสวัสดิการ สิทธิประโยชน์และความมั่นคงของผู้ประกอบวิชาชีพ
ทางการศกึ ษาแกห่ น่วยงานท่ี เก่ยี วข้อง
(๕) ดาเนินงานและบรหิ ารจดั การองค์การจดั หาผลประโยชน์ของสานักงานฯ
(๖) ออกข้อบังคับและหลักเกณฑใ์ นการดาเนินกจิ การ
(๗) แต่งต้ังคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ หรือมอบหมายให้กรรมการส่งเสริมสวัสดิการฯเพื่อ
กระทาการใด ๆ แทน
(๘.) สรรหาและแต่งตั้งเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและ บุคลากร
ทางการศึกษา
(๙) ดาเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ในการบริหารงานสานักงานคณะกรรมการส่ง เสริม
สวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา เป็นองค์กรบริหาร มีจานวน ๒๓ คน (มาตรา ๖๔)
ประกอบด้วย (๑) ปลัดกระทรวงศึกษาธิการเป็นประธาน (๒) กรรมการ โดยตาแหน่ง๖ คน เลขาธิการสภา
การศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เลขาธิการ
คณะกรรมการการอาชวี ศึกษา เลขาธิการคุรุสภา เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา (๓)กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ซ่ึงคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจาก ผู้เช่ียวชาญด้านละ ๑ คน รวม ๓ คน ด้าน
สวัสดิการสังคม ด้านบริหารธุรกิจและ ด้านกฎหมาย (๔) กรรมการท่ีได้รับเลือกตั้งจากผู้ประกอบวิชาชีพ
ทางการศึกษาทม่ี าจากสงั กดั เขต พืน้ ทก่ี ารศึกษา สถาบัน อาชีวศึกษา สถานศึกษาเอกชน และองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ิน ๑๒ คน (๕) เลขาธิการคณะกรรมการ ส่งเสริมสวัสดิการและ สวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการ
ศกึ ษา เป็นกรรมการและเลขานุการ การได้มาซ่งึ คณะกรรมการสง่ เสรมิ สวสั ดิการฯ (มาตรา ๖๔ วรรคท้าย) (๑)
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ -ใช้วิธีการสรรหา (๒) กรรมการผู้แทนจากผู้ประกอบวิชาชีพ -ใช้วิธีการเลือกตั้ง วาระ
การดารงตาแหน่งของกรรมการ ส่งเสริมสวัสดิการฯ (มาตรา ๖๕ วรรค ๒) ให้กรรมการตามข้อ ๓.๓.๑ (๓)
และ (๔) อยู่ในตาแหน่งคราวละ ๔ ปี และอาจไดร้ ับแตง่ ตงั้ อีกแต่จะดารงตาแหน่งเกิน ๒ วาระติดตอ่ กันไม่ได้
ใหม้ ีสานักสวสั ดกิ ารและสวสั ดภิ าพครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
มฐี านะเป็นนติ ิบคุ คล ในกากบั ของกระทรวงศกึ ษาธิการ มหี น้าท่ี
๑. รบั ผิดชอบเกี่ยวกบั การดาเนินงานของคณะกรรมการส่งเสรมิ สวัสดกิ ารฯ
๒. ประสานและดาเนนิ การเกย่ี วกบั กิจการอืน่ ทีค่ ณะกรรมการมอบหมาย
๓. จัดทารายงานประจาปีเกี่ยวกับการดาเนินงาน นอกจากอานาจและหน้าท่ีตามวรรคหน่ึงให้
คณะกรรมการมีอานาจกระทากิจการตามวัตถุ ประสงค์ในการบริหารงานสานักงาน ดังต่อไปนี้ด้วย (๑) ถือ
กรรมสทิ ธิ์ หรอื มสี ิทธิครอบครองในทรพั ยส์ นิ หรอื ดาเนนิ การใด ๆ เกีย่ วกบั ทรัพยส์ ิน ตลอดจนรับทรัพย์สินท่ีมีผู้
อุทิศให้ (๒) ทานิติกรรมสัญญาหรือข้อตกลงใด ๆ (๓) เข้าร่วมลงทุนกับนิติบุคคลอื่น ในกิจการที่เกี่ยวกับ
วัตถุประสงค์ในการบริหารงานสานักงาน (๔) กู้ยืมเพ่ือประโยชน์ในการดาเนินการตามวัตถุประสงค์ในการ
บรหิ ารงานสานักงาน (๕) สนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอ่ืนท่ีเกี่ยวข้อง ให้มีเลขาธิการคณะกรรมการ

๒๓

สง่ เสริมสวัสดิการฯบริหารกิจการของสานักงาน และมีวาระอยู่ในตาแหน่งคราวละ ๔ ปี และอาจได้รับแต่งตั้ง
อกี ได้แตไ่ ม่เกนิ ๒ วาระติดต่อกนั (มาตรา ๖๙-๗๓)

รายได้ของสานกั งาน
คณะกรรมการสง่ เสรมิ สวสั ดิการฯ (มาตรา ๖๘) มรี ายไดจ้ าก
(๑) เงนิ อุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน
(๒) เงนิ คา่ บารุงและค่าธรรมเนยี มต่าง ๆ
(๓) เงนิ ผลประโยชน์ต่าง ๆ จากการลงทนุ และการจัดหาผลประโยชน์
(๔) เงนิ อดุ หนุนจากภาคเอกชน หรือองคก์ รอ่นื จากตา่ งประเทศหรือองค์กรระหวา่ งประเทศ
(๕) ผลประโยชนจ์ ากการจัดการทรพั ยส์ ินและการดาเนนิ กจิ การของสานกั งานฯ
(๖) ดอกผลของเงินและทรัพย์สินตาม (๒) (๓) (๔) และ (๕) รายได้ของสานักงานฯไม่เป็นรายได้ที่
จะต้องนาสง่ กระทรวงการคลงั ตามกฎหมายว่า ดว้ ยเงินคงคลัง และกฎหมายวา่ ด้วยวิธีการงบประมาณ
การกากบั ดูแลของรฐั มนตรี (มาตรา ๗๔)
รฐั มนตรีมีหน้าท่ี
๑. กากบั ดูแลการดาเนินงานและจัดสรรงบประมาณของรัฐอุดหนนุ
๒. สั่งเป็นหนงั สือให้กรรมการชแี้ จงข้อเท็จจริงเกย่ี วกับกิจการ
๓. สั่งเป็นหนังสือให้ระงับหรือแก้ไขการกระทาใด ๆ ท่ีปรากฏว่าขัดต่อวัตถุประสงค์กฎหมาย หรือ
ข้อบังคับ
บทเฉพาะกาล
ใหค้ ณะกรรมการอานวยการคุรุสภาเท่าที่มีอยู่ตามพรบครู พศ ๒๔๘๘ ปฏิบัติหน้าท่ีคณะกรรมการคุรุ
สภาและคณะกรรมการส่งเสรมิ สวัสดกิ ารฯไปพลางก่อน .๒ ใหร้ ฐั มนตรีแต่งต้ังคณะกรรมการคณะหนึ่ง จานวน
๑๕ คน ให้มหี น้าทด่ี าเนินการให้ได้มาซึ่งคณะกรรมการคุรุสภาและคณะกรรมการส่งเสริม สวัสดิการฯ ภายใน
๑๘๐ วัน นับแต่พระราชบัญญัติใช้บังคับ (มาตรา ๗๗) ประกอบด้วย (๑) ผู้แทนหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง๕ คน
ปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เลขาธิการสภาการศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เลขาธิการ
คณะกรรมการการอุดมศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (๒) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิท่ีมี
ประสบการณ์สูง ด้านละ ๑ คน รวม๕ คน (๓) ผู้แทนสมาคมวิชาชีพด้านการศึกษาท่ีเป็นนิติบุคคล ซ่ึงเลือก
กันเอง ๕ คน ให้คณะกรรมการคุรุสภาและคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการฯ ดาเนินการให้มีการแต่งตั้ง
เลขาธิการคุรุสภาและเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริม สวัสดิการฯ แล้วแต่กรณี ภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันท่ี
คณะกรรมการได้รับการแต่งต้ัง (มาตรา ๗๘) ให้เลขาธิการคุรุสภา ตามพระราชบัญญัติครู พศ ๒๔๘๘ ปฏิบัติ
หน้าที่เลขาธิการคุรุสภาและเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการฯ และให้รองเลขาธิการคุรุสภาตาม
พรบครู พศ ๒๔๘๘ ปฏิบัติหน้าที่รองเลขาธิการคุรุสภาและรองเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริม สวัสดิการฯ
ตามพระราชบัญญัตินี้ไปก่อนจนกว่าจะมีการแต่งต้ังเลขาธิการ (มาตรา ๗๙) ให้เจ้าหน้าท่ีและพนักงานของคุรุ
สภาตามพรบครูพศ ๒๔๘๘ เป็นเจ้าหน้าที่และพนักงานของคุรุสภา และของสานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
สวัสดกิ ารฯตามพระราชบัญญตั ิน้ีแลว้ แต่กรณี โดยให้ดาเนนิ การใหแ้ ล้วเสรจ็ ภายใน ๙๐ วนั
ใหม้ ีการปรบั ปรงุ การบริหารจัดการขององคก์ ารคา้ ของครุ สุ ภาให้สอดคล้องกับการ เปล่ียนแปลงและมี
ประสิทธิภาพสามารถแขง่ ขนั อย่างเสรีได้

๒๔

ผู้ใดเป็นครูซ่ึงเป็นสมาชิกคุรุสภาตามพระราชบัญญัติครู พุทธศักราช ๒๔๘๘ อยู่แล้วก่อน
พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ มีสิทธิได้รับใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ หลักเกณฑ์และวิธีการออกใบอนุญาต
ประกอบวิชาชพี ครใู หเ้ ป็นไปตามข้อบงั คบั ของ คุรุสภา (มาตรา ๘๑)

ในวาระเร่ิมแรกให้คุรุสภาออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูแก่ผู้ประกอบวิชาชีพ ที่ดารงตาแหน่งครู
ผู้บริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอื่น และภายใน๓ ปี นับแต่วันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับให้มี
การออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพผู้ บริหารการศึกษา ตามข้อบังคับของคุรุสภา ทั้งน้ีให้ผู้ปฏิบัติงานใน
ตาแหนง่ ดงั กลา่ ว มสี ิทธไิ ดร้ บั ใบอนญุ าตตามพระราชบัญญัตินี้ (มาตรา ๘๒)

ให้วุฒิปริญญาทางการศึกษา หรือปริญญาอื่นที่ ก.ค. กาหนดให้เป็นคุณวุฒิที่ใช้ในการบรรจุและ
แต่งต้ังเป็นข้าราชการครูก่อนวันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ เป็นคุณวุฒิในการขอรับใบอนุญาตตาม
พระราชบัญญัตนิ ี้ ทงั้ นไี้ มเ่ กิน ๓ ปี นบั แต่วันทพ่ี ระราชบญั ญัตินีใ้ ชบ้ ังคบั (มาตรา ๘๕)

ใหส้ มาชิกคุรุสภาตามพระราชบญั ญตั ิครู พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๘ ที่ได้รับสิทธิประโยชน์และสวัสดิการต่าง
ๆ อยู่กอ่ นพระราชบัญญตั ิน้ีใชบ้ งั คบั คงมสี ทิ ธิได้รบั สิทธปิ ระโยชน์และสวัสดกิ ารน้ัน ๆ ต่อไป (มาตรา ๘๖)

สรปุ สาระสาคัญพระราชบัญญตั ิการศกึ ษาภาคบงั คับ พ.ศ. ๒๕๔๕
สรุปสาระสาคญั

พระราชบัญญัตินี้มีท้ังหมด ๒๐ มาตรา ซึ่งได้บัญญัติให้ส่วนราชการท่ีเก่ียวข้องและผู้ปกครอง
ดาเนนิ การรบั และส่งเด็กซ่งึ มอี ายุย่างเข้าปีที่เจ็ดเข้าเรียนในสถานศึกษาข้ันพื้นฐานตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ี
กาหนด ซึง่ การนับอายเุ ดก็ เพ่อื เขา้ รับการศึกษาภาคบงั คับในสถานศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานใหน้ ับตามปีปฏิทิน หากเด็ก
อายุครบ ๗ ปีบริบูรณ์ในปีใดให้นับว่าเด็กมีอายุย่างเข้าปีที่ ๗ ในปีน้ัน ทั้งนี้ได้กาหนดบทลงโทษด้วยหาก
ผปู้ กครองไม่ปฏิบัตติ ามซงึ่ ในที่น้ขี อสรุปสาระสาคัญดงั นี้

“การศึกษาภาคบังคับ” หมายความว่า การศึกษาชั้นปีที่หนึ่งถึง ช้ันปีท่ีเก้าของการศึกษาข้ันพื้นฐาน
ตามกฎหมายวา่ ด้วยการศึกษาแห่งชาติ

“สถานศึกษา” หมายความว่า สถานศึกษาท่ีจัดการศึกษา “ผู้ปกครอง” หมายความว่า บิดามารดา
หรือบิดา หรือมารดา ซ่ึงเป็นผู้ใช้อานาจปกครองหรือผู้ปกครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และ
หมายความรวมถงึ บคุ คลทเี่ ดก็ อยดู่ ้วยเป็นประจาหรอื ที่เด็กอยู่รับใชก้ ารงาน

“เด็ก” หมายความว่า เด็กซงึ่ มีอายยุ า่ งเขา้ ปที ่เี จ็ดจนถึงอายุย่างเข้าปีท่ีสิบหก เว้นแต่เด็กที่สอบได้ชั้นปี
ทีเ่ กา้ ของการศกึ ษาภาคบงั คบั แล้ว

“คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน” หมายความว่า คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานตาม
กฎหมาย ว่าด้วยการศกึ ษาแห่งชาติ

“คณะกรรมการเขตพ้ืนท่ีการศึกษา” หมายความว่า คณะกรรมการเขตพื้นท่ีการศึกษาตามกฎหมาย
ว่าดว้ ยการศกึ ษา แห่งชาติ

“องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ” หมายความว่า องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ทม่ี ีสถานศกึ ษาอยู่ในสังกัด
“พนักงานเจา้ หนา้ ท่ี” หมายความว่า ผูซ้ งึ่ รัฐมนตรีแต่งตัง้ ให้ปฏบิ ตั กิ ารตามพระราชบญั ญตั ินี้
“รัฐมนตรี” หมายความวา่ รัฐมนตรผี ูร้ ักษาการตามพระราชบัญญัตนิ ้ี
มาตรา ๕ ให้คณะกรรมการเขตพ้ืนท่ีการศึกษา หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน แล้วแต่กรณี
ประกาศรายละเอียดเก่ียวกับการส่งเด็กเข้าเรียนในสถานศึกษา และการจัดสรรโอกาสเข้าศึกษาต่อระหว่าง
สถานศึกษาที่อยู่ในเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับโดยให้ปิดประกาศ ไว้ ณ สานักงานเขตพื้นที่การ ศึกษา

๒๕

สานักงานองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ และสถานศึกษา รวมทั้งต้องแจ้ง เป็นหนังสือให้ผู้ปกครองของเด็กทราบ
กอ่ นเด็กเขา้ เรยี นในสถานศึกษาเปน็ เวลาไม่น้อยกว่าหนึ่งปี

มาตรา ๖ ให้ผู้ปกครองส่งเด็กเข้าเรียนในสถานศึกษา เม่ือผู้ปกครองร้องขอ ให้สถานศึกษามีอานาจ
ผ่อนผัน ให้เด็กเข้าเรียนก่อนหรือหลังอายุตามเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับได้ ทั้งน้ีตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ี
คณะ กรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐานกาหนด

มาตรา ๗ ให้พนกั งานเจา้ หน้าท่มี อี านาจเขา้ ไปในสถานทใ่ี ด ๆ ในเวลาระหว่างพระอาทิตย์ขึ้นและพระ
อาทิตย์ตก หรือในเวลาทาการของสถานท่ีนั้น เพ่ือตรวจสอบการเข้าเรียนของเด็ก หากพบว่ามีเด็กไม่ได้เข้า
เรียนในสถานศึกษา ตามมาตรา ๕ ให้ดาเนินการให้เด็กนั้น ได้เข้าเรียนในสถานศึกษาน้ัน แล้วรายงานให้
คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แล้วแต่กรณี ทราบในกรณีที่ไม่สามารถ
ดาเนินการให้เด็กได้เข้าเรียนตามวรรคหนึ่ง ได้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่รายงานให้คณะกรรมการเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท้องท่ีที่พบ เด็ก แล้วแต่กรณี เพื่อดาเนินการให้เด็กได้เข้าเรียนใน
สถานศกึ ษา

มาตรา ๘ ในการปฏิบัติหน้าท่ี พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจาตัวแก่บุคคลซึ่งเกี่ยวข้อง บัตร
ประจาตัวพนกั งานเจา้ หนา้ ที่ใหเ้ ปน็ ไปตามแบบทรี่ ฐั มนตรปี ระกาศกาหนด

มาตรา ๙ ในการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ ให้ ผู้ซึ่งเก่ียวข้องอานวยความสะดวกตาม
สมควร

มาตรา ๑๐ ในการปฏิบัติหน้าท่ีตามพระราชบัญญัติน้ี ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตาม
ประมวล กฎหมายอาญา

มาตรา ๑๑ ผู้ใดซึ่งมิใช่ผู้ปกครอง มีเด็กซึ่งไม่ได้เข้าเรียนในสถานศึกษาอาศัยอยู่ด้วย ต้องแจ้ง
สานักงาน เขตพ้ืนที่การศึกษา หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แล้วแต่กรณี ภายในหนึ่งเดือนนับแต่วันท่ีเด็ก
มาอาศัย อยู่ เว้นแต่ผู้ปกครองได้อาศัยอยู่ด้วยกับผู้น้ัน การแจ้งให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรี
ประกาศกาหนด

มาตรา ๑๒ ให้กระทรวงศึกษาธิการ คณะกรรมการเขตพื้นท่ีการศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
และสถานศึกษา จัดการศึกษาเป็นพิเศษสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์
สังคม การสื่อสารและการเรียนรู้ หรือมีร่างกายพิการ หรือทุพพลภาพหรือเด็กซึ่งไม่สามารถ พ่ึงตนเองได้
หรือไม่มีผดู้ ูแล หรือ ด้อยโอกาส หรอื เดก็ ทมี่ คี วามสามารถพเิ ศษให้ได้รับการศึกษา ภาคบังคับด้วยรูปแบบและ
วธิ ีการทเี่ หมาะสม รวมทั้งการได้รับสิ่งอานวยความสะดวก ส่ือ บริการ และความช่วยเหลืออื่นใดตามความจา
เป็น เพ่อื ประกันโอกาสและความเสมอภาคในการไดร้ ับการ ศึกษาภาค บังคบั

มาตรา ๑๓ ผปู้ กครองท่ไี มป่ ฏบิ ัติตามมาตรา ๖ ต้องระวางโทษปรบั ไม่เกินหน่ึงพนั บาท
มาตรา ๑๔ ผใู้ ดไม่อานวยความสะดวกแกพ่ นักงานเจ้าหน้าท่ีตามมาตรา ๙ ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน
หนง่ึ พนั บาท
มาตรา ๑๕ ผูใ้ ดโดยปราศจากเหตุอันสมควร กระทาด้วยประการใด ๆ อันเป็นเหตุให้เด็กมิได้เรียนใน
สถานศกึ ษาตามพระ ราชบัญญตั ินี้ ตอ้ งระวางโทษปรบั ไมเ่ กินหนึง่ หมนื่ บาท
มาตรา ๑๖ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๑ หรือแจ้งข้อมูลอันเป็นเท็จ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่ง
หมืน่ บาท
มาตรา ๑๗ ในระหว่างที่ยังไม่มีคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ให้คณะกรรมการการ
ประถมศึกษาแหง่ ชาติ ทาหนา้ ทแี่ ทนคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน

๒๖

มาตรา ๑๘ ในระหว่างที่ยังไม่มีคณะกรรมการเขตพ้ืนที่การศึกษา ให้คณะกรรมการการประถมศึกษา
กรุงเทพ มหานคร คณะกรรมการการประถมศึกษาอาเภอ หรือคณะกรรมการการประถมศึกษาก่ิงอาเภอ
แล้วแต่กรณี ทาหน้าที่แทนคณะกรรมการเขตพื้นท่ีการศึกษา และให้สานักงานการประถมศึกษา
กรุงเทพมหานคร สานักงาน การประถมศึกษาอาเภอ หรือสานักงานการประถมศึกษากิ่งอาเภอแล้วแต่กรณี
ทาหน้าท่ีแทนสานกั งานเขตพ้ืนท่ี การศึกษา

มาตรา ๑๙ ให้บรรดากฎกระทรวง ประกาศ ระเบียบ ข้อบังคับ และคาสั่งที่ออกตามพระราชบัญญัติ
ประถมศกึ ษา พ.ศ.๒๕๒๓ ซ่ึงใชบ้ งั คบั อยูใ่ นวันท่ีพระราชบัญญัติน้ีประกาศในราชกิจจานุเบกษา ยังคงใช้บังคับ
ไดต้ อ่ ไป เท่าทีไ่ ม่ขดั หรือแยง้ กับบทบญั ญัตใิ นพระราชบญั ญตั นิ ี้

มาตรา ๒๐ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอานาจ
แตง่ ตง้ั พนักงานเจ้าหน้าที่ กบั มีอานาจออกประกาศเพ่ือปฏิบัติการตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี

พระราชบญั ญตั ิฉบบั นี้ตราขน้ึ เม่ือเพื่อมุ่งคุ้มครองสิทธิให้แก่เด็กหรือเยาวชนในด้านการศึกษา โดยเด็ก
ทุกคนจะต้องได้รับการศึกษาตามหลักสูตรที่กระทรวงกาหนดไว้เป็นมาตรฐาน โดยผู้ปกครองต้องเป็น
ผู้รบั ผิดชอบดูแลหรือในกรณที ่เี ด็กไม่มีผูป้ กครองเจา้ หน้าทจี่ ะตอ้ งดแู ล หากปล่อยปะละเลยจะมีบทลงโทษแก่ผู้
น้ัน นับว่าเป็นพระราชบัญญัติฉบับหนึ่งของไทยที่คุ้มครองและส่งเสริมสิทธิในด้านการศึกษาอย่างเต็มท่ี เนื่อง
ด้วยเด็กเปรียบเสมือนเป็นกาลังสาคัญของชาติท่ีจะต้องเติมโตไปเป็นผู้ใหญ่ท่ีดี หากไม่ได้รับการศึกษาอย่าง
ถูกตอ้ ง เดก็ ก็จะไม่มคี วามรเู้ พอื่ นาไปพัฒนาประเทศชาตแิ ละเล้ยี งตนเอง

สรุปสาระสาคัญของพระราชบัญญตั ิสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๖
หลักการและเหตผุ ล

เน่ืองจากกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ ได้กาหนดกรอบการบริหารและการจัดการศึกษาของ
เอกชนให้มคี วามเปน็ อสิ ระ โดยมีการกากบั ตดิ ตามการประเมนิ คณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาจากรัฐ เพื่อให้
สถานศึกษาของเอกชนท่ีจัดการศึกษาระดับปริญญาดาเนินกิจการได้โดยอิสระ สามารถพัฒนาระบบบริหาร
และการจดั การที่เป็นของตนเอง มคี วามคลอ่ งตัว มีเสรภี าพทางวชิ าการและอยูภ่ ายใตก้ ารกากบั ดูแลของ
สภาสถานศกึ ษา และได้กาหนดใหม้ ีคณะกรรมการอดุ มศกึ ษา เพอ่ื ทาหนา้ ที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา
และมาตรฐานการอุดมศึกษาของรัฐและเอกชนรวมทั้งเพ่ือเป็นการสนับสนุนสถาบันอุดมศึกษาเอกชนให้ธารง
รักษามาตรฐานการศึกษาให้เหมาะสมยิ่งขึ้น มีความมั่นคงและเอ้ืออานวยต่อการขยายกิจการในการจัดการ
อุดมศึกษาไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
สาระสาคญั

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน หมายถึง สถานศึกษาของเอกชนท่ีให้การศึกษาระดับปริญญาแก่บุคคล
ตงั้ แตห่ นึง่ คนขึน้ ไป โดยมีลกั ษณะเปน็ สถานศึกษาและวิจัย มีวัตถุประสงค์ในการให้การศึกษา ส่งเสริมวิชาการ
และวชิ าชีพชนั้ สูง ทาการสอน ทาการวิจัย ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม และทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม
ของชาติ

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน มีสามประเภทคือ มหาวิทยาลัย สถาบันและวิทยาลัย ซ่ึงการจัดต้ังจะต้อง
ได้รับใบอนุญาตจากรัฐมนตรีโดยคาแนะนาของคณะกรรมการอุดมศึกษา โดยการขอรับอนุญาต ต้องเสนอ
โครงการจดั ตงั้ ขอ้ กาหนดและสาขาวชิ าท่ีจะเปดิ สอน และได้กาหนดรายการต่าง ๆ ที่ต้องจัดให้มีในข้อกาหนด
ด้วยเม่ือได้รับใบอนุญาตแล้ว ให้สถาบันอุดมศึกษาเอกชนเป็นนิติบุคคล และให้ผู้รับใบอนุญาตเป็นผู้แทนของ
สถาบันอุดมศึกษาเอกชนนั้นจนกว่าจะได้แต่งตั้งอธิการบดี และการเปล่ียนชื่อหรือเปลี่ยนประเภท

๒๗

สถาบันอดุ มศึกษาเอกชนที่ไดร้ ับใบอนญุ าตแล้วจะต้องได้รับอนญุ าตเป็นหนังสือจากรัฐมนตรีโดยคาแนะนาของ
คณะกรรมการ

ประการหน่ึงที่สาคัญที่ต้องมีการดาเนินการภายหลังจากได้รับใบอนุญาตแล้วคือ เรื่องกรรมสิทธ์ิใน
ท่ีดิน โดยต้องมีการโอนกรรมสิทธ์ิในท่ีดินโดยปลอดจากภาระผูกพันใด ๆ ให้แก่สถาบันอุดมศึกษาเอกชนตาม
ระยะเวลาท่กี าหนด รวมทั้งต้องมกี ารโอนเงินและทรัพย์สินอื่นซ่ึงเป็นทุนนอกจากที่ดินให้แก่สถาบันอุดมศึกษา
เอกชนด้วย หากไมป่ ฏิบัตติ ามรัฐมนตรโี ดยคาแนะนาของคณะกรรมการมีอานาจเพิกถอนใบอนุญาตได้

กาหนดให้กิจการของสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนไมอ่ ยภู่ ายใตบ้ ังคับกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน
และกฎหมายวา่ ดว้ ยแรงงานสมั พันธ์ แตผ่ ปู้ ฏบิ ัตงิ านจะต้องได้รับผลประโยชน์ตอบแทนไม่น้อยกว่าที่กาหนดไว้
ในกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน

กาหนดให้คณะกรรมการการอดุ มศึกษาตามกฎหมายว่าดว้ ยการศึกษาแห่งชาติ มีอานาจและหน้าที่ใน
การให้ความเห็นชอบตามท่ี พ.ร.บ. นี้กาหนด, เสนอความเห็นหรือให้คาแนะนาต่อรัฐมนตรี, ให้การรับรอง
หลักสูตรการศึกษาตามมาตรฐานท่ีกระทรวงกาหนด และให้ความเห็นชอบเกี่ยวกับการรับรองมาตรฐาน
การศึกษาและวิทยฐานะของสถาบันอดุ มศึกษาเอกชน

ให้มีสภาสถาบันในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแต่ละแห่งประกอบด้วย นายกสภาสถาบัน อธิการบดี
กรรมการสภาสถาบันผทู้ รงคุณวฒุ ิซ่ึงผู้รับใบอนุญาตเสนอช่ือและกรรมการสภาสถาบันผู้ทรงคุณวุฒิท่ีรัฐมนตรี
เลือกจากบัญชีรายช่ือผู้ทรงคุณวุฒิที่คณะกรรมการเห็นชอบ โดยกาหนดหลักเกณฑ์ในการแต่งต้ัง การพ้นจาก
ตาแหน่งและคุณสมบัติของนายกสภาสถาบันและกรรมการสภาสถาบันไว้ และกาหนดสภาสถาบันมีอานาจ
หนา้ ที่ในการวางนโยบายและควบคุมดูแลกิจการทั่วไปของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน รวมท้ังอานาจหน้าท่ีอ่ืนๆ
ทเี่ กย่ี วข้องตามทกี่ าหนดไว้ในพ.ร.บ. นี้

กาหนดให้มีคณะกรรมการพิจารณาตาแหน่งทางวิชาการประจาสถาบันอุดมศึกษาเอกชน มีอานาจ
หน้าทพ่ี จิ ารณาเก่ียวกบั ตาแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์ พิจารณาวินิจฉัยเก่ียวกับการอุทธรณ์ตาแหน่งทาง
วิชาการของคณาจารย์ และการพิจารณาเทียบตาแหน่งทางวิชาการของสถาบันอุดมศึกษาอื่นเข้าสู่ระบบของ
สถาบันอุดมศึกษาเอกชน

ให้สถาบันอุดมศึกษาเอกชนมีอธิการบดีเป็นผู้บังคับบัญชาและรับผิดชอบการบริหารงานของ
สถาบันอดุ มศึกษาเอกชน โดยอธิการบดีต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามท่ีกฎหมายกาหนด และ
ได้กาหนดเกยี่ วกับอานาจหน้าทข่ี องอธกิ ารบดีทสี่ าคัญคือ การควบคมุ ดแู ลกิจการของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
ให้เป็นไปตามกฎหมาย จัดระบบการบริหารและแต่งต้ังถอดถอนบุคลากรซ่ึงปฏิบัติงานในสถาบันอุดมศึกษา
เอกชนน้นั

กาหนดให้คณาจารย์ของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนมีตาแหน่งทางวิชาการตามที่กาหนด และกาหนด
คุณสมบัติและลักษณะต้องห้าม การแต่งตั้ง การพ้นจากตาแหน่งของคณาจารย์และการใช้คานาหน้านามเพื่อ
แสดงวิทยฐานะ

สถาบันอุดมศึกษาเอกชนจะให้ประกาศนียบัตร อนุปริญญา ปริญญาหรือประกาศนียบัตรบัณฑิตใน
สาขาวิชาท่ีมีการศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนได้ เม่ือรัฐมนตรีโดยคาแนะนาของคณะกรรมการได้รับรอง
มาตรฐานการศึกษาในสาขาวิชาที่มีการสอนนั้น กาหนดเกี่ยวกับการให้ปริญญา อนุปริญญาหรือ
ประกาศนยี บตั รแก่ผู้ทสี่ าเรจ็ การศกึ ษา รวมท้ังกาหนดเกย่ี วกบั ครุยวิทยฐานะและเข็มวิทยฐานะ

๒๘

ทุนของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนประกอบด้วยเงินและทรัพย์สินตามท่ีระบุไว้ในข้อกาหนดรวมทั้งท่ีได้มาใน
ภายหลัง และให้สถาบันอุดมศึกษาเอกชนจัดสรรทุนของสถาบันเป็นกองทุนประเภทต่างๆ โดยมีลักษณะและ
วัตถุประสงคต์ ามที่กาหนด

เนอ่ื งจากการศึกษาเป็นส่ิงท่ีสาคัญและรัฐจะต้องให้การส่งเสริมไม่ว่าจะเป็นการดาเนินการโดยภาครัฐ
หรือภาคเอกชน ใน พ.ร.บ. นี้จึงกาหนดมาตรการต่าง ๆ ที่รัฐจะต้องดาเนินการเพื่อเป็นการอุดหนุนและ
ส่งเสรมิ สถาบันอุดมศกึ ษาเอกชน

แม้ว่าสถาบันอุดมศึกษาเอกชนเป็นการดาเนินการโดยเอกชน แต่รัฐยังต้องเข้ามาควบคุมดูแลได้ท้ังนี้
เพื่อประโยชน์สาธารณะ ซ่ึงได้กาหนดให้อานาจแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ในการเข้าไปตรวจสอบการดาเนินการ
ของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน, กาหนดให้การดาเนินการบางประการของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนต้องได้รับ
ความเห็นชอบจากคณะกรรมการ รวมท้ังกาหนดหลักเกณฑต์ า่ งๆ ทเ่ี ป็นการควบคมุ สถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชน
เมื่อสถาบันอุดมศึกษาเอกชนใดมีเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่กาหนดเกิดขึ้น ให้รัฐมนตรีโดยคาแนะนาของ
คณะกรรมการมีอานาจส่ังให้สถาบันอุดมศึกษาเอกชนนั้นอยู่ในความควบคุมของสานักงานคณะกรรมการ
อุดมศึกษาได้ และมีรัฐมนตรีแต่งตั้งคณะกรรมการควบคุมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนทาหน้าที่แทนสภาสถาบัน
ซ่ึงสถาบันอุดมศึกษาเอกชนสามารถอุทธรณ์คาสั่งควบคุมต่อรัฐมนตรีได้ กรณีท่ีคณะกรรมการควบคุม
สถาบันอุดมศึกษาเอกชนเห็นว่าสถาบันอุดมศึกษาเอกชนท่ีถูกควบคุมไม่อาจดาเนินกิจการต่อไปได้และมีเหตุ
สมควรเพิกถอนใบอนุญาต รัฐมนตรีโดยคาแนะนาของคณะกรรมการมีอานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตได้และให้
ถอื วา่ สถาบันอดุ มศึกษาเอกชนดังกล่าวหมดสภาพการเปน็ นติ ิบุคคล

กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการถอดถอนอธิการบดีหรือคณาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาออกจาก
ตาแหน่ง กรณีท่ีผู้รับใบอนุญาตประสงค์จะเลิกกิจการหรือโอนกิจการสถาบันอุดมศึกษาเอกชนโดยความ
เห็นชอบของสภาสถาบัน จะต้องแจ้งความประสงค์ต่อคณะกรรมการและรัฐมนตรีโดยคาแนะนาของ
คณะกรรมการอาจมีคาส่ังเลิกกิจการหรือโอนกิจการสถาบันอุดมศึกษาเอกชนน้ันแล้วแต่กรณีได้มีการกาหนด
บทลงโทษแก่ผู้ที่ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติฉบับน้ี ทั้งนี้เพื่อให้การปฏิบัติตามพระราชบัญญัติฉบับน้ี
เกดิ ผลไดจ้ ริงในทางปฏบิ ตั ิ

ผู้รกั ษาการตามกฎหมายและวันใชบ้ งั คับ
ให้รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธิการรกั ษาการตามพระราชบัญญตั นิ ี้
พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชนประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มท่ี ๑๒๐ ตอน ๑๐๗ก หน้า ๑ ลง
วันท่ี ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๔๖ และให้มผี ลใชบ้ งั คับตงั้ แต่วนั ถัดจากวันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเป็นตน้ ไป

________________________________

๒๙

บรรณานกุ รม

.................................................

พงษ์พลิ ัย วรรณราช.(มกราคม ๒๕๔๘). สรุปสาระสาคญั ของพระราชบัญญัตสิ ถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๖.
สืบคน้ เม่ือวันท่ี ๒๕ กนั ยายน ๒๕๕๗. จาก http://www.krisdika.go.th

สรปุ สาระสาคัญพระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒. สบื คน้ เมื่อวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๗. จาก
http://www.banprak-nfe.com/webboard/index.php?topic=๑๕.๐

สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา. กฎหมายด้านการศึกษา. สบื คน้ เมอื่ วันที่ ๒๔ กนั ยายน ๒๕๕๗. จาก
http://www.onec.go.th/onec_web/main.php?parentID=CAT0001335

สานกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา. สรุปสาระสาคัญพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. ๒๕๔๕. สบื คน้ เมอ่ื
วันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๕๗. จาก http://www.onec.go.th/publication/prb45/index_prb45.htm

..........................................................

รายนามคณะผจู้ ดั ทารายงาน

.....................................

ผรู้ วบรวมและจดั ทารายงาน วิทยากรชานาญการ
นายวิชญ์ รตั นสุทธิกลุ นติ ิกรปฏบิ ตั ิการ
นางสาวสริ ินทรา ขวัญสง่า กลุ่มงานคณะกรรมาธกิ ารการศึกษา

________________________________________________________________________________

ทปี่ รึกษา นางสาววราภรณ์ สุขประเสริฐ วิทยากรเช่ียวชาญ
ผู้บงั คับบัญชากลมุ่ งานคณะกรรมาธิการการศกึ ษา สานกั กรรมาธกิ าร ๓


Click to View FlipBook Version