The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างฯ ลุ่มน้ำแม่งัดฝั่งตะวันตก ลุ่มน้ำสาขาน้ำแม่งัด ลุ่มน้ำ_27102021

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tkag79, 2021-10-27 22:27:29

แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้าง_27102021

แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างฯ ลุ่มน้ำแม่งัดฝั่งตะวันตก ลุ่มน้ำสาขาน้ำแม่งัด ลุ่มน้ำ_27102021

3.5.3 ศักยภาพปรมิ าณน้ำท่า
น้ำแม่งัดเป็นลำน้ำสาขาของน้ำแม่ปิง มีพ้ืนที่รับน้ำทั้งหมดประมาณ 1,309 ตาราง

กโิ ลเมตร ลำน้ำน้ีมตี น้ กำเนดิ จากดอยจิ๊กจอ๊ ง ทางตอนเหนือของเทือกเขาผีปันน้ำตะวันตกซึง่ อยู่ทางทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัดเชยี งใหม่ ลำน้ำนี้ไหลจากทิศเหนือลงสู่ทิศใต้ผ่านพื้นท่ีอำเภอพร้าว ใน
เขตตำบลสันทราย ตำบลบ้านโป่ง ตำบลน้ำแพร่ ตำบลเขอื่ นผาก ตำบลแม่แวน ตำบลแมป่ ๋ัง ตำบลบา้ น
เป้า ตำบลช่อแล และไหลผ่านเข่ือนแม่งัดสมบูรณ์ชล บรรจบกับแม่น้ำปิงท่ีบ้านใหม่ อำเภอแม่แตง
จังหวดั เชียงใหม่ รวมความยาวทง้ั สิ้น 95 กิโลเมตร มีความจุ 265 ล้านลูกบาศกเ์ มตร

จากข้อมูลปริมาณน้ำท่าเฉล่ียของลุ่มน้ำปิงของกรมชลประทาน (ศูนย์อุทกวิทยา
ชลประทานภาคเหนือตอนบน, 2562) ได้ศึกษาปริมาณน้ำท่าเฉล่ียรายปีของสถานีวัดน้ำท่าชองสถานี
ต่างๆ ภายในลุ่มน้ำปิง คำนวณปริมาณฝนเฉลี่ยของลุ่มน้ำด้วยวิธีธีเอสเสน เพ่ือหาค่าสัมประสิทธิ์น้ำท่า
จากสมการ ได้ค่าความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำท่าเฉล่ียรายปีและพื้นท่ีรับน้ำฝนของลุ่มน้ำปิง ดัง
แสดงในภาพท่ี 3-8

ข้อมูลปริมาณน้ำรายปีของลุ่มน้ำแม่งัด ของสถาถานีวัดน้ำบริเวณบ้านสหกรณ์ร่มเกล้า
อำเภอพรา้ ว จงั หวัดเชียงใหม่ (P 56A) พื้นที่รับน้ำ 546 ตารางกโิ ลเมตร สูง 408 เมตร จากระดับทะเล
ปานกลาง ระหว่างปี พ.ศ. 2542 – 2563 พบว่ามีปริมาณน้ำท่ารายปีเฉลี่ย 156.07 ล้าน ลบ.ม. โดย
ปริมาณน้ำสูงสุดเฉลี่ยเท่ากับ 350.97 ล้าน ลบ.ม. และปริมาณน้ำต่ำสุดเฉล่ีย 48.26 ล้าน ลบ.ม.(ศูนย์
อทุ กวทิ ยาชลประทานภาคเหนือตอนบน, 2564)

จากการศึกษาสภาพพื้นท่ีลุ่มน้ำแม่งัดฝั่งตะวันตก มีพ้ืนที่รับน้ำเท่ากับ 118,721 ตาราง
กิโลเมตร (74.20 ล้านไร่) โดยภายในลุ่มน้ำจะมีลำน้ำ ลำห้วยไหลลงสู่แม่น้ำสายหลัก คำนวณปริมาณ
น้ำท่า ด้วยวิธี Reginal Runoff equation ซึ่งอาศัยความสัมพันธ์แบบรีเกรซชั่น (Regression)
ระหว่างปริมาณน้ำท่ารายปีเฉลี่ยและพื้นท่ีรับน้ำฝน สามารถคำนวณปริมาณน้ำท่าได้จากสมการ (ศูนย์
อทุ กวิทยาชลประทานภาคเหนอื ตอนบน, 2562)

Q = 0.288A0.978

จากสมการสามารถวิเคราะห์ปริมาณน้ำเฉลี่ยรายปีและพ้ืนที่รับน้ำของลุ่มน้ำแม่งัดฝ่ัง
ตะวันตกได้ เท่ากับ 21.96 ล้านลูกบาศก์เมตร ควรมีการศึกษาความเหมาะสมของโครงการพัฒนา
แหล่งน้ำตน้ ทุนใหม้ คี วามเหมาะสม เพอ่ื นำไปสกู่ ารสำรวจและออกแบบโครงการต่อไป

35

ภาพท่ี 3-8 ความสัมพันธร์ ะหวา่ งปรมิ าณน้ำท่าเฉล่ียรายปแี ละพื้นทร่ี บั นำ้ ฝนของลุ่มน้ำปิง
ที่มา : ศนู ยอ์ ทุ กวทิ ยาชลประทานภาคเหนอื ตอนบน (2564)

36

3.6 ทรัพยากรปา่ ไม้ และขอบเขตท่ีดนิ ตามกฎหมายและนโยบาย

ขอบเขตท่ีดินของรัฐด้านทรัพยากรป่าไม้ในพื้นท่ีลุ่มน้ำแม่งัดฝั่งตะวันตก ประกอบด้วย เขต
อทุ ยานแห่งขาติ เขตป่าสงวนแห่งชาติ และเขตนคิ มสหกรณ์ รายละเอียดดงั ตารางท่ี 3-5

ตารางที่ 3-5 ข้อมูลที่ดนิ ของรฐั ทใ่ี ชร้ ่วมในการวิเคราะหด์ า้ นทรัพยากรปา่ ไม้ ลุ่มน้ำแมง่ ัดฝง่ั ตะวนั ตก
อำเภอพรา้ ว จังหวัดเชยี งใหม่

หน่วยงาน และขอ้ มลู ประเภทท่ดี นิ สถานะทางกฎหมาย
1) กรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 106 ตอน
เขตอทุ ยานแหง่ ชาติ ท่ี 120 ลงวนั ที่ 1 สิงหาคม 2532

2) กรมป่าไม้ ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม 89 ตอนท่ี
เขตป่าสงวน 166 ลงวันท่ี 7 พฤศจิกายน 2515

3) นคิ มสหกรณ์ มตคิ ณะรัฐมนตรี
เขตนิคมสหกรณท์ จ่ี ัดตงั้ ตามพระราชกฤษฎีกาหรอื คำส่ังคณะ (ม ติ ค ณ ะ รั ฐ ม น ต รี วั น ท่ี 14
ปฏิวัติ พฤศจิกายน 2504)

พื้นท่ีป่าไม้ในเขตป่าตามกฎหมายวิเคราะห์จากการซ้อนทับข้อมูลพื้นที่ป่าอนุรักษ์ (อุทยาน
แห่งชาติ) พ้ืนที่ป่าสงวนแห่งชาติ (เขตการใช้ประโยชน์ทรัพยากรและที่ดินป่าไม้ในพื้นท่ีป่าสงวน
แห่งชาติ) พ้ืนที่ป่าอนุรักษ์ตามมติคณะรัฐมนตรี และเขตนิคมสหกรณ์ท่ีจัดตั้งตามพระราชกฤษฎีกา
หรือคำสั่งคณะปฏิวัติ เม่ือวิเคราะห์ข้อมูลพื้นที่ป่าไม้ในพ้ืนท่ีลุ่มน้ำแม่งัดฝั่งตะวันตก สามารถจำแนก
สถานภาพทรพั ยากรป่าไม้ และขอบเขตท่ีดินตามกฎหมายและนโยบายได้ 3 ประเภท ไดแ้ ก่ (1) พน้ื ท่ี
เขตอุทยานแห่งชาติ (2) เขตป่าสงวนแห่งชาติ ซ่ึงเป็นเขตพื้นที่ป่าเพ่ือการอนุรักษ์ (C) (ตารางท่ี 3-6)
และ (3) พื้นที่นิคมสหกรณ์ ท้ังนี้ พื้นท่ีอุทยานแห่งชาติศรีลานนา และพ้ืนที่ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่
งดั ซ้อนทบั กันอยู่ รายละเอียดมีดังนี้

1) เขตอุทยานแห่งชาติ รับผิดชอบโดยกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช โดย
พบว่าพื้นท่ีลุ่มน้ำแม่งัดฝั่งตะวันตก อยู่ในเขตพ้ืนที่ประกาศเป็นเขตอุทยานแห่งชาติศรีลานนา ตาม
แผนท่ีแนบท้าย ราชกจิ จานุเบกษา (เลม่ 106 ตอนที่ 120 ลงวนั ท่ี 1 สิงหาคม 2532) เน้ือท่ี 81,960 ไร่

2) เขตป่าสงวนแห่งชาติ การจำแนกการใช้ประโยชน์ทรัพยากรและที่ดินป่าไม้ในเขต
ป่าสงวนแห่งชาติ ในพื้นที่ลุ่มน้ำแม่งัดฝั่งตะวนั ตก อยู่ในพ้ืนท่ีเขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่งัด ตามแผน

37

ท่ีแนบท้าย ราชกิจจานุเบกษา (เล่ม 89 ตอนท่ี 166 ลงวนั ที่ 7 พฤศจิกายน 2515) โดยเป็นเขตพื้นท่ีป่า
เพอ่ื การอนุรกั ษ์ (โซน C) เนื้อที่ 77,371 ไร่

3) นิคมสหกรณ์ที่จัดตั้งตามพระราชกฤษฎีกาหรือคำส่ังคณะปฏิวัติ ตามมติ
คณะรฐั มนตรี เมื่อวันท่ี 14 พฤศจิกายน 2504 มีเน้ือที่ 27,720 ไร่

38

ภาพท่ี 3-9 สถานภาพปา่ ไม้และขอบเขตท่ดี ินตามกฎหมายในพ้ืนทีล่ ุ่มน้ำแม่งัดฝั่งตะวันตก
อำเภอพร้าว จังหวดั เชยี งใหม่

39

3.7 สภาพการใชท้ ่ีดิน

สภาพการใช้ท่ีดินในโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรมด้วย
ระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ พ้ืนท่ีลุ่มน้ำแม่งัดฝั่งตะวันตก ลุ่มน้ำสาขาน้ำแม่งัด ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปิง อำเภอ
พร้าว จงั หวัดเชียงใหม่ สามารถจำแนกประเภทการใชท้ ่ีดินได้เป็น 5 ประเภทหลัก ดงั น้ี

1) พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง (U) เนื้อท่ี 4,837 ไร่ หรือร้อยละ 4.07 ของเน้ือท่ีลุ่มน้ำ
ประกอบด้วย หมูบ่ ้าน หมู่บ้าน สถานที่ราชการและสถาบันต่างๆ ถนน พน้ื ท่ีอตุ สาหกรรมรา้ ง โรงงาน
อตุ สาหกรรม ลานตากและแหลง่ รบั ซ้ือทางการเกษตร สถานที่พกั ผ่อนหยอ่ นใจ สสุ าน ป่าช้า

(1) หมู่บ้าน (U2) เป็นหมู่บ้านพื้นราบ เน้ือท่ี 4,044 ไร่ หรือร้อยละ 3.41 ของเน้ือท่ี
ลุ่มน้ำ ส่วนใหญ่เป็นบ้านพักที่อยู่อาศัยกระจายตัวเป็นจุด ๆ ตามแนวถนนเช่ือมตัวกันท้ังหมู่บ้าน มี
ไม้ยืนต้น ไมผ้ ลปลกู แทรกอยู่บริเวณของบ้าน

(2) สถานท่ีราชการและสถาบันต่างๆ (U3) เนื้อท่ี 367 ไร่ หรือร้อยละ 0.31 ของเนื้อท่ี
ลุ่มน้ำ

(3) ย่านอุตสาหกรรม (U5) เน้ือท่ี 245 ไร่ หรือร้อยละ 0.21 ของเนื้อท่ีลุ่มน้ำ
ประกอบด้วย โรงงานอุตสาหกรรม ลานตากและแหลง่ รบั ซ้ือทางการเกษตร

(4) สสุ าน ปา่ ช้า (U6) เน้ือที่ 181 ไร่ หรือร้อยละ 0.15 ของเน้อื ทล่ี มุ่ นำ้
2) พ้ืนท่ีเกษตรกรรม (A) เน้ือที่ 41,048 ไร่ หรอื ร้อยละ 34.59 ของเนือ้ ท่ลี ุ่มน้ำ ประกอบดว้ ย
นาขา้ ว พืชไร่ ไม้ยนื ตน้ ไมผ้ ล พืชสวน ไรห่ มุนเวียน และสถานทีเ่ พาะเล้ยี งสตั วน์ ้ำ

(1) นาข้าว (A1) เนื้อที่ 7,802 หรือร้อยละ 6.57 ของเนื้อท่ีลุ่มน้ำ ประกอบไปด้วย นา
ร้าง (A100) เนื้อที่ 110 ไร่ นาข้าว (A101) เนื้อท่ี 7,692 ไร่ พบบริเวณท่ีราบขนาดใหญ่สองข้างของ
น้ำแมง่ ดั และท่ีราบรมิ ลำนำ้ สายเล็ก

(2) พืชไร่ (A2) เน้ือท่ี 3,118 หรือร้อยละ 2.63 ของเนื้อทล่ี ุ่มน้ำ ไดแ้ ก่ ไรร่ า้ ง พชื ไร่ผสม
ข้าวโพด สบั ปะรด และพรกิ สว่ นใหญ่พบในพ้ืนทต่ี ำบลเข่อื นผาก

(3) ไม้ยืนต้น (A3) เน้ือที่ 1,683 หรือร้อยละ 1.42 ของเนื้อที่ลุ่มน้ำ ได้แก่ ยางพารา ยู
คาลิปตัส สกั และสะเดา

(4) ไมผ้ ล (A4) เนื้อที่ 26,449 หรอื ร้อยละ 22.28 ของเน้ือที่ลมุ่ น้ำ ได้แก่ ไม้ผลผสม ส้ม
ล้ินจ่ี มะม่วง มะขาม ลำไย ขนนุ และแกว้ มังกร

(4) ไร่หมุนเวียน (A6) เนื้อท่ี 1,547 หรือรอ้ ยละ 1.30 ของเน้ือที่ลุ่มน้ำ ประกอบไปด้วย
ไร่หมนุ เวียนรา้ ง และพืชไร่ผสม (ไรห่ มนุ เวียน)

(5) ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์และโรงเรือนเล้ียงสัตว์ (A7) เนื้อท่ี 86 หรือร้อยละ 0.07 ของ
เนื้อทล่ี มุ่ น้ำ ประกอบไปด้วย โรงเรือนเลยี้ งสตั ว์ปกี และโรงเรอื นเลี้ยงสุกร

(7) สถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ (A9) เนื้อท่ี 95 หรือร้อยละ 0.08 ของเน้ือท่ีลุ่มน้ำ ซ่ึงเป็น
สถานทเี่ พาะเลยี้ งปลา

40

3) พื้นทป่ี ่าไม้ (F) เนื้อท่ี 68,595 ไร่ หรอื รอ้ ยละ 57.78 ของเน้ือทีล่ ุ่มน้ำ ประกอบด้วยป่าผลัด
ใบ และปา่ ปลกู

(1) ป่าผลัดใบ (F2) เน้ือท่ี 67,765 หรือร้อยละ 57.08 ของเนื้อท่ีลุ่มน้ำ ประกอบด้วย
ป่าผลัดใบรอสภาพฟ้ืนฟู เนื้อที่ 645 ไร่ และป่าผลัดใบสมบูรณ์ เน้ือที่ 67,745 ไร่ พบบริเวณทิศ
ตะวันตกของพน้ื ที่ลุ่มน้ำ

(2) ป่าปลูก (F5) เน้ือที่ 185 หรอื รอ้ ยละ 0.16 ของเน้ือท่ลี ่มุ น้ำ เปน็ ปา่ ปลูกสมบูรณ์
4) พน้ื ทแ่ี หลง่ น้ำ (W) เนื้อท่ี 1,618 ไร่ หรอื รอ้ ยละ 1.36 ของเน้อื ทล่ี มุ่ นำ้

(1) แหล่งน้ำธรรมชาติ (W1) ประกอบด้วย แม่น้ำ ลำห้วย ลำคลอง เน้ือท่ี 187 ไร่ หรือ
รอ้ ยละ 0.16 ของเนื้อท่ีล่มุ น้ำ พบกระจายท่ัวไปบรเิ วณบริเวณพ้นื ทรี่ าบในพ้ืนทลี่ มุ่ นำ้

(2) แหล่งน้ำที่สรา้ งขึ้น (W2) เนื้อที่ 1,431 หรือร้อยละ 1.20 ของเน้ือท่ีลุ่มน้ำ ประกอบ
ไปด้วย อ่างเก็บน้ำ เนื้อที่ 1,240 ไร่ บ่อน้ำในไรน่ า เนอ้ื ที่ 178 ไร่ และคลองชลประทาน เนื้อท่ี 14 ไร่
พบกระจายทัว่ บริเวณพ้นื ท่ีลมุ่ น้ำ

5) พืน้ ทเี่ บ็ดเตลด็ (M) เนอื้ ที่ 2,623 ไร่ หรือรอ้ ยละ 2.21 ของเน้อื ทลี่ ุ่มนำ้ ประกอบไปด้วย
(1) ทุ่งหญ้าและไม้ละเมาะ (M1) เนื้อที่ 1,677 ไร่ หรือร้อยละ 1.41 ของเนื้อที่ลุ่มน้ำ

ประกอบไปดว้ ย ทงุ่ หญ้าธรรมชาติ 186 ไร่ และทุ่งหญา้ สลับไมพ้ ่มุ /ไมล้ ะเมาะ 1,491 ไร่
(2) พื้นทล่ี มุ่ (M2) เนอ้ื ท่ี 760 ไร่ หรือร้อยละ 0.64 ของเนอื้ ทล่ี ุ่มนำ้
(3) เหมืองแร่ บ่อขุด (M3) เน้ือท่ี 133 ไร่ หรือร้อยละ 0.11 ของเน้ือท่ีลุ่มน้ำ ประกอบ

ไปดว้ ย เหมอื งเก่า บอ่ ขดุ เก่า 72 ไร่ บ่อลูกรงั 34 ไร่ และบ่อดนิ 27 ไร่
(4) พ้ืนที่เบ็ดเตล็ดอื่น ๆ (M4) พ้ืนท่ีถม เน้ือท่ี 53 ไร่ หรือร้อยละ 0.05 ของเนื้อที่

ล่มุ นำ้ ประกอบดว้ ย พ้นื ท่ีดนิ ถลม่ เนือ้ ที่ 11 ไร่ และพนื้ ท่ีถม เน้ือท่ี 42 ไร่

41

ตารางท่ี 3-6 ประเภทการใชท้ ด่ี ินในพ้ืนท่ลี มุ่ น้ำแมง่ ัดฝ่งั ตะวันตก ลุ่มนำ้ สาขานำ้ แมง่ ัด ลุ่มนำ้ หลักแม่น้ำ
ปงิ อำเภอพร้าว จังหวดั เชียงใหม่

สญั ลกั ษณ์ ประเภทการใชท้ ดี่ ิน เน้อื ที่

ไร่ ร้อยละ

U พื้นท่ีชมุ ชนและส่ิงปลูกสร้าง 4,837 4.07
U201 หมบู่ ้านบนพนื้ ราบ
U202 หมู่บา้ นชาวไทยภูเขา 3,945 3.32
U301 สถานทีร่ าชการและสถาบนั ตา่ ง ๆ
U502 โรงงานอตุ สาหกรรม 96 0.08
U503 ลานตากและแหล่งรบั ซ้อื ทางการเกษตร
U602 รสี อรท์ โรงแรม เกสตเ์ อาส์ 368 0.31
U603 สุสาน ปา่ ชา้
177 0.15
A พืน้ ที่เกษตรกรรม
A1 พ้ืนที่นา 68 0.06
A100 นารา้ ง
A101 นาข้าว 89 0.07
A2 พืชไร่
A200 ไร่ร้าง 92 0.08
A201 พืชไร่ผสม
A202 ขา้ วโพด 41,046 34.57
A229 พริก
A3 ไม้ยนื ต้น 7,802 6.57
A302 ยางพารา
A304/A305 ยูคาลปิ ตสั /สัก 110 0.09
A305 สัก
A306 สะเดา 7,692 6.48

3,118 2.63

220 0.19

146 0.12

2,549 2.15

191 0.16

1,683 1.42

965 0.81

24 0.02

664 0.56

34 0.03

42

ตารางที่ 3-6 (ตอ่ ) ประเภทการใชท้ ีด่ ิน เนื้อที่
สญั ลกั ษณ์ ไร่ ร้อยละ

A4 ไมผ้ ล 26,449 22.28
A400 ไม้ผลร้าง/เสอ่ื มโทรม 11 0.01
A401 ไม้ผลผสม 400 0.34
A402 ส้ม 12 0.01
A406 ลน้ิ จ่ี 411 0.34
A407 มะม่วง 6.46
A412 มะขาม 7,667 0.04
A413 ลำไย 46 15.05
A416 ขนนุ 0.02
17,869 1.30
A6 ไร่หมนุ เวียน 23 1.28
A600 ไร่หมุนเวียนรา้ ง 0.03
A601 พืชไร่ผสม (ไรห่ มนุ เวยี น) 1,547 0.07
1,517 0.04
A7 ทงุ่ หญ้าเลีย้ งสตั วแ์ ละโรงเรือนเล้ียงสตั ว์ 0.03
A703 โรงเรือนเลีย้ งสัตว์ปกี 30 0.08
A704 โรงเรอื นเลี้ยงสุกร 86 0.08
47 57.78
A9 สถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์นำ้ 39 0.54
A902 สถานท่เี พาะเลีย้ งปลา 95 57.08
95 1.36
F พ้นื ท่ีป่าไม้ 68,595 0.13
F200 ป่าผลดั ใบรอสภาพฟน้ื ฟู 645 0.03
F201 ป่าผลัดใบสมบูรณ์ 67,765 1.04
1,618 0.15
W พ้นื ทน่ี ้ำ 187 0.01
W101 แมน่ ำ้ ลำห้วย ลำคลอง 33
W102 หนอง บงึ ทะเลทราย 1,240
W201 อา่ งเก็บน้ำ 178
W202 บอ่ นำ้ ในไรน่ า 14
W203 คลองชลประทาน

43

ตารางท่ี 3-6 (ตอ่ )

สญั ลักษณ์ ประเภทการใชท้ ี่ดนิ เนือ้ ที่
ไร่ ร้อยละ

M พนื้ ที่เบ็ดเตล็ด 2,623 2.21

M101 ทงุ่ หญ้าธรรมชาติ 186 0.16

M102 ท่งุ หญ้าสลบั ไมพ้ ุ่ม/ไมล้ ะเมาะ 1,491 1.25

M201 พื้นทล่ี ุม่ 760 0.64

M300 เหมอื งเก่า บอ่ ขดุ เก่า 72 0.06

M302 บ่อลูกรงั 34 0.03

M304 บ่อดิน 28 0.02

M402 พืน้ ทด่ี นิ ถลม่ 11 0.01

M405 พื้นที่ถม 42 0.04

รวมทั้งหมด 118,721 100.00

หมายเหตุ: ตัวเลขไดจ้ ากการคำนวณดว้ ยโปรแกรมสารสนเทศภูมิศาสตร์ จากขอ้ มลู การใช้ท่ดี ิน

มาตราสว่ น 1:25000 ปี พ.ศ. 2561 ของกองนโยบายและการใช้ทดี่ นิ กรมพฒั นาที่ดนิ

44

ภาพท่ี 3-10 สภาพการใช้ท่ีดิน ลุ่มน้ำแม่งดั ฝั่งตะวันตก ลุ่มน้ำสาขาน้ำแมง่ ดั ลุ่มน้ำหลกั แม่นำ้ ปงิ
อำเภอพร้าว จงั หวดั เชยี งใหม่

45

3.8 พนื้ ที่เสยี่ งตอ่ การชะล้างพงั ทลายของดิน

การชะล้างพังทลายของดินเป็นปัญหาท่ีสำคัญที่ส่งผลให้ทรัพยากรที่ดินเส่ือมโทรมเน่ืองจาก
ทำให้เกิดการสญู เสียหน้าดิน การสูญเสยี ธาตุอาหารและอินทรยี วัตถุในดิน ส่งผลให้ความอุดมสมบูรณ์
ของดินลดลง โดยเฉพาะอย่างย่งิ ในพนื้ ท่ีที่มกี ารใชท้ ่ดี ินในการปลูกพืชอย่างเข้มขน้ ในรอบปี รวมทัง้ ใน
พื้นท่ีที่มีการใช้เคร่ืองจักรกลในการไถพรวนดินเป็นสาเหตุสำคัญท่ีทำให้สมบัติ ทางกายภาพของดิน
โดยเฉพาะโครงสร้างดินถูกทำลาย ย่งิ สง่ เสริมให้เกิดการชะล้างพังทลายของดินในพน้ื ท่ี ผลจากการชะ
ลา้ งพงั ทลายของดินจะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมท้ังในพื้นท่ีและพนื้ ที่โดยรอบ และทำให้ผลผลิตต่อ
หน่วยพืน้ ที่ลดลง เน่ืองจากความอุดมสมบูรณ์ลดลง และเกิดการต้ืนเขินของแมน่ ้ำลำคลองเน่อื งจากมี
การสะสมของตะกอนดิน ทำให้ศักยภาพในการเก็บกักน้ำของแหล่งน้ำลดลง ปัญหาเหล่านี้จะส่งผล
กระทบต่อการเพาะปลูกในฤดูกาลถัดไป ดังน้ัน จงึ มีความจำเป็นอย่างย่ิงท่จี ะต้องมีการป้องกันการชะ
ลา้ งพงั ทลายของดนิ เพอื่ รักษาทรพั ยากรที่ดินให้สามารถใช้ท่ดี นิ ได้อย่างยั่งยืน

การชะล้างพังทลายของดินในแต่ละพ้ืนที่จะมีระดับความรุนแรงแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับ
ลักษณะของดินเอง และปัจจัยจากภายนอก โดยปกติแล้วการชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทย
จะเกิดข้ึนโดยมีฝนเป็นปัจจัยหลกั ที่สำคัญ แตโ่ ดยธรรมชาติแล้วจะเกิดไม่รุนแรงบนพื้นที่ท่ีมีความลาด
ชันน้อยและมีสิ่งปกคลมุ ผิวดินหรอื พ้ืนที่ทมี่ ีความลาดชันสูงแตม่ ีสิง่ ปกคลุมผิวดินหนาแนน่ จนเม็ดฝนไม่
สามารถกระทบสู่พ้ืนดินได้ แต่จะเกิดรุนแรงมากข้ึนถ้าพ้ืนที่มีความลาดชันมากข้ึนและไม่มีส่ิงปกคลุม
ผิวดิน โดยมีกิจกรรมการใช้ที่ดินของมนุษย์เป็นตัวเร่งให้เกิดความรุนแรงมากขึ้น การชะล้างพังทลาย
ของดินนอกจากมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมแล้วยังส่งผลเสียทางด้านเศรษฐกิจ และจากการประเมิน
การสูญเสียดิน (ตัน/ไร่/ปี) ในพ้ืนท่ีลุ่มน้ำแม่งัดฝั่งตะวันตก ลุ่มน้ำสาขาน้ำแม่งัด ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปิง
สามารถแบ่งระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินออกเป็น 5 ระดับ (ตารางที่ 3-13 และภาพ
ที่ 3-11) ดงั นี้

1) ความรุนแรงของการชะลา้ งพังทลายของดนิ ระดบั น้อย
พื้นท่ีมีความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินในระดับน้อย ซ่ึงมีปริมาณการสญู เสียดิน 0-

2 ตันต่อไร่ต่อปี โดยมีครอบคลุมเน้ือที่ประมาณ 31,313 ไร่ หรือร้อยละ 26.37 ของเน้ือท่ีทั้งหมด
ส่วนใหญ่พบกระจายตัวอยู่ตามท่ีราบริมสองฝั่งของลำน้ำแม่งัด ส่วนใหญ่มีสภาพพื้นที่เป็นพ้ืนที่
ราบเรียบจนถึงค่อนข้างราบเรียบและลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย การใช้ที่ดินส่วนใหญ่ใช้ประโยชน์ใน
การปลูกข้าว ลำไย มะม่วง สัก ยางพารา และป่าผลัดใบสมบูรณ์ แม้ในพ้ืนที่นี้ซ่ึงมีสถานภาพความ
รนุ แรงในระดับน้อย แต่ควรได้รบั การจัดการด้วยมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำที่เหมาะสม เพ่ือป้องกัน
การสญู เสยี ดิน

2) ความรุนแรงของการชะลา้ งพงั ทลายของดินระดับปานกลาง
พื้นท่ีมีความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินในระดับปานกลาง ซึ่งมีปริมาณการสูญเสีย

ดนิ 2-5 ตันต่อไร่ต่อปี โดยมีเน้ือที่ครอบคลุมประมาณ 62,987 ไร่ หรอื ร้อยละ 53.05 ของเน้ือที่ทั้งหมด

46

ส่วนใหญ่พบกระจายตัวอยู่ทางด้านทิศตะวันตกทอดยาวลงมาทางด้านทิศใต้ของพื้นท่ีลุ่มน้ำ สภาพ
พ้ืนที่ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นลูกคล่ืนลอนชันและใช้ประโยชน์ในการปลูกไม้ยืนต้น เช่น สัก และ
ยางพารา ส่วนบริเวณท่ีมีสภาพพ้ืนที่เป็นเนินเขามีสภาพเป็นป่าผลัดใบสมบูรณ์ พื้นที่น้ีในบริเวณท่ีมี
การทำเกษตรกรรมต้องมีการใช้ประโยชน์ท่ีดินอย่างระมัดระวัง ควรได้รับการจัดการด้วยมาตรการ
อนรุ ักษด์ นิ และน้ำทเี่ หมาะสม

3) ความรนุ แรงของการชะล้างพงั ทลายของดินระดบั รุนแรง
พื้นที่มีความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินในระดับรุนแรง ซ่ึงมีปริมาณการสูญเสียดิน

5-15 ตันตอ่ ไร่ต่อปี โดยมีเนื้อที่ครอบคลุมประมาณ 9,614 ไร่ หรอื ร้อยละ 8.10 ของเน้ือทท่ี ั้งหมด สภาพ
พื้นทส่ี ว่ นใหญ่มีลักษณะเป็นลกู คลน่ื ลอนลาดจนถึงลกู คลน่ื ลอนชนั พบกระจายตัวอย่ตู ามบรเิ วณที่เป็น
ลานตะพักลำน้ำระดับสูง และเนินตะกอนน้ำพารูปพัดของพื้นท่ีลุ่มน้ำ ส่วนใหญ่มีการใช้ท่ีดินในการ
ปลูกข้าวโพด ลำไย มะม่วง และข้าวโพดผสมลำไย/มะม่วง พื้นที่นคี้ วรนำมาตรการป้องกันการสูญเสีย
ดนิ ท้งั วิธพี ืชและวธิ ีกลสำหรบั ป้องกันการสญู เสียดนิ มกี ารปรับปรงุ บำรุงดินอยา่ งต่อเนอื่ ง

4) ความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินระดับรุนแรงมาก
พ้ืนท่ีมีความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินในระดับรุนแรงมาก ซึ่งมีปริมาณการสูญเสีย

ดนิ 15-20 ตันต่อไร่ต่อปี มีเน้ือท่ี 3,118 ไร่ หรือรอ้ ยละ 2.63 ของเน้ือท่ีทั้งหมด สภาพพ้ืนท่ีส่วนใหญ่
เป็นลูกคล่ืนลอนชัน และเนินเขา ส่วนใหญ่มีการใช้ประโยชน์ท่ีดินในการปลูกข้าวโพด มะม่วง ลำไย
พชื ไร่ผสมไม้ผลและไม้ผลผสมไม้ยืนตน้ พื้นที่นหี้ ากมกี ารใชป้ ระโยชน์ที่ดินทางการเกษตร จำเปน็ อยา่ ง
ยิ่งที่ต้องมีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำอย่างเคร่งครัด มีการปรับปรุงบำรุงดินอย่างต่อเน่ือง เพ่ือ
ปอ้ งกนั การสญู เสียดิน

ตารางที่ 3-7 ระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินในพ้ืนท่ีลุ่มน้ำแม่งัดฝั่งตะวันตก ลุ่มน้ำ

สาขาน้ำแมง่ ดั ลมุ่ น้ำหลกั แมน่ ้ำปิง อำเภอพร้าว จงั หวดั เชียงใหม่

ระดับความรุนแรง คา่ การสูญเสยี ดิน เนื้อที่
(ตนั /ไร/่ ปี) ไร่ รอ้ ยละ

นอ้ ย 0-2 31,313 26.37

ปานกลาง 2-5 62,987 53.05

รนุ แรง 5-15 9,614 8.10

รุนแรงมาก 15-20 3,118 2.63

รุนแรงมากท่สี ุด มากกวา่ 20 11,690 9.85

รวมเนื้อที่ 118,721 100.00

47

5) ความรนุ แรงของการชะลา้ งพงั ทลายของดนิ ระดับรุนแรงมากทส่ี ดุ
พ้ืนท่ีมีความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินในระดับรุนแรงมาก ซ่ึงมีปริมาณการสูญเสีย

ดินมากกว่า 20 ตันต่อไร่ต่อปี โดยมีเน้ือที่ครอบคลุมประมาณ มีเน้ือท่ี 11,690 ไร่ หรอื ร้อยละ 9.85
ของเนื้อที่ทั้งหมด สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นเนินเขา และพ้ืนท่ีสูงชัน ส่งผลให้มีอัตราการ
สูญเสียดินรุนแรงมากที่สุด มีลักษณะของการชะล้างพังทลายของดินเป็นร่องลึก (gully) เกิดข้ึนทั่วไป
มีสภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินส่วนใหญ่ในการปลูกข้าวโพด ไร่หมุนเวียนร้าง พืชไร่ผสม (ไร่หมุนเวียน)
มะมว่ ง ลำไย ไมผ้ ลผสมไมย้ ืนต้น และพชื ผัก

การชะล้างพังทลายของดินในพ้ืนที่ส่วนใหญ่มีความรุนแรงของการชะล้างพังทลายในระดับ
ปานกลาง โดยมีปริมาณการสูญเสียดิน 2-5 ตันต่อไร่ต่อปี มีเน้ือที่คิดเป็นร้อยละ 53.05 ของเนื้อที่
ทั้งหมด โดยพบกระจายตัวอยู่ทางทิศตะวันตกของพื้นที่ลุ่มน้ำ สภาพการใช้ที่ดินส่วนใหญ่เป็นป่า
ผลัดใบสมบูรณ์และปลูกไม้ยืนต้น สภาพพ้ืนที่ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นลูกคลื่นลอนชันจนถึงเนินเขา
รองลองมาอยู่ในระดับน้อย โดยมีปริมาณการสญู เสยี ดิน 0-2 ตันต่อไร่ตอ่ ปี โดยมีเน้ือท่ีคดิ เป็นร้อยละ
26.37 ของเนื้อที่ทั้งหมด พบกระจายตัวอยู่ทางทิศตะวันออกของพื้นที่ลุ่มน้ำ ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวส่วน
ใหญ่มีสภาพพื้นท่ีเป็นพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ และลูกคล่ืนลอนลาดเล็กน้อย มีสภาพการ
ใช้ที่ดินส่วนใหญ่เป็นข้าว ลำไย มะม่วง สัก ยางพารา และป่าผลัดใบสมบูรณ์ ซึ่งปัญหาการชะล้าง
พังทลายของดินควรได้รับการป้องกันเพือ่ ไมใ่ ห้เกิดความเสียหายต่อการผลติ และผลผลิตของเกษตรกร
อี ก ทั้ งล ด ต้ น ทุ น ก าร ผ ลิ ต ที่ สู ญ ห าย ไป กั บ ก าร ช ะ ล้ างข อ งผิ ว ห น้ าดิ น ท่ี อ าจ เกิ ด ข้ึ น อ ย่ าง ต่ อ เนื่ อ ง
นอกจากนี้ในพ้ืนที่ที่มีสภาพเป็นแบบเนินเขาจนถึงพ้ืนท่ีสูงชันทม่ี ีการใช้ประโยชน์ทดี่ ินในการปลูกพืชไร่
ไร่หมุนเวียน ไม้ผล และพืชผัก จะเกิดการชะล้างพังทลายของดินในระดับที่มีความรุนแรงมากท่ีสุด
โดยกอ่ ให้เกิดปริมาณการสญู เสียดินมากกว่า 20 ตันตอ่ ไรต่ อ่ ปี

ทง้ั นี้ เพื่อเป็นการปอ้ งกนั และหยดุ การชะล้างพังทลายของดนิ อย่างย่ังยืนโดยเฉพาะพ้ืนท่ีทม่ี ี
ความรุนแรงของการสูญเสียดินปานกลางถึงรุนแรงมากท่ีสุดน้ัน ควรมีมาตรการในการจัดระบบ
อนุรักษ์ดินและน้ำที่เหมาะสมสำหรับแต่ละพ้ืนท่ี โดยเฉพาะในพื้นท่ีบางแห่งที่มีการใช้ที่ดินอย่างไม่
เหมาะสมเน่ืองจากพ้ืนที่ที่มคี วามลาดชนั สูง ควรปรับเปล่ียนการใชท้ ี่ดินให้เหมาะสม และวิธกี ารจัดการ
มีความเป็นไปได้จริง วิธีการท่ีสะดวก และเสียค่าใช้จ่ายน้อย ไม่ต้องใช้แรงงานมาก และสอดคล้องตาม
ความต้องการของชุมชน ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาถึงการคาดคะเนการชะล้างพังทลายของดินในแต่ละพื้นที่
และแต่ละระดับ แม้กระท้ังในพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายในระดับน้อยซึ่งมีปริมาณการสูญเสียดิน 0-2
ตันต่อไร่ต่อปี ซ่ึงไม่ควรเพิกเฉยต่อการใช้มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำ และมีจัดการปรับปรุงดินที่
เหมาะสม ซึ่งหากมีการละเลยหรือมีการจัดการที่ไม่เหมาะสม และถูกต้องตามหลักวิชาการอาจจะส่งผล
กระทบที่รุนแรงขึ้น ซ่ึงเกิดปัญหาต่อการสูญเสียดิน ปริมาญและคุณภาพผลผลิต และส่งผลกระทบต่อ
ต้นทนุ การผลิต การจัดการดนิ น้ำ ป๋ยุ ทำใหเ้ กษตรกรในพ้ืนที่มีค่าใช้จ่ายท่ีเพิ่มสงู ขน้ึ ตามไปด้วย

48

ภาพท่ี 3-11 การสูญเสียดินในพืน้ ท่ลี มุ่ น้ำแม่งดั ฝ่ังตะวันตก ล่มุ นำ้ สาขานำ้ แมง่ ดั ล่มุ นำ้ หลัก
แม่น้ำปงิ อำเภอพร้าว จังหวดั เชียงใหม่

49

3.9 สภาวะเศรษฐกจิ และสงั คม

จากการศึกษาข้อมูลเชิงสภาวะเศรษฐกิจและสังคมจากหน่วยงานต่าง ๆ และการสัมภาษณ์
เกษตรกรในพื้นที่ลุ่มน้ำแม่งัดฝั่งตะวันตก ลุ่มน้ำสาขาน้ำแม่งัด ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปิง อำเภอพร้าว
จังหวัดเชียงใหม่ ครอบคลุมพ้ืนท่ีอำเภอพร้าว ประกอบไปด้วย 4 ตำบล ได้แก่ ตำบลแม่ป๋ัง ตำบล
เขอื่ นผาก ตำบลนำ้ แพร่ และ ตำบลบ้านโปง่ มีรายละเอียดดงั นี้ (ตารางที่ 3-8)

1) สภาพทว่ั ไป
ประชากรของพ้ืนท่ีลุ่มน้ำเฉล่ียประมาณ 829.25 คนต่อตำบล โดยตำบลท่ีมีประชากร
สูงสุด ในพื้นท่ีลุ่มน้ำอำเภอพร้าว คือตำบลแม่ปั๋ง รองลงมาเป็นตำบลน้ำแพร่ ตำบลบ้านโป่ง และ
ตำบลเข่ือนผาก สัดส่วนของเพศชายและเพศหญิงค่อนข้างใกล้เคียงกัน คือ เป็นเพศชายเฉล่ีย
ประมาณ 403.00 คนต่อตำบล และเป็นเพศหญิงเฉลี่ยประมาณ 426.25 คนต่อตำบล จำนวน
ครัวเรือนเฉล่ียประมาณ 342.75 ครัวเรือนต่อตำบล โดยตำบลน้ำแพร่ มีจำนวนครัวเรือนสูงสุด
รองลงมาตำบลแม่ป๋ัง ตำบลบ้านโป่ง และตำบลเข่ือนผาก มีการรวมกลุ่มของเกษตรกรทุกตำบล
โครงสร้างพ้ืนฐานด้านสาธารณูปโภค (ไฟฟ้า ประปา โทรคมนาคม) ด้านสถานบริการสาธารณะ และ
หนว่ ยธรุ กิจมคี รบถว้ นทุกตำบล แตม่ จี ำนวนแตกตา่ งกันขึน้ อยู่กับขนาดของพ้ืนทแี่ ละประชากร
2) ด้านเศรษฐกิจ
การประกอบอาชีพ ประชากรส่วนใหญ่ในทุกตำบลประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น ทำ
นา ทำไร่ ทำสวน และเลี้ยงสตั ว์ เป็นการประกอบอาชีพเกษตรกรรมเพ่ือบรโิ ภคและเพื่อจำหน่าย สว่ น
อาชีพอ่ืนๆ มีรับราชการ รัฐวิสาหกิจ พนักงานเอกชน ธุรกิจส่วนตัว รับจ้างทั่วไป ค้าขาย และอื่นๆ
จำนวนครัวเรือนเกษตรเฉลี่ยประมาณ 321.50 ครัวเรือนต่อตำบล หรือร้อยละ 94.50 ของครัวเรือน
ท้ังหมด ตำบลท่ีมีครัวเรือนเกษตรมากทีส่ ุดคือ ตำบลแม่ปัง๋ รองลงมาเป็นตำบลน้ำแพร่ ตำบลบา้ นโป่ง
และตำบลเข่ือนผาก มีพื้นท่ีเกษตรเฉลีย่ 11.83 ไร่ต่อครัวเรอื น จำนวนแรงงานภาคเกษตรเฉล่ีย 2 คน
ต่อครัวเรือน มีรายได้เฉล่ีย 80,405.68 บาทต่อคนต่อปี ซ่ึงตำบลที่มีรายได้เฉล่ียสูงสุดคือ ตำบลเขื่อน
ผาก รองลงมาเป็นตำบลแม่ป๋ัง ตำบลน้ำแพร่ และตำบลบ้านโป่ง ลักษณะการถือครองท่ีดิน พบว่า
เกษตรกรสว่ นใหญ่มีท่ีดนิ ทำกินเป็นของตนเอง มีทง้ั ที่มีหนังสือสำคัญในที่ดนิ เช่น โฉนด นส.3 น.ส.3ก
เป็นต้น ทั้งน้ีในด้านเคร่ืองมือการเกษตร เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้รถไถเดินตาม รถไถเล็ก รถไถใหญ่
เครอ่ื งพน่ ยา เครอ่ื งตัดหญ้า เครอ่ื งสบู น้ำ และเครอื่ งนวดขา้ ว เป็นต้น

50

ตารางที่ 3-8 สภาวะเศรษฐกจิ และสงั คม อ.พรา้ ว

สภาวะเศรษฐกจิ และสงั คม ต.บ้านโป่ง ต.น้ำแพร่ ต.เขื่อนผาก ต.แมป่ ั๋ง

สภาพสังคมและการรวมกลุ่มเกษตร 735.00 976.00 560.00 1,046.00
1) ประชากร (คน) 358.00 460.00 290.00 504.00
377.00 516.00 270.00 542.00
(1) ชาย (คน) 317.00 427.00 204.00 423.00
(2) หญงิ (คน)
(3) จำนวนครวั เรอื น (หลงั คาเรือน) 100.00 100.00 100.00 100.00
2) โครงสร้างพืน้ ฐาน 100.00 100.00 100.00 100.00
(1) สาธารณูปโภค (ร้อยละ) 100.00 100.00 100.00 100.00
100.00 100.00 100.00 100.00
- ครัวเรอื นที่มไี ฟฟา้ ใช้
- ครวั เรือนท่ใี ช้น้ำประปาตลอดปี มี มี มี มี
- ครัวเรอื นทีม่ ีโทรศพั ท์เคลอ่ื นที่ มี มี มี มี
- การคมนาคมใช้ไดต้ ลอดทัง้ ปี มี มี มี มี
(2) สถานบริการสาธารณะ
(3) หน่วยธุรกิจ
(4) การรวมกลุ่มของเกษตรกร/กล่มุ อาชีพ

51

ตารางที่ 3-8 (ต่อ) อ.พรา้ ว

สภาวะเศรษฐกิจและสงั คม ต.บ้านโปง่ ต.น้ำแพร่ ต.เขอ่ื นผาก ต.แมป่ งั๋

สภาพเศรษฐกจิ 12.77 12.22 15.54 13.48
1) การประกอบอาชีพ 8.97 11.89 7.14 10.64
11.68 10.76 9.82 0.86
(1) กำลังศกึ ษา 0.82 5.84 22.86 1.24
(2) ไมม่ ีอาชีพ 27.72 9.43 16.79 33.94
(3) เกษตร-ทำนา 0.14 0.00 0.00 0.10
(4) เกษตร-ทำไร่ 0.27 0.00 0.71 0.00
(5) เกษตร-ทำสวน 2.04 3.48 3.39 2.39
(6) เกษตร-ประมง 0.54 0.41 0.00 0.29
(7) เกษตร-ปศสุ ัตว์ 1.63 1.02 1.07 0.86
(8) พนกั งาน-รับราชการ 22.69 27.46 13.39 26.77
(9) พนักงาน-รัฐวสิ าหกิจ 6.93 8.71 4.46 7.27
(10) พนักงานบรษิ ทั 2.31 3.38 1.07 0.29
(11) รับจ้างท่วั ไป 1.49 4.41 3.75 2.49
(12) ค้าขาย
(13) ธรุ กจิ ส่วนตวั 52
(14) อาชพี อ่นื ๆ

ตารางท่ี 3-8 (ต่อ) ต.บา้ นโป่ง ต.น้ำแพร่ อ.พร้าว ต.แมป่ ง๋ั
298.00 375.00 ต.เข่อื นผาก 411.00
สภาวะเศรษฐกจิ และสงั คม 94.00 87.82 202.00 97.16
12.25 11.23 99.01 8.25
2) ครวั เรือนเกษตรกร 2.00 2.00 15.58 2.00
(ร้อยละของครวั เรือนทง้ั หมด) 67,975.68 72,020.80 2.00 76,117.66
105,508.56
3) พื้นท่ีทำการเกษตร (ไร่/ครัวเรือน) มี มี
4) แรงงานภาคเกษตร (คน/ครวั เรือน) มี มี
5) รายได้ (บาท/คน/ปี)
6) ลกั ษณะการถือครองท่ีดนิ

(1) หนังสือสำคญั ในที่ดิน (โฉนดท่ดี นิ ,
นส.3, น.ส.3ก ฯ)

รถไถเดินตาม รถไถขนาด รถไถเดนิ ตาม รถไถขนาด รถไถเดินตาม รถไถขนาด รถไถเดินตาม รถไถขนาด

7) เคร่ืองมือการเกษตร เล็ก เคร่ืองตัดหญา้ เคร่ือง เลก็ เคร่อื งตัดหญ้า เครื่อง เล็ก เครอื่ งตัดหญ้า เครื่อง เลก็ เครื่องตัดหญา้ เครื่อง

พ่นยา เครื่องสบู นำ้ พน่ ยา เคร่ืองสบู น้ำ พน่ ยา เคร่ืองสูบน้ำ พน่ ยา เครื่องสูบน้ำ

ที่มา: ดดั แปลงจากกรมการพฒั นาชมุ ชน (2563)

53

3) พืชเศรษฐกิจท่ีสำคัญ
จากผลการศึกษาสถานการณ์พืชเศรษฐกิจที่สำคัญในพ้ืนที่ลุ่มน้ำแม่งัดฝ่ังตะวันตก ปีการผลิต
2563/2564 ไดแ้ ก่ ขา้ ว (ขา้ วเหนียวนาปี) ขา้ วโพดเล้ยี งสตั ว์ และลำไย โดยมรี ายละเอียด ดังน้ี (ตารางที่ 3-9)
3.1) ข้าวเหนียวนาปี (นาหว่าน) พันธ์ุท่ีใช้ปลูก คือ พันธุ์สันป่าตอง 1 ผลผลิตเฉล่ีย 462.22
กิโลกรัมต่อไร่ ราคาผลผลิต 12.20 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าผลผลิต 5,640.42 บาทต่อไร่ ต้นทุนทั้งหมด
3,100.08 บาทต่อไร่ เม่ือพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า มีผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด
2,540.34 บาทต่อไร่ และมีอัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนทง้ั หมด 1.82
3.2) ข้าวเหนียวนาปี (นาหว่าน) พันธุ์ทใ่ี ชป้ ลูก คือ พันธุ์ กข6 ผลผลิตเฉลี่ย 507.69 กิโลกรัม
ต่อไร่ ราคาผลผลิต 8.08 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าผลผลิต 4,102.13 บาทต่อไร่ ต้นทุนทั้งหมด 3,289.66 บาท
ต่อไร่ เมื่อพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า มีผลตอบแทนเหนือต้นทุนท้ังหมด 812.47 บาทต่อไร่ และ
มีอัตราสว่ นผลตอบแทนต่อตน้ ทนุ ทงั้ หมด 1.24
3.3) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ พันธุ์ท่ีใช้ปลูก คือ พันธ์ุ 888 พื้นท่ีดินท่ีมีการชะล้างพังทลายของดินระดับ
ปานกลาง ผลผลิตเฉลี่ย 480.71 กิโลกรัมตอ่ ไร่ ราคาผลผลติ 5.77 บาทต่อกโิ ลกรัม มลู ค่าผลผลติ 2,773.69 บาท
ต่อไร่ ต้นทุนท้ังหมด 3,097.64 บาทต่อไร่ เมื่อพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า มีผลตอบแทนเหนือ
ต้นทนุ ทงั้ หมด 323.95 บาทตอ่ ไร่ และมอี ัตราส่วนผลตอบแทนตอ่ ต้นทนุ ท้ังหมด 1.09
3.4) ลำไย พันธุ์ที่ใช้ปลูก คือ พันธ์ุอีดอ ผลผลิตเฉลี่ย 559.27 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาผลผลิต 20.93
บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าผลผลิต 11,705.52 บาทต่อไร่ ต้นทุนท้ังหมด 5,499.02 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือ
ตน้ ทนุ ทง้ั หมด 6,206.50 บาทตอ่ ไร่ อัตราส่วนผลตอบแทนตอ่ ต้นทุนท้ังหมด 2.13
ท้ังน้ี จากผลการศึกษาจะเห็นว่า พืชเศรษฐกิจท่ีสำคัญ ได้แก่ ข้าวเหนียวนาปี (นาดำ) และลำไย ให้
ผลตอบแทนคุ้มค่าการลงทุน โดยลำไยให้ผลตอบแทนคุ้มค่ากว่าแต่เกษตรกรก็ยังประสบปัญหาภัยแล้ง และ
ขาดแคลนนำ้ ในการทำการเกษตรในบางปี

54

ตารางที่ 3-9 ตน้ ทุนการผลติ ผลผลติ และผลตอบแทนเหนอื ตน้ ทนุ ทงั้ หมดของการปลูกพชื ในพ้ืนท่ี

พชื ผลผลติ ราคา มูลค่า ตน้ ทนุ การ ผลตอบแทน B/C

เฉลี่ย ผลผลติ ผลผลติ ผลติ ท้ังหมด เหนือตน้ ทุน ratio

(กก.ตอ่ ไร่) (บาทตอ่ กก.) (บาทต่อไร)่ (บาทต่อไร่) ทง้ั หมด

(บาทตอ่ ไร่)

- ขา้ วเหนียวนาปี (นาหวา่ น) 462.33 12.20 5,640.42 3,100.08 2,540.34 1.82

พนั ธสุ์ นั ป่าตอง 1

- ข้าวเหนียวนาปี (นาหว่าน) 507.69 8.08 4,102.13 3,289.66 812.47 1.24

พันธุ์ กข6

- ขา้ วโพดเลี้ยงสัตว์ 480.71 5.77 2,773.69 3,097.64 323.95 1.09

- ลำไย 559.27 20.93 11,705.52 5,499.02 6,206.50 2.13

ท่ีมา : ข้อมลู การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสงั คม กล่มุ วางแผนการใช้ท่ดี ิน สพข.6 (2564)

4) ความรู้ ความเขา้ ใจ ดา้ นการอนรุ กั ษ์ดินและนำ้
จากผลการสัมภาษณ์เกษตรกรกลุ่มตวั อยา่ งเก่ียวกับความรู้ ความเข้าใจดา้ นการอนุรักษ์ดินและน้ำ ใน
พ้ืนท่ีลุ่มน้ำแม่งัดฝั่งตะวันตก โดยมุ่งเน้นข้อมูลเกี่ยวกับ 1) ความรู้ ความเข้าใจ การชะล้างพังทลายของดิน 2)
ผลกระทบท่ีเกิดขึ้นต่อผลผลิต 3) แนวทางการป้องกัน และแก้ไขปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน และทัศนคติต่อการ
ปอ้ งกนั สภาพปัญหา (ตารางท่ี 3-10)

4.1) ความรู้ ความเข้าใจ การชะล้างพังทลายของดิน เกษตรกรให้ข้อมูลถึงการชะล้าง
พังทลายของดินในพื้นที่เพาะปลูกพืช และที่อยู่อาศัยของเกษตรกร พบว่า เกษตรกร ร้อยละ 24.00 ของเกษตรกร
ท้ังหมด พื้นท่ีมีน้ำไหลพัดพาหน้าดิน ที่เหลอื คอื มกี ารใชป้ ุ๋ย สารเคมี ยาฆา่ แมลงเพ่ิมมากข้ึน และแหล่งนำ้ มคี วามต้นื เขิน
มากขึ้น ร้อยละ 8.00 และ 4.00 ตามลำดับ เกษตรกรรอ้ ยละ 16.67 ทำการปอ้ งกันกรณที ีด่ ินภูกนำ้ กัดเซาะ/นำ้ พัดพาหน้า
ดิน ทำการแก้ไข/ป้องกัน เช่น การทำร่องน้ำ การก่ออิฐขวางทางน้ำ หรือการปลูกหญ้าแฝก ส่วนเกษตรกรร้อยละ 83.33
ไมไ่ ด้ เนอ่ื งจากไม่มีความรูร้ ้อยละ 80.00 และไม่มงี บประมาณในการจัดการ อีกร้อยละ 40.00 กรณดี นิ มปี ัญหานำ้ กัดเซาะ/
น้ำพัดพาหนา้ ดินและเกษตรกรไมม่ ีการแกไ้ ข เกษตรกรมคี วามตอ้ งการแก้ไขปัญหาในระดบั ปานกลาง ร้อยละ 83.33 และท่ี
เหลอื เกษตรกรใความต้องการแกไ้ ขในระดับมาก รอ้ ยละ 16.67

ทง้ั นี้ จะเหน็ ว่า เกษตรกรมีความร้คู วามเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบของการชะล้างพงั ทลายของ
ดินต่อความเสียหายทางทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม โดยดินที่ถูกชะล้างหรือกัดเซาะจะถูกพัดพาไหลไป
ตกตะกอนในแหล่งน้ำ ทำให้แหล่งน้ำต้ืนเขิน ส่งผลให้ในฤดูฝนแม่น้ำลำคลองเก็บน้ำไว้ไม่ทันเกิดน้ำท่วม และเกิด
สภาวะขาดแคลนน้ำในฤดูแล้ง อีกท้ังสารเคมี และยาฆ่าแมลงที่ไหลปนไปกับตะกอนดินสู่พื้นที่ตอนล่าง ทำให้เกิด
มลพษิ สะสมในดินและนำ้ มผี ลเสยี ต่อคน พืช สตั วบ์ ก และสัตว์น้ำ

4.2) ผลกระทบต่อผลผลิต เกษตรกรส่วนใหญ่ร้อยละ 96.00 ได้รับผลกระทบต่อปริมาณ
ผลผลิตจากการชะลา้ งพงั ทลายของดิน ในกรณีพ้นื ที่เพาะปลกู ทางการเกษตรทีม่ ีสภาพเป็นรอ่ งน้ำ การสูญเสียของ

55

หน้าดินซึ่งถูกพัดพาไป หรือทรุดตัวในบางแห่ง โดยแบ่งระดับผลกระทบต่อผลผลิตออกเป็น 3 ระดับ คือ น้อย
(ลดลงไม่เกิน 20%) ปานกลาง (ลดลง 20-40%) และมาก (ลดลงมากกว่า 40%) พบว่า เกษตรกรร้อยละ 33.33
ของเกษตรกรท่ีได้รับผลกระทบ ได้รับผลกระทบน้อย ร้อยละ 50.00 ได้รับผลกระทบปานกลาง ร้อยละ 16.67
ได้รับผลกระทบมาก และมีเกษตรกรอีกบางส่วน ร้อยละ 88.33 ไม่ได้ทำการแก้ไขป้องกัน เนื่องจากไม่มีความรู้
รอ้ ยละ 80.00 ไม่มีงบประมาณ ร้อยละ 40.00 และขาดแรงงาน รอ้ ยละ 7.14

4.3) แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการชะล้างพังทลาย จากสภาพปัญหาของการ
ชะล้างพังทลายของดินในพื้นท่ีเพาะปลูกพืช และท่ีอยู่อาศัยของเกษตรกร จะเห็นว่า มีเกษตรกรเพียงร้อยละ
16.67 ของเกษตรกรท้งั หมด มีการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาการชะลา้ งพังทลาย โดยอาศัย 3 วธิ หี ลัก คือ 1) ทำรอ่ ง
น้ำ 2) ก่ออิฐขวางทางน้ำ และ 3) ปลูกหญ้าแฝก ในขณะที่เกษตรกรมากถึงร้อยละ 83.33 ที่ไม่ได้มีแนวทางหรือ
มาตรการในการป้องกันหรือแก้ไขแต่อย่างใด โดยให้เหตุผลว่า ส่วนใหญ่ขาดองค์ความรู้ ขาดการสนับสนุน
งบประมาณ และขาดแรงงาน เพื่อดำเนินการดังกล่าว นอกจากน้ี หากมีช่องทางในการป้องกันหรือแก้ไขโดยอาศัย
หน่วยงานรัฐเข้ามาจดั การแก้ไขให้ ซงึ่ เกษตรกรท้ังหมดมคี วามต้องการให้เข้ามาดำเนนิ การแก้ไข

ตารางท่ี 3-10 ความรู้ ความเข้าใจด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำในพ้ืนที่ลุ่มน้ำแม่งัดฝั่งตะวันตก อำเภอพร้าว
จงั หวัดเชียงใหม่ ปกี ารผลติ 2563/2564

รายการ รอ้ ยละ

1) ลักษณะและสภาพปญั หาดา้ นการชะลา้ งพังทลายของดนิ 24.00
ในพน้ื ทปี่ ลูกพืชและท่อี ยอู่ าศยั (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ขอ้ ) 4.00
(1) น้ำไหลบา่ พัดพาหนา้ ดิน 8.00
(2) แหลง่ นำ้ ตืน้ เขนิ มากขึ้น
(3) มกี ารใชป้ ุ๋ย/สารเคม/ี ยาฆ่าแมลง มากขึ้น 0.00
100.00
2) ผลกระทบต่อผลผลติ (กรณที มี่ รี อ่ งน้ำ/หนา้ ดนิ ถกู พดั พาหรือทรดุ ตัว) 33.33
(1) ไมม่ ี 50.00
(2) มี โดยมีผลกระทบใหผ้ ลผลิตลดลงในระดับ 16.67
- น้อย (ลดลงไม่เกนิ 20%)
- ปานกลาง (ลดลง 20-40%) 16.67
- มาก (ลดลงมากกวา่ 40%) 60.00
20.00
3) แนวทางการปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หาการชะลา้ งพงั ทลาย 20.00
(กรณที ีด่ นิ ถูกนำ้ กัดเซาะ/นำ้ พัดพาหนา้ ดนิ )

(1) ดำเนนิ การแก้ไข/ปอ้ งกนั โดยวธิ ี
- ทำรอ่ งนำ้
- การกอ่ อิฐขวางทางนำ้
- ปลกู หญา้ แฝก

56

ตารางที่ 3-10 (ต่อ)

รายการ ร้อยละ

(2) ไม่ดำเนินการแกไ้ ข/ปอ้ งกัน เน่ืองจาก 83.33
- ขาดองค์ความรู้ 80.00
- ขาดงบประมาณสนับสนุน 40.00
- ขาดแรงงาน 7.14

* กรณีท่ีไม่ได้แก้ไข ความประสงคใ์ หห้ น่วยงานรัฐชว่ ยเหลือ 100.00
ต้องการ โดยมรี ะดับความต้องการ 0.00
83.33
- นอ้ ย 16.67
- ปานกลาง
- มาก
ที่มา : ข้อมูลการสำรวจภาวะเศรษฐกจิ และสังคม กลุ่มวางแผนการใช้ท่ีดิน สพข.6, 2564

ทั้งนี้ จะเห็นว่า เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจในวิธีการรักษาและป้องกันไม่ให้เกิดการชะล้าง
พังทลายของดินในแต่ละวิธีการมากน้อยแตกต่างกัน พบว่า 3 อันดับแรกท่ีเกษตรกรมีมีความต้องการเกี่ยวกับ
วธิ ีการรักษาและป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน คือ การปลูกหญ้งแฝกขวางทางลาดชัน การถางป่า ตัดไม้
ทำลายป่า การขดุ ถนนทำให้เกิดการชะล้างพังทลายของดิน การปลูกพืชสลบั เป็นแถบ การทำฝายน้ำล้นหรือคัน
ชะลอความเร็วของน้ำ การปลูกพชื หมุนเวียน/ปลูกพชื แซม/ปลกู พชื เหลื่อมฤดู การใชว้ ัสดุคลมุ ดิน เช่นเศษซาก
พชื พลาสติก กระดาษ และการปลกู พืชคลมุ ดนิ (ตารางท่ี 3-11)

ตารางที่ 3-11 ความรู้และความเขา้ ใจ วิธีการรักษาและป้องกันการชะลา้ งพังทลายของหนา้ ดนิ

วิธีการรักษาและป้องกัน ร้อยละ ลำดับความรู้
ใช่ ไม่ใช่ ไมแ่ น่ใจ ความเข้าใจ

1) การปลกู หญ้าแฝกขวางทางลาดชัน 96.00 0.00 4.00 1
1
2) การถางปา่ ตดั ไมท้ ำลายป่า การขุดถนนทำให้เกดิ 96.00 0.00 4.00
2
การชะลา้ งพังทลายของดนิ 3
3
3) การปลูกพชื สลับเป็นแถบ 92.00 0.00 8.00 3
3
4) การทำฝายน้ำล้นหรอื คนั ชะลอความเร็วของน้ำ 88.00 0.00 12.00 4
5
5) การปลกู พืชหมุนเวยี น/ปลูกพืชแซม/ปลูกพืชเหลือ่ มฤดู 88.00 0.00 12.00 5
6
6) การใช้วัสดุคลมุ ดิน เชน่ เศษซากพืช พลาสตกิ กระดาษ 88.00 0.00 12.00
57
7) การปลกู พืชคลุมดิน 88.00 0.00 12.00

8) การปลูกพชื แบบขั้นบนั ได (ปรับพ้ืนที่เป็นข้ันๆ) 84.00 0.00 16.00

9) การยกรอ่ งและปลูกพืชทำรอ่ งน้ำไปตามแนวระดบั 80.00 0.00 20.00

10) เพ่ือชะลอความเรว็ ของน้ำไม่ใหก้ ดั เซาะ 80.00 0.00 20.00

11) การทำคันดนิ ขวางทางลาดเท 68.00 0.00 12.00

ที่มา : ขอ้ มูลการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคม กลมุ่ วางแผนการใช้ทด่ี ิน สพข.6, 2564

เม่ื อ พิ จ าร ณ าข้ อ มู ล ทั ศ น ค ติ ข อ งเก ษ ต ร ก ร เกี่ ย ว กั บ ป ร ะ เด็ น ที่ เช่ื อ ม โย ง กั บ ส ภ า พ ปั ญ ห า
การชะล้างพังทลายของดนิ 3 ด้าน (ตารางท่ี 3-12) ดังนี้

1) การย้ายถิ่นฐาน จากประเด็นทัศนคติเกี่ยวกับ “กรณี หากเกิดเหตุการณ์ ดินถล่ม
ในพ้ืนท่ีเส่ียงภัย แล้วภาครัฐต้องการให้เกษตรกรในพื้นท่ีอพยพออกจากพื้นที่โดยจะจัดหาสถานที่
ท่ีเหมาะสมให้ ซ่ึงส่วนใหญ่เกษตรกรร้อยละ 64.00 ไม่ออกจากพื้นที่ ร้อยละ 20.00 ต้องการย้ายออกจากพ้ืนท่ี
ไปอยู่ในสถานทที่ ี่รัฐจดั ให้ และสว่ นที่เหลือไม่แน่ใจ รอ้ ยละ 16.00

2) ความช่วยเหลือจากหน่วยงานภาครัฐในการจัดทำเขตระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ โดยเกษตรกร
ท้ังหมดในพื้นที่เห็นด้วยท่ีจะมีหน่วยงานรัฐมาจัดทำเขตระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่ ร้อยละ 100.00
(รอ้ ยละ 2.17)

3) ปัญหาด้านการเกษตร เกษตรกรส่วนใหญ่มีปัญหาด้านการเกษตร ร้อยละ 72.00 และไม่มี
ปัญหาด้านการเกษตร ร้อยละ 28.00 โดยปัญหาด้านการเกษตรท่ีพบ ได้แก่ ราคาผลผลิตตกต่ำ ฝนแล้งหรือฝน
ทิ้งช่วง สภาพดินเส่ือม และศัตรูพืชรบกวน แนวทางแก้ไขมีดังนี้ ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ปรับสภาพดิน และใช้ยากำจัด
ศัตรูพืช เป็นตน้

ตารางท่ี 3-12 ทัศนคติด้านการย้ายถ่ินฐาน ปัญหาด้านการเกษตร และแนวทางแก้ไขของเกษตรกร

พน้ื ทล่ี มุ่ น้ำแมง่ ัดฝง่ั ตะวันตก อำเภอพร้าว จงั หวัดเชียงใหม่ ปีการผลิต 2563/2564

รายการ ร้อยละ

1) การย้ายถ่นิ ฐาน (กรณที ่คี าดวา่ ในอนาคตจะเกดิ ดนิ ถล่ม และทางรัฐตอ้ งการพื้นท่ี 64.00
ให้อพยพออกจากโดยทางจัดหาสถานทีใ่ ห้) 20.00
16.00
(1) ไม่มีความต้องการออกจากพื้นท่ี

(2) มคี วามตอ้ งการออกจากพ้นื ท่ีไปอยู่ในสถานที่ท่ีรัฐจัดให้

(3) ไม่แนใ่ จ
2) ความชว่ ยเหลือจากหน่วยงานภาครฐั ในการจัดทำเขตระบบอนุรักษด์ ินและน้ำ

(1) ไมเ่ ห็นดว้ ย 0.00
(2) เหน็ ด้วย 100.00
3) ปญั หาดา้ นการเกษตร
(1) ไมม่ ี 28.00
(2) มี 72.00
- ราคาผลผลติ ตกต่ำ 11.11
- ฝนแล้ง/ฝนท้งิ ช่วง 5.56
- ผลผลติ ลดลง 83.33
- ศัตรูพืชรบกวน 11.11
แนวทางแกไ้ ข
- ใชป้ ๋ยุ อินทรีย์ปรับสภาพดิน 5.56
- ใทราบวธิ กี ารแกไ้ ข 5.56
- ไม่ทราบวิธแี ก้ไข 94.44

ทม่ี า : ขอ้ มูลการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสงั คม กลุ่มวางแผนการใช้ทีด่ นิ สพข.6, 2564

58

3.10 การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มและศักยภาพ (SWOT)

จากการรวบรวมข้อมูลสภาพแวดล้อมทางกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ เพ่ือจัดทำแผนการใช้ที่ดินเพื่อ
การป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรม พ้ืนที่ลุ่มน้ำแม่งัดฝั่งตะวันตก ได้วิเคราะห์
SWOT โดยศึกษาสภาพการณภ์ ายในและภายนอก วิเคราะห์จดุ แขง็ จุดอ่อน โอกาส และขอ้ จำกัด สรปุ ไดด้ ังน้ี

1) ดา้ นกายภาพ (ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม)

จุดแข็ง (Strength) จุดออ่ น (Weakness)

(1) สภาพพ้ืนที่เหมาะสมในการทำการ (1) ดนิ มคี วามอุดมสมบรู ณ์ตำ่ เปน็ อปุ สรรคตอ่

เกษตรกรรมในพื้นทค่ี วามลาดชนั น้อยกว่า 35 การเกษตร

เปอร์เซ็นต์ (2) พ้ืนที่ทำการเกษตรมีการชะลา้ งพงั ทลาย

(2) มีลำห้วยขนาดเลก็ กระจายอยู่ทวั่ พื้นที่ ซงึ่ (3) ลำนำ้ และแหลง่ นำ้ ตนื้ เขินเร็วจากตะกอนดนิ

สามารถพัฒนาเพอ่ื ใช้ทำการเกษตรในอนาคตได้ ทีถ่ ูกชะลา้ งพงั ทลาย ไมส่ ามารถใช้ประโยชนไ์ ดเ้ ตม็ ท่ี

(3) พื้นทีล่ ุ่มน้ำบริเวณตน้ นำ้ มีสภาพป่าไมท้ ี่ (4) ระบบบริหารจัดการนำ้ ไมก่ ระจายท่ัวพน้ื ทีท่ ำ

สมบูรณ์ ใหพ้ ื้นทเ่ี กษตรบางสว่ นขาดนำ้

โอกาส (Opportunity) ปัญหา (Threat)

(1) มแี ผนงานโครงการภาครัฐและท้องถนิ่ ท่จี ะ (1) หน่วยงานองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่นไม่

พฒั นาแหล่งนำ้ ของชมุ ชนและทอ้ งถน่ิ อำเภอพร้าว สามารถจัดสรรงบประมาณพฒั นาแหลง่ น้ำท่ีมอี ยู่

จงั หวัดเชยี งใหม่ ก่อนได้

(2) มหี น่วยงานภาครัฐและเอกชนเขา้ ไป (2) ฤดูแล้งขาดแคลนนำ้ เพือ่ ทำการเกษตร

สนับสนนุ การทำเกษตรอินทรียแ์ ละเกษตรปลอดภยั (3) แหล่งน้ำทม่ี ีอยู่ตน้ื เขนิ

(3) มโี ครงการพัฒนาพื้นท่ีเกษตรในท่ดี นิ นิคม

สหกรณ์

2) ด้านสังคม จดุ ออ่ น (Weakness)
จุดแขง็ (Strength) (1) เกษตรกรสว่ นใหญ่อยู่ในวัยสงู อายุ
(2) วถิ ชี วี ิตดั้งเดมิ ทมี่ กี ารพ่งึ พาอาศยั กันลด
(1) ชุมชนประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลกั
และมีการรวมกล่มุ ของเกษตรกร นอ้ ยลง
ปญั หา (Threat)
(2) ระบบสาธารณปู โภคครอบคลุมทวั่ ทุกตำบล
โอกาส (Opportunity) (1) คนรุ่นใหม่ไม่ทำการเกษตร
(2) ต้องอาศยั แรงงานจากนอกพ้นื ที่ เนื่องจาก
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินให้ความสำคัญในด้าน
การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานด้านต่างๆ แรงงานภาคเกษตรขาดแคลน

59

3. ด้านเศรษฐกจิ จุดออ่ น (Weakness)
จดุ แข็ง (Strength) มีภาวะหน้สี นิ ในครัวเรอื น

(1) เกษตรกรสว่ นใหญม่ ีทีด่ นิ ทำกนิ เป็นของ ปัญหา (Threat)
ตนเอง (1) ตน้ ทุนการผลติ สงู
(2) ราคาผลผลติ ทางการเกษตรไม่แน่นอน
(2) เกษตรกรในพ้ืนทม่ี ีความกระตือรือรน้ ในการ
แกไ้ ขปัญหาและอยากร่วมในการพฒั นา/แก้ไข
ปญั หาแบบมสี ่วนรว่ ม

โอกาส (Opportunity)
(1) มีแหลง่ รับซื้อผลผลติ ในพ้ืนท่ี
(2) จังหวดั ใหค้ วามสำคญั กับการพฒั นาการ

เกษตรโดยเน้นการพฒั นาดา้ นระบบตลาด
สินคา้ เกษตรท่ีมีคุณภาพ และการเช่ือมโยง
ตลาดสนิ ค้าเกษตร

4. ด้านนโยบาย

จดุ แขง็ (Strength) จดุ ออ่ น (Weakness)

องค์การปกครองส่วนท้องถ่นิ มกี ารพยายามผลักดนั (1) ยังขาดการบูรณาการและเช่อื มโยงงานดา้ น

โครงการพัฒนาโครงสรา้ งพนื้ ฐานที่สำคัญ โดยเฉพาะ แผนงาน วชิ าการ และปฏบิ ัติการ เพอ่ื ขับเคล่อื นงาน

อยา่ งยง่ิ ด้านนำ้ ส่รู ะดับพนื้ ท่ี

(2) การบรหิ ารงานระดบั ท้องถนิ่ ขาดความต่อเน่ือง

โอกาส (Opportunity) ปญั หา (Threat)

(1) ก ร ม ฯ จั ด ท ำ โค ร งก า ร ฯ แ ล ะ จั ด ส ร ร แผนงานโครงการส่วนท้องถิ่น ยังไม่สามารถ

งบประมาณเพ่ือการดำเนินงานเพ่ือจัดทำโครงการฯ สนับสนนุ ได้ครอบคลมุ สภาพปญั หาในพ้ืนที่

ที่เหมาะสมกับพ้ืนที่ และมีแผนปฏิบัติงานตาม

ยุทธศาสตร์ที่ 5 เพ่ือจัดทำโครงการป้องกันการชะ

ล้างพังทลายของดิน ในระยะ 20 ปี โดยกำหนด

เปา้ หมายและตัวชีว้ ดั ที่ชดั เจน

(2) มีแนวทางการแก้ไขปั ญ หาการชะล้าง

พังทลายของดินภายใต้แผนแมบ่ ทการบรหิ ารจัดการ

ทรัพยากรน้ำ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) โดยพ้ืนท่ี

ได้รับการคัดเลือกให้เป็นพ้ืนท่ีเป้าหมายดำเนินงาน

ในการจัดทำแผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการ

ชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรม

ดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดินและนำ้

60

บทที่ 4

แผนบริหารจัดการปอ้ งกันการชะลา้ งพงั ทลายของดินและฟืน้ ฟพู ้นื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ย
ระบบอนุรักษ์ดนิ และนำ้

4.1 แผนการปฏิบัติการเพ่ือการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนท่ี
เกษตรกรรมด้วยระบบอนรุ กั ษ์ดินและน้ำ พนื้ ที่ลมุ่ นำ้ แม่งัดฝง่ั ตะวันตก แผน 5 ปี

แผนบรหิ ารจัดการ การป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนรุ ักษ์
ดินและน้ำ ในพ้ืนที่ลุ่มน้ำแม่งัดฝั่งตะวันตก ลุ่มน้ำสาขาน้ำแม่งัด ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปิง อำเภอพร้าว จังหวัด
เชียงใหม่ เป็นแผนปฏิบัติการเพื่อเป็นเคร่ืองมือในการขับเคล่ือนโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน
และฟ้ืนฟูพื้นท่ีเกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ให้สามารถวางแผน กำหนดมาตรการ และบริหาร
จัดการพื้นท่ีเกษตรกรรมที่มีความเส่ียงต่อการชะล้างพังทลายของดินและพื้นที่เสื่อมโทรม เพื่อนำไปสู่การใช้
ประโยชน์อย่างสงู สุด เป็นธรรม และย่ังยืน รวมทั้งสามารถแปลงไปสกู่ ารปฏิบัตไิ ดอ้ ย่างเป็นรูปธรรม ตามระบบ
การบรหิ ารเชิงยุทธศาสตร์ทส่ี อดคลอ้ งกบั ประเดน็ ปัญหา และบูรณาการการดำเนนิ การของหน่วยงาน โดยผ่าน
กระบวนการมีส่วนร่วมจากภาคีและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท่ีเก่ียวข้อง กลุ่มเป้าหมายสำหรับการประชาพิจารณ์
ประกอบด้วย ตัวแทนชุมชน และเกษตรกรผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จำนวน 20 คน (เน่ืองจากสถานการณ์แพร่
ระบาดของโรคโควิด-19) เป็นตวั แทนของชุมชนในพน้ื ทล่ี มุ่ น้ำ ไดแ้ ก่

(1) ตำบลน้ำแพร่ อำเภอพรา้ ว ประกอบด้วย 7 หมู่บ้าน ไดแ้ ก่ หมู่ 1 บ้านหนองปลามัน หมู่ 2 บา้ น
ปา่ ง้ิว หมู่ 3 บ้านสนั ขวาง หมู่ 4 บา้ นนำ้ แพร่ หมู่ 6 บา้ นแมล่ ะงอง หมู่ 7 บา้ นสหกรณ์ดำริ หมู่ 8 บา้ นปา่ ออ้

(2) ตำบลเข่ือนผาก อำเภอพร้าว ประกอบด้วย 7 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 2 บ้านเขื่อนผาก หมู่ 3 บ้าน
ห้วยบงเหนือ หมู่ 4 บ้านห้วยบงใต้ หมู่ 5 บ้านทรายมูล หมู่ 8 บ้านขวัญประชา หมู่ 9 บ้านไชยมงคล หมู่ 10
บา้ นมว่ งหลวง

(3) ตำบลแม่ปั๋ง อำเภอพร้าว ประกอบด้วย 6 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 1 บ้านห้วยงู หมู่ 2 บ้านประดู่
หมู่ 3 บา้ นแมแ่ พง หมู่ 8 บา้ นหว้ ยทราย หมู่ 11 บ้านโปง่ บัวบาน หมู่ 12 บา้ นผาแดง

จากการวิเคราะห์สภาพปญั หาของพื้นท่ี ขอ้ มูลทางเศรษฐกจิ และสงั คม ประกอบด้วยข้อมูลทุตยิ ภูมแิ ละ
ปฐมภูมิท่ีได้จากการสำรวจภาคสนาม เพื่อให้ได้ข้อมูลท่ีเป็นปัจจุบันครอบคลุมประเด็นปัญหาของสภาพพื้นที่
ได้แก่ ข้อมูลสภาพการใช้ท่ีดิน ระดับการเปล่ียนแปลงของการใช้ที่ดิน ทรัพยากรน้ำ สภาพภูมิประเทศและ
ส่ิงแวดล้อม ซึ่งมีความเชื่อมโยงกันท้ังด้านกายภาพ ด้านเศรษฐกิจและสังคม ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของ
ชุมชน และการรับฟังความคิดเห็นของหน่วยงานในระดับพ้ืนท่ี เพ่ือนำข้อมูลมาประกอบการวิเคราะห์และ
จัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นท่ีเกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดิน
และน้ำให้มีประสิทธิภาพถูกต้องเหมาะสม เพื่อลดอัตราการชะล้างพังทลายและกัดเซาะหน้าดิน และการ

61

ตกตะกอนดิน อันเป็นผลมาจากการใช้ที่ดนิ ไม่เหมาะสมบนพื้นที่ลมุ่ น้ำแม่งัดฝั่งตะวันตกฯ อำเภอพร้าว จงั หวัด
เชียงใหม่ ตลอดจนเพือ่ ใหเ้ กษตรกรและชุมชนสามารถใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

พื้นที่ลุ่มน้ำแม่งัดฝ่ังตะวันตกฯ มีขอบเขตครอบคลุมพื้นท่ี 118,721 ไร่ ประกอบด้วยลำน้ำสายหลัก
จำนวน 5 สาขา ได้แก่ น้ำแม่วะ น้ำแม่สม+แม่ลาด น้ำแม่ละงอง ห้วยงู+ห้วยเก๋ียงซาง และ น้ำแม่แพง และ
จากประเมนิ อัตราการชะล้างพังทลายของดินด้วยสมการสญู เสียดินสากล (USLE) พบว่าในแตล่ ะปมี ดี ินที่ถกู ชะ
ล้างคิดเป็นปริมาณ 706,703 ตัน (ตารางท่ี 4-1) โดยดินที่ถูกชะล้างน้ีบางส่วนจะถูกเก็บกักไว้ในพ้ืนท่ี ไม่ถูก
พัดพาไปยังตอนล่างของพื้นท่ีหรือลงสู่ลำน้ำทั้งหมด ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับการใช้ประโยชน์ท่ีดินในพื้นท่ี จากการ
ประเมนิ การเคลือ่ นยา้ ยตะกอนดินสลู่ ำน้ำจากข้อมูลการสญู เสยี ดิน และสัมประสิทธก์ิ ารเคล่ือนย้ายของตะกอน
(SDR: Sediment Delivery Ratio) จากจุดตรวจวัด P 56a น้ำแม่งัด บ้านสหกรณ์ร่มเกล้า ต.แม่แวน อ.พร้าว
จ.เชียงใหม่ (ตารางภาคผนวกท่ี 2-1) พบว่า ปริมาณตะกอนที่แขวนลอยในลำน้ำในแต่ละปี มีมากถึง 22,088
ตัน (ตารางที่ 4-1) ซ่ึงตะกอนเหล่าน้จี ะเกิดการเคล่อื นย้ายไปทบั ถมบริเวณลำนำ้ และแหล่งน้ำตา่ ง ๆ กอ่ ใหเ้ กิด
การต้ืนเขินของลำน้ำและแหล่งนำ้ ในพน้ื ท่ี

ตารางที่ 4-1 ปริมาณการสูญเสียดิน (ตัน) และปริมาณตะกอนดินแขวนลอย (ตัน) ในลำน้ำสายหลัก
พืน้ ทล่ี ุ่มน้ำแม่งัดฝั่งตะวนั ตก

ลำน้ำ/อัตราการชะลา้ ง พ้ืนที่ ปริมาณการสูญเสียดนิ ปริมาณตะกอนดิน

น้ำแมว่ ะ (ไร)่ (ตนั ) แขวนลอยในลำนำ้ 1 (ตัน)
นอ้ ย (0-2 ตัน/ไร/่ ป)ี
ปานกลาง (2-5 ตัน/ไร่/ปี) 19,131 89,508 2,802
รนุ แรง (5-15 ตนั /ไร่/ป)ี
รนุ แรงมาก (15-20 ตนั /ไร่/ปี) 4,902 5,701
รุนแรงมากท่ีสดุ (มากกวา่ 20 ตัน/ไร/่ ปี)
11,679 31,718
นำ้ แม่สม+แมล่ าด
นอ้ ย (0-2 ตนั /ไร่/ป)ี 955 8,607
ปานกลาง (2-5 ตนั /ไร/่ ปี)
รุนแรง (5-15 ตนั /ไร่/ป)ี 289 5,316
รนุ แรงมาก (15-20 ตนั /ไร่/ปี)
รุนแรงมากที่สดุ (มากกว่า 20 ตนั /ไร่/ปี) 1,306 38,166

น้ำแม่ละงอง 27,887 113,795 3,562
น้อย (0-2 ตนั /ไร/่ ปี)
ปานกลาง (2-5 ตนั /ไร่/ปี) 9,016 9,979
รุนแรง (5-15 ตัน/ไร่/ปี)
รุนแรงมาก (15-20 ตนั /ไร่/ปี) 14,805 40,404
รนุ แรงมากทส่ี ุด (มากกวา่ 20 ตนั /ไร่/ปี)
2,418 20,524

498 9,175

1,151 33,712

22,634 204,721 6,408

4,300 4,660

10,944 30,070

2,223 21,341

983 18,292

4,184 130,359

62

ตารางที่ 4-1 (ตอ่ )

ลำนำ้ /อตั ราการชะล้าง พนื้ ที่ ปรมิ าณการสูญเสียดิน ปรมิ าณตะกอนดนิ
(ไร่) (ตนั ) แขวนลอยในลำนำ้ 1 (ตัน)

ห้วยงู+หว้ ยเกีย๋ งซาง 23,577 161,380 5,051

น้อย (0-2 ตัน/ไร่/ป)ี 5,845 6,791
ปานกลาง (2-5 ตนั /ไร่/ปี)
รุนแรง (5-15 ตนั /ไร/่ ปี) 12,375 34,777

1,818 17,267

รนุ แรงมาก (15-20 ตนั /ไร่/ปี) 387 7,113

รนุ แรงมากทส่ี ดุ (มากกว่า 20 ตนั /ไร่/ป)ี 3,153 95,431

นำ้ แมแ่ พง 25,492 136,299 4,266
นอ้ ย (0-2 ตนั /ไร่/ปี) 7,228 7,864
ปานกลาง (2-5 ตนั /ไร/่ ป)ี 13,194 36,509

รนุ แรง (5-15 ตนั /ไร/่ ป)ี 2,202 21,065

รุนแรงมาก (15-20 ตนั /ไร/่ ป)ี 963 17,477
รนุ แรงมากทส่ี ดุ (มากกว่า 20 ตัน/ไร่/ปี) 1,904 53,384

รวม 118,721 705,703 22,088

หมายเหตุ: สัมประสทิ ธก์ิ ารเคลือ่ นย้ายของตะกอน (SDR) ณ จดุ P56a มีค่าเทา่ กบั ร้อยละ 3.13
1 ปรมิ าณดนิ แขวนลอยในลำนำ้ = ปริมาณการสูญเสียดนิ x สัมประสทิ ธิ์การเคลื่อนย้ายของตะกอน (SDR)

การป้องกนั การชะล้างพงั ทลายของดินตอ้ งมมี าตรากรอนุรักษ์ดินและน้ำเพื่อลดความรุนแรงของการเกิด
การชะล้างพังทลายของดินและลดปริมาณตะกอนดินไม่ให้ไหลลงสู่แหล่งน้ำ โดยการลดความยาวของความ
ลาดชันเพื่อลดความรุนแรงของการชะล้างหน้าดิน และการจัดการตะกอนดินให้ไหลลงสู่พื้นที่ที่ได้จัดทำ
มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำรองรับไว้ พร้อมทั้งพัฒนาพื้นที่ให้สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างย่ังยืน จึงกำหนด
แผนงานเพ่ือการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ
พนื้ ท่ีลุ่มนำ้ แม่งดั ฝ่งั ตะวันตก จำนวน 4 แผนงาน ประกอบด้วย

(1) แผนลดการชะลา้ งพงั ทลายของดินและรกั ษาดินไวใ้ นพื้นที่
การทำการเกษตรในพื้นท่ีลาดชัน เป็นปัจจัยท่ีกระตุ้นให้เกิดการชะล้างพังทลายของดิน การ

จัดทำมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำให้เหมาะสมกับสมบัติของดิน การใช้ประโยชน์ท่ีดิน และสภาพภูมิประเทศ
สามารถใช้เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึนในพื้นท่ี เพื่อให้พ้ืนท่ีทำการเกษตรยังคงความอุดมสมบูรณ์
ของดินสำหรับการทำการเกษตร การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นท่ีเกษตรกรรมตามความลาดชันของ
พน้ื ที่ในพืน้ ทีล่ ุ่มน้ำแมง่ ัดฝั่งตะวันตกฯ ควรมีมาตรการอนรุ ักษด์ นิ และนำ้ ดังนี้

(1.1) พ้ืนที่นาข้าว จำนวน 6,315 ไร่ นาข้าวในพื้นท่ีลุ่มน้ำแม่งัดฝ่ังตะวันตก ส่วนใหญ่อยู่บน
พื้นที่ความลาดชันน้อย (ความลาดชัน 0-5 เปอร์เซ็นต์) แปลงนาส่วนใหญ่จะมีลักษณะเป็นแปลงขนาดเล็ก
และหล่ันระดับกัน ดังนั้นจึงควรมีการปรับระดับแปลงนา (Land leveling) โดยรวมแปลงนาให้เป็นผืนใหญ่

63

และปรบั ให้มรี ะดับสมำ่ เสมอกัน เพื่อให้สะดวกต่อการปฏิบตั ิงานของเกษตรกร และสามารถปอ้ งกันตะกอนดิน
ไม่ใหไ้ หลออกจากพืน้ ที่

(1.2) พ้นื ที่ปลูกพืชไร่ จำนวน 2,389 ไร่ พื้นท่ีปลูกพืชไร่ในพ้ืนท่ีลุม่ น้ำแม่งดั ฝั่งตะวันตก รอ้ ยละ
49 อยู่ในพ้ืนที่มีความลาดชนั 2-5 และร้อยละ 36 อยู่ในพ้ืนที่มีความลาดชนั 5-12 เปอร์เซ็นต์ และอยู่บนพ้ืนที่
มีความลาดชัน 12-20 เปอร์เซ็นต์ ร้อยละ 6 ในการใช้ประโยชน์พื้นท่ี ควรมีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำเพื่อ
ลดการชะล้างพังทลายของดิน โดยการทำคูเบนน้ำและการทำขั้นบันไดดิน แบบไม่ต่อเน่ืองเป็นระยะ เพ่ือลด
ความยาวของความลาดชันของพ้ืนที่ให้เกิดการชะล้างหน้าดินน้อยท่ีสุด และระบายตะกอนดินและน้ำในคูเบน
น้ำไปตามร่องน้ำธรรมชาติ จากการประเมินการชะล้างพังทลายของดิน โดยสมการ USLE จะพบว่า การชะ
ล้างพังทลายของดินในพื้นท่ีปลูกพืชไร่ก่อนการทำระบบจะมีการสูญเสียดิน 51,453.97 ตันต่อปี หลังจากทำ
ระบบแลว้ จะมกี ารสูญเสยี ดนิ เพยี ง 2,376 ตนั ตอ่ ปี

(1.3) พ้ืนทปี่ ลูกไม้ผลและไม้ยืนต้น จำนวน 20,877 ไร่ พื้นที่ปลูกไม้ผลและไม้ยืนต้น ในพ้ืนท่ีลุ่ม
น้ำแม่งัดฝ่ังตะวันตก ร้อยละ 57 อยู่ในพื้นที่มีความลาดชัน 2-5 และร้อยละ 37 อยู่ในพ้ืนที่มีความลาดชัน 5-
12 เปอร์เซ็นต์ ในพื้นที่ไม้ผลและไม้ยืนต้น ทรงพุ่มของต้นไม้จะคลุมดินไว้ ไม่ให้เกิดการตกกระทบของเม็ดฝน
ต่อดินโดยตรง ทำให้อัตราการชะล้างพังทลายดินในพ้ืนปลูกไม้ผลต่ำกว่าพ้ืนท่ีปลูกพืชไร่ และการจัดทำระบบ
อนุรักษ์ดินและน้ำด้วยวิธีกลในพื้นท่ีไม้ผลท่ีโตแล้วจะนำเคร่ืองจักรเข้าไปจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำได้ไม่
สะดวก ดังน้นั การอนุรักษ์ดินและนำ้ ในพื้นท่ีน้ีจึงเน้น การควบคุมทิศทางการไหลของน้ำและการพดั พาตะกอน
ด้วยโครงสร้างพ้ืนฐาน เช่น ถนนที่มีอยู่เดิม ทางลำเลียงในไร่นา คูเบนน้ำ ให้น้ำไหลบ่าพาตะกอนลงไปยังร่อง
น้ำ แล้วสร้างฝายชะลอน้ำหรือบ่อดักตะกอนดิน เพื่อลดความเร็วของน้ำและดักตะกอนดิน นอกจากนี้
เกษตรกรยังได้ประโยชน์จากการเกบ็ กักนำ้ ของฝายและบอ่ ดักตะกอนไวใ้ ชใ้ นพ้นื ท่ี

(2) แผนงานปกป้องแหล่งน้ำชลประทานจากการตกตะกอนของดนิ
(2.1) การพัฒนาแหล่งน้ำสาธารณะเพื่อเพ่ิมพ้ืนที่กักเก็บน้ำ โดยดำเนินการขุดลอกลำน้ำสาขา

และลำน้ำสายหลัก รวมถึงแหล่งน้ำสาธารณะในพื้นท่ี เพ่ือนำตะกอนดินเดมิ ท่ีทับถมในลำน้ำและแหล่งนำ้ ออก
จากพื้นท่ี และจัดทำแก้มลิง (Retention pond) เพื่อเพิ่มระยะเวลาในการขังน้ำและการตกตะกอนของ
ตะกอนดนิ ซงึ่ ผลพลอยไดจ้ ากการขดุ ลอกตะกอนดนิ จะทำให้แหล่งน้ำสามารถกักเก็บปริมาณน้ำได้มากข้นึ

(2.2) การดักตะกอนดนิ ไม่ให้ไหลลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะ โดยดำเนนิ การสรา้ งฝายชะลอน้ำ หรือ
บ่อดักตะกอนดินขวางลำน้ำและร่องน้ำเป็นระยะ เพ่ือดักตะกอนดินที่ถูกชะล้างให้ออกจากพื้นท่ีและไหลลงสู่
ร่องนำ้ ธรรมชาตกิ ่อนลงสู่แหล่งน้ำต่อไป การสร้างฝายชะลอนำ้ และบ่อดกั ตะกอนดินเปน็ ระยะ นอกจากจะช่วย
ให้ตะกอนดินสะสมอยู่หน้าฝายหรือภายในบ่อดักตะกอนดินแล้ว ยังทำให้ง่ายต่อการจัดการตะกอนในปีต่อไป
รวมถงึ สามารถชะลอความเร็วของนำ้ และกักเกบ็ นำ้ ไวใ้ ช้ในพืน้ ท่ีได้

(3) แผนงานเพิม่ ศักยภาพการผลิตของดิน
(3.1) ฟน้ื ฟคู วามอุดมสมบูรณ์ของดินในพนื้ ที่มีความอดุ มสมบูรณต์ ่ำ
ในพื้นท่ีทำการเกษตร ควรมีการปรับปรุงบำรุงดินและรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดิน อยู่เสมอ

โดยการนำเอาเทคโนโลยีของกรมพัฒนาที่ดินมาใช้ในพื้นท่ี สำหรับในพื้นที่นาข้าว แนะนำให้ปลูกพืชปุ๋ยสด

64

ได้แก่ ปอเทือง ถั่วพร้า และถั่วพุ่ม ซึ่งเป็นพืชตระกูลถั่วจะช่วยตรึงธาตุไนโตรเจนในดินและอากาศมาไว้ท่ีราก
เม่ือสับกลบในระยะออกดอกประมาณ 45-55 วันหลังปลูก จะช่วยเพิ่มธาตุไนโตรเจนให้กับพืช และช่วยเพิ่ม
อนิ ทรียวัตถุให้กับดิน นอกจากนี้การใช้ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก หรือวัสดุปรับปรุงดินอื่น ๆ ยังช่วยปรับปรุงโครงสร้าง
ดินให้เหมาะสมต่อการผลิตพืชและสามารถเพ่ิมธาตุอาหารให้แก่พืชปลูกได้อีกด้วย สำหรับพื้นที่ที่มีการปลูก
พืชไร่อื่น หรือไม้ผล ในพื้นท่ีท่ีมีความลาดชันสูง ควรปรับปรุงบำรุงดินด้วยปุ๋ยหมักแทนการปลูกพืชปุ๋ยสด
เนื่องจากหากมีการไถพรวนในพ้ืนที่ที่มีความลาดชันสงู จะทำใหด้ ินเกดิ การชะลา้ งได้งา่ ย

(3.2) เพิม่ ความช่มุ ชนื้ ดินด้วยระบบกระจายนำ้
ในการทำการเกษตร น้ำนับเป็นปัจจัยสำคัญในการเจริญเติบโตของพืช การเพ่ิมความชุ่มช้ืนดิน
โดยระบบกระจายน้ำด้วยรางคอนกรีต และระบบกระจายน้ำด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ เพ่ือให้การกระจายน้ำ
เป็นไปอย่างท่ัวถึงจะช่วยส่งเสริมให้เกษตรกรทำการเกษตรในพ้ืนท่ีได้อย่างเหมาะสม และส่งผลให้เกษตรกร
ได้ผลผลติ สงู ข้นึ
(4) แผนงานอนรุ ักษ์ดินและน้ำในพืน้ ที่ปา่ ไม้ตามกฎหมาย
พ้ืนท่ีป่าไม้ตามกฎหมายในพื้นที่ลุ่มน้ำแม่งัดฝั่งตะวันตก ต้ังอยู่ในเขตป่าสวงนแห่งชาติ ป่าแม่งัด
อุทยานแห่งชาติศรีลานนา ซึ่งทางอุทยานแห่งชาติศรีลานนาได้ดำเนินการสำรวจการครอบครองท่ีดินของ
ราษฎรในพ้ืนที่อนุรักษ์ ตามแนวทางการแก้ไขปัญหาท่ีดินของราษฎรในพ้ืนท่ีป่าอนุรักษ์ตามมติคณะรัฐมนตรี
เมอ่ื วันท่ี 26 พฤศจกิ ายน 2561 และพระราชบัญญัตอิ ทุ ยานแห่งชาติ พ.ศ.2562 มาตรา 64 เพือ่ จดั ท่ีดินทำกิน
ให้ชมุ ชน (คทช.) ในปา่ สงวนแหง่ ชาติ
เขตพื้นท่ีป่าไม้เป็นพื้นที่ที่กฎหมายกำหนดให้รักษาหรืออนุรักษ์ไว้เป็นสมบัติของชาติ ห้ามมิให้
เข้าไปกระทำการใดๆ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตตามระเบียบและดำเนินการตามเงื่อนไขท่ีกรมป่าไม้กำหนด
ซึ่งการดำเนินงานในพ้ืนทท่ี ่ีมีการประกาศเป็นเขตป่าไม้ตามกฎหมายจะต้องเป็นการดำเนินการเพื่อการควบคุม
มิให้มีการเปลี่ยนแปลงสภาพป่าตามธรรมชาติ เป็นการรักษาสภาพป่าธรรมชาติตามหลักวิชาการ รวมถึง
สง่ เสรมิ มาตรการร่วมกนั ปกป้องพื้นทีป่ ่าต้นน้ำลำธาร และฟ้ืนฟทู รพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม
สำหรับแผนปฏิบัติการระยะเวลา 5 ปี เป็นการกำหนดกรอบพื้นท่ีดำเนินการ และมาตรการอนุรักษ์ดิน
และน้ำให้เหมาะสมกับสภาพพ้ืนที่ โดยในระยะที่ 1 ประกอบด้วย ลำน้ำสายหลักที่ไหลผ่านทางตอนเหนือของ
พ้ืนที่ลุ่มน้ำแม่งัดฝ่ังตะวันตก ไดแ้ ก่ น้ำแม่วะ น้ำแม่สม-นำ้ แมล่ าด และนำ้ แม่ละงอง มพี ้ืนที่ 69,652 ไร่ คดิ เป็น
ร้อยละ 58.67 ของพน้ื ทล่ี ุ่มน้ำท้ังหมด ระยะที่ 2 ประกอบด้วยลำน้ำสายหลกั ท่ีไหลผ่านตอนล่างของของพ้นื ท่ี
ได้แก่ ห้วยงู-ห้วยเก๋ียงซาง และน้ำแม่แพง มีพื้นที่ 49,069 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 41.33 ของพื้นที่ลุ่มน้ำทั้งหมด
(ภาพที่ 4.1) เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานของเกษตรกร โดยมีแนวทางในการบริหารทรัพยากรให้ได้
ประโยชน์สูงสุด การใช้มาตรการด้านต่าง ๆ จะเป็นไปตามมาตรฐานของกรมพัฒนาที่ดิน เพ่ือควบคุมและ
จัดการพ้ืนที่ในการลดการชะล้างพังทลายและฟื้นฟูพ้ืนที่เกษตรกรรม ให้เป็นต้นแบบในการบริหารจัดการ
ทรัพยากรดินและนำ้ ในพื้นที่อนื่ ๆ ตามแผนปฏิบัติการรายปตี ่อไป นอกจากนี้ ยังมีการติดตามและประเมินผล
โครงการ เพื่อแก้ไขและปรบั ปรุงการดำเนนิ การตามมาตรการต่าง ๆ ทด่ี ำเนินการลงไปในพนื้ ท่ีใหเ้ หมาะสมมาก
ข้ึน

65

ภาพที่ 4.1 พนื้ ทล่ี ุ่มนำ้ เปา้ หมายในแผนปฏิบตั กิ ารเพ่อื ป้องกนั การชะล้างพงั ทลายของดนิ และฟื้นฟูพน้ื ที่เกษตรกรรมด้วย
ระบบอนรุ ักษ์ดินและนำ้ ล่มุ น้ำแมง่ ัดฝงั่ ตะวันตก ลุ่มน้ำสาขาน้ำแม่งดั อำเภอพรา้ ว จงั หวัดเชียงใหม่

66

ตารางท่ี 4-2 แผนปฏิบตั ิงาน และตวั ชีว้ ดั การดำเนนิ งาน พื้นทลี่ ุ่มนำ้ แม่งัดฝ่ังตะวนั ตก ลมุ่ นำ้ สาขาน้ำแมง่ ัด อำเภอพร้าว จงั หวัดเชยี งใหม่ ปี 2566-2570

สภาพปญั หา/ขอ้ จำกดั แผนปฏิบัตกิ าร (ไร่) ตวั ชี้วัด หนว่ ยงาน
และศกั ยภาพของดิน
พน้ื ท่ี (ไร่) แผนงาน/กจิ กรรม ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 Output Outcome รับผดิ ชอบ
1. การชะล้างพงั ทลายของดนิ ในพ้ืนที่ (2566-67) (2568-70)
ทำการเกษตร
8,704 แผนงานลดการชะล้างพังทลายของดิน ปริมาณการชะล้างหน้า 1) เกษตรกรในพนื้ ที่ 95 % สำนกั วิศวกรรม
- นาขา้ ว
- พชื ไร่ และรักษาดนิ ไวใ้ นพนื้ ท่ี ดินในพื้นท่ีทำการ ใช้พื้นทท่ี ำการเกษตรได้อยา่ ง เพ่ือการพฒั นา
- ไมผ้ ลและไม้ยนื ต้น
6,315 กิจกรรม 5,417 898 เกษตรลดลง ย่ังยืนและลดผลกระทบที่ ที่ดนิ

2,389 - ดำเนินการจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและ 2,013 376 เกิดจากดนิ และนำ้ ต่อพื้นที่ สถานีพัฒนา

20,877 น้ ำด้วยวิธีกล และวิธีพื ชตาม ความ 12,695 8,183 ตอนลา่ ง ทด่ี นิ เชียงใหม่

เหมาะสมของพ้นื ที่

2. การชะล้างพังทลายของดนิ ในพื้นท่ี 118,721 แผนงานปกป้องแหลง่ น้ำชลประทานจาก 69,652 49,069 ปรมิ าณตะกอนดิน 1) พนื้ ทกี่ ักเกบ็ น้ำขึ้น สามารถ สำนกั วิศวกรรม
ลมุ่ น้ำแม่งัดฝ่ังตะวันตก การตกตะกอนของดิน
31,312 กจิ กรรม ทแี่ ขวนลอยในลำน้ำ ที่ กักเกบ็ น้ำได้ไม่น้อยกว่า 80 % เพอื่ การพัฒนา
นอ้ ย (0-2 ตันตอ่ ไรต่ ่อปี) 62,986 - ดำเนินการพฒั นาแหลง่ นำ้ สาธารณะ
ปานกลาง (2-5 ตันต่อไรต่ อ่ ปี) 9,615 เพื่อเพมิ่ พื้นทก่ี กั เกบ็ นำ้ เพือ่ การ ไหลลงสู่พืน้ ท่ีรับน้ำ ของความจุ ทด่ี นิ
รนุ แรง (5-15 ตันต่อไร่ตอ่ ปี) 3,118 ชลประทาน โดยการขดุ ลอกแหล่งนำ้
รนุ แรงมาก (15-20 ตันตอ่ ไร่ต่อป)ี 11,690 และลำนำ้ สาขา ตอนล่างลดลงมีปรมิ าณ 2) เกษตรกรสามารถใช้นำ้ ทาง สถานพี ัฒนา
- ดำเนนิ การจัดทำระบบอนรุ ักษ์ดินและ
รุนแรงมากที่สุด (>20 ตันต่อไร่ต่อปี) น้ำดว้ ยวิธกี ล ลดลงเมอื่ เปรียบเทียบ การเกษตรได้เพียงพอกับความ ทด่ี นิ เชยี งใหม่

กับปรมิ าณในปกี ่อน ตอ้ งการผลติ ในพ้ืนท่ี

ดำเนินการ 3) ลดงบการใชง้ บประมาณ

ขดุ ลอกตะกอนดินได้ในพื้นที่

กกั เก็บน้ำได้ ไม่น้อยกวา่ 60%

(ระยะการขุดลอกตะกอน

ไมน่ ้อยกวา่ 3 ปตี ่อครั้ง)

ตารางท่ี 4-2 (ต่อ)

สภาพปัญหา/ข้อจำกดั แผนปฏิบัติการ (ไร่) ตัวช้วี ัด หนว่ ยงาน
และศกั ยภาพของดนิ ระยะท่ี 1 ระยะท่ี 2 รับผิดชอบ
3. ดนิ ในพ้ืนท่ีทำการเกษตรมีความอุดม พื้นท่ี (ไร่) แผนงาน/กจิ กรรม (2566-67) (2568-70) Output Outcome สถานพี ัฒนา
สมบรู ณต์ ำ่ 19,593 ทด่ี นิ เชียงใหม่
แผนงานเพิ่มศกั ยภาพการผลิตของดิน 19,593 9,011 พืน้ ท่ที ำการเกษตร 1) เกษตรกร 95% ในพ้ืนท่ี
4. พนื้ ท่ีปา่ ไม้ตามกฎหมาย 79,881 - ดำเนนิ การส่งเสริมการปรับปรุงบำรุงดิน ความอุดมสมบรู ณ์ของ ดำเนินการสามารถใชพ้ ื้นที่ทำ กรมอทุ ยาน
ดว้ ย พชื ปุ๋ยสด วสั ดุปรบั ปรงุ ดิน ปยุ๋ คอก ดินจดั อยใู่ นระดับ การเกษตรได้อย่างยัง่ ยืน และ แห่งชาติ สัตว์
ปุ๋ยหมัก ระบบการปลกู พืชทีเ่ หมาะสมใน ปานกลาง-สงู ลดผลกระทบท่ีเกดิ จากดินและ ป่า และพันธุ์
พื้นท่ี น้ำตอ่ พ้ืนท่ีตอนล่าง พืช
- ดำเนนิ การจดั ทำระบบกระจายนำ้ ที่ ปรมิ าณนำ้ ของแหล่งนำ้ 2) เกษตรกร 95% ในพ้ืนท่ี
เหมาะสมกับพน้ื ที่ ทางการเกษตรในพ้ืนท่ี ดำเนินการสามารถลดต้นทนุ
ดำเนินการเพม่ิ ข้ึน การผลิตด้านปยุ๋ เคมไี ด้ไม่น้อย
แผนงานอนรุ ักษ์ดินและนำ้ ในพื้นท่ีป่าไม้ กวา่ 45% ของปีกอ่ นเขา้ ร่วม
ตามกฎหมาย โครงการ ภายใน 5 ปี
กิจกรรม 1) เพ่ิมศักยภาพของพน้ื ท่กี กั
- ดำเนินการตามมาตรการของหนว่ ยงาน เก็บน้ำให้สงู ขึน้ สามารถกัก
เจา้ ของพืน้ ที่ เกบ็ น้ำได้ไม่น้อยกวา่ 80 %
ของความจุ
2) เกษตรกรสามารถใชน้ ำ้ ทาง
การเกษตรได้เพยี งพอกับความ
ตอ้ งการผลติ ในพ้ืนที่

4.2 แผนปฏบิ ัติการเพ่ือปอ้ งกันการชะล้างพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรม
ด้วยระบบอนุรกั ษด์ นิ และนำ้ ลุ่มน้ำแมง่ ัดฝัง่ ตะวันตก ในระยะท่ี 1

ในการบริหารจัดการพ้ืนท่ีอนุรักษ์ดินและน้ำ ในพื้นที่ลุ่มน้ำแม่งัดฝ่ังตะวันตก อำเภอพร้าว
จงั หวัดเชียงใหม่ ได้พิจารณาประเด็นคำถามด้านความรู้ ความเข้าใจ และลำดับความสำคัญของความ
ต้องการ วิธีการรักษาและป้องกันการชะล้างพังทลายของหน้าดิน (รายละเอียดดังบทที่ 3) ประชา
พิจารณ์ โดยคัดเลือกหมู่บ้านเป้าหมาย จากผลการประชาพิจารณ์ครั้งท่ี 1 พื้นที่นำร่องโครงการ
ป้ อ ง กั น ก า ร ช ะ ล้ า งพั งท ล า ย ข อ งดิ น แ ล ะ ฟื้ น ฟู พ้ื น ที่ เก ษ ต รก รร ม ด้ ว ย ร ะ บ บ อ นุ รั ก ษ์ ดิ น แ ล ะ น้ ำ
รายละเอียดในข้อ 2.6 ได้พ้ืนท่ีเป้าหมาย จำนวน 2 ตำบล เลือกตัวแทนชุมชน และเกษตรกรผู้มีส่วน
ได้สว่ นเสีย จำนวน 40 คน เปน็ ตัวแทนของชมุ ชนในพ้นื ท่ีลุ่มนำ้ พน้ื ท่เี ป้าหมาย ไดแ้ ก่

(1) ตำบลน้ำแพร่ อำเภอพร้าว ประกอบด้วย 7 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 1 บ้านหนองปลามัน
หมู่ 2 บ้านป่างิว้ หมู่ 3 บ้านสนั ขวาง หมู่ 4 บ้านน้ำแพร่ หมู่ 6 บ้านแม่ละงอง หมู่ 7 บ้านสหกรณ์
ดำริ หมู่ 8 บา้ นปา่ อ้อ

(2) ตำบลเข่ือนผาก อำเภอพร้าว ประกอบด้วย 7 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 2 บ้านเข่ือนผาก
หมู่ 3 บ้านห้วยบงเหนือ หมู่ 4 บ้านห้วยบงใต้ หมู่ 5 บ้านทรายมูล หมู่ 8 บ้านขวัญประชา หมู่ 9
บ้านไชยมงคล หมู่ 10 บา้ นมว่ งหลวง

พิจารณากำหนดมาตรการด้านอนุรักษ์ดินและน้ำ ร่วมกับประเด็นปัญหาและความต้องการ
จากการประชาพิจารณ์ นำมาสู่การกำหนดพ้ืนท่ีดำเนินการ เพื่อความสะดวกในการปฏิบัติงานและ
การติดตามประเมินผลตวั ช้ีวดั

ในระยะที่ 1 ประกอบด้วยลำน้ำสายหลักที่ไหลผ่านทางตอนเหนือของพื้นท่ีลุ่มน้ำแม่งัดฝั่ง
ตะวันตก ได้แก่ น้ำแม่วะ น้ำแม่สม น้ำแม่ลาด และน้ำแม่ละงอง มีพ้ืนที่ 69,652 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
58.67 ของพื้นที่ลุ่มน้ำแม่งัดฝ่ังตะวันตก การดำเนินการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินจะ
ดำเนินการในเขตเกษตรกรรมนอกพ้ืนที่ป่าตามกฎหมาย โดยกำหนดมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำที่
เหมาะสม ดังนี้

1) งานปรับพนื้ ท่ี (Land Leveling)
2) งานดกั ตะกอนดินในไรน่ า
3) งานบอ่ ดกั ตะกอนดนิ ขนาดใหญ่
4) งานชะลอความเรว็ น้ำ
5) งานขุดลอกตะกอนดินในลำหว้ ย
6) งานคูเบนน้ำและงานขนั้ บนั ไดดินแบบไมต่ อ่ เนื่อง
7) งานทางลำเลยี งในไรน่ า

69

ภาพท่ี 4.2 กิจกรรมการอนุรักษด์ นิ และน้ำ ในแผนปฏบิ ัตกิ ารเพื่อป้องกันการชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟื้นฟพู ืน้ ท่เี กษตรกรรม
พืน้ ที่ลุม่ น้ำแมง่ ดั ฝ่งั ตะวันตก อำเภอพรา้ ว จงั หวัดเชยี งใหม่

70

บทท่ี 5

การขบั เคล่อื นแผนบรหิ ารจัดการโครงการป้องกันการชะลา้ งพงั ทลายของดนิ
และฟื้นฟพู ้ืนทเี่ กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรักษด์ ินและนำ้

5.1 แนวทางการขับเคลอื่ นแผนไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิ

การดำเนินงานตามแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพ้ืนที่
เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ มีกลไกการขับเคล่ือนการดำเนินงานในรูปแบบ
คณะกรรมการและคณะทำงาน ประกอบด้วย คณะกรรมการขับเคล่ือนโครงการป้องกันการชะล้าง
พังทลายของดินและฟ้ืนฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ และคณะทำงานจัดทำ
แผ น การบ ริห ารจั ด การ โครงการป้ องกัน การ ช ะล้ างพั งท ล าย ของดิ น แ ล ะฟื้ น ฟู พื้ น ท่ีเกษ ต รกร ร ม
ด้วยระบบอนรุ ักษ์ดินและน้ำ พ้นื ท่ีลุ่มนำ้ แม่งัดฝั่งตะวันตก อำเภอพร้าว จงั หวัดเชยี งใหม่ ในการจัดทำ
แผนการบริหารจัดการการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและ
น้ำ สำหรับขับเคล่ือนการดำเนินงานด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำให้บรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ 20 ปี
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 และแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ
ดังน้ัน เพื่อให้แผนบริหารจัดการเกิดผลสัมฤทธ์ิในทางปฏิบัติ บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่
กำหนดไว้ จึงจำเป็นต้องได้รับการขับเคลื่อนและผลักดันจากทุกภาคส่วนให้เกิดการบูรณาการทุก
ระดับโดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่วม เพ่ือให้การบริหารจัดการทรัพยากรดินและน้ำมีเป้าหมายไปใน
ทศิ ทางเดียวกนั ควรมีแนวทางการดำเนินงาน ดังนี้

5.1.1 สร้างความเข้าใจในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของแผนบริหารจัดการทรัพยากรดิน
เพ่ือป้องกันการชะลา้ งพังทลายของดินและฟ้นื ฟูพ้ืนที่เกษตรกรรม ให้สามารถนำไปสกู่ ารวางแผน การ
กำหนดมาตรการและบริหารจัดการพ้ืนที่เกษตรกรรมทีม่ ีความเส่ียงต่อการชะล้างพงั ทลายของดินและ
พื้นที่ดินเสื่อมโทรม รวมท้ังสามารถแปลงไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม ตามระบบ
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องกับประเด็นปัญหาและบูรณาการการดำเนินงานของหน่วยงาน
โดยผา่ นกระบวนการมีส่วนรว่ มจากภาคีผู้มสี ่วนได้เสยี ที่เก่ียวขอ้ ง เพื่อให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเกิดการ
ยอมรับและตระหนักถึงความสำคัญของแผน และนำต้นแบบของแผนไปขยายผลส่กู ารปฏิบัติได้อย่าง
เป็นรูปธรรม

5.1.2 วิเคราะห์บทบาทและปรับบทบาทกระบวนการทำงานให้สอดคล้องกับเป้าหมาย
การดำเนินงานทุกระดับตั้งแต่ระดับนโยบาย ระดับหน่วยงานที่ปฏิบัติงานส่วนกลางและส่วนภูมิภาค
ในด้านวิชาการท่ีเป็นกระบวนการหลัก (Core process) และ กระบวนการสนับสนุน (Support
process) โดยนำแนวทางการปฏิบัติงานไปกำหนดเป็นแผนงานโครงการ และกำหนดเป็นข้อตกลง

การทำงานระหว่างหน่วยงาน เน้นการทำงานเชิงบูรณาการเพ่ือขับเคลื่อนองค์กรให้บรรลุเป้าหมายท่ี
กำหนดไว้

5.1.3 พัฒนาระบบการติดตามและประเมินผลเชิงบูรณาการ โดยจัดต้ังคณะทำงานติดตาม
ประเมินผลท่ีมีกลไกและเครือข่ายการดำเนินงานทั้งหน่วยงานท่ีปฏิบัติงานในส่วนกลางและ
ส่วนภูมิภาคเชื่อมโยงการประเมินผลต้ังแต่บริบท (Concept) ปัจจัยนำเข้า (Input) กระบวนการ
(Process) ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) และผลกระทบ (Impact) ทุกมิติ ประกอบด้วย
มิติทางกายภาพหรือสิ่งแวดล้อม มิติสังคม และมิติเศรษฐกิจ ที่สามารถสะท้อนผลสัมฤทธ์ิของงานได้
ชัดเจน จนนำไปสู่การปรับปรุงพัฒนาแผนการดำเนินงานโครงการให้เกิดประสิทธิผลและมี
ประสิทธิภาพ

72

5.2 กลไกการขับเคลื่อนแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ
ฟน้ื ฟูพ้ืนทีเ่ กษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดนิ และน้ำ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570)

คณะกรรมการขบั เคลือ่ นโครงการป้องกนั การชะล้างพงั ทลายของดิน
และฟื้นฟูพนื้ ท่ีเกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษด์ นิ และน้ำ

1 แผน 2 ตวั ชว้ี ัด 3
ปฏบิ ัติการ และเกณฑ์
คณะอนุกรรมการจัดทำแผนบริหาร คณะอนกุ รรมการจัดทำมาตรการ คณะอนุกรรมการด้านการ
จดั การโครงการป้องกันการชะล้าง ด้านการอนรุ ักษ์ ประเมินสถานการณ์ทรพั ยากรดนิ
พังทลายของดินและฟ้ืนฟพู ืน้ ท่ี และน้ำ โครงการปอ้ งกันการชะล้างพังทลาย
เกษตรกรรมดว้ ยระบบอนรุ ักษ์ ดินและน้ำเพ่ือปอ้ งกันการ
ดนิ และนำ้ ระดับพืน้ ท่ี (Planning) ชะลา้ งพงั ทลายของดิน ของดิน
ดว้ ยระบบอนรุ ักษ์ดินและนำ้
สู่ระดบั พ้ืนท่ี
(Monitoring & Evaluation)
(Action/Implement)

แผนบริหารจัดการ (จ.เชยี งใหม่) คู่มือการจดั ทำมาตรฐาน บริบท (Content)
ดา้ นการอนุรกั ษ์ดนิ และน้ำ
คณะทำงานแผนบรหิ ารจดั การ ดา้ นแผนบรหิ ารจัดการ

แผนบรหิ ารจดั การ คูม่ ือการปฏิบตั ิงาน ปัจจยั นำเข้า (Input)
ในปี 2564
(Work manual) มาตรการด้านการอนุรกั ษด์ ินและน้ำ
แผนบริหารจัดการ
- ดา้ นฐานข้อมลู ทรพั ยากร กระบวนการ (Process)
1 แหง่ (5 ป)ี ดนิ และน้ำ
- มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ
- ด้านการใช้ทดี่ นิ
- ดา้ นการสำรวจภาวะ ผลผลิต (Productivity)
เศรษฐกิจและสงั คม - ผลผลิต (output)
- ดา้ นการวางแผนการใช้ - ผลลพั ธ์ (outcome)
ทีด่ นิ - ผลกระทบ (impact)

พน้ื ทไ่ี ดร้ ับการปอ้ งกันการชะลา้ ง พ้ืนท่เี กษตรกรรมสามารถใชป้ ระโยชนท์ ดี่ ินได้อยา่ ง
และฟื้นฟูพืน้ ที่เกษตรกรรม เหมาะสม ลดการสญู เสยี ดนิ เกษตรกรมรี ายได้และ

(ไม่นอ้ ยกวา่ 20,000 ไร่ ภายใน 5 ป)ี คณุ ภาพชวี ิตที่ดีข้นึ

73

5.3 บทบาทของหน่วยงานและภาคีเครือข่ายทุกระดับในการขับเคล่ือนแผนบริหาร
จัดการทรัพยากรดินและน้ำเพ่ือป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนที่
เกษตรกรรม

การกำหนดบทบาทหนว่ ยงานและภาคีเครือข่ายทุกระดับในการขับเคล่ือนแผนบริหารจัดการ
ทรพั ยากรดินและน้ำเพื่อป้องกนั การชะลา้ งพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ไปสกู่ ารปฏิบตั ิ
ตามบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ ได้แก่ ผู้บริหาร (อธิบดี รองอธิบดี) หน่วยงานที่ปฏิบัติงาน
ส่วนกลาง หน่วยงานที่ปฏิบัติงานส่วนภูมิภาค รวมถึงหน่วยงานที่เก่ียวข้องในระดับพื้นท่ี
มีแนวทางการดำเนนิ งาน ดังนี้

ตารางที่ 5-1 บทบาทของหน่วยงานและภาคเี ครอื ข่ายทุกระดบั ในการขับเคล่ือนแผนบรหิ ารจดั การ
ทรพั ยากรดนิ และนำ้ เพ่อื ปอ้ งกันการชะล้างพังทลายของดนิ และฟนื้ ฟูพ้ืนทีเ่ กษตรกรรม

ระดบั หนว่ ยงาน แนวทางการขบั เคล่อื น หนว่ ยงาน

1. ระดับนโยบาย รบั ผดิ ชอบ
(Policy Maker)
กำกับดูแลและติดตามการดำเนินงาน คณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการ อธบิ ดี

ป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบ ก ร ม พั ฒ น า

อนรุ กั ษด์ ินและนำ้ ท่ีดิน และรอง

กำกับดูแลและติดตามการดำเนินงาน คณะทำงานจัดทำแผนการบริหาร อ ธิ บ ดี ก ร ม

จัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนท่ี พฒั นาท่ีดนิ

เกษตรกรรม ดว้ ยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ และขับเคลื่อนงานวิชาการด้าน

การกำหนดมาตรการ แนวทางการจัดการดินและน้ำ ให้รองรับการแก้ไข

ปัญหาตามสภาพพ้ืนที่

กำกับดูแลและติดตามการดำเนนิ งาน ในการขบั เคลื่อนแผนปฏบิ ัติการและ

แผนปฏิบัติราชการ ภายใต้แผนการบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะ

ล้างพังทลายของดินและฟื้นฟพู ้ืนท่ีเกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรกั ษ์ดินและ

น้ำ

กำกับดูแลและติดตามการดำเนินงานในระดับพ้ืนท่ี และจัดตงั้ คณะทำงาน

จัดทำแผนการบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน

และฟื้นฟูพ้ืนที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ คณะทำงาน

จดั ทำมาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลาย

ของดินสู่ระดับพ้ืนที่ คณะทำงานด้านการติดตามและประเมินผลโครงการ

ปอ้ งกนั การชะล้างพงั ทลายของดนิ ดว้ ยระบบอนรุ กั ษด์ ินและน้ำ

74

ตารางที่ 5-1 (ต่อ)

ระดบั หนว่ ยงาน แนวทางการขบั เคลื่อน หนว่ ยงาน

รบั ผิดชอบ

2. ระดบั ปฏบิ ตั ิ (Operator)

2.1 ส่วนกลาง 1) จดั ประชุมชี้แจงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ และ กผง. และคณะ

ประสานความร่วมมือ โดยเปิดโอกาสให้หน่วยงานได้กำหนดแนวทางการ

ดำเนินงานร่วมกัน สำหรับใช้เป็นกรอบแนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติการ

และแผนปฏิบัติราชการประจำปี รวมถึงการติดตามและประเมินผลที่

ครอบคลมุ ทุกมติ ิ

2) จัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงาน จากต้นแบบแผนการบริหารจัดการ กผง.และคณะ

โครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นท่ีเกษตรกรรม

ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ สำหรับใช้ขยายผลและขับเคลื่อนการ

ดำเนินงานในพ้ืนทีล่ ุ่มน้ำย่อยอ่นื ๆ

3) ขับเคลื่อนและติดตามการดำเนินงานในการจัดทำแผนการบริหาร คณะทำงานฯ

จัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นท่ี

เกษตรกรรม ดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้ำ ล่มุ นำ้ ย่อย

4) ปรับบทบาทกระบวนการทำงานให้สอดคล้องกับเป้าหมายการ กสด. สวด. กนผ.

ดำเนินงาน ด้านการสำรวจ วิจัยทรัพยากรดินและน้ำ การวิเคราะห์ดิน กวจ. สวพ. สสผ.

การวิเคราะห์สภาพการใช้ท่ีดิน การวางแผนการใช้ที่ดิน และการประเมิน

สถานภาพทรัพยากรดิน และการประเมนิ เชงิ เศรษฐสงั คม สวพ. กวจ.

5) กำหนดมาตรการด้านการอนุรกั ษ์ดินและน้ำใหส้ อดคลอ้ งกับแผนการใช้

ทด่ี นิ เพอื่ ป้องการการชะล้างพงั ทลายและฟน้ื ฟพู นื้ ทเ่ี กษตรกรรม

6) จัดทำฐานข้อมลู การติดตามและประเมนิ ผลในระดับภาพรวมและระดับ กวจ. กนผ. กผง.

พน้ื ที่ ครอบคลมุ การประเมินผลเชิงกายภาพ สังคมและเศรษฐกจิ

2.2 สว่ นภูมิภาค 1) จัดต้ังคณะทำงานขับเคลื่อนการบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะ สพข./สพด.

ล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพ้ืนที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและ

น้ำ ระดบั พ้ืนที่ลุม่ นำ้ ย่อย

2) ประชมุ หารอื ร่วมกับหน่วยงานส่วนกลางและคณะทำงานจัดทำแผนการ

บริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นท่ี

เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ให้เกิดความเข้าใจจนสามารถ

นำไปถ่ายทอดแกห่ นว่ ยงานที่รบั ผิดชอบได้

75

ตารางที่ 5-1 (ต่อ)

ระดับหน่วยงาน แนวทางการขบั เคล่ือน ห น่ ว ย ง า น

รับผิดชอบ

2.2 ส่วนภมู ิภาค 3) จดั ทำแผนการบริหารจัดการโครงการป้องกนั การชะล้างพังทลาย สพข./สพด.

(ต่อ) ของดินและฟ้ืนฟูพ้ืนที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ

ระดับลุ่มนำ้ ยอ่ ย

4) ขับเคลื่อนการดำเนินงานในระดับพื้นท่ีให้สอดคล้องกับแผน

บรหิ ารจัดการ

5) ตดิ ตามและประเมนิ ผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องในระดับพ้นื ที่

พร้อมรายงานผลการดำเนนิ งาน

3. หนว่ ยงานภาคีเครือข่าย (Network)

1) ประสานความร่วมมือในการกำหนดกรอบแนวทางการจดั ทำแผน หน่วยงานระดับ

บริหารจัดการทรัพยากรดินและน้ำ เพื่อเชื่อมโยงเป้าหมายการ จงั หวัด

ดำเนนิ งานกนั ในระดบั พน้ื ที่

2) สนับสนุนการมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนแผนการบริหารจัดการ หน่วยงานภาครัฐ

โครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนท่ี และเอกชน

เกษตรกรรม ดว้ ยระบบอนรุ ักษด์ ินและนำ้ ระดบั ลุ่มนำ้ ย่อย

3) สร้างแนวทางหรือกำหนดรูปแบบการระชาสัมพันธ์ในการทำ องค์กรปกครอง

ความเขา้ ใจกบั ประชาชนในพื้นทอี่ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม สว่ นทอ้ งถน่ิ

4) ร่วมดำเนินกิจกรรมหรอื โครงการเพื่อการบริหารจดั การทรัพยากร หน่วยงานภาครัฐ

ดินและนำ้ เชงิ บูรณาการ และ

5) ผลิตส่ือประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร พร้อมท้ังสร้าง เอกชน

ความตระหนักและกระตุ้นให้ทกุ ภาคส่วนของสังคมมีส่วนรว่ มในการ สื่อมวลชน

ขบั เคลื่อนการดำเนินงาน

76

5.4 แนวทางการติดตามและประเมินผลตามแผนบริหารทรัพยากรดินเพ่ือป้องกันการ
ชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟนื้ ฟพู ้ืนท่เี กษตรกรรม

การดำเนินงานตามแผนบริหารจัดการทรัพยากรดินเพ่ือปอ้ งกันการชะล้างพังทลายของดินและ
ฟ้ืนฟูพ้ืนที่เกษตรกรรม มีแนวทางการติดตามประเมินผลเพ่ือประเมินผลสัมฤทธ์ิของแผนงาน โดยมี
การดำเนินการในด้านต่าง ๆ ดงั น้ี

1) การติดตามความก้าวหน้า ในการดำเนินงานตามแผนบริหารทรัพยากรดินเพ่ือป้องกันการ
ชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรม โดยการมีส่วนร่วมของหน่วยงานต่าง ๆ ทั้ง
ส่วนกลาง และระดับพื้นที่ โดยกำหนดให้มีการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานประจำปี การติดตาม
ประเมินผลสำเร็จ และผลกระทบจากการดำเนินงานตามแผนทุก 2 ปี มีการประเมินผลช่วงกลางแผน
เพื่อปรับเป้าหมายและตัวช้ีวัด ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ท่ีเปล่ี ยนแปลงไป รวมท้ัง
มกี ารประเมินผลเมอ่ื สนิ้ สดุ การดำเนินการตามแผนปฏิบตั กิ าร

2) จัดตั้งคณะกรรมการติดตามประเมินผล เพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน และ
ผลสัมฤทธิ์ของงานในแต่ละด้านตามแผน ทั้งด้านปัจจัยนำเข้า (Input) การบวนการทำงาน (Process)
ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) และผลกระทบ (Impact) ประกอบด้วย นักวิชาการจาก
ส่วนกลาง นักวิชาการและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานระดับพื้นที่ และหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เข้ามามีส่วน
ร่วมในการติดตามประเมินผลตามแผนปฏิบัติการ ท่ีมีการกำหนดกรอบตัวช้ีวัดที่ครอบคลุมทุกมิติ
ประกอบด้วย ประเด็นการวัดและติดตามประเมินผล ผู้จัดเก็บตัวช้ีวัดและรายงานผล (ตารางที่ 5-2)
พร้อมท้ังเสนอวิธีการจัดเก็บและติดตามสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ สังคม และ
เศรษฐกิจ ในการจัดทำฐานข้อมลู เพอ่ื ประเมินการเปลีย่ นแปลงตามตัวชี้วัด ประกอบด้วย ประเด็นการ
วัด รายการตรวจวดั ผู้รบั ผดิ ชอบฐานขอ้ มลู กลางและฐานข้อมลู เชงิ พน้ื ท่ี (ตารางท่ี 5-3)

77

ตารางท่ี 5-2 กรอบตวั ช้ีวัดในการตดิ ตามและประเมนิ ผล

แผนบริหาร ตัวชี้วดั ประเดน็ การวดั ผรู้ ับผดิ ชอบ
จดั การ และติดตามประเมนิ ผล ตวั ช้วี ัด

ปี 2566-70 1. มฐี านขอ้ มลู ดา้ นการชะลา้ งพงั ทลาย - ฐานข้อมูลมีความถูกต้องตาม ผู้กำกับตัวชี้วัด กลุ่ม
ปี 2566-70
ของดนิ (Soil erosion) หลกั วชิ าการ วางแผนการใช้ท่ีดิน

ในพื้นท่เี กษตรกรรม สพข.6

2. มีแผนการบริหารจัดการทรัพยากร - แผนบริหารจดั การไดร้ ับความ ผจู้ ัดเกบ็ และรายงาน

ดินระดับลุ่มน้ำย่อยท่ีมีการกำหนด เห็นชอบจากคณะกรรมการและ ผลตามตัวชี้วดั

มาตรการด้านการป้องกันและฟ้ืนฟู หนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้อง คณะทำงานฯ

ทรัพยากรดินตามสภาพปัญหาของ

พน้ื ที่ - มาตรการด้านการอนุรักษ์ดิน

3. มีรูปแบบมาตรการด้านการอนุรักษ์ และน้ำได้รับการยอมรับจาก

ดิ น แ ล ะ น้ ำ ส ำ ห รั บ ด ำ เ นิ น เกษตรกรและชุมชน

การในระดบั พน้ื ท่ี

โครงการป้องกันการชะล้างพังทลาย ผู้กำกับตวั ชี้วดั

ของดินและฟื้นฟูพื้นท่ีเกษตรกรรมลุ่ม สพข.6

น้ ำ แ ม่ งัด ฝั่ งต ะ วั น ต ก จั ง ห วั ด

เชยี งใหม่

1. ระดบั ผลผลติ (output) - ความสอดคล้องของมาตรการ ผู้จดั เกบ็ และรายงาน

- ร้อยละความสำเร็จในการดำเนิน ด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำและ ผลตามตัวช้ีวัด

กิจกรรมตามมาตรการด้านการอนุรกั ษ์ ระยะในการดำเนินงานเป็นไป สพข.6/สพด.ชม.

ดินและน้ำ ตามแผน

- จำนวนพื้นท่ีเกษตรกรรมได้รับการ - พื้นที่เกษตรกรรมได้รับการ

ปอ้ งกันและฟนื้ ฟูทรัพยากรดนิ ป้องกันและฟ้ืนฟู ไม่น้อยกว่า

20,000 ไร่

2. ระดบั ผลลัพธ์ outcome) - จัดทำฐานข้อมูลเพื่อประเมิน ผจู้ ัดเก็บและรายงาน

- ท รัพ ยากรดิ นส าม ารถ ใช้ การเปล่ียนแปลงตามตัวชี้วัด ผลตามตัวชี้วดั

ประโยชน์ท่ีดินได้อย่างคุ้มค่า ลดการ เช่น ค่าการสูญเสียดินคุณภาพ กลุ่มวางแผนการใช้

สญู เสยี หนา้ ดินที่เปน็ ประโยชน์ ดิน ความ ช้ืนใน ดินป ริม าณ ทีด่ นิ สพข.6

ต่อการผลติ ภาคการเกษตร ไมน่ ้อย ตะกอนดนิ

78

ตารางที่ 5-2 (ตอ่ )

แผนบริหาร ตัวชี้วัด ประเด็นการวัด ผู้รับผิดชอบ

จัดการ และติดตามประเมินผล ตัวชว้ี ัด

ปี 2566-70 กว่า ร้อยละ 80 เมื่อเปรียบเทียบกับปี และปรมิ าณการกกั เกบ็ นำ้

(ตอ่ ) ฐานหรือค่าเฉล่ียในพ้ืนที่ระดับลุ่ม

น้ำย่อย

- รักษาและเพิ่มความช่มุ ชืน้ ให้กับ ส ว พ ./ ก ลุ่ ม ส ำ ร ว จ

ดิน ไม่ น้อยกว่า ร้อยละ 80 เมื่ อ และทำแผนท่ี สพข.

เปรียบเทียบกับปีฐาน หรือค่าเฉลี่ยใน 6

พื้นทีร่ ะดับลมุ่ น้ำย่อย

- เพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ ้ำ สวพ./กลุ่มสำรวจ

ภาคการเกษตร ด้วยการเพิ่มแหล่งน้ำ และทำแผนท่ี สพข.

ต้นทุนและระบบการกระจายน้ำ ไม่ 6

น้อยกว่า ร้อยละ 80 เม่ือเปรียบเทียบ

กับปีฐาน หรือค่าเฉล่ียในพ้ืนท่ีระดับ

ลุม่ น้ำย่อย

- เกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์ กลุ่มวางแผนการใช้

ที่ ดิ น ได้ อย่ างเห ม าะ ส ม ต รงต าม ที่ดิน /กลุ่มวิชาการ

ศักยภาพของพ้ืนท่ีไม่น้อยกว่า ร้อยละ สพข.6

80 เม่ือเปรียบเทียบกับปีฐานหรือ

คา่ เฉลี่ยในพ้ืนท่ีระดบั ลุ่มนำ้ ย่อย

3. ระดับผลกระทบ (impact) - ส ำ ร ว จ ข้ อ มู ล เชิ ง สั ง ค ม กลุ่มวางแผนการใช้

- เพิม่ ผลผลิตภาคการเกษตร เศรษฐกิจเพือ่ ประเมิน ที่ดนิ สพข.6

- เพ่ิมรายได้ในครัวเรือนให้กับ

เกษตรกร ไม่น้อยกว่า รอ้ ยละ 30 เมื่อ

เปรียบเทียบกับปีฐาน หรือค่าเฉลี่ยใน

พน้ื ทร่ี ะดับลุ่มนำ้ ย่อย

- เพ่ิ ม มู ล ค่ า ก า ร ผ ลิ ต ภ า ค การเป ล่ียนแปลงห ลังได้ รับ

การเกษตร และผลติ ภณั ฑม์ วลรวมของ ประโยชน์จากมาตรการตาม

ประเทศ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 30 เมื่อ ตวั ช้วี ดั ดา้ นสงั คมเศรษฐกิจ

เปรียบเทียบกับปีฐาน หรือค่าเฉลี่ยใน

พ้นื ทร่ี ะดบั ล่มุ น้ำยอ่ ย

79

ตารางที่ 5-3 การจดั ทำฐานขอ้ มูลเพอ่ื ประเมนิ การเปล่ยี นแปลงตามตวั ช้วี ัดมิติกายภาพ เศรษฐกจิ และสังคม

ประเดน็ ประเดน็ ตัวช้วี ดั * รายการตรวจวดั /ประเมิน** ผรู้ ับผิดชอบ

(พนื้ ทีด่ ิน/ตะกอนถูกชะล้าง หรอื ทท่ี ับถม) ฐานข้อมูลเชงิ พืน้ ที่ จัดทำฐานข้อมลู กลาง

1. ข้อมูลดิน 1.1 อตั ราการสญู เสียของดิน - ปริมาณฝน (ความเข้มของฝน) สว่ นภมู ิภาค 1. ผูเ้ ชีย่ วชาญ
และสิ่งแวดลอ้ ม
- ความคงทนตอ่ การถกู ชะล้างพงั ทลายของดิน ( ส พ ข . 6/ ก ลุ่ ม ส่ ว น ภู มิ ภ า ค แ ล ะ

- ความลาดชนั ของพ้ืนที่ วิช า ก าร เพื่ อ ก า ร ส่วนกลาง :

- การจัดการพชื พัฒ นาท่ี ดิน/กลุ่ม คัดกรองข้อมูล

- การปฏบิ ัติการป้องกันการชะลา้ งพงั ทลายของดิน วางแผนการใช้ท่ดี ิน/

1.2 ปริมาณดนิ หรือ - วัดความลึกของหนา้ ดินทส่ี ูญหายไป หรือท่ีทบั ถม โดยใชห้ ลักวดั หรือหมุด (pin) กลุ่มสำรวจและทำ 2. กวจ. : จัดเก็บ และ
ตะกอนทสี่ ูญหายไป
(กิโลกรัมต่อไร่) - ขนาดพน้ื ท่ี (ไร)่ แ ผ น ท่ี / ก ลุ่ ม นำเข้าฐานข้อมูลกลาง

1.3 การเปลย่ี นแปลงลกั ษณะ - ความหนาแน่นของดนิ วิเคราะหด์ ิน/ และประเมนิ เชงิ วิชาการ
และสมบัตดิ ินทางกายภาพ
และทางเคมี และชีวภาพ - บ่อดกั ตะกอน สพด.เชียงใหม)่

- การทำคำบรรยายหน้าตัดดนิ (สีดิน เนอ้ื ดิน จุดประสี โครงสร้างดิน

ปรมิ าณรากพชื เป็นตน้ ) 3. ก ผ ง . : ป ร ะ เ มิ น

- ความชน้ื ในดิน หรือ น้ำในดนิ ภาพรวมเชงิ นโยบาย

- การกระจายตัวของเม็ดดนิ

- ส่ิงมชี วี ติ ในดิน

ตารางท่ี 5-3 (ต่อ)

ประเด็น ประเด็นตวั ชี้วดั * รายการตรวจวัด /ประเมนิ ** ผ้รู ับผิดชอบ
1.4 ระดับความอุดมสมบรู ณ์ (พน้ื ท่ีดิน/ตะกอนถูกชะล้าง หรือที่ทบั ถม) ฐานข้อมูลเชงิ พน้ื ท่ี จัดทำฐานขอ้ มูลกลาง
1. ข้อมูลดิน ของดิน การปนเป้ื อนในดิ น / - อินทรียวตั ถใุ นดิน
และส่ิงแวดลอ้ ม ตะกอน - ฟอสฟอรสั ที่เป็นประโยชน์ตอ่ พืช
(ตอ่ ) - โพแทสเซียมที่เปน็ ประโยชนต์ ่อพชื
1.5 ปรมิ าณและมูลค่าการสูญเสีย - ความจุแลกเปลย่ี นแคตไอออน
ของธาตุอาหาร และคาร์บอนใน - เบสท่อี ่มิ ตัว สว่ นภมู ิภาค 1. ผ้เู ชย่ี วชาญ
ดิน - ปัจจยั ชคี้ า่ บรกิ ารเชงิ ระบบนิเวศ
- ปริมาณสารตกค้างในดนิ และตะกอนท่พี ดั ไปทบั ถมอกี พน้ื ท่หี นงึ่ ( ส พ ข . 6/ ก ลุ่ ม ส่ ว น ภู มิ ภ า ค แ ล ะ
- ธาตุอาหารในดนิ
- ปริมาณอนิ ทรียค์ าร์บอนในดนิ วิช า ก าร เพ่ื อ ก า ร สว่ นกลาง :
- การปลดปลอ่ ยกา๊ ชเรือนกระจก
- การจัดการดิน นำ้ ปยุ๋ และพืช พฒั นาท่ดี ิน/กลุ่ม คดั กรองข้อมูล
- ราคาปุ๋ยทีใ่ ชใ้ นพื้นที่
วางแผนการใชท้ ด่ี นิ /

กลุ่มสำรวจและทำ 2. กวจ. : จัดเก็บ และ

แ ผ น ท่ี / ก ลุ่ ม นำเข้าฐานข้อมู ลกลาง

วเิ คราะห์ดิน/ และประเมินเชิงวชิ าการ

สพด.เชยี งใหม่)

3. ก ผ ง . : ป ร ะ เ มิ น

ภาพรวมเชงิ นโยบาย

ตารางท่ี 5-3 (ตอ่ )

ประเดน็ ประเด็นตวั ชวี้ ดั * รายการตรวจวดั /ประเมนิ ** ผรู้ ับผิดชอบ
(พ้ืนท่ดี นิ /ตะกอนถูกชะลา้ ง หรอื ท่ที ับถม) ฐานข้อมูลเชงิ พืน้ ที่ จัดทำฐานขอ้ มูลกลาง
2. ข้อมลู น้ำ
และสิ่งแวดลอ้ ม 2.1 ปริมาณตะกอนในน้ำ - นำ้ หนกั ของตะกอนในน้ำและแหลง่ นำ้

และแหล่งนำ้

2.2 คุณภาพของน้ำ และแหล่งน้ำ - คา่ ความข่นุ ของนำ้ และสมบัติทเี่ กย่ี วขอ้ ง โดยชุดทดสอบในสนาม

(โดยเฉพาะน้ำเพื่ออุปโภคและ หรือวิเคราะห์ในห้องปฏบิ ตั ิการ

บริโภค) - สารปนเป้ือนในนำ้ เช่น โลหะหนกั สารเคมตี กค้าง ปยุ๋

2.3 ความจุของการกักเก็บน้ำใน - ความตื้นเขนิ ของแหล่งนำ้

แหล่งน้ำ (ฝาย บ่อ อาคาร และ - จำนวน และสถานทีท่ ไ่ี ด้รับผลกระทบ

อ่างเกบ็ นำ้ )

2.4 ปริมาณและมูลค่าการสูญเสีย - ธาตอุ าหารในดนิ

ของธาตุอาหาร และคาร์บอนในน้ำ - ปริมาณอนิ ทรียค์ าร์บอนในดิน

- ราคาปยุ๋ ที่ใช้ในพน้ื ท่ี

ตารางที่ 5-3 (ต่อ)

ประเดน็ ประเด็นตวั ชว้ี ัด* รายการตรวจวดั /ประเมนิ ** ผรู้ บั ผิดชอบ
3.1 การเปล่ยี นแปลงการใช้ที่ดนิ (พนื้ ทด่ี ิน/ตะกอนถูกชะล้าง หรือทท่ี ับถม)
3. ข้อมลู พืช - ชนดิ พชื ฐานข้อมูลเชงิ พน้ื ท่ี จดั ทำฐานข้อมลู กลาง
และสง่ิ แวดลอ้ ม 3.2 การเจริญเติบโต และผลผลิต - การจัดการพื้นท่ี เช่น การเผา
ตามช่วงเวลาคาดว่าเกิดชะล้าง - การปลดปลอ่ ยกา๊ ชเรือนกระจก สว่ นภมู ิภาค 1. ผเู้ ชยี่ วชาญ
พังทลาย - ปริมาณการสูญหายของเมล็ดพันธ์ุ
- องค์ประกอบของผลผลิต สว่ นภมู ภิ าค ส่ ว น ภู มิ ภ า ค แ ล ะ
- คุณภาพผลผลิต
- ความเสยี หายต่อพชื เช่น พชื ลม้ ตาย (สพข.6/กลุ่ม สว่ นกลาง :

วชิ าการเพ่ือการ คัดกรองขอ้ มลู

พัฒนาท่ีดิน/กลมุ่

วางแผนการใชท้ ่ีดนิ / 2. กวจ. : จัดเก็บ และ

กล่มุ สำรวจและทำ นำเข้าฐานข้อมูลกลาง

แผนที/่ กลมุ่ และประเมินเชิงวชิ าการ

วิเคราะหด์ ิน/

สพด.เชียงใหม)่ 3. ก ผ ง . : ป ร ะ เมิ น

ภาพรวมเชิงนโยบาย

4. สภาพ 4.1 รายได้ และสภ าพคว าม - ตน้ ทนุ การผลติ

เศรษฐกิจสังคม เป็นอยู่ - รายจา่ ย

- คา่ แรง

หมายเหตุ : * พิจารณาตามสภาพภมู สิ งั คม

** วธิ ีการเกบ็ ตัวอยา่ ง เกบ็ ขอ้ มลู และวเิ คราะห์ตวั อยา่ งและขอ้ มลู ตามระบบมาตรฐานสากล

ผปู้ ระเมินผลเชิงนโยบาย : กองแผนงาน
ผรู้ วบรวมภาพรวม และประเมนิ ผลเชงิ วิชาการ : กองวิจัยและพัฒนาการจัดการท่ีดิน
ผู้รวบรวมข้อมลู เชิงพืน้ ที่ : สถานพี ัฒนาทด่ี นิ เชยี งใหม่ สำนักงานพฒั นาที่ดนิ 6 และหนว่ ยอน่ื ๆ ที่เกี่ยวข้อง
โดยประเมนิ จากประเด็น (1) พ้นื ท่ีเกดิ การชะล้างพังทลายของดนิ และ 2) พืน้ ที่ได้รบั ผลกระทบ


Click to View FlipBook Version