The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aorsawnarak, 2024-01-03 03:26:51

รายงานประจำปี 2566

รายงานประจำปี 2566

Keywords: รายงานประจำปี 2566

ก คำนำ สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณท ี่4 เปนหนวยงานราชการในสังกัดกรมตรวจบัญชีสหกรณ กระทรวงเกษตรและ สหกรณมีภารกิจและหนาที่รับผิดชอบในการกำกับ ดูแล และสนับสนุนการปฏิบัติงานของสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ ในพื้นที่รวม 7 จังหวัด ไดแก จังหวัดกาฬสินธุ มุกดาหาร ยโสธร รอยเอ็ด ศรีสะเกษ อำนาจเจริญ และอุบลราชธานี ใหบรรลุวัตถุประสงคตามพันธกิจของกรมตรวจบัญชีสหกรณ ซึ่งประกอบดวยการตรวจสอบบัญชีสหกรณและ กลุมเกษตรกร การใหคำแนะนำเกี่ยวกับการบริหารจัดการ ดานการเงิน การบัญชีแกสหกรณ กลุมเกษตรกร และ วิสาหกิจชุมชนในพื้นที่ เผยแพรสารสนเทศทางการเงินของสหกรณและกลุมเกษตรกร รายงานประจำปฉบับนี้จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อการเผยแพรถึงภารกิจหนาที่ความรับผิดชอบ การแบง สวนราชการ อัตรากำลัง งบประมาณ แผนการปฏิบัติงาน พรอมทั้งแสดงผลการปฏิบัติงานในรอบปงบประมาณ 2566 และขอมูลทางการเงนิของสหกรณและกลุมเกษตรกรในพื้นที่7 จังหวัด สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณที่ 4 หวังเปนอยางยิ่งวารายงานประจำป 2566 ฉบับนี้จะเปนประโยชนตอ องคกรภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา และบุคคลทั่วไป ที่จะนำขอมูลไปใชประโยชนไดตามสมควร สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณที่ 4 ธันวาคม 2566


ข สารบัญ หนา สวนที่ 1 ขอมูลของหนวยงาน วิสัยทัศนกรมตรวจบัญชีสหกรณ 02 พันธกิจกรมตรวจบัญชีสหกรณ 03 คานิยมและเปาหมายกรมตรวจบัญชีสหกรณ 04 โครงสรางกรมตรวจบัญชีสหกรณและสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณที่ 4 05 ความเปนมาของสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณที่ 4 07 ผูบริหารในพื้นที่สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณท ี่4 11 อัตรากำลังในพื้นที่ความรับผิดชอบของสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณท ี่4 18 หนาที่ความรับผิดชอบของสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณท ี่4 20 การแบงสวนงานภายใน สำนักงานตรวจบัญชสีหกรณที่4 กลุมกำกับมาตรฐานการบัญชี 22 กลุมพัฒนาการเรียนรู 23 กลุมแผนงานและติดตามประเมินผล 24 กลุมเทคโนโลยีสารสนเทศ 25 ฝายบริหารงานทั่วไป 26 สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณจังหวัด 27 งบประมาณประจำป 2566 29 สวนที่ 2 แผนและผลการปฏิบตังิาน ปงบประมาณ 2566 แผน และผลการปฏิบัติงานในภาพรวม ปงบประมาณ 2566 31 สวนที่ 3 ขอมูลของสถาบันเกษตรกรในพื้นที่ ภาพรวมและภาวะเศรษฐกิจทางการเงนิสหกรณ(รวมชุมนุมสหกรณ) และกลุมเกษตรกร สภาพการดำเนินงาน 38 การจัดการธุรกิจ 40 ผลการดำเนินงาน 41 ภาวะเศรษฐกิจทางการเงินของสหกรณและกลุมเกษตรกร 6 มิติ 42 ภาคผนวก 55


รายงานประจำ ปี 2566 ส่วนที่ 1 ข้อมูลของหน่วยงาน


วิสัยทัศน์กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ตรวจสอบบัญชี และส่งเสริมการทำ บัญชี เพื่อสร้างความเข้มแข็ง โปร่งใส แก่สหกรณ์และเกษตรกร รายงานประจำ ปี 2566


รายงานประจำ ปี 2566 พันธกิจกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ตรวจสอบบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กำ กับและควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ให้เป็นไปตามมาตรฐาน พัฒนาเทคโนโลยีการตรวจสอบบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร พัฒนาการบริหารจัดการด้านการเงินการบัญชีแก่สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และวิสาหกิจชุมชน ถ่ายทอดความรู้และเผยแพร่ข้อมูลด้านการเงินการบัญชีแก่สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน เกษตรกร และประชาชน


รายงานประจำ ปี 2566 ค่านิยมกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ มีมาตรฐาน โปร่งใส ใส่ใจผู้รับบริการ เป้าหมายกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และวิสาหกิจชุมชนมีความเข้มแข็ง ด้านการเงินการบัญชี เกษตรกรมีภูมิคุ้มกันทางการเงิน การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพก้าวสู่องค์กรดิจิทัล


รายงานประจำปี2566 โครงสร้างกรมตรวจบัญชีสหกรณ์


รายงานประจำ ปี 2566 โครงสร้างสำ นักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 4 ผู้อำ นวยการสำ นักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 4 ผู้เชี่ยวชาญด้านการบัญชี และการสอบบัญชี กลุ่มกำ กับ มาตรฐาน การบัญชี กลุ่มพัฒนา การเรียนรู้ กลุ่มแผนงาน และติดตาม ประเมินผล กลุ่มเทคโนโลยี สารสนเทศ ฝ่ายบริหาร ทั่วไป สำ นักงานตรวจบัญชี สหกรณ์กาฬสินธุ์ สำ นักงานตรวจบัญชี สหกรณ์มุกดาหาร สำ นักงานตรวจบัญชี สหกรณ์ยโสธร สำ นักงานตรวจบัญชี สหกรณ์ร้อยเอ็ด สำ นักงานตรวจบัญชี สหกรณ์ศรีสะเกษ สำ นักงานตรวจบัญชี สหกรณ์อำ นาจเจริญ สำ นักงานตรวจบัญชี สหกรณ์อุบลราชธานี


ค กรมตรวจบัญชีสหกรณ เปนหนวยงานราชการสวนกลาง สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ในป 2524 กรมตรวจบัญชีสหกรณไดรับอนุมัติใหจัดตั้ง “สำนักงานตรวจสอบกิจการสถาบันเกษตรกรจังหวัด” ในสวนภูมิภาค (ปจจุบัน คือ สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณประจำจังหวัด) ตามขอตกลงในโครงการสินเชื่อเพื่อการเกษตรและ ในป 2527 กรมตรวจบัญชีสหกรณไดมีการจัดตั้งเขตตรวจสอบบัญชีสหกรณ (ปจจุบัน คือ สำนักงานตรวจบัญชี สหกรณที่1 - 10) เพื่อทำหนาที่ควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณประจำจังหวัด


ง สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณที่ 4 ตั้งอยูที่ ถนนสถิตยนิมานกาล อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ร ห ั ส ไป ร ษ ณี ย  34190 ห ม า ย เล ข ต ิ ด ต  อโ ท ร . 0-4532-1856, 0-4532-1893 โ ท ร ส าร . 0-4532-2362 Email : [email protected] Website: http://region4.cad.go.th มีประวัติความเปนมาพอเปนสังเขป ดังนี้ พ.ศ. 2527 กรมตรวจบัญชีสหกรณไดมีการจัดตั้งเขตตรวจบัญชีสหกรณที่ 4 เพื่อกำกับดูแลจังหวัดในเขต ภาคอีสานตอนลาง ประกอบดวย จังหวัดบุรีรัมย มุกดาหาร ยโสธร ศรีสะเกษ สุรินทร และ จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2530 ไดมีการจัดทำแผนอัตรากำลังกรอบที่ 2 จึงไดมีการเปลี่ยนชื่อจากเขตตรวจบัญชีสหกรณที่ 4 เปนศูนยตรวจบัญชีสหกรณที่ 10 โดยสำนักงานไดอยูที่ชั้น 2 ของสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณอุบลราชธานี พ.ศ. 2534 กรมตรวจบัญชีสหกรณไดมีการปรับเปลี่ยนพื้นที่การควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของศูนย ตรวจบัญชีสหกรณที่ 10 จาก 6 จังหวัด เปน 7 จังหวัด ประกอบดวย จังหวัดบุรีรัมย มุกดาหาร ยโสธร ศรีสะเกษ สุรินทร อำนาจเจริญ และจังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2538 กรมตรวจบัญชีสหกรณไดมีการจัดทำแผนอัตรากำลังกรอบที่ 3 จึงไดมีการเปลี่ยนชื่อจาก ศูนยตรวจบัญชีสหกรณที่ 10 เปนสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณภูมิภาคที่ 10 โดยมีพื้นที่รับผิดชอบ 7 จังหวัดเทาเดิม และ ในวันที่ 24 ตุลาคม 2538 ไดกอสรางอาคารสำนักงานอยูบริเวณดานหนาของสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ อุบลราชธานี พ.ศ. 2543 กรมตรวจบัญชีสหกรณไดมีการปรับเปลี่ยนพื้นที่รับผิดชอบใหเปนไปตามเขตการตรวจราชการ ของสำนักนายกรัฐมนตรี และกระทรวงเกษตรและสหกรณ พรอมไดมีการเปลี่ยนชื่อใหมจากสำนักงานตรวจบัญชี สหกรณภูมิภาคที่ 10 เปนสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณภูมิภาคที่ 7 เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2543 และมีการปรับเปลี่ยน พื้นที่รับผิดชอบเปน 7 จังหวัด ประกอบดวย จังหวัดกาฬสินธุ นครพนม มุกดาหาร ยโสธร รอยเอ็ด อำนาจเจริญ และ จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2545 กรมตรวจบัญชีสหกรณไดมีการปรับเปลี่ยนโครงสราง ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 เพื่อใหเปนไปตามนโยบายการปฏิรูประบบราชการ ตั้งแตวันที่ 9 ตุลาคม 2545 และไดเปลี่ยน ชื่อเปนสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณท ี่4 พ.ศ. 2547 กรมตรวจบัญชีสหกรณไดมีการปรับปรุงการแบงงานภายใน เพื่อใหมีความคลองตัวและสามารถ ตอบสนองความตองการของสหกรณและกลุมเกษตรกรไดอยางมีประสิทธิภาพ จึงไดมีการปรับพื้นที่รับผิดชอบ ในการปฏิบัติงานใหม โดยสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณที่ 4 รับผิดชอบพื้นที่ 7 จังหวัด เทาเดิม ประกอบดวย จังหวัดกาฬสินธุ มุกดาหาร ยโสธร รอยเอ็ด ศรีสะเกษ อำนาจเจริญ และจังหวัดอุบลราชธานี


รายงานประจำ ปี 2566


รายงานประจำ ปี 2566 พื้นที่ในความรับผิดชอบ ของสำ นักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 4 รวม 7 จังหวัด


รายงานประจำ ปี 2566 ผู้บริหารในพื้นที่สำ นักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 4 นางลำ พูลพูใจกล้า ล้ ผู้อำ นวยการสำ นักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 4 นางสาวเพ็ญพ็นภา ศรีวรีาปี ปฏิบัติราชการในฐานะ ผู้เชี่ยวชาญด้านการบัญชีและการสอบบัญชี นางสาวจันจัทรา นรศาสตร์ หัวหน้าสำ นักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ กาฬสินธุ์ นางสาวลาวัลวัจรรยากรณ์ หัวหน้าสำ นักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ มุกดาหาร นางจิรัจิชรัติกติานต์ ทั่ว ทั่ ประโคน หัวหน้าสำ นักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ ร้อยเอ็ด นางสาวบุษบุบา ปุรปุณะ หัวหน้าสำ นักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ ยโสธร นางวรรณนภาอุดอุนอก หัวหน้าสำ นักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ ศรีสะเกษ นายไมตรี สายจันจัดา หัวหน้าสำ นักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ อำ นาจเจริญ นายศุภศุกิตกิติ์ ปกป้อป้ง หัวหน้าสำ นักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ อุบลราชธานี


รายงานประจำ ปี 2566 ผู้บริหารสำ นักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 4 ประจำ ปี 2566 ผู้อำผู้ อำนวยการสำ นักงานตรวจบัญบัชี สหกรณ์ที่ 4 นางลำ พูล ใจกล้า ปฏิบัติบั ติราชการในฐานะ ผู้เผู้ชี่ย ชี่ วชาญด้านการบัญบัชีแชีละการสอบบัญบัชี นางสาวเพ็ญพ็นภา ศรีวรีาปี


รายงานประจำ ปี 2566 กลุ่มกำ กับมาตรฐานการบัญชี นางกุลกุจิรจิา จารุตันติ์ นักวิชาการตรวจสอบบัญชี ชำ นาญการ น.ส.ศศิธร วิศิวิ ศิษฏ์ศิลป์ นักวิชาการตรวจสอบบัญชี ชำ นาญการ นางมิ่งมิ่ขวัญวัวงศ์อิสรานุรันุกรัษ์ นักวิชาการตรวจสอบบัญบัชีชำชีชำนาญการพิเพิศษ หัวหน้ากลุ่มกำ กับมาตรฐานการบัญบัชี นางกุลกุจิรจิา จารุตันติ์ นักวิชาการตรวจสอบบัญบัชี ชำ นาญการพิเพิศษ น.ส.ศศิธร วิศิวิ ศิษฏ์ศิลป์ นักวิชาการตรวจสอบบัญบัชี ชำ นาญการ นางวรรณลิษา สมหมาย นักวิชาการตรวจสอบบัญบัชี ปฏิบัติบั ติการ น.ส.ศิริเริรียรีม พิมพิ ประจิตจิร นักวิชาการตรวจสอบบัญบัชี ปฏิบัติบั ติการ นายธีรธีพัฒพัน์ สู้ณสู้ รงค์ นักวิชาการตรวจสอบบัญชี น.ส.พนิดนิา ธานี นักวิชาการตรวจสอบบัญชี


รายงานประจำ ปี 2566 กลุ่มพัฒนาการเรียนรู้ นางกุลกุจิรจิา จารุตันติ์ นักวิชาการตรวจสอบบัญชี ชำ นาญการ น.ส.ศศิธร วิศิวิ ศิษฏ์ศิลป์ นักวิชาการตรวจสอบบัญชี ชำ นาญการ น.ส.วิภวิาวัลวัย์ พรมลาย นักวิชาการตรวจสอบบัญบัชีชำชีชำนาญการพิเพิศษ หัวหน้ากลุ่มพัฒพันาการเรียรีนรู้ นายเกชา ไชยเพ็ชพ็ร นักวิชาการตรวจสอบบัญบัชี ชำ นาญการ นางปาณิสณิรา อินทะวงศ์ นักวิชาการตรวจสอบบัญบัชี ปฏิบัติบั ติการ


รายงานประจำ ปี 2566 กลุ่มแผนงานและติดตามประเมินผล นางกุลกุจิรจิา จารุตันติ์ นักวิชาการตรวจสอบบัญชี ชำ นาญการ น.ส.ศศิธร วิศิวิ ศิษฏ์ศิลป์ นักวิชาการตรวจสอบบัญชี ชำ นาญการ นายปราถนา เสวยสุขสุ นักวิชาการตรวจสอบบัญบัชีชำชีชำนาญการพิเพิศษ หัวหน้ากลุ่มแผนงานและติดตามประเมินผล น.ส.นาตยา เจริญริวัยวั นักวิชาการตรวจสอบบัญบัชี ชำ นาญการ นางสุชสุาดา ผลใหญ่ นักวิชาการตรวจสอบบัญบัชี ชำ นาญการ


รายงานประจำ ปี 2566 กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ น.ส.ศศิธร วิศิวิ ศิษฏ์ศิลป์ นักวิชาการตรวจสอบบัญชี ชำ นาญการ นางสาวรัชรัดาภรณ์ วงษาเลิศ นักวิชาการตรวจสอบบัญบัชี ปฏิบัติบั ติการ นายประกอบ แก่นการ เจ้าหน้าที่ระบบงาน คอมพิวพิเตอร์ นายรณกฤต สนุกนุพันพัธ์ เจ้าหน้าที่ระบบงาน คอมพิวพิเตอร์ น.ส.เวณิกณิาร์ ขันขัชะลี เจ้าหน้าที่ระบบงาน คอมพิวพิเตอร์ น.ส.พรพรรณ ดวงศิลป์ เจ้าหน้าที่ระบบงาน คอมพิวพิเตอร์ นางกชพร นันนัตะวงษ์ นักวิชาการตรวจสอบบัญบัชีชำชีชำนาญการ หัวหน้ากลุ่มเทคโนโลยีสยีารสนเทศ


รายงานประจำ ปี 2566 ฝ่ายบริหารงานทั่วไป น.ส.ศศิธร วิศิวิ ศิษฏ์ศิลป์ นักวิชาการตรวจสอบบัญชี ชำ นาญการ น.ส.ธนัชนัพัชพัช์ บุญจริงริ นักจัดการงานทั่วไป นางเจนจิรจิา พรมสาขา เจ้าหน้าที่บันบัทึกข้อข้มูล น.ส.ละมัยมัทองไทย เจ้าหน้าที่ธุรการ นางคำ เปล โมริดริา พนักงานทำ ความสะอาด น.ส.ณัชณันิชนิา ศรีวิรีลัวิ ลัย เจ้าหน้าที่บันบัทึกข้อข้มูล นางปาณิสณิรา อินทะวงศ์ นักวิชาการตรวจสอบบัญบัชีปชีฏิบัติบั ติการ หัวหน้าฝ่ายบริหริารงานทั่วไป นางคำ เปล โมริดริา พนักงานทำ ความสะอาด น.ส.วรนุชนุศรีคุรีณคุ เจ้าหน้าที่บันบัทึกข้อข้มูล นายมงคล สุวสุรรณวงศ์ พนักงานขับขัรถ นายสิทสิธิพธิร แสงคำ พนักงานขับขัรถ นายมงคล สุวสุรรณวงศ์ พนักงานขับขัรถ นายสิทสิธิพธิร แสงคำ พนักงานขับขัรถ นายอริย์ริธัย์ชธั ไตรศิริพริานิชนิ พนักงานขับขัรถ นายนิยนิม นาคเกิด พนักงานรักรัษาความปลอดภัย นายมาโนช โมริดริา พนักงานรักรัษาความปลอดภัย


รายงานประจำ ปี 2566 อัตรากำ ลังในพื้นที่ความรับผิดชอบ สำ นักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 4 กรอบอัตรากำ ลังของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ณ 30 กันยายน 2566 ณ 30 กันยายน 2566


รายงานประจำ ปี 2566 แผนที่ตั้งของสำ นักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 4 สำ นักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 4 ถนน สถิตย์นิมานกาล อำ เภอวารินชำ ราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190 โทร 0 - 4532 - 1856 และ 0 - 4532 - 1893


รายงานประจำ ปี 2566 ภารกิจและอำ นาจหน้าที่ ของสำ นักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 4 มีดังนี้ หน้าที่ความรับผิดชอบ สำ นักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 4 1. ดำ เนินการตรวจสอบบัญชีของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ และ มาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป 2. กำ กับดูแลและควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชีของสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรให้เป็นไปตามมาตรฐาน การสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป 3. วางรูปแบบและระบบบัญชีของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้เหมาะสมกับธุรกิจ 4. ดำ เนินการสอบทานรายงานการสอบบัญชี งบการเงิน และกระดาษทำ การของผู้สอบบัญชี รวมทั้งวิเคราะห์และประเมินผลการดำ เนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามมาตรฐานที่วางไว้ 5. จัดระบบงานประมวลผลข้อมูลและเป็นศูนย์ข้อมูลทางการเงิน และส่งเสริมการใช้โปรแกรมระบบบัญชี คอมพิวเตอร์ 6. ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการเงินและการบัญชี และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องแก่บุคลากรของสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร และกำ กับดูแลการบริหารกิจการที่ดีให้แก่ผู้ปฏิบัติงานตรวจสอบกิจการของ สหกรณ์


รายงานประจำ ปี 2566 หน้าที่ความรับผิดชอบ สำ นักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 4 (ต่อ) 7. ดำ เนินการถ่ายทอดความรู้ด้านการบัญชีแก่สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร กลุ่มอาชีพ วิสาหกิจชุมชน กลุ่มเป้าหมายตามโครงการพระราชดำ ริ เกษตรกรและประชาชนทั่วไป 8. จัดทำ แผนการปฏิบัติงาน โดยบูรณาการร่วมกับสำ นักงานในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ และติดตามประเมินผลความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน 9. ให้คำ ปรึกษาแนะนำ ด้านการเงินและการบัญชีให้กับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร รวมทั้งวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพ และกลุ่มเป้าหมายโครงการพระราชดำ ริ 10. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย


1. กลุ่มกำ กับมาตรฐานการบัญชี มีหน้าที่รับผิดชอบดังนี้ 1.1 ศึกษาวิเคราะห์ลักษณะธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มธุรกิจ รายสินค้ากลุ่ม อาชีพต่าง ๆ กลุ่มเป้าหมายตามโครงการพระราชดำ ริ ตลอดจนเกษตรกรรายบุคคลในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อนำ รูปแบบบัญชี ที่กรมฯกำ หนดไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับธุรกิจ 1.2 จัดทำ คำ สั่งแต่งตั้งผู้สอบบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1.3 ควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชีให้เป็นไปตามระบบมาตรฐานการควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชี (Cooperative Auditing Quality Control: CAQC) 1.4 นิเทศระบบงานตามกระบวนการตรวจสอบบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรแก่สำ นักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ ในพื้นที่ความรับผิดชอบและผู้สอบบัญชี 1.5 พิจารณาข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีสหกรณ์เสนอคณะกรรมการจรรยาบรรณ ของผู้สอบบัญชีสหกรณ์ 1.6 จัดทำ สรุปรายงานข้อบกพร่อง หรือข้อสังเกตที่ผู้สอบบัญชีตรวจพบจากการปฏิบัติ งานสอบบัญชี หรือ การกำ กับสหกรณ์ 1.7 เป็นศูนย์ประสานงานการสอบบัญชีโดยผู้สอบบัญชีภาคเอกชนและสหกรณ์เป้าหมายที่จัดจ้างผู้สอบบัญชี ภาคเอกชน 1.8 สรุปผลการวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจทางการเงินของสถาบันเกษตรกร (CAMELS Analysis) ในภาพรวม ของพื้นที่สำ นักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 4 การแบ่งงานภายใน สำ นักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 4 แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม 1 ฝ่าย ดังนี้ รายงานประจำ ปี 2566


รายงานประจำ ปี 2566 2. กลุ่มพัฒนาการเรียนรู้ มีหน้าที่รับผิดชอบดังนี้ 2.1 ฝึกอบรม สัมมนา นิเทศและเสริมสร้างความพร้อมของสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร เพื่อรองรับการตรวจสอบบัญชีสหกรณ์ประจำ ปี 2.2 ถ่ายทอดความรู้ด้านการบัญชีและการสอบบัญชี แก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร รวมทั้งบุคลากรของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ 2.3 เป็นศูนย์ประสานงานอาสาสมัครเกษตรด้านบัญชี (ครูบัญชี) ระดับภาค รวมทั้งบุคลากรเครือข่าย ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบ 2.4 กำ กับแนะนำ การจัดทำ บัญชีและงบการเงิน 2.5 กำ กับแนะนำ การบริหารจัดการด้านการเงินการบัญชี เพื่อนำ ไปสู่การยกระดับชั้นคุณภาพ


รายงานประจำ ปี 2566 3. กลุ่มแผนงานและติดตามประเมินผล มีหน้าที่รับผิดชอบ คือ จัดทำ แผนปฏิบัติงานประจำ ปี ติดตามและประเมินผลตามตัวชี้วัด และรายงาน ผลการปฏิบัติงาน ตามที่กรมตรวจบัญชีสหกรณ์กำ หนด ดังนี้ 3.1 จัดทำ แผนปฏิบัติงานประจำ ปีโดยบูรณาการร่วมกับสำ นักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ ในพื้นที่ความรับผิดชอบ 3.2 ติดตามและประเมินผลตามตัวชี้วัดตามงบประมาณ การปฏิบัติงานมุ่งผลสัมฤทธิ์ (RBM) ในงานโครงการต่างๆ การควบคุมภายใน และกิจกรรมต่างๆ ตามที่กรมกำ หนด 3.3 ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้านกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จากกลุ่มอาชีพต่าง ๆ และกลุ่มเป้าหมาย ตามโครงการพระราชดำ ริ รวมทั้งโครงการพิเศษ 3.4 ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของสำ นักงานในพื้นที่ความรับผิดชอบ ในงานที่มีการบูรณาการร่วมกับ จังหวัด 3.5 รายงานผลการปฏิบัติงานในภาพรวมของสำ นักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 4 เพื่อให้สามารถแก้ไขปัญหาอุปสรรค ในการปฏิบัติงานได้ทันเวลา


รายงานประจำ ปี 2566 4. กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ มีหน้าที่รับผิดชอบ ดังนี้ 4.1 ถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านโปรแกรมระบบบัญชีให้กับสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร ในพื้นที่ 4.2 ถ่ายทอดโปรแกรมระบบการตรวจสอบบัญชีให้กับผู้สอบบัญชีภาครัฐในพื้นที่ 4.3 ถ่ายทอดระบบสารสนเทศสำ นักงาน (Back Office) และระบบเครือข่ายให้กับบุคลากร ในพื้นที่และประสานงานกับผู้ปฏิบัติงานที่ส่วนกลาง 4.4 ติดตาม ดูแลและให้คำ แนะนำ ปรึกษา ปัญหา เกี่ยวกับด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 4.5 เผยแพร่ประชาสัมพันธ์บทบาท ภารกิจ หน้าที่ความรับผิดชอบของสำ นักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 4 4.6 ให้คำ ปรึกษาแนะนำ การใช้บริการระบบนวัตกรรมเพื่อสร้างข้อมูลที่มีมูลค่า (Smart4M)เพื่อการสอบบัญชี ระยะไกล (Remote Audit)


รายงานประจำ ปี 2566 5. ฝ่ายบริหารทั่วไป มีหน้าที่รับผิดชอบดังนี้ ฝ่ายบริหารทั่วไป มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารสำ นักงาน เชื่อมโยง การจัดการระหว่างสำ นักงานในส่วนภูมิภาคกับส่วนกลางและหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง ประสานงานและให้บริการด้านการบริหารสำ นักงาน ได้แก่ โปรแกรมระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมระบบวันทำ การ โดยใช้ระบบ Back Office การบริหารงานบุคคล งานการเงิน การบัญชี งานพัสดุ ครุภัณฑ์ งานงบประมาณติดต่อประสานงานและติดตามผลการปฏิบัติงาน


สำ นักงานตรวจบัญชีสหกรณ์จังหวัด มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานตามภารกิจของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ และงานตาม นโยบายของทางราชการ โดยมีการแบ่งงานภายใน ดังนี้ งานบริหารงานทั่วไป มีหน้าที่รับผิดชอบ เกี่ยวกับการบริหารงานสำ นักงาน โดยใช้ระบบ Back Office เช่น โปรแกรมระบบสารบรรณ โปรแกรมระบบวันทำ การ โปรแกรมระบบการบริหารการเงิน การคลัง สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) ดำ เนินการเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล การบริหารงบประมาณ และการบริหารพัสดุ ติดต่อประสานงานและ ติดตามผลการปฏิบัติงาน รวมทั้งระบบเครือข่าย ฝ่ายตรวจสอบและแนะนำ ด้านการบัญชี มีหน้าที่รับผิดชอบดังนี้ 1. กลุ่มงานสอบบัญชี ได้แก่ 1.1 ตรวจสอบบัญชีของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้เป็นไปตามกฎหมายข้อบังคับ ระเบียบ มาตรฐาน การสอบบัญชีที่รับรองทั่วไปและมาตรฐานการปฏิบัติงาน ทางวิชาชีพ 1.2 กำ กับดูแลงานสอบบัญชีสหกรณ์โดยผู้สอบบัญชีภาคเอกชน 1.3 สร้างความพร้อมให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่รับผิดชอบโดยจัดทำ รายงาน ภาวะเศรษฐกิจของ แต่ละสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร และเข้าร่วมประชุมกับคณะกรรมการ ของสหกรณ์ เพื่อแนะนำ เกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจทาง การเงินของสหกรณ์ เพื่อนำ ไปใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการ 1.4 แนะนำ การใช้และติดตั้งโปรแกรมระบบบัญชีที่พัฒนาโดยกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ 1.5 บันทึกข้อมูลตามระบบงานและประมวลผลข้อมูลการปฏิบัติงานตามกระบวนการตรวจสอบบัญชี 1.6 ประมวลผลข้อมูลภาวะเศรษฐกิจทางการเงินของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อจัดทำ เป็นรายงาน ภาวะเศรษฐกิจทางการเงิน 2. กลุ่มงานมาตรฐานการสอบบัญชี ได้แก่ 2.1 ควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชีโดยการสอบทานและให้ความเห็นชอบในผลงานของผู้สอบบัญชีให้เป็น ไปตามมาตรฐานการสอบบัญชีและระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ 2.2 สอบทานความถูกต้องของการวางแผนการสอบบัญชี การปฏิบัติงานตรวจสอบการแสดงความเห็นต่อ งบการเงิน และการจัดทำ รายงานการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชี จากกระดาษทำ การ งบการเงินและการเปิดเผยข้อมูล รวมทั้ง รายงานการสอบบัญชี 2.3 สอบทาน วิเคราะห์ และประเมินผลการดำ เนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จากรายงาน การสอบบัญชี งบการเงินและกระดาษทำ การของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2.4 สรุปและแจ้งผลการวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงินเพื่อสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรนำ ไปใช้ประโยชน์ใน การบริหารจัดการ รายงานประจำ ปี 2566


3. กลุ่มงานชำ ระบัญชี ตรวจสอบบัญชีของผู้ชำ ระบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เลิก 4. กลุ่มงานเสริมสร้างความเข้มแข็ง ได้แก่ 4.1 การจัดประชุมสัมมนา นิเทศและเสริมสร้างความพร้อมของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อรองรับ การตรวจสอบบัญชีประจำ ปี 4.2 ให้ความรู้ด้านการเงิน การบัญชีแก่เกษตรกร ประชาชนทั่วไป รวมทั้งบุคลากรเครือข่าย ตามโครงการ เสริมสร้างภูมิปัญญาทางบัญชีแก่เกษตรกร 4.3 ให้ความรู้ด้านการจัดทำ บัญชีแก่กลุ่มอาชีพ วิสาหกิจชุมชน กลุ่มเป้าหมายตามโครงการอันเนื่องจาก พระราชดำ ริ และโครงการต่างๆ 5. งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นอกจากภารกิจหลักตามกฎหมายดังที่กล่าวข้างต้น สำ นักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ ยังมีงานสอนแนะ การจัดทำ บัญชีต้นทุนอาชีพให้กับเกษตรกรเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการบูรณาการกับ หน่วยงานต่าง ๆ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ดังนี้ 5.1 โครงการพัฒนากลุ่มอาชีพประชาชน 5.2 โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านบัญชีในพื้นที่ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน 5.3 โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 5.4 โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) รายงานประจำ ปี 2566


รายงานประจำปี2566 งบประมาณรายจ่ายภาพรวมในพื้นที่ประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2566


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ 2566 รายงานประจำ ปี 2566


1. งานสอบบัญชีประจำ ปี 1,005 แห่ง 2. งานตรวจแนะนำ การบัญชี 19 แห่ง 3. การควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชีสหกรณ์ - ภาครัฐ 115 แห่ง, ภาคเอกชน 11 แห่ง 4. ติดตามการเตรียมความพร้อมให้แก่สหกรณ์ – ภาคเอกชน 53 แห่ง 5. โครงการฝึกอบรมเศรฐกิจการเงินขั้นพื้นฐานแก่สมาชิกสหกรณ์ 175 ราย 6. โครงการส่งเสริมและพัฒนาสถาบันเกษตรกร 35 แห่ง 7. โครงการสร้างความเชื่อมั่นต่อการทำ ธุรกรรมทางการเงิน โดยสอบทานโดยตรงกับสมาชิก 1,130 ราย ผลการปฏิบัติงานในภาพรวม ปีงบประมาณ 2566 แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต: สหกรณ์และสถาบันเกษตรกรได้รับการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็ง หน่วย : แห่ง ภาพที่ 1 ผลการปฏิบัติงานสหกรณ์และสถาบันเกษตรกรได้รับการพัฒนาและเสริมสร้างความเข็มแข็ง แยกตามพื้นที่ จำ นวน 1,077 แห่ง รายงานประจำ ปี 2566


1. โครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร - อบรมการจัดทำ บัญชีกิจกรรมสหกรณ์/กำ กับ/ติดตาม 111 ราย - สอนแนะบัญชีต้นกล้า 300 ราย 2. โครงการพัฒนากลุ่มอาชีพประชาชน อบรม/ติดตามตรวจเยี่ยม 6 กลุ่ม/ 12 ราย 3. โครงการศิลปาชีพ - กลุ่มจัดทำ บัญชีไม่ได้ อบรมการจัดทำ บัญชีต้นทุนอาชีพ/กำ กับแนะนำ /ติดตามการจัดทำ บัญชี 72 ราย - กลุ่มจัดทำ บัญชีได้ สอนแนะการวิเคราะห์บัญชีต้นทุนอาชีพ/ติดตามการจัดทำ บัญชี 18 ราย 4. โครงการส่งเสริมการจัดทำ บัญชีแก่กลุ่มเป้าหมายตามพระราชดำ ริของในหลวง อบรมเกษตรกร /กำ กับ/ติดตาม 35 ราย 5. โครงการส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชนตามพระราชดำ ริ 26 ราย 6. โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ - จัดนิทรรศการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ 28 ครั้ง - จัดนิทรรศการจังหวัดเคลื่อนที่ 54 ครั้ง รายงานประจำ ปี 2566 ผลการปฏิบัติงานในภาพรวม ปีงบประมาณ 2566 (ต่อ) แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม โครงการส่งเสริมการดำ เนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดำ ริ หน่วย : ราย ภาพที่ 2 ผลการอบรม กำ กับ ติดตามโครงการส่งเสริมการดำ เนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดำ ริ แยกตามพื้นที่ จำ นวน 572 ราย


1. โครงการเสริมสร้างการจัดทำ บัญชีครัวเรือนเพื่อการจัดการเศรษฐกิจระดับครัวเรือน จำ นวน 3,926 ราย - อบรมครูบัญชี 96 ราย - อบรมเกษตรกร 3,830 ราย - ติดตามการจัดทำ บัญชี 2,683 ราย 2. โครงการส่งเสริมอาสาสมัครเกษตร - อบรมครูบัญชี 119 ราย - ติดตามนำ ความรู้ไปใช้ 119 ราย รายงานประจำ ปี 2566 ผลการปฏิบัติงานในภาพรวม ปีงบประมาณ 2566 (ต่อ) แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม (ต่อ) โครงการเสริมสร้างการจัดทำ บัญชีครัวเรือนเพื่อการจัดการเศรษฐกิจระดับครัวเรือน หน่วย : ราย ภาพที่ 3 ผลการอบรม กำ กับ ติดตามโครงการเสริมสร้างการจัดทำ บัญชีครัวเรือนเพื่อการจัดการเศรฐกิจระดับครัวเรือน


รายงานประจำ ปี 2566 ผลการปฏิบัติงานในภาพรวม ปีงบประมาณ 2566 (ต่อ) แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า หน่วย : ราย ภาพที่ 4 ผลการอบรมกำ กับติดตามแผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า จำ นวน 4,734 ราย โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ - อบรมครูบัญชี 59 ราย - อบรมการจัดทำ บัญชีต้นทุนอาชีพเกษตรกร 2,208 ราย - กำ กับ /แนะนำ /ติดตามจัดทำ บัญชี 1,556 ราย โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ - อบรมครูบัญชี 21 ราย - อบรมการจัดทำ บัญชี 927 ราย - กำ กับ /แนะนำ /ติดตามจัดทำ บัญชี 652 ราย โครงการพัฒนาเกษตรกรรมยั่งยืน (เกษตรอินทรีย์) - อบรมครูบัญชี 9 ราย - อบรมการจัดทำ บัญชีต้นทุนอาชีพเกษตรกร 364 ราย - กำ กับ /แนะนำ /ติดตามจัดทำ บัญชี 260 ราย โครงการพัฒนาเกษตรกรรมยั่งยืน (เกษตรผสมผสาน) - อบรมการจัดทำ บัญชีต้นทุนอาชีพเกษตรกร 120 ราย - กำ กับ /แนะนำ /ติดตามจัดทำ บัญชี 88 ราย


รายงานประจำ ปี 2566 โครงการบริหารจัดการการผลิตสินค้าเกษตร ตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) - อบรมครูบัญชี 9 ราย - อบรมการจัดทำ บัญชี 308 ราย - กำ กับ /ติดตามจัดทำ บัญชี 220 ราย โครงการยกระดับสถาบันเกษตรกร ให้เป็นผู้ประกอบการธุรกิจเกษตรและธุรกิจชุมชน - อบรม 6 แห่ง / 30 ราย แยกเป็น คณะกรรมการ 12 ราย ฝ่ายจัดการ 12 ราย และผู้ตรวจสอบกิจการ 6 ราย โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน - ศึกษาและประเมินความพร้อม 98 แห่ง - วางรูประบบบัญชีและวางระบบการควบคุมภายใน 98 แห่ง - สอนแนะการจัดทำ บัญชี 98 แห่ง 294 ครั้ง - อบรมคณะกรรมการวิสาหกิจชุมชน 98 แห่ง โครงการส่งเสริมและพัฒนาสถาบันเกษตรกร - อบรม 35 แห่ง / 175 ราย แยกเป็น เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบทำ บัญชี 70 ราย ฝ่ายจัดการ 35 ราย และผู้ตรวจสอบกิจการ 35 ราย โครงการส่งเสริมการแปรรูปสินค้าเกษตร - ศึกษาและประเมินความพร้อม 14 แห่ง - วางรูประบบบัญชีและวางระบบ การควบคุมภายใน 14 แห่ง - สอนแนะการจัดทำ บัญชี 14 แห่ง 42 ครั้ง


รายงานประจำ ปี 2566 1. โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) / การพัฒนาฐานเรียนรู้ด้านการบัญชี ประจำ ศูนย์ / การพัฒนาศักยภาพครูบัญชีประจำ ศูนย์ 108 ราย 2. โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินทำ กินเกษตรกร - ซักซ้อมครูบัญชี 2 ราย - อบรมการจัดทำ บัญชี 63 ราย - กำ กับแนะนำ 45 ราย ผลการปฏิบัติงานในภาพรวม ปีงบประมาณ 2566 (ต่อ) แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก หน่วย : ราย ภาพที่ 5 ผลการอบรม กำ กับ ติดตาม แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก แยกตามพื้นที่ จำ นวน 173 ราย


รายงานประจำ ปี 2566 ส่วนที่ 3 ข้อมูลของสถาบันเกษตรกรในพื้นที่


จ สภาพการดำเนินงาน ในปงบประมาณ 2566 สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณที่ 4 มีสหกรณที่ตองตรวจสอบ (รวมชุมนุมสหกรณ) และกลุมเกษตรกรทั้งสิ้น 1,060 แหง ประกอบดวย 3 กลุม คือ 1) สหกรณภาคการเกษตร (เกษตร ประมง นิคม) 371 แหง 2) สหกรณนอกภาคการเกษตร (รานคา บริการ ออมทรัพย เครดิตยูเนี่ยน) 158 แหง และ 3) กลุมเกษตรกร 531 แหง มีสมาชิกทั้งสิ้น 1,360,040 คน แยกเปน สหกรณภาคการเกษตร 1,046,863 คน สหกรณนอกภาค การเกษตร 247,268 คน และกลุมเกษตรกร 65,909 คน และมีทุนดำเนินงานทั้งสิ้น 260.24 พันลานบาท แยกเปน สหกรณภาคการเกษตร 41.28 พันลานบาท สหกรณนอกภาคการเกษตร 218.48 พันลานบาท และกลุมเกษตรกร 0.47 พันลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2565 รอยละ 3.89, เพิ่มขึ้นจากป 2564 รอยละ 4.33, เพิ่มขึ้นจากป 2563 รอยละ 1.29 และเพิ่มขึ้นจากป 2562 รอยละ 7.47 ภาพที่ 6 เปรียบเทียบทุนดำเนินงานระหวาง ป 2562 - 2566 หนวย : พันลานบาท สหกรณภาคการเกษตร อัตราเพิ่ม/ลดของทุนดำเนินงานสหกรณและกลุมเกษตรกร (รอยละ) ป 2562 ป 2563 ป 2564 ป 2565 ป 2566 สหกรณภาคการเกษตร 0.74 1.47 (1.81) 1.69 (0.12) สหกรณนอกภาคการเกษตร 6.01 8.84 1.96 4.85 3.90 กลุมเกษตรกร (2.17) 0.00 (8.71) 10.75 4.44


ฉ ภาพที่ 7 เปรียบเทียบจำนวน (แหง) ระหวางป 2562 – 2566 หนวย : แหง สหกรณภาคการเกษตร อัตราเพิ่ม/ลดของจำนวนสมาชิกสหกรณและกลุมเกษตรกร (รอยละ) ป 2562 ป 2563 ป 2564 ป 2565 ป 2566 สหกรณภาคการเกษตร (16.99) 1.93 (25.38) (2.28) (3.64) สหกรณนอกภาคการเกษตร (12.16) (4.10) (12.83) (0.61) (2.47) กลุมเกษตรกร (21.13) 2.80 (16.06) (1.08) (3.10) ภาพที่ 8 เปรียบเทียบสมาชิกระหวางป 2562 - 2566 หนวย : คน สหกรณภาคการเกษตร อัตราเพิ่ม/ลดของจำนวนสหกรณและกลุมเกษตรกร (รอยละ) ป 2562 ป 2563 ป 2564 ป 2565 ป 2566 สหกรณภาคการเกษตร (1.23) (1.11) (4.96) (0.60) (0.73) สหกรณนอกภาคการเกษตร (8.27) 5.30 (4.83) (0.60) 1.68 กลุมเกษตรกร (9.24) (12.93) (22.63) (1.95) (7.29)


ช การจัดการธุรกิจ ภาพที่ 9 มูลคาธุรกิจของสหกรณและกลุมเกษตรกร จำแนกตามประเภทธุรกิจ หนวย : พันลานบาท ใหบริการ จัดหาสินคามาจำหนาย รวบรวมและแปรรูปผลิตผล รับฝากเงิน สินเชื่อ ปริมาณธุรกิจหลัก 5 ดาน ของป 2562 รวมทั้งสิ้น 151.18 พันลานบาท ปริมาณธุรกิจหลัก 5 ดาน ของป 2563 รวมทั้งสิ้น 162.25 พันลานบาท ปริมาณธุรกิจหลัก 5 ดาน ของป 2564 รวมทั้งสิ้น 145.87 พันลานบาท ปริมาณธุรกิจหลัก 5 ดาน ของป 2565 รวมทั้งสิ้น 187.96 พันลานบาท ปริมาณธุรกิจหลัก 5 ดาน ของป 2566 รวมทั้งสิ้น 176.73 พันลานบาท สหกรณภาคการเกษตร อัตราเพิ่ม/ลดมูลคาธุรกิจของสหกรณและกลุมเกษตรกร (รอยละ) ป 2562 ป 2563 ป 2564 ป 2565 ป 2566 สหกรณภาคการเกษตร (9.04) 15.42 (4.77) 1.20 11.56 สหกรณนอกภาคการเกษตร (1.26) 5.21 (12.49) 37.48 (10.04) กลุมเกษตรกร 12.70 11.27 22.48 43.52 (7.36) ป 2562 ป 2563 ป 2564 ป 2565 ป 2566


ซ ผลการดำเนินงาน ภาพที่ 10 แผนภูมิวิเคราะหผลการดำเนินงานของสหกรณและกลุมเกษตรกร หนวย : พันลานบาท รายการ อัตราเพิ่ม/ลดผลการดำเนินงานของสหกรณและกลุมเกษตรกร (รอยละ) ผลการดำเนินงาน ป 2562 ป 2563 ป 2564 ป 2565 ป 2566 รายไดรวม : รอยละ 9.47 4.15 (4.66) 7.72 7.22 คาใชจายรวม : รอยละ 13.42 2.03 (7.04) 5.99 8.32 กำไรสุทธิ: รอยละ (2.34) 11.25 7.54 12.68 4.36


ฌ สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณที่ 4 ไดรวบรวมขอมูลทางการเงินจากผลการตรวจสอบบัญชีสหกรณ จำนวน 529 แหง และกลุมเกษตรกร จำนวน 531 แหง พรอมทั้งไดจัดทำสรุปภาวะเศรษฐกิจทางการเงินภาคสหกรณและ กลุมเกษตรกรที่อยูในพื้นที่ของสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณที่4 ผลการวิเคราะหสรุปไดดังนี้ สหกรณและกลุมเกษตรกร รวมทั้งสิ้น 1,060 แหง มีสมาชิก จำนวน 1,360,040 คน มีทุนดำเนินงานทั้งสิ้น 260.24 พันลานบาท และมีการดำเนินธุรกิจหลัก 5 ดาน รวมมูลคา 176.73 พันลานบาท สามารถสรางรายไดจำนวน ทั้งสิ้น 32.08 พันลานบาท ประกอบดวยสหกรณภาคการเกษตร 17.54 พันลานบาท สหกรณนอกภาคการเกษตร 13.54 พันลานบาท และกลุมเกษตรกร 1 พันลานบาท โดยมีคาใชจายรวมทั้งสิ้น 23.65 พันลานบาท ประกอบดวย สหกรณภาคการเกษตร 16.91 พันลานบาท สหกรณนอกภาคการเกษตร 5.74 พันลานบาท และกลุมเกษตรกร 0.99 พันลานบาท คาดวาแนวโนมป 2567 ภาวะเศรษฐกิจภาคสหกรณและกลุมเกษตรกรของสำนักงานตรวจบัญชี สหกรณที่ 4 จะยังคงเดินหนาตอเนื่องจากป 2566 ไปในทิศทางที่ดีขึ้น


ญ มิติที่ 1 ความเพียงพอของเงินทุนตอความเสี่ยง (Capital Strength) ทุนดำเนินงานของสหกรณและกลุมเกษตรกรทั้งสิ้น 260.24 พันลานบาท แยกเปนของสหกรณภาคการเกษตร จำนวน 41.28 พันลานบาท หรือรอยละ 15.86 สหกรณนอกภาคเกษตร จำนวน 218.48 พันลานบาท หรือรอยละ 83.96 และกลุมเกษตรกร จำนวน 0.47 พันลานบาท หรือรอยละ 0.18 ทุนดำเนินงานสวนใหญเปนทุนของสหกรณ และกลุมเกษตรกรเอง จำนวน 115.15 พันลานบาท หรือรอยละ 48.25 รองลงมาเปนหนี้สิน จำนวน 73.69 พันลานบาท หรือรอยละ 30.88 หากพิจารณาเงินทุนโดยรวมมีสัดสวนหนี้สินทั้งสิ้นตอทุนของสหกรณ 1.26 เทา โดยสหกรณ ภาคเกษตรมีหนี้สินทั้งสิ้นตอทุนของสหกรณ 2.69 เทา สหกรณนอกภาคการเกษตร 1.11 เทา และกลุมเกษตรกร 1.51 เทา หากพิจารณาขอมูลป 2566 จะเห็นไดวาเงินทุนของสหกรณและกลุมเกษตรกรโดยรวมยังไมสามารถรองรับ หนี้สินไดทั้งหมด เจาหนี้มีความเสี่ยง สหกรณควรหาแนวทางใหสมาชิกสะสมทุนเรือนหุนและทุนสำรองเพิ่มขึ้นและ บริหารจัดการสินทรัพยใหมีประสิทธิภาพเพื่อสรางรายไดรองรับ ความเสี่ยงตอไป สัดสวนหนี้สินตอทุนของสหกรณ ป 2566, 2565, 2564, 2563, และ 2562 มีอัตราสวนหนี้สิน ตอทุน 1.26 เทา 1.29 เทา 1.31 เทา 1.38 เทา และ 1.48 เทา ตามลำดับ แหลงเงินทุนของสหกรณและกลุมเกษตรกร ภาพที่ 11 แผนภูมิแหลงเงินทุนของสหกรณและกลุมเกษตรกร หนวย : พันลานบาท ประเภท อัตราเพิ่ม/ลดของแหลงเงินทุน (รอยละ) ป 2562 ป 2563 ป 2564 ป 2565 ป 2566 ทุนของสหกรณและกลุมเกษตรกร 7.52 9.66 4.31 5.30 4.49 เงินรับฝาก 8.96 3.64 14.62 (13.19) 0.15 เงินกูยืม / เจาหนี้ (0.78) (0.29) (8.99) (3.74) (4.14) อื่น ๆ 75.81 (31.96) (6.62) (5.50) (1.15)


ฎ มิติที่ 2 คุณภาพสินทรัพย (Asset Quality) สินทรัพยรวมของสหกรณและกลุมเกษตรกร จำนวน 260.24 พันลานบาท แยกเปนของสหกรณ ภาคการเกษตร จำนวน 41.28 พันลานบาท หรือรอยละ 15.86 สหกรณนอกภาคเกษตร จำนวน 218.48 พันลานบาท หรือรอยละ 83.96 และกลุมเกษตรกร จำนวน 0.47 พันลานบาท หรือรอยละ 0.18 สินทรัพยรวมสวนใหญอยูในรูป ของลูกหนี้และดอกเบี้ยคาง จำนวน 241.73 พันลานบาท คิดเปนรอยละ 92.89 ของสินทรัพยทั้งสิ้น รองลงมาเปน เงินสด/เงินฝากธนาคาร/เงินฝากสหกรณอื่น จำนวน 11.39 พันลานบาท คิดเปนรอยละ 4.38 จะเห็นวาคุณภาพของ สินทรัพยขึ้นอยูกับการบริหารลูกหนี้ใหสามารถชำระหนี้ไดตามกำหนด อยางไรก็ตามสินทรัพยสวนใหญมีคุณภาพสราง รายไดและใหผลตอบแทนตอการใชสินทรัพย ป 2566 รอยละ 3.29, ป 2565 รอยละ 3.27, ป 2564 รอยละ 2.99, ป 2563 รอยละ 3.03 และ ป 2562 รอยละ 2.88 ซึ่งมีแนวโนมอัตราผลตอบแทนตอการใชสินทรัพยเพิ่มขึ้น สินทรัพยของสหกรณและกลุมเกษตรกร ภาพที่ 12 แผนภูมิแสดงสินทรัพยของสหกรณและกลุมเกษตรกร หนวย : พันลานบาท ประเภท อัตราเพิ่ม/ลดของสินทรัพย (รอยละ) ป 2562 ป 2563 ป 2564 ป 2565 ป 2566 เงินสด/เงินฝากธนาคาร/สก.อ่นื (2.79) 13.72 0.06 0.99 (0.50) ลูกหนี้/ดอกเบี้ยคางรับ-สุทธิ 5.69 7.92 1.16 3.50 3.77 ที่ดิน อาคารและอปุกรณ 8.38 4.01 (0.06) 0.001 (0.038) เงินลงทุน 1.43 7.61 (0.05) 0.01 0.03 อื่น ๆ 74.01 (27.72) (0.22) (0.18) (0.01)


ฏ มิติที่ 3 ความสามารถในการบริหารจัดการ (Management Ability) สหกรณและกลุมเกษตรกรดำเนินธุรกิจหลักที่สำคัญ 5 ดาน ไดแก ธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจจัดหาสินคามาจำหนาย ธุรกิจรวบรวมผลิตผลและแปรรูปผลิตผล ธุรกิจใหบริการ ธุรกิจรับฝากเงิน มูลคาธุรกิจ จำนวน 176.73 พันลานบาท เฉลี่ยเดือนละ 14.73 พันลานบาท โดยธุรกิจสินเชื่อมีมูลคาธุรกิจสูงสุด จำนวน 115.40 พันลานบาท คิดเปนรอยละ 65.30 รองลงมา คือ ธุรกิจรับฝากเงิน จำนวน 46.59 พันลานบาท คิดเปนรอยละ 26.36 ธุรกิจรวบรวมผลิตผลและ แปรรปูผลิตผล จำนวน 9.74 พันลานบาท คดิเปนรอยละ 5.51 ธุรกิจจัดหาสินคามาจำหนาย จำนวน 4.96 พันลานบาท คิดเปนรอยละ 2.81 และธุรกิจใหบริการ จำนวน 0.03 พันลานบาท คิดเปนรอยละ 0.02 การดำเนินธุรกิจสวนใหญ ลดลงจากป 2565 รอยละ 5.98, ป 2565 เพิ่มขึ้นจากป 2564 รอยละ 28.86, ป 2564 ลดลงจากป 2563 รอยละ 10.10, ป 2563 เพิ่มขึ้นจากป 2562 รอยละ 7.32 และ ป 2562 ลดลงจากป 2561 รอยละ 2.89 ธุรกิจของสหกรณและกลุมเกษตรกร ภาพที่ 13 แผนภูมิแสดงธุรกิจของสหกรณและกลุมเกษตรกร หนวย : พันลานบาท สหกรณภาคการเกษตร อัตรา เพิ่ม/ลดของธุรกิจ (รอยละ) ป 2562 ป 2563 ป 2564 ป 2565 ป 2566 สินเชื่อ (5.62) 6.89 (9.87) 25.07 (7.66) รับฝากเงิน 3.23 10.57 0.55 2.74 0.59 จัดหาสินคามาจำหนาย (1.91) (3.41) (0.30) 0.47 0.42 รวบรวมผลิตผลและแปรรูปผลิตผล 6.42 2.96 (0.44) 0.57 0.67 ใหบริการ 25.00 100 (0.04) 0.005 (0.003)


ฐ ธุรกิจใหเงินกูยมื (สินเชื่อ) ป 2566 มียอดใหเงินกูยืมรวมทั้งสิ้น จำนวน 115.40 พันลานบาท คิดเปนรอยละ 65.30 ของมูลคาธุรกิจรวม ทั้งสิ้น แยกเปนสหกรณนอกภาคการเกษตรจำนวน 96.91 พันลานบาท สหกรณภาคการเกษตร จำนวน 18.18 พันลานบาท และกลุมเกษตรกร จำนวน 0.31 พันลานบาท ซึ่งสหกรณนอกภาคการเกษตร มีมูลคาธุรกิจสินเชื่อสูงสุด รอยละ 83.98 ลดลงจากป 2565 รอยละ 11.09 ป 2565 เพิ่มขึ้นจากป 2564 รอยละ 25.07 ป 2564 ลดลง จากป 2563 รอยละ 9.87 ป 2563 เพิ่มขึ้นจากป 2562 รอยละ 6.89 และ ป 2562 ลดลงจากป 2561 รอยละ 5.62 ธุรกิจรับฝากเงิน ป 2566 มียอดเงินรับฝากรวมทั้งสิ้น จำนวน 46.59 พันลานบาท คิดเปนรอยละ 26.36 ของมูลคาธุรกิจ รวมทั้งสิ้น แยกเปนสหกรณนอกภาคการเกษตร จำนวน 39.13 พันลานบาท สหกรณภาคการเกษตร จำนวน 7.45 พันลานบาท และกลุมเกษตรกร จำนวน 0.01 พันลานบาท ซึ่งสหกรณนอกภาคการเกษตรมีปริมาณธุรกิจสูงสุด รอยละ 83.99 เพิ่มขึ้นจากป 2565 รอยละ 2.45 ป 2565 เพิ่มขึ้นจากป 2564 รอยละ 2.36 ป 2564 เพิ่มขึ้นจาก ป 2563 รอยละ 0.72 ป 2563 เพิ่มขึ้นจาก ป 2562 รอยละ 10.57 และ ป 2562 เพิ่มขึ้นจากป 2561 รอยละ 3.24 ธุรกิจรวบรวมผลิตผลและแปรรูปผลิตผล ป 2566 มียอดรวบรวมผลิตผลและแปรรูปผลิตผลรวมทั้งสิ้น จำนวน 9.74 พันลานบาท คิดเปนรอยละ 5.51 ของมูลคาธุรกิจรวมทั้งสิ้น แยกเปนสหกรณภาคการเกษตร จำนวน 8.86 พันลานบาท กลุมเกษตรกร จำนวน 0.88 พันลานบาท และสหกรณนอกภาคการเกษตร จำนวน 0.01 พันลานบาท ซึ่งสหกรณภาคการเกษตรมีปริมาณธุรกิจ สูงสุด รอยละ 90.92 เพิ่มขึ้นจากป 2565 รอยละ 14.96 ป 2565 เพิ่มขึ้นจากป 2564 รอยละ 3.80 ป 2564 ลดลงจาก ป 2563 รอยละ 2.90 ป 2563 เพิ่มขึ้นจากป 2562 รอยละ 2.96 และ ป 2562 เพิ่มขึ้นจากป 2561 รอยละ 6.50 ธุรกิจจดัหาสินคามาจำหนาย ป 2566 มียอดจัดหาสินคามาจำหนายรวมทั้งสิ้น จำนวน 4.96 พันลานบาท คิดเปนรอยละ 2.81 ของมูลคา ธุรกิจรวมทั้งสิ้น แยกเปนสหกรณภาคการเกษตร จำนวน 4.78 พันลานบาท กลุมเกษตรกร จำนวน 0.07 พันลานบาท และสหกรณนอกภาคการเกษตร จำนวน 0.11 พันลานบาท ซึ่งสหกรณภาคการเกษตรมีปริมาณธุรกิจสูงสุด รอยละ 96.40 เพิ่มขึ้นจากป 2565 รอยละ 18.76 ป 2565 เพิ่มขึ้นจากป 2564 รอยละ 0.86 ป 2564 ลดลงจากป 2563 รอยละ 0.77 ป 2563 ลดลงจากป 2562 รอยละ 3.40 และ ป 2562 ลดลงจากป 2561 รอยละ 1.83 ธุรกิจการใหบริการ ป 2566 มียอดการใหบริการรวมทั้งสิ้น จำนวน 0.03 พันลานบาท คิดเปนรอยละ 0.02 ของมูลคาธุรกิจ รวมทั้งสิ้น แยกเปนสหกรณภาคการเกษตร จำนวน 0.03 ลานบาท สหกรณนอกภาคการเกษตร จำนวน 0.004 พันลานบาท และกลุมเกษตรกร จำนวน 0.0001 พันลานบาท ซึ่งสหกรณภาคการเกษตรมีปริมาณธุรกิจสูงสุด รอยละ 88.24 ลดลงจากป 2565 รอยละ 15.24 ป 2565 เพิ่มขึ้นจากป 2564 รอยละ 6.33 ป 2564 ลดลงจาก ป 2563 รอยละ 8.90 ป 2563 เพิ่มขึ้นจากป 2562 รอยละ 100 และ ป 2562 เพิ่มขึ้นจากป 2561 รอยละ 9.34


ฑ มิติที่ 4 ความสามารถในการทำกำไร (Earning) ผลตอบแทนจากการดำเนินธุรกิจหลักที่สำคัญ 5 ดาน ตามที่กลาวในมิติที่ 3 สหกรณและกลุมเกษตรกร มีความสามารถในการบริหารจัดการป 2566 กอใหเกิดกำไรสุทธิรวมทั้งสิ้น จำนวน 8.43 พันลานบาท โดยมีรายได รวมทั้งสิ้น จำนวน 32.08 พันลานบาท และมีคาใชจายรวมทั้งสิ้น จำนวน 23.65 พันลานบาท สงผลใหมีกำไร ตอสมาชิกเฉลี่ย จำนวน 32,268.63 บาท/คน แยกเปนสมาชิกสหกรณภาคการเกษตรมีกำไรเฉลี่ยตอคน 596.32 บาท สหกรณนอกภาคการเกษตรมีกำไรเฉลี่ยตอคน 31,544.18 บาท และกลุมเกษตรกรมีกำไรเฉลี่ยตอคน 128.13 บาท กำไรสุทธิเพิ่มขึ้นจากป 2565 รอยละ 4.36 ป 2565 เพิ่มขึ้นจากป 2564 รอยละ 12.68 ป 2564 เพิ่มขึ้นจากป 2563 รอยละ 7.54 ป 2563 เพิ่มขึ้นจากป 2562 รอยละ 11.52 และ ป 2562 ลดลงจากป 2561 รอยละ 2.34 จะเห็นวา ความสามารถในการทำกำไรของสหกรณและกลุมเกษตรกรมีแนวโนมที่ดีขึ้น อาจเนื่องจากนโยบายการกระตุน เศรษฐกิจของทางรัฐบาล และสถานการณโรคโควิด 19 ไดคลี่คลายลง ความสามารถในการทำกำไรของสหกรณและกลุมเกษตรกร ภาพที่ 14 แผนภูมิแสดงความสามารถในการทำกำไรของสหกรณและกลุมเกษตรกร หนวย : พันลานบาท รายการ อัตรา เพิ่ม/ลดของความสามารถในการทำกำไร (รอยละ) ป 2562 ป 2563 ป 2564 ป 2565 ป 2566 รายไดทั้งสิ้น : รอยละ 9.47 4.15 (4.66) 7.72 7.22 คาใชจายทั้งสิ้น : รอยละ 13.42 2.03 (7.04) 5.99 8.32 กำไรสุทธิ: รอยละ (2.34) 11.25 7.54 12.68 4.36


Click to View FlipBook Version