The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วัน ศุกร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tongsea47, 2021-09-17 10:52:14

วัน ศุกร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ 2564

วัน ศุกร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ 2564

วัน ศุกร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ 2564

TAO NEWS

แผ่นดินไหว 7.1 เขย่าญี่ปุ่น เจ็บ 14 ราย เหตุแผ่นดินไหวรุนแรง
ระดับ 7.1 นอกชายฝั่ งญี่ปุ่น
ไฟดับกระทบ 6.8 แสนครัวเรือน


ในคืนวันเสาร์ ล่าสุดพบผู้
บาดเจ็บแล้ว 14 ราย มี

รายงานความเสียหายบาง

จุดและเกิดไฟดับ

กระทบกว่า 680,000 ครัว

เรือน

สำนักข่าว เอ็นเอชเค

รายงานว่า เมื่อเวลา

ประมาณ 23.08 น. ตาม

เวลาท้องถิ่นของประเทศ

ญี่ปุ่น เกิดแผ่นดินไหว

รุนแรงระดับ 7.1 แมกนิจูด

ที่นอกชายฝั่ งทางตะวัน

เจ็บ 14 ราย ออกเฉียงเหนือของ
ประเทศที่ความลึกราว 55

กม. ทำให้หลายพื้นที่ได้รับ


แรงสั่นสะเทือนอย่าง
รุนแรง แต่ในเบื้องต้นไม่มี

เกิดแผ่นดินไหวรุนแรง ปฐพีพิโรธญี่ปุ่น 8.9 ริกเตอร์ การประกาศเตือนภัยคลื่น
ที่สุดในรอบ 140 ปีของ สึนามิสูง 10 เมตรกวาดเรียบ ยักษ์สึนามิจากแผ่นดินไหว
ญี่ปุ่นถึง 8.9 ริกเตอร์ ครั้งนี้
ถล่มพื้นที่ชายฝั่ งด้าน

ตะวันออกเฉียงเหนือ อ่านต่อหน้า 2

ของเกาะฮอนชู เมื่อช่วง

บ่ายวันที่ 11 มี.ค. ก่อให้

เกิดคลื่นยักษ์สึนามิสูง

ถึง 10 เมตร พัดถล่ม

เมืองเซนได กวาดทุก

อย่างที่ขวางหน้าทั้ง

รถยนต์ เรือ บ้านเรือน

อีกทั้งยังเกิดเพลิงไหม้ สึนามิสูง 10 เมตร
อาคารหลายแห่ง รวม
ไปถึงโรงกลั่นน้ำมัน

แรงสั่นสะเทือนของ

แผ่นดินไหวยังรู้สึกไป

ไกลถึงกรุงโตเกียว และ

กรุงปักกิ่งของจีนทีเดียว

นับเป็นแผ่นดินไหวที่

รุนแรงที่สุดอันดับ 5 อ่านข่าวฉบับ
ของโลกนับตั้งแต่ปี เต็ม!!
1900 เป็นต้นมา
สแกนเลย
อ่านต่อหน้า 3

วัน ศุกร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ 2564 ต่อจากหน้าที่ 1

TAO NEWS นางคามายะ โนริโกะ เจ้าหน้าที่ของ
JMA กล่าวว่า ความเสี่ยงบ้านพัง
ถล่มและเกิดดินถล่มในพื้นที่ที่ได้รับ
ผลกระทบอย่างหนักจากแผ่นดิน
ไหวครั้งนี้กำลังเพิ่มสูงขึ้น ผู้คนได้
รับคำแนะนำให้ติดตามความ
เคลื่อนไหวทางธรณีวิทยาและฝนใน
อนาคตอย่างใกล้ชิด นอกจากนี้
ประชาชนยังได้รับคำเตือนให้ระวัง
แผ่นดินไหวความรุนแรงระดับ 6
ขึ้นไป สัปดาห์หน้าด้วย
JMA เชื่อด้วยว่า แผ่นดินไหวครั้งนี้
เป็นอาฟเตอร์ช็อกของแผ่นดินไหว
ใหญ่ระดับ 9.1 (ตามมาตรฐาน
สากล) ที่เกิดขึ้นในบริเวณใกล้เคียง
กันเมื่อปี 2554 ซึ่งส่งผลให้เกิดคลื่น
ยักษ์สึนามิ ทำให้มีผู้เสียชีวิตเกือบ
16,000 คน และเกิดเหตุปฏิกรณ์
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟูกูชิมา-ไดอิจิ
ระเบิด กลายเป็นภัยพิบัติ
กัมมันตภาพรังสีรั่วไหลตามมา

ด้านความเสียหาย เจ้าหน้าที่
สำนักงานดับเพลิงจังหวัดมิยางิเปิด
เผยว่า พวกเขาพบผู้บาดเจ็บจาก
แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นแล้ว 10 ราย
แต่ไม่มีใครเป็นอันตรายถึงชีวิต ส่วน
ที่ฟูกูชิมา พบผู้บาดเจ็บ 4 ราย มี
ประตูของอาคารหลังหนึ่งในเมือง
โคริพังลงมา ส่วนทางการเมืองโซ
มะ จัดตั้งศูนย์หลบภัยขึ้น 2 แห่งเพื่อ
รองรับประชาชนที่บ้านเรือนอาจได้
รับความเสียหาย และมีรายงานว่า
เกิดดินถล่มลงมาปิดกั้นทางด่วนโจ
บัน (Joban Expressway) ทำให้ถนน
ใช้การไม่ได้ด้วย

ขณะที่บริษัทพลังงาน โตเกียว
อิเล็กทรอนิกส์ พาวเวอร์ หรือ เทป
โก ระบุว่า จนถึงเวลา 01.30 น. วัน
อาทิตย์ตามเวลาท้องถิ่น ในกรุง
โตเกียวกับ 7 จังหวัดที่พวกเขาให้
บริการ มีประชาชนได้รับผลกระทบ
จากไฟดับกว่า 620,000 ครัวเรือน
ก่อนที่ในเวลา 02.30 น. ระบบจะได้
รับการแก้ไขจนกลับมาเป็นปกติ
เกือบทั้งหมด เทปโก ยืนยันด้วยว่า
ไม่พบความผิดปกติใดๆ ที่เตา
ปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 1 และ 2 ของโรง
ไฟฟ้าฟูกูชิมา

แต่ที่จังหวัดฟูกูชิมากับมิยางิ ซึ่งมี
บริษัท โตโฮคุ อิเล็กทรอนิกส์ พาว
เวอร์ เป็นผู้ให้บริการด้านพลังงาน
ยังมีประชาชนอีกกว่า 50,000 ครัว
เรือนที่ยังไม่มีไฟฟ้าใช้ หลังเวลา
03.00 น.

วัน ศุกร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ 2564

สำนักสำรวจธรณีวิทยา ผลจากแผ่นดินไหว ที่กรุงโตเกียว เมืองหลวงของ
ประเทศ และเป็นเมืองที่คับคั่ง
ของสหรัฐ ระบุว่า รุนแรงในครั้งนี้ทำให้บ้าน ที่สุดแห่งหนึ่งของโลกนั้น ได้
เกิดการสั่นไหวอย่างรุนแรง
ศูนย์กลางแผ่นดินไหวอยู่ เรือน 4.4 ล้านหลังคา ตามอาคารสูงต่างๆ สร้างความ
ตื่นตระหนกให้กับประชาชน
ใต้ทะเลที่ความลึก เรือนในตอนเหนือของ อย่างหนัก

ประมาณ 15.2 ไมล์ หรือ ญี่ปุ่นไม่มีไฟฟ้าใช้ ส่วนที่ “ผมกลัวมากและยังกลัวอยู่ ผม
ไม่เคยเจอแผ่นดินไหวใหญ่
24 กิโลเมตร ห่างจากกรุง เมืองเซนได ซึ่งได้รับ ขนาดนี้มาก่อน”

โตเกียวไปทางเหนือ ความเสียหายมากที่สุด มี ฮิเดคัตสึ ฮาตา ผู้จัดการร้าน
อาหารแห่งหนึ่งในกรุงโตเกียว
ประมาณ 373 กิโลเมตร รายงานว่าเกิดเหตุ กล่าว

เกิดขึ้นเมื่อเวลาประมาณ โรงแรมถล่มคาดว่าจะมี

14.24 น. ตามเวลาท้อง คนจำนวนมากถูกฝังอยู่

ถิ่นหรือ 12.24 น.ตาม ด้านล่าง

เวลาในประเทศไทย และ

ยังเกิดอาฟเตอร์ช็อกตาม ด้านสถานีโทรทัศน์เอ็น

มาอีกกว่า 30 ครั้ง รุนแรง เอชเคของญี่ปุ่น รายงาน

ถึง 7 ริกเตอร์ทีเดียว ว่าเกิดเพลิงไหม้รุนแรง

คลื่นยักษ์สึนามิที่ก่อตัวขึ้น ขึ้นที่อาคารแห่งหนึ่งใน
เป็นกำแพงน้ำทะเลขนาด เมืองโอไดบะ ชานกรุง
ยักษ์นั้นมีความสูงกว่าเกาะ โตเกียว ขณะที่การให้
บางเกาะในมหาสมุทร บริการรถไฟหัวกระสุน
แปซิฟิกด้วยซ้ำ และส่งผล นั้นต้องหยุดให้บริการ
ให้เกือบทุกประเทศรอบ ทันที ส่วนที่นิคมอุตสาห
มหาสมุทรแปซิฟิกออกคำ กรรมอิโซโกะ ในเมืองโย
เตือนภัยสึนามิทันทีตามมา โกฮามานั้น ก็เกิดกลุ่ม
ถึง 20 ประเทศ ควันหนาขึ้น

ตำรวจญี่ปุ่นระบุว่าพบร่าง

ผู้เสียชีวิตแล้วอย่างน้อย ขณะที่ความเสียหายจาก

200-300 คน อีก 349 คน สึนามินั้น คลื่นยักษ์ได้ขึ้น

สูญหาย อย่างไรก็ตาม ฝั่ งใกล้กับเมืองเซนได

คาดว่ายอดจะพุ่งสูงขึ้น และกวาดทุกอย่างที่ขวาง

อย่างรวดเร็ว ซึ่งมีรายงาน หน้าลึกเข้าไปในฝั่ งไกล

ว่า ในขณะที่คลื่นสึนามิได้ หลายกิโลเมตร น้ำทะเล

พัดเข้าถล่มชายฝั่ งเมือง ทะลักเข้าไปในเมือง และ

เซนได ในจังหวัดมิยากินั้น พื้นที่เพาะปลูกในบริเวณ

ได้ซัดเอาเรือโดยสารซึ่งมีผู้ ใกล้เคียง โดยเมืองดัง

โดยสารอยู่ราว 100 คนบน กล่าวมีประชากรอยู่ราว

เรือด้วย 1 ล้านคน และถือว่าเป็น

ด้านสำนักข่าวเกียวโด เมืองที่อยู่ใกล้กับ

รายงานว่า ยังมีผู้ได้รับบาด ศูนย์กลางแผ่นดินไหว

เจ็บอีกจำนวนมาก โดย มากที่สุด

ประชาชนที่อยู่บริเวณ

ชายฝั่ งของเมืองเซนได คลื่นยักษ์ได้กวาดเอาทั้ง

ต่างวิ่งหนีเอาตัวรอดขึ้นไป เรือ รถยนต์ และรถ

บนที่สูงขึ้นของอาคาร และ บรรทุกเข้าไปในเขตเมือง

ร้องขอความช่วยเหลือ ราวกับน้ำพัดของเล่น

นอกจากนั้น โรงงานปฏิกรณ์ สะพานลอยแห่งหนึ่งทน

นิวเคลียร์ และโรงกลั่นน้ำมัน กับกระแสน้ำไม่ไหวถึง

หลายแห่งถูกปิดลงในทันที กับพังถล่มลงมา สำนัก

ขณะที่มีรายงานว่าเกิดเพลิง ข่าวโตเกียวรายงานว่า

ลุกไหม้ที่โรงกลั่นน้ำมันแห่ง น้ำทะเลได้ซัดเอารถยนต์

หนึ่งในย่านชิบะของกรุง เข้าไปกองยังรันเวย์ของ

โตเกียว ในขณะที่โรงงานผลิต สนามบินเซนไดที่เจิ่งไป

เหล็กกล้า แห่งหนึ่งเกิดเพลิง ด้วยน้ำ ขณะที่รถยนต์ที่

ไหม้ และยังเกิดการระเบิดของ วิ่งอยู่บนทางหลวงต่าง

โรงปิโตรเคมี ที่เมืองเซนได ระดับก็ถูกน้ำซัดลอยไป

อย่างรุนแรง รวมไปถึงไฟไหม้ กองพะเนินรวมกัน

ที่ปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ที่เมืองโอ

นากาวาด้วย

วัน ศุกร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ 2564

แผ่นดินไหว คืออะไร? รูปแสดงการเคลื่อนตัวของแผ่นธรณี
แผ่นดินไหว หมายถึง สาเหตุของการเกิด
ปรากฏการณ์สั่นสะเทือนหรือ 1.ธรรมชาติ
การเขย่าของพื้นผิวโลก เพื่อ -1.1 การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี/แผ่นเปลือกโลก
ปรับตัวให้อยู่ในสภาวะสมดุล ซึ่ง มีการถ่ายโอนความร้อนภายใน รวมไปถึงการเคลื่อนที่และ
แผ่นดินไหวสามารถก่อให้เกิด เปลี่ยนแปลงอย่างช้าๆ เมื่อมีแรงกระทำจึงมีการสะสม
ความเสียหายและภัยพิบัติต่อ พลังงานและปลดปล่อยพลังงานอย่างฉับพลันเพื่อรักษาสมดุล
บ้านเมือง ที่อยู่อาศัย สิ่งมีชีวิต -1.2 การเกิดภูเขาไฟระเบิด
ส่วนสาเหตุของการเกิดแผ่นดิน การแทรกตัวของหินหนืด จะเกิดคลื่นไหวสะเทือนเป็นสัญญาณ
ไหวนั้นส่วนใหญ่เกิดจาก บ่งบอกการปะทุของภูเขาไฟ
ธรรมชาติ โดยแผ่นดินไหวบาง -1.3 อุกกาบาตพุ่งชนโลก
ลักษณะสามารถเกิดจากการก เมื่ออุกกาบาตพุ่งชนจะทำให้เกิดการสั่นสะเทือน
ระทำของมนุษย์ได้ แต่มีความ 2มนุษย์
รุนแรงน้อยกว่าที่เกิดขึ้นเอง -2.1 การสร้างเขื่อนหรืออ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่
จากธรรมชาติ นักธรณีวิทยา มีการสะสมพลังงานในชั้นดินที่อยู่ใต้อ่างเก็บน้ำ แล้วปล่อยออก
ประมาณกันว่าในวันหนึ่ง ๆ จะ มาทำให้เกิดแผ่นดินไหว
เกิดแผ่นดินไหวประมาณ 1,000 -2.2การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ใต้ดิน
ครั้ง ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นแผ่นดิน เมื่อระเบิดเกิดการระเบิดจะสร้างแรงสั่นสะเทือน
ไหวที่มีการสั่นสะเทือนเพียง
เบา ๆ เท่านั้น คนทั่วไปจะไม่รู้ องค์ประกอบของแผ่นดินไหว
สึกถึงแรงสั่นสะเทือน 1.ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
-บริเวณที่เกิดมีการปลดปล่อยพลังงานในรูปคลื่นไหวสะเทือน
การเกิดแผ่นดินไหว มักเกิดตามรอยเลื่อน อยู่ในระดับความลึกต่าง ๆ ของผิวโลก เท่า
แผ่นดินไหวเป็นปรากฏการณ์ ที่เคยวัดได้ลึกสุดอยู่ในชั้นแมนเทิล
ธรรมชาติที่เกิดจากการ 2.จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
เคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก -อยู่ด้านบนของตั้งฉากกับศูนย์เกิดแผ่นดินไหว เป็นบริเวณที่เกิด
(แนวระหว่างรอยต่อธรณีภาค) ความเสียหายมากที่สุด
ทำให้เกิดการเคลื่อนตัวของชั้น 3.คลื่นไหวสะเทือน
หินขนาดใหญ่เลื่อน เคลื่อนที่ -รูปแบบพลังงานที่ถูกปล่อยมาจาก ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว แผ่
หรือแตกหักและเกิดการโอน กระจายเป็นวงรอบๆ
ถ่ายพลังงานศักย์ ผ่านในชั้นหิน 3.1คลื่นในตัวกลางแบ่งได้เป็น 2 ชนิดคือ
ที่อยู่ติดกัน พลังงานศักย์นี้อยู่ใน คลื่นปฐมภูมิ (คลื่น P) คลื่นตามยาว อนุภาคของคลื่นชนิดนี้
รูปคลื่นไหวสะเทือน เคลื่อนที่ในแนวทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น สามารถผ่านได้ใน
กระบวนการเกิด ตัวกลางทุกสถานะ สถานีจะสามารถตรวจจับคลื่นนี้ได้เป็นคลื่น
1.เกิดจากการเคลื่อนตัวของ แรก
แผ่นธรณีภาค ทำให้มีการสะสม คลื่นทุติยภูมิ (คลื่น S) คลื่นตามขวาง อนุภาคของคลื่นมีทิศตั้ง
แรงแค้นและความเครียดอย่าง ฉากกับทิศคลื่นเคลื่อนที่ ผ่านได้ในตัวกลางสถานะของแข็ง
ช้าๆ ภายใต้เปลือกโลก 3.2คลื่นพื้นผิว เป็นคลื่นที่แผ่จากจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว มี
2.เมื่อเกิดความเครียดสูงสุด 2 ชนิด
ทำให้รอยเลื่อนมีพลังเกิดการ คลื่นเลิฟ (Wave of Love : Love wave) เป็นคลื่นที่อนุภาคสั่นใน
เลื่อนตัวหรือแตกหักฉับพลัน แนวราบ มีทิศทางตั้งฉากกับการเคลื่อนที่ของคลื่น
3.พลังงานถูกปลดปล่อยออกมา คลื่นเรลีย์ (Wave of Rayleigh : Rayleigh wave) อนุภาคในคลื่นนี้
เป็นคลื่นไหวสะเทือน เป็นเหตุ สั่นเป็นรูปรี ในทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น เป็นสาเหตุทำให้พื้น
ให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่น โลกสั่นขึ้นลง
ดิน

รูปแสดงองค์ประกอบของแผ่นดินไหว

วัน ศุกร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ 2564

การตรวจและวัดแรงสั่นสะเทือน
เครื่องวัดแรงสะเทือน(ไซสโมกราฟ) โดยข้อมูลที่ได้จะเป็น
ไซสโมแกรม
เครื่องวัดแผ่นดินไหวที่มีความไวสูง สามารถรับคลื่นที่เกิดจากแผ่น
ดินไหวที่รุนแรงได้ทุกแห่งในโลก เครื่องวัดแผ่นดินไหว สามารถ
คำนวณหาเวลา ตำแหน่ง และขนาดของแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้น ณ
สถานีวัดแผ่นดินไหวแห่งใดแห่งหนึ่งได้บนโลกได้ โดยวัดได้จาก
ความสูงของคลื่น (amplitude)
การวัดแผ่นดินไหว
1. มาตราริกเตอร์ = วัดขนาดของแผ่นดินไหว

2. มาตราเมอร์คัลลี่ = วัดความเสียหายที่เกิดขึ้นของแผ่นดินไหว

การกระจายตัวของแผ่นดินไหวของโลก รูปแสดงการกระจายตัวของแผ่นดินไหว
ปรากฏการณ์แผ่นดินไหวในโลกเกิดตามแนวแผ่น
เปลือกโลกมีการชนกันหรือเฉียดกัน แนวแผ่นดิน รูปแสดงผลกระทบจากแผ่นดินไหว
ไหวของโลกมี 3 แนวได้แก่
1.แนววงแหวนแห่งไฟ เป็นแนววงรอบมหาสมุทร
แปซิฟิก
2.แนวภูเขาแอลป์-หิมาลัย
3.แนวสันเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติก
ผลกระทบ
1. สิ่งก่อสร้าง เช่น ตึกสูง อาคารขนาดใหญ่ บ้านเรือนพังเสียหาย
จากแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว
2. แผ่นดินแยก เคลื่อน หรือทรุด เป็นเหตุให้ถนน ทางรถไฟ สะพาน
ระบบรางรถไฟความเร็วสูง ท่อน้ำ ท่อส่งแก๊สหุงต้ม ระบบท่อน้ำทิ้ง
หรือสิ่งก่อสร้างอื่นๆ เกิดการแตก รั่ว ฉีกขาดหรือเสียหาย
3. มนุษย์ที่อาศัยอยู่ในบริเวณเกิดแผ่นดินไหวได้รับบาดเจ็บและ
เสียหายจากการถูกซากอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างถล่ม
4. แผ่นดินถล่มจากแรงสั่นสะเทือนที่รุนแรง ทำให้พื้นดินบริเวณ
ลาดเชิงเขาเกิดแรงยึดเกาะระหว่างอนุภาคดินลดลง เศษหิน เศษ
ดิน จึงเคลื่อนที่ลงมาตามแรงโน้มถ่วงสู่พื้นที่ด้านล่าง
5. เกิดสึนามิจากแผ่นดินไหวขนาดรุนแรง มีจุดศูนย์กลางอยู่ใต้
ทะเล ทำให้เกิดคลื่นทะเลพัดเข้าสู่ฝั่ ง สร้างความเสียหายแก่ชีวิต
และทรัพย์สินของมนุษย์
6. ไฟไหม้จากระบบท่อส่งแก๊สหุงต้มภายในอาคารบ้านเรือนเกิด
การแตกรั่ว และมีประกายไฟจากความเสียหายของสายไฟฟ้าหรือ
อื่นๆ ทำให้เกิดไฟลุกไหม้

วัน ศุกร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ 2564

การเฝ้าระวัง

แผ่นดินไหวเป็นภัยธรรมชาติที่ยังไม่สามารถพยากรณ์ได้อย่างแม่นยำ ทั้งตำแหน่ง ขนาด และเวลาเกิด แม้ว่าใน
ปัจจุบันจะมีเทคโนโลยี เครื่องมือตรวจวัดที่ทันสมัย เราจึงควรรู้วิธีปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุแผ่นดินไหวหรือสามารถ

ติดตามแผ่นดินไหวได้ทาง กองเฝ้าระวังแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา

การป้องกัน
ในปัจจุบันหลายๆประเทศมีการสร้างอาคาร ตึกระฟ้าใหม่ ๆ บนหินแข็งในเขตแผ่นดินไหว อาคารเหล่านั้นจะใช้

โครงสร้างเหล็กกล้าที่แข็งแรงและขยับเขยื้อนได้ มีประตูและหน้าต่างน้อยแห่ง บางแห่งก็มุงหลังคาด้วยแผ่นยางหรือ
พลาสติกแทนกระเบื้อง ป้องกันการตกลงมาของกระเบื้องแข็งทำให้ผู้คนบาดเจ็บ ถนนมักจะสร้างให้กว้างเพื่อว่าเมื่อ
เวลาตึกพังลงมาจะได้ไม่กีดขวางทางจราจร และยังมีการสร้างที่ว่างต่าง ๆ ในเมือง เช่น สวนสาธารณะ ซึ่งผู้คน

สามารถจะไปหลบภัยให้พ้นจากการถล่มของอาคารบ้านเรือนได้

การปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุแผ่นดินไหว ห้องทำงานและแหล่งสาธารณะ
1.ควรตรวจเช็คอุปกรณ์ดับเพลิงเป็นประจำ
ก่อนเกิดแผ่นดินไหว 2.ควรจัดทำแผนการฉุกเฉิน และแจ้งให้บุคคลที่
บ้านพักอาศัย เกี่ยวข้องทราบถึงหน้าที่ของแต่ละคนเมื่อเกิดเหตุ
ฉุกเฉิน
1.ควรเตรียมกล่องพยาบาลและอุปกรณ์ดับเพลิงไว้ พร้อม
แจ้งให้สมาชิกทุกคนในครอบครัวทราบแหล่งที่เก็บ และ ภายนอกอาคาร
วิธีใช้ 1.ควรยืนอยู่ในที่โล่งหรือฟุตบาท ห้ามวิ่งเข้าไป
2.ควรรู้วิธีเปิด-ปิดสวิตช์ไฟ แก๊ส และน้ำประปา ในอาคารโดยตื่นตกใจ
3.ควรจัดวางของในบ้านที่ตั้งอยู่ในที่สูงให้มั่นคง ตู้ต่าง ๆ 2.ระวังป้ายหรือกระถางที่อาจตกลงมาจากที่สูง
ควรใส่กุญแจปิดล็อกให้แน่น 3.ควรออกห่างจากอาคารที่กำลังก่อสร้าง เสา
4.ไม่ควรวางของหนักไว้บนที่สูง ของใช้ในบ้านที่มีขนาด ไฟฟ้า กำแพง หรือตู้จำหน่ายสินค้าที่ไม่ได้ติดตั้ง
ใหญ่และน้ำหนักมากควรติดตั้งให้มั่นคง อย่างแน่นหนา
5.ควรศึกษาและเตรียมจุดหลบภัยภายในบ้านให้พร้อม 4.หากอยู่บนสะพานลอยหรือทางเดินใต้ดิน ควร
เสมอ รีบเดินออกมาอย่างมีสติ
ขณะเกิดแผ่นดินไหว 5.หากอยู่ในระหว่างขับขี่รถ ห้ามหยุดรถ
ภายในอาคาร กะทันหัน ควรลดความเร็วและจอดข้างทาง และ
1.ตั้งสติและรีบปิดสวิตช์ไฟ แก๊ส และน้ำประปาทันที รีบหลบขึ้นฟุตบาทที่ใกล้ที่สุด
2.เปิดประตูทางเข้าออก พยายามหาสิ่งของ (เบาะที่รอง 6.หากอยู่ในระหว่างการขับขี่รถบนทางด่วน ควร
นั่ง) เพื่อใช้ป้องกันศีรษะ พยายามหลบใต้โต๊ะหรือใต้ รีบขับออกจากทางด่วนอย่างระมัดระวังโดยเร็ว
อุปกรณ์เครื่องใช้ที่แข็งแรง หรือยืนใกล้กำแพงที่อยู่ตรง 7.หากอยู่ชานเมือง ควรไปอยู่ในที่โล่งแจ้ง และ
กลางของตึกอาคาร เดินออกห่างริมหน้าผา ริมทะเล ริมแม่น้ำ
3.ห้ามอยู่ใกล้หน้าต่างเด็ดขาด เนื่องจากกระจกหน้าต่าง
อาจจะแตก ห้องทำงานและแหล่งสาธารณะ
4.ห้ามวิ่งออกนอกอาคารโดยตื่นตกใจ 1.ระวังสิ่งของที่อาจตกลงมาจากที่สูง (เช่น
โคมไฟ)
หลังแผ่นดินไหว 2.ขณะอยู่ในห้องทำงาน ควรหลบใต้โต๊ะหรือ
1.ตรวจสอบคนรอบข้างว่าได้รับบาดเจ็บหรือไม่ควรให้การ ใต้เฟอร์นิเจอร์ที่แข็งแรงหรือยืนข้างเสา แต่
ปฐมพยาบาลในกรณีที่เห็นว่ามีความจำเป็น ต้องออกห่างหน้าต่าง
2.ตรวจเช็คท่อน้ำ สายไฟ และสายแก๊สว่ามีการชำรุดเสีย 3.ขณะอยู่ในพื้นที่สาธารณะ ควรหาทางออก
หายหรือไม่ หากพบว่าสายแก๊สชำรุดเสียหาย ควรค่อย ๆ ที่ปลอดภัยและหลีกเลี่ยงแหล่งที่มีผู้คน
เปิดประตูหน้าต่าง และออกจากพื้นที่พร้อมแจ้งหน่วยงาน แออัด
ที่เกี่ยวข้องทราบ 4.ห้ามวิ่งออกไปด้านนอกอย่างตื่นตระหนก
3.เปิดวิทยุรับฟังข่าวสารข้อมูลและคำแนะนำเกี่ยวกับภัย ห้ามใช้ลิฟต์
พิบัติ
4.ตรวจสอบสภาพความชำรุดเสียหายของโครงสร้าง โรงเรียน
อาคารบ้านเรือน ควรออกห่างอาคารบ้านเรือนที่ชำรุดเสีย 1.หลบเข้าใต้โต๊ะ หันหลังเข้ากำแพง ใช้กระเป๋า
หายและควรใช้บันได หนังสือป้องกันศีรษะ
5.ควรใส่รองเท้าหนังเพื่อป้องกันไม่ให้ถูกเศษกระจกบาด 2.ห้ามวิ่งออกนอกห้องเรียนอย่างตื่นตระหนก
6.รักษาช่องทางกู้ภัยให้มีความคล่องตัว ควรหนีภัยด้วย และห้ามวิ่งขึ้นหรือลงบันได
การเดิน 3.หากอยู่ในสนาม ต้องออกห่างตัวอาคาร
7.ทำตามคำแนะนำของเจ้าพนักงานในการหนีภัย 4.หากอยู่ในรถโรงเรียนที่กำลังแล่น ให้นั่งอยู่กับ
8.ออกห่างจากริมทะเล ท่าเรือ เพื่อป้องกันกรณีเกิดสึนามิ ที่จนกว่ารถจอดสนิทแล้ว
9.ห้ามเข้าในเขตประสบภัยแผ่นดินไหวโดยมิได้รับอนุญาต
และควรระมัดระวังการลักขโมยทรัพย์สินด้วย รายชื่อผู้จัดทำ
10.ระวังการเกิดแผ่นดินไหวซ้ำ (After shock)
นายพศวัฒน์ แซ่ลิ้ม ม.5/2 เลขที่ 2
คลิปการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุแผ่นดินไหว
นายภูริพัฒน์ อยู่พิทักษ์ ม.5/2 เลขที่ 4

นายเกิดสิริ ศรีเจริญ ม.5/2 เลขที่ 6

นาย ธนทรัพย์ พงศะทัตกิจ ม.5/2 เลขที่ 8


Click to View FlipBook Version