The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1.การเรียนเพื่อรู้
2. การเรียนรู้เพื่อปฏิบัติได้จริง
3. การเรียนรู้เพื่อที่จะอยู่ร่วมกัน และการเรียนรู้ที่จะอยู่กับผู้อื่น
4. การเรียนรู้เพื่อชีวิต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nirundom2563, 2022-06-04 06:21:48

สี่เสาหลักทางการศึกษา (Four Pillars)

1.การเรียนเพื่อรู้
2. การเรียนรู้เพื่อปฏิบัติได้จริง
3. การเรียนรู้เพื่อที่จะอยู่ร่วมกัน และการเรียนรู้ที่จะอยู่กับผู้อื่น
4. การเรียนรู้เพื่อชีวิต

Keywords: สี่เสาหลักทางการศึกษา (Four Pillars)

รายงาน

รายวิชา นวตั กรรมและเทคโนโลยที างการศึกษา
เรอ่ื ง สี่เสาหลกั การศึกษา

เสนอ
รศ.ดร.สเุ ทพ อ่วมเจรญิ

สมาชิกในกลม่ ุ เลขที่ 5 หอ้ ง 1
1.นางสาวธิดาทิพย์ อ่นุ วิเศษ เลขที่ 16 หอ้ ง 1
2.นางสาวกลุ ณฐั อปุ ัชฌาย์ เลขท่ี 17 หอ้ ง 1
3.นางนิรนั ดอม โสรนิ ทร์ เลขท่ี 20 หอ้ ง 1
4.นายณฐั ชยั สกุ ใส เลขที่ 24 หอ้ ง 1
5.นายพีรพร สาราญสขุ เลขท่ี 27 หอ้ ง 1
6.นางสาวอภิญญา จนั หาญ

ส่ีเสาหลกั ทางการศึกษา (Four Pillars)

ส่ีเสาหลักทางการศึกษา (Four Pillars)
พจนานกุ รมศพั ทศ์ กึ ษาศาสตร์ ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน ให้

คาอธบิ ายไวว้ า่ หมายถึง หลักสาคัญ 4 ประการของการศึกษาตลอดชวี ติ
ตามคาอธบิ ายของคณะกรรมาธิการนานาชาติวา่ ดว้ ยการศึกษาใน
คริสต์ศตวรรษที่ 21 ซ่งึ ได้เสนอรายงานเรอ่ื ง Learning : The Treasure
Within ตอ่ องคก์ ารการศึกษา วทิ ยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแหง่
สหประชาชาติ (UNESCO) เมอื่ ค.ศ. 1995 ว่าการศึกษาตลอดชวี ติ มหี ลกั
สาคญั 4 ประการ ดงั นี้

ความหมายส่เี สาหลกั ทางการศกึ ษา

การเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21 ยดึ แนวทางการเรยี นรู้4 แบบ ทีเ่ ปน็ การเรียนรู้เพอ่ื ชีวติ
มงุ่ จดั การ ศกึ ษาให้กับผู้เรยี นสามารถด ารงชวี ิตอยู่ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีคุณภาพ ดังนี้

1.การเรยี นเพ่ือรู้ หมายถึง การศึกษาที่มุ่งพฒั นากระบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้
การแสวงหาความรู้ และวธิ กี ารเรยี นรูข้ องผเู้ รยี น เพอ่ื ให้สามารถเรียนรู้ และพฒั นาตนเองได้
ตลอดชวี ิต กระบวนการเรยี นรู้เนน้ การฝึกสตสิ มาธิ ความจา ความคิด ผสมผสานกบั สภาพ
จรงิ และประสบการณ์ ในการปฏิบตั ิ

2. การเรียนรู้เพือ่ ปฏบิ ัตไิ ดจ้ รงิ หมายถงึ การศกึ ษาที่มุ่งพฒั นาความสามารถและ
ความชานาญรวมทงั้ สมรรถนะทางดา้ นวชิ าชีพ สามารถปฏบิ ตั ิงานเปน็ หมคู่ ณะ ปรับประยกุ ต์
องค์ความรู้ ไปส่กู ารปฏบิ ัตงิ านและอาชพี ไดอ้ ย่างเหมาะสม กระบวนการเรียนการสอนบรู ณา
การระหว่างความรู้ ภาคทฤษฎแี ละการฝึกปฏิบตั ิงานทีเ่ น้นประสบการณ์ตา่ งๆ ทางสงั คม

ความหมายส่เี สาหลกั ทางการศึกษา

3. การเรียนรูเ้ พ่อื ที่จะอยรู่ ่วมกนั และการเรยี นร้ทู ีจ่ ะอยกู่ ับผอู้ น่ื หมายถึง การศกึ ษา
ทม่ี ุ่งให้ผเู้ รียนสามารถดารงชวี ิตอยูร่ ่วมกบั ผ้อู ่นื ในสังคมพหวุ ฒั นธรรมไดอ้ ยา่ งมีความสุข มี
ความตระหนกั ในการพง่ึ พาอาศัยซึ่งกันและกัน การแก้ปัญหาการจดั การความขัดแยง้ ดว้ ย
สนั ตวิ ิธคี วามเคารพสทิ ธแิ ละศักด์ิศรคี วามเป็นมนุษย์ และเขา้ ใจความหลากหลายทางดา้ น
วฒั นธรรม ประเพณี ความเชอื่ ของแต่ละบคุ คลในสงั คม

4. การเรียนรเู้ พอ่ื ชีวติ หมายถงึ การศกึ ษาท่ีมุง่ พฒั นาผ้เู รยี นทกุ ด้านทง้ั จิตใจและ
ร่างกาย สติปัญญา ใหค้ วามสาคัญกบั จนิ ตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ ภาษา และ
วัฒนธรรม เพ่อื พฒั นา ความเป็นมนุษยท์ ี่สมบูรณม์ ีความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คมสิ่งแวดล้อม
ศลี ธรรม สามารถปรับตัว และปรบั ปรุงบคุ ลกิ ภาพของตน เขา้ ใจตนเองและผู้อ่ืน

ส่เี สาหลักทางการศึกษา (Four Pillars)

สี่เสาหลักสาคญั ๔ ประการ ดงั นี้

1. การเรยี นเพ่อื รู้ (Learning to Know) การเรียนทีผ่ สมผสานความร้ทู ว่ั ไปกับ
ความร้ใู หมใ่ นเรอื่ งต่าง ๆ อยา่ งละเอยี ดลึกซ้ึง และยังหมายรวมถึงการฝึกฝนวธิ เี รียนรู้
เพื่อนาไปใชป้ ระโยชน์ในการดารงชวี ิต
2. การเรียนร้เู พอ่ื ปฏิบตั ไิ ด้จรงิ (Learning to Do) การเรียนรู้ท่ีชว่ ยให้บคุ คล
สามารถรบั มอื กบั สถานการณต์ ่าง ๆ และปฏบิ ัติงานได้ เปน็ การเรยี นร้โู ดยอาศยั
ประสบการณ์ต่าง ๆ ทางสังคมและในการประกอบอาชีพ

ส่ีเสาหลักสาคญั ๔ ประการ ดังนี้

3. การเรียนรู้เพอ่ื การอยรู่ ่วมกนั (Learning to Live Together)การเรยี นรทู้ ่ชี ่วย
ใหบ้ คุ คลเขา้ ใจผู้อน่ื และตระหนักดีว่า มนุษย์เราจะต้องพง่ึ พาอาศยั กนั ดาเนิน
โครงการร่วมกนั และเรยี นรูว้ ธิ แี กป้ ญั หาข้อขดั แยง้ ต่าง ๆ โดยตระหนักในความ
แตกต่างหลากหลาย ความเข้าใจอันดตี ่อกนั และสันตภิ าพ วา่ เป็นส่งิ ลา้ ค่าคูค่ วรแก่การ
หวงแหน
4. การเรยี นรู้เพอ่ื ชวี ติ (Learning to Be) การเรยี นรทู้ ช่ี ่วยใหบ้ ุคคลสามารถ
ปรับปรุงบุคลิกภาพของตนไดด้ ีขึน้ ดาเนนิ งานต่าง ๆ โดยอสิ ระย่ิงขึ้น มีดุลพินจิ และ
ความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเองมากขนึ้ การจัดการศึกษาตอ้ งไม่ละเลยศักยภาพในด้านใด
ด้านหนง่ึ ของบุคคล เชน่ ความจา การใช้เหตุผล ความซาบซึง้ ในสุนทรยี ภาพ
สมรรถนะทางรา่ งกาย ทกั ษะในการติดตอ่ ส่อื สารกบั ผู้อน่ื

เปา้ หมาย

การจัดการศึกษาทีส่ อดคลอ้ งกับสี่เสาหลักทางการศึกษามีเปา้ หมายคณุ ภาพผู้เรยี น
4 ด้าน ดงั นี้

1. มวี ธิ กี ารคดิ ระดบั สูง เช่น คดิ วเิ คราะห์ คิดแก้ปญั หา คดิ สังเคราะห์ คิดสรา้ งสรรค์
เนอื่ งจากการคดิ เป็นสง่ิ ที่สาคญั ทสี่ ดุ สาหรับการด ารงชวี ิตในโลกปัจจุบันทเี่ ป็นโลกแหง่
เทคโนโลยี สารสนเทศ มีการเปลยี่ นแปลงทางความรแู้ ละนวัตกรรมอย่างรวดเรว็ คนท่คี ิด
เป็นเท่าน้นั ท่ีจะสามารถดารงชวี ติ ได้อย่างมคี ุณภาพและมคี วามสขุ

2. มวี ธิ ีการเรยี นรู้(learning how to learn) และเปน็ บคุ คลแหง่ การเรียนรู้ (learner
person) เนื่องจากการเรยี นรู้เป็นองค์ประกอบสาคญั ของดารงชวี ิต มนุษยจ์ ะดารงชวี ติ อยไู่ ด้
จาเปน็ อยา่ งยิง่ ที่ตอ้ งมีการเรียนรู้ ดว้ ยตนเองอย่างตอ่ เน่ือง บุคคลที่มีการเรยี นรจู้ ะมีศกั ยภาพใน
การพัฒนา ตนเองและสังคมไดม้ ากกว่าบุคคลท่ไี ม่มกี ารเรียนรู้

เป้าหมาย

การจดั การศึกษาท่ีสอดคล้องกบั สเ่ี สาหลกั ทางการศึกษามีเปา้ หมายคณุ ภาพผู้เรียน
4 ด้าน ดังน้ี

3. มที ักษะการแลกเปล่ยี นเรียนร้ทู กั ษะทางสังคม และตระหนกั ถงึ ความรับผดิ ชอบ ตอ่
สังคมและสงิ่ แวดลอ้ ม เราไม่สามารถดารงชีวิตอยไู่ ด้โดยไม่ติดต่อสมั พนั ธก์ ับบุคคลอน่ื ในสงั คม
ทกั ษะทางสงั คมคือปัจจยั สง่ เสริมใหก้ ารทางานทีต่ ้องประสานความร่วมมือจากบคุ คลหลายฝา่ ย
สาเร็จลลุ ว่ ง การแลกเปล่ียนความรู้และประสบการณก์ ับผู้เชย่ี วชาญในแต่ละสาขาวิชาชพี
เป็นกระบวนการ เรียนร้ขู ้ันสูงทีม่ คี วามสาคญั และจาเปน็ สาหรบั การเรียนร้ใู นยคุ ปัจจบุ ัน

4. มีคุณลกั ษณะสมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์สง่ิ สาคญั ที่ควบค่กู ับการมคี วามรอู้ ันลึกซง้ึ คือ
คณุ ลักษณะและสมรรถนะท่ีพึงประสงค์ การมคี ุณลักษณะทีด่ ชี ว่ ยทาใหส้ ามารถพัฒนาตนเอง
และดารงชีวิตรว่ มกับผู้อ่ืนอย่างสงบสขุ และสันตกิ ารมีสมรรถนะคอื ความสามารถปรับประยุกต์
ความรู้ และคุณลักษณะให้ออกมาเป็นพฤติกรรมอย่างเปน็ รูปธรรม

ทกั ษะด้านการเรยี นรู้

1.ความสามารถกาหนดเป้าหมายของตนเอง
2. ความสนใจใฝ่ รู้
3. ความสามารถปรบั ตวั และจดั การกบั สิง่ ทซ่ี ับซ้อน
4. สามารถใช้เครือ่ งมือที่เป็นปจั จบุ นั
5. ความตระหนักและเข้าใจสังคมโลก

ทักษะดา้ นการมีคุณลกั ษณะสมรรถนะที่พงึ ประสงค์

1.ความกลา้ เส่ยี ง
2.มคี วามรบั ผดิ ชอบ
3. เปน็ พลเมืองดีและรับผิดชอบต่อสงั คม
4. การจดั ลาดับ วางแผน และการบรหิ ารม่งุ ผล
5. สามารถผลิตผลงานท่ีมีคุณภาพสงู

ทกั ษะดา้ นการมที กั ษะการแลกเปลยี่ นเรยี นร้ทู กั ษะทางสังคม

1. มที ักษะการแลกเปลยี่ นเรยี นรทู้ กั ษะทางสงั คม และตระหนกั ถึงความรับผิดชอบ ต่อสงั คม
และส่ิงแวดลอ้ ม เราไม่สามารถดารงชีวิตอยูไ่ ดโ้ ดยไมต่ ิดตอ่ สัมพนั ธก์ บั บคุ คลอื่นในสังคม ทักษะ

ทางสังคมคอื ปัจจัยส่งเสริมให้การทางานทตี่ ้องประสานความรว่ มมอื จากบคุ คลหลายฝ่าย
สาเร็จลุล่วง การแลกเปลี่ยนความรแู้ ละประสบการณ์กบั ผ้เู ชย่ี วชาญในแตล่ ะสาขาวิชาชพี
เป็นกระบวนการ เรียนรขู้ ัน้ สูงที่มคี วามสาคญั และจาเป็นสาหรบั การเรยี นรู้ในยุคปจั จุบนั
2. มีคณุ ลกั ษณะสมรรถนะทพี่ งึ ประสงคส์ ิง่ สาคัญที่ควบคูก่ ับการมคี วามรอู้ ันลกึ ซ้ึง คือ
คณุ ลักษณะและสมรรถนะที่พงึ ประสงค์ การมคี ณุ ลักษณะท่ีดชี ่วยทาใหส้ ามารถพัฒนาตนเอง
และดารงชีวิตรว่ มกับผู้อนื่ อย่างสงบสุขและสนั ตกิ ารมีสมรรถนะคือความสามารถปรบั ประยุกต์
ความรู้ และคณุ ลักษณะใหอ้ อกมาเป็นพฤตกิ รรมอย่างเป็นรูปธรรม

สรุป

สีเ่ สาหลักของการศกึ ษาที่เป็นหลักการจัดการศกึ ษาในศตวรรษที่ 21 ประกอบดว้ ยการ
เรยี นรู้ 4 ลกั ษณะ ได้แก่ การเรียนเพือ่ รู้ การเรียนรู้ เพอื่ ปฏิบตั ิไดจ้ รงิ การเรียนรู้
เพ่อื ที่จะอย่รู ่วมกนั และการ เรียนรทู้ ่ีจะอยรู่ ว่ มกบั ผอู้ ่ืน และการเรยี นรเู้ พือ่ ชีวิต มี
เปา้ หมายการเรยี นรู้ 4 ประการ ได้แก่ มวี ธิ กี ารคิด ระดบั สูง มวี ิธีการเรียนรมู้ ีทกั ษะการ
แลกเปล่ยี นเรยี นรูแ้ ละทกั ษะทางสงั คม และมีคณุ ลกั ษณะ สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์การ
จดั การเรียนรู้ให้ บรรลุเป้าหมายโดยการจัดการเรยี นรู้ ท่ีเน้นผู้ เรยี น เปน็ สาคญั และ
ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ตามสภาพจริง

ขอบคณุ ครบั /คะ่


Click to View FlipBook Version