The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มาตรการรักษาความปลอดภัยของนักเรียนในสถา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tangmomidorioneone, 2022-03-23 03:35:25

มาตรการรักษาความปลอดภัยของนักเรียนในสถา

มาตรการรักษาความปลอดภัยของนักเรียนในสถา

มาตรการรักษาความปลอดภัยของนกั เรียนในสถานศึกษา

ของโรงเรียนภเู ก็ตปญั ญานุกลู
*******************

1. นโยบายและการวางแผนการรักษาความปลอดภยั ของโรงเรียนภเู ก็ตปัญญานกุ ลู

นักเรียน คือ หัวใจของการจัดการศึกษา โรงเรียนภูเก็ตปัญญานุกูล มีความตระหนักใน
ความสำคัญ และเล็งเห็นความจำเป็นเร่งด่วนที่ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย จะต้องร่วมกันหาแนวทางที่เป็น
รูปธรรม ในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้ไดเ้ รียนรู้อยา่ งมีความสขุ เป็นไปตามหลักสูตร มีทักษะชีวิตที่จะดูแล
ตนเองให้ปลอดภัยท่ามกลางสภาพแวดล้อมทางสังคม อุบัติเหตุ และอุบัติภัย ที่จะก่อให้เกิดความเสียหายแก่
นักเรียน ดังนั้นโรงเรียนฉะเชิงเทราปัญญานุกูล ซึ่งมีภารกิจและความรับผิดชอบในการจัดการศึกษา ต้อง
ดำเนินการอย่างทว่ั ถงึ มคี ุณภาพ และพัฒนาสู่ความเปน็ เลศิ ตามมาตรฐานสากล

1) เปา้ ประสงค์
(1) เพอื่ ใหม้ ีรปู แบบแนวทางการรักษาความปลอดภัยของโรงเรียนด้านอุบตั ิเหตุ ด้านอุบัติภัย

และด้านปัญหาทางสังคม โดยอาศัยแนวคิดเชิงสร้างสรรค์ภายใต้หลักการกระจายอำนาจ การมีส่วนร่วม และ
ยึดประโยชน์สงู สดุ ของนกั เรยี นเป็นสำคัญ

(2) เพื่อสร้างความเข้มแข็งระบบการรักษาความปลอดภัยของโรงเรียน ให้มีความพร้อม
สามารถป้องกนั และแก้ไขสถานการณป์ ัญหาของนักเรียน ทง้ั ด้านอบุ ัติเหตุ อุบตั ิภยั และปัญหาทางสังคมท่ีจะ
เกดิ ขึ้นกบั นักเรยี นอย่างมีประสทิ ธิภาพ

(3) เพ่ือให้นักเรียนทุกคนได้รับการปกป้อง และคุ้มครองความปลอดภัย ทงั้ ด้านร่างกาย และ
จิตใจ โดยนกั เรียนจะไดร้ ับการดูแลอยา่ งใกลช้ ดิ และสามารถอยู่ในสังคมได้อยา่ งปลอดภยั และมคี วามสขุ

(4) เพ่ือสรา้ งความตระหนกั ในการรักษาความปลอดภยั ของโรงเรียน โดยการให้ความรู้ ความ
เขา้ ใจ แก่ผทู้ รี่ บั ผิดชอบ และผูท้ ่ีมีส่วนเกี่ยวข้องกบั การรักษาความปลอดภัยในโรงเรียน

2) เป้าหมาย
(1) นกั เรยี นทกุ คนในโรงเรียนไดร้ ับการคุ้มครองดูแลความปลอดภัย
(2) ผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองนักเรียนมี

แนวทางในการป้องกันและรกั ษาความปลอดภัยนักเรยี น
(3) เครอื ขา่ ยหนว่ ยงานภาครัฐและเอกชน มีสว่ นรว่ มในการดแู ลความปลอดภยั ใหแ้ ก่นักเรียน

3) ยุทธศาสตร์
(1) โรงเรียนจัดระบบการรักษาความปลอดภัยของนักเรียน โดยการมีส่วนร่วมของ ครู

ผูป้ กครอง และเครือข่ายทัง้ ภาครฐั และเอกชนอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
(2) กำหนดมาตรการรกั ษาความปลอดภยั ของนักเรียน
(3) มกี ารกำกบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผลและรายงาน

2. การวางแผนรกั ษาความปลอดภัยของโรงเรียนภเู ก็ตปัญญานกุ ลู

แนวทางการวางแผนการรักษาความปลอดภัยให้แก่นักเรียน เน้นการมีส่วนร่วมระหว่างนักเรียน ครู
ผู้ปกครอง ชุมชน และเครือข่าย โดยร่วมกันวางแผนป้องกัน แก้ไข ควบคุม กำกับ ติดตาม ประเมินผลและ
รายงาน จึงจำเป็นต้องมีมาตรการและกิจกรรมเพื่อให้รับประโยชน์สูงสุดตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2545 และพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก
พ.ศ.2546 พรอ้ มทง้ั นโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ดงั น้ี

ขน้ั ตอน ภารกิจ

1.ศึกษาสภาพท่ัวไป ศึกษาสภาพทั่วไปของโรงเรียน ชุมชน ความเข้มแข็งของเครือข่ายเพื่อ
วเิ คราะหค์ วามเสีย่ งจากการเกิดอุบตั เิ หตุ อบุ ตั ิภัย และภยั จากสภาพแวดลอ้ ม

2.กำหนดมาตรการหลกั กำหนดมาตรการหลกั เพอ่ื ป้องกัน และ/หรือ แกไ้ ข

3.กำหนดมาตรการเสริม กำหนดมาตรการเสริมให้เหมาะสมกับความเชื่อ วัฒนธรรมและประเพณีของ
ท้องถิน่ และสภาพความเสี่ยงของทอ้ งถ่ิน

4.กำหนดกิจกรรม กำหนดกิจกรรมสนับสนุนมาตรการหลกั และมาตรการเสริม

5.กำหนดเวลาและผูร้ บั ผดิ ชอบ กำหนดเวลาและผู้รับผดิ ชอบอย่างชดั เจน และสามารถปฏิบตั ิได้

3. มาตรการป้องกนั และแก้ไขอบุ ัตเิ หตุ อบุ ตั ภิ ัย และปัญหาทางสังคม

สาเหตุ มาตรการปอ้ งกันและแก้ไข ผู้รับผิดชอบ

ดา้ นการปอ้ งกนั และแก้ไข 1.ผู้บรหิ าร
อุบัติเหตุ
1. อบุ ัติเหตุจากอาคาร 1.ตรวจสอบโครงสร้างและส่วนประกอบอาคารอย่างสม่ำเสมอ โรงเรยี น
เรียนอาคารประกอบ
2.แต่งตง้ั บคุ ลากรในการดูแลรักษาอาคารสถานที่ 2.ครปู ระจำชั้น
2. อุบตั ิเหตจุ ากบริเวณ
สถานศกึ ษา 3.สร้างความตระหนักและให้ความรู้การรักษาความปลอดภัย 3.นักการภารโรง

แก่นักเรยี น 4.ผ้ปู กครอง

4.จดั ทำปา้ ยข้อควรระวงั ดา้ นความปลอดภยั ในจดุ อันตราย 5.ชมุ ชน

5.ซ่อมแซมสว่ นประกอบอาคารใหอ้ ยูใ่ นสภาพทป่ี ลอดภยั

6.จัดให้มีแผนการป้องกันและการเคลื่อนย้ายกรณีเกิดเหตุ

ฉุกเฉิน

1.แต่งตัง้ ครเู วรประจำวันคอยควบคุม กำกบั ตดิ ตามดูแล 1.ผ้บู รหิ าร

การรักษาความปลอดภยั ตลอดทัง้ วัน โรงเรียน

2.จัดใหม้ ผี ้รู ับผิดชอบปฐมพยาบาลเบือ้ งต้น และนำส่ง 2.ครูเวรประจำวัน

สถานพยาบาล 3.ครูอนามัย

3.หลกี เลีย่ งการจดั กจิ กรรมท่เี ก่ียวข้องกบั การปีนตน้ ไม้ โรงเรียน

4.จัดให้มีเจ้าหน้าทีต่ ัดแต่งกิ่งไม้ใหอ้ ย่ใู นสภาพที่ปลอดภัยเสมอ 4.นกั การภารโรง

5.จัดใหป้ ้ายคำเตอื นเพ่ือหลีกเล่ยี งการเกิดอบุ ัตเิ หตุ 5.เจา้ หน้าทส่ี ถานี

6.จัดให้มีความรู้และแนวทางปฏิบัติแก่นักเรียนในกรณีที่พบ อนามัยบ้าน

วตั ถุ สงิ่ แปลกปลอม ซง่ึ อาจเป็นวัตถุระเบิดหรอื วัตถุอันตราย นำ้ ดบิ

7.ตดิ ตงั้ ไฟฟ้าส่องสว่าง 6.นกั เรยี น

8.จดั ใหม้ ีระบบการขออนญุ าตออกนอกสถานศึกษา 7.ผปู้ กครอง

9.จัดใหม้ ีการบำรุงดูแลรักษาความสะอาดโดยรอบสมำ่ เสมอ

10.จดั ใหม้ ถี งั ขยะแยะประเภทเพอ่ื สะดวกในการจดั เก็บและ

ทำลาย

11.หลีกเลีย่ งการจัดซื้ออุปกรณ์กฬี าหรือเครื่องเล่นท่ีอาจ

ก่อใหเ้ กดิ อนั ตรายไดง้ า่ ย

สาเหตุ มาตรการปอ้ งกนั และแกไ้ ข ผู้รบั ผิดชอบ
3. อบุ ัติเหตจุ าก 1.ผบู้ ริหาร
สภาพแวดล้อมของ 1.มีการสำรวจสภาพปญั หาดา้ นส่ิงแวดล้อม มลภาวะใน
สถานศึกษา สถานศกึ ษาและชมุ ชน เพอ่ื หาแนวทางแก้ไข โรงเรียน
2.ครู
4. อบุ ตั ิเหตุจากเครอ่ื งมือ 2.แต่งตัง้ คณะกรรมการ โดยใชช้ มุ ชนและองคก์ รปกครองสว่ น 3.นกั เรยี น
เคร่อื งใช้ และอุปกรณ์ ท้องถ่นิ มสี ่วนร่วมในการหาแนวทางปอ้ งกนั และแก้ไข 4.ผปู้ กครอง
ตา่ ง ๆ 5.ชุมชน
3.ประสานงานกับหนว่ ยงานอนื่
5. อบุ ตั ิเหตุจากการ 4.จัดกจิ กรรมสรา้ งจติ สำนึกและความตระหนักตอ่ ปญั หา 1.ผู้บรหิ าร
เดนิ ทาง ไป-กลับ ระหว่าง โรงเรยี น
บา้ น และสถานศึกษา สิง่ แวดลอ้ มให้กบั นกั เรยี น บคุ ลากรในสถานศึกษาและชุมชน
1.ตรวจสอบเครอื่ งมอื เคร่ืองใช้ และอปุ กรณต์ า่ ง ๆ 2.ครู
3.นักการภารโรง
ก่อนใชท้ ุกครัง้ 4.นักเรยี น
2.หา้ มใชเ้ ครอ่ื งมอื เครื่องใช้ และอุปกรณต์ า่ ง ๆทีช่ ำรุด 5.ผปู้ กครอง
3.แนะนำ สาธิต และควบคมุ การใช้อยา่ งถกู วิธีตามประเภทของ 6.ชมุ ชน

อุปกรณ์ 1.ผ้บู รหิ าร
4.จดั เกบ็ เครื่องมอื เครือ่ งใช้ อปุ กรณ์ในทเี่ กบ็ ทุกคร้ังอยา่ งเปน็ โรงเรยี น

ระเบยี บปลอดภัย 2.ครู
5.กำกับ ดูแลนักเรียนในการใชเ้ คร่ืองมือ เครือ่ งใช้ อปุ กรณ์ให้ 3.นกั การภารโรง
4.นักเรียน
ถูกตอ้ งเหมาะกบั ประเภทกิจกรรม 5.ผู้ปกครอง
1.สถานศกึ ษา ผูป้ กครอง และชุมชน รว่ มมอื กันกำหนดมาตรการ 6.ชมุ ชน

รบั -สง่ นักเรียนตอนเชา้ และเลกิ เรียน
2.กำกบั ดูแลนกั เรยี นท่ีใชจ้ กั รยานให้ชดิ ทางซา้ ยและเปน็ แถว
3.จดั ครเู วรประจำวันตรวจเชค็ นกั เรยี นท่มี ผี ู้ปกครองมารับ
4.แนะนำการเดินแถวกลบั บ้านและให้พี่ดูแลน้อง
5.ทำกิจกรรมเกย่ี วกับการฝึกปฏบิ ัติตามกฎจราจร
6.จัดครูเวรและนกั เรียนคอยรบั -ส่งนักเรยี นท่ปี ระตูเขา้ ออก

สาเหตุ มาตรการป้องกนั และแก้ไข ผรู้ บั ผดิ ชอบ
6. อบุ ตั เิ หตุจากการพา 1.ศึกษาและปฏิบัตติ ามระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการ 1.ผูบ้ ริหาร
นักเรยี นไปศึกษานอก พานักเรียนไปศกึ ษานอกสถานศกึ ษาโดยเครง่ ครดั
สถานศกึ ษา 2.เตรียมการและวางแผนการดำเนินการอย่างชดั เจน โรงเรียน
3.จัดทำประวัตินักเรียนท่ีรว่ มเดินทาง 2.ครูประจำชั้น
7. อุบัตเิ หตุจากการนำ 4.จดั ครคู อยควบคุม ดแู ลให้อยู่ในระเบยี บวนิ ัย 3.นักการภารโรง
นกั เรยี นร่วมกิจกรรม 5.จัดใหม้ ปี า้ ยช่อื แสดงรายละเอียดนักเรยี น 4.ผูป้ กครอง
สำคัญ 6.จัดใหม้ เี วชภัณฑท์ ่ีจำเปน็ ในการปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน้ 5.ชมุ ชน
7.ควบคมุ ดูแลการซ้ืออาหารรบั ประทาน 6.นกั เรยี น
ด้านการปอ้ งกันและแกไ้ ข 8.หากมกี ารใช้พาหนะรถยนต์ต้องแต่งตั้งเจา้ หนา้ ท่ตี รวจสภาพ
อุบัตภิ ัย 1.ผู้บริหาร
1. อัคคีภัย รถยนต์ และตรวจประวัติคนขับเพื่อความปลอดภยั โรงเรยี น
1. หลกี เลย่ี งกิจกรรมทมี่ ีความเส่ียงต่อการเกิดอันตราย
2.จดั ระบบดูแลความปลอดภัยอย่างใกล้ชดิ 2.ครูประจำชนั้
3.ให้ความรู้นกั เรยี นในการรว่ มกิจกรรมอย่างปลอดภยั ทุกครงั้ 3.นักการภารโรง
4.จัดครูคอยควบคมุ ดูแลให้อย่ใู นระเบยี บวนิ ยั ทกุ ครัง้ 4.ผู้ปกครอง
5.ตรวจดูความเหมาะสมของสถานที่ทีป่ ลอดภยั 5.ชมุ ชน
6.ประสานงานเจ้าหน้าด้านการรกั ษาความปลอดภัยท้องถนน 6.เจา้ หน้าที่ตำรวจ
7.จัดเตรยี มหนว่ ยปฐมพยาบาลเบ้อื งตน้ ทุกคร้งั 7.นกั เรียน
8.หากมกี ารใช้พาหนะรถยนตต์ ้องแต่งตั้งเจ้าหนา้ ท่ีตรวจสภาพ
1.ผู้บรหิ าร
รถยนต์ และตรวจประวตั ิคนขบั เพอ่ื ความปลอดภัย โรงเรยี น

1.แตง่ ตัง้ กรรมการรบั ผิดชอบตรวจสอบอปุ กรณ์อย่างสม่ำเสมอ 2.ครปู ระจำชัน้
2.ให้ความรูน้ ักเรยี นเก่ียวกับการดบั ไฟ หนไี ฟ 3.นกั การภารโรง
3.จดั ใหม้ เี จา้ หน้าท่อี ย่เู วรรกั ษาสถานที่ราชการอย่างเคร่งครดั 4.ผู้ปกครอง
4.วางแผนรบั สถานการณ์ไว้ลว่ งหน้า 5.ชมุ ชน
5.จัดแหลง่ ขอ้ มลู ทส่ี ามารถติดตอ่ ขอความชว่ ยเหลอื ไว้ลว่ งหนา้ 6.เจา้ หน้าทตี่ ำรวจ
6.ขจดั ส่ิงรกรงุ รังในบรเิ วณสถานศึกษา อาคารและหอ้ งตา่ ง ๆ 7.นักเรียน
7.รายงานตน้ สงั กดั ทนั ที

สาเหตุ มาตรการปอ้ งกนั และแกไ้ ข ผ้รู บั ผิดชอบ
2. วาตภยั
1.ใหค้ วามรใู้ นการปฏิบตั ิตนแกน่ ักเรียนให้พ้นจากอันตราย 1.ผู้บริหาร
3. อทุ กภัย 2.จัดให้มกี ารอยเู่ วรรกั ษาสถานที่ราชการ โรงเรียน
3.ตรวจสอบสภาพอาคารต่าง ๆอยา่ งสมำ่ เสมอ
4. ธรณพี บิ ัตภิ ยั 4.ตัดแตง่ กงิ่ ไม้ท่อี ยูใ่ กลอ้ าคาร 2.ครูประจำชน้ั
5.ตดิ ตามข่าวพยากรณอ์ ากาศสม่ำเสมอ 3.นกั การภารโรง
6.จดั ให้มีเวชภัณฑ์ท่ีจำเปน็ ในการปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน้ 4.ผู้ปกครอง
7.จัดให้มีเครอื ขา่ ยองค์กรภาครฐั เอกชนเพอ่ื สามารถติดต่อขอ 5.ชุมชน
6.นกั เรียน
ความช่วยเหลือทันที
1.ให้ความรู้ในการปฏิบตั ิตนแกน่ กั เรียนใหพ้ ้นจากอันตราย 1.ผู้บริหาร
2.จดั ใหม้ กี ารอยเู่ วรรกั ษาสถานทร่ี าชการ โรงเรียน
3.ตรวจสอบสภาพอาคารตา่ ง ๆอยา่ งสมำ่ เสมอ
4.ตดิ ตามขา่ วพยากรณอ์ ากาศสม่ำเสมอ 2.ครปู ระจำชัน้
5.จัดให้มีเวชภัณฑท์ ีจ่ ำเป็นในการปฐมพยาบาลเบ้อื งตน้ 3.นกั การภารโรง
6.จัดใหม้ ีเครือขา่ ยองค์กรภาครฐั เอกชนเพ่อื สามารถติดต่อขอ 4.ผู้ปกครอง
5.ชมุ ชน
ความชว่ ยเหลอื ทันที 6.นกั เรียน
1.ใหค้ วามรใู้ นการปฏบิ ัติตนแกน่ ักเรียนให้พ้นจากอนั ตราย 1.ผ้บู รหิ าร
2.จดั ใหม้ กี ารอยู่เวรรักษาสถานที่ราชการ
3.ตรวจสอบสภาพอาคารตา่ ง ๆอยา่ งสมำ่ เสมอ โรงเรยี น
4.ตดั แต่งกิ่งไมท้ อ่ี ยใู่ กลอ้ าคาร 2.ครปู ระจำชั้น
5.ติดตามข่าวพยากรณ์อากาศสม่ำเสมอ 3.นกั การภารโรง
6.จดั ให้มเี วชภัณฑ์ท่จี ำเป็นในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น 4.ผปู้ กครอง
7.จดั ใหม้ เี ครอื ข่ายองคก์ รภาครฐั เอกชนเพ่อื สามารถตดิ ตอ่ ขอ 5.ชมุ ชน
6.นกั เรียน
ความชว่ ยเหลอื ทันที

สาเหตุ มาตรการปอ้ งกันและแก้ไข ผรู้ ับผดิ ชอบ

ด้านการปอ้ งกันและแกไ้ ข 1.จัดให้มีระบบดูและชว่ ยเหลอื ผู้เรยี น 1.ผบู้ รหิ าร
ปัญหาทางสังคม 2.จัดให้มกี ารอยเู่ วรรักษาสถานทีร่ าชการ โรงเรียน
3.จดั ใหม้ ีการวางแผนปอ้ งกนั ภยั
4.จัดใหก้ ารบรกิ ารใหค้ ำปรกึ ษา 2.ครูประจำชน้ั
5.จัดกิจกรรมเสริมสรา้ งทักษะในการคิดวิเคราะห์แกป้ ัญหา 3.นกั การภารโรง
6.จดั ให้มปี ้ายนเิ ทศให้ความรู้เก่ียวกบั สือ่ ต่าง ๆ 4.ผู้ปกครอง
7.จดั ใหม้ ีเครือขา่ ยองคก์ รภาครัฐเอกชนเพือ่ สามารถติดต่อขอ 5.ชมุ ชน
6.นกั เรียน
ความชว่ ยเหลือทันที
8.จดั ประชมุ ผูป้ กครองเพือ่ หาแนวทางวางแผนป้องกันและแกไ้ ข

ประกาศโรงเรยี นภเู กต็ ปญั ญานกุ ลู
เร่อื ง มาตรการรกั ษาความปลอดภัยของโรงเรียนภูเกต็ ปัญญานุกูล

เพื่อให้นักเรียนครูและบุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนผู้มาติดต่อราชการปลอดภัยจากอุบัติเหตุ
เหตุร้าย อุบัติภัย ภัยพิบัติ สิ่งที่เป็นอันตราย ทั้งต่อจิตใจ ชีวิต ทรัพย์สิน และรักษาทรัพย์สินของทางราชการ
จงึ กำหนดมาตรการรักษาความปลอดภยั ของโรงเรยี นภเู กต็ ปญั ญานุกลู ดังนี้

1. ให้นักการภารโรงหรือบุคคลที่ได้รับมอบหมาย สำรวจ ตรวจสอบ ห้องเรียน อาคารเรียน อาคาร
ประกอบ ห้องปฏิบัติการ ห้องพิเศษ ห้องน้ำ ห้องส้วม แหล่งเรียนรู้ อุปกรณ์สนามเด็กเล่น อุปกรณ์เครื่องเล่น
กีฬา พสั ดุ อปุ กรณอ์ ่นื ๆ โดยรอบบริเวณโรงเรยี น เปน็ ประจำทุกวัน ใหอ้ ยู่ในสภาพทีม่ น่ั คง แข็งแรง หากพบวา่
วัสดุ อุปกรณ์ต่าง ๆ อาจเกิดอันตราย ให้แจ้งต่อครูเวรประจำวัน และหรือผู้บริหารสถานศึกษาทราบทันที
แล้วดำเนินการซ่อมแซมใหเ้ ปน็ ทีเ่ รียบรอ้ ย

2. ให้นักการภารโรงหรือบุคคลที่ได้รับมอบหมาย สำรวจ ตรวจสอบ เครื่องตัดหญ้า รถตัดหญ้า
อุปกรณ์ตัดหญ้า ให้อยู่ในสภาพที่มั่นคง แข็งแรง ใบมีดทำด้วยเหล็กเหนียว หากพบว่าอุปกรณ์ต่าง ๆ ชำรุด
ให้แจ้งให้ครูเวรประจำวัน และหรือผู้บริหารทราบทันทีและดำเนินการซ่อมแซให้เป็นที่เรียบร้อย กรณีการตัด
หญ้าให้ใช้ความระมัดระวัง ไม่ประมาท เลินเล่อ ควรเลือกเวลาที่ปลอดภัย เช่น หลังเลิกเรียน หรือวันหยุด
เสารอ์ าทิตย์ เพ่อื ป้องกนั การเกิดอุบตั ิเหตุ

3. ให้นักการภารโรงหรือบุคคลที่ได้รับมอบหมาย ตรวจตรา ตรวจสอบ สายไฟฟ้า ระบบไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิด ระบบประปา ทั้งในอาคารเรียน นอกอาคาเรียน บริเวณโรงเรียน เป็นประจำทุกวัน
หากพบข้อบกพร่อง อุปกรณ์ วสั ดุ ชำรุด เสยี หาย ไฟฟา้ ร่ัว นำ้ ประปารั่ว ใหแ้ จ้งครเู วรประจำวัน และหรือแจ้ง
ผบู้ ริหารสถานศกึ ษาทราบ และดำเนนิ การปรบั ปรงุ แกไ้ ขใหเ้ รียบร้อย

4. ให้นักการภารโรงหรือบุคคลที่ได้รับมอบหมาย และครูเวรประจำวัน เฝ้าระวัง สำรวจ ตรวจสอบ
ป้องกนั แกไ้ ข เรอ่ื งมลภาวะท่เี ปน็ พิษท่ีอาจเกิดขึ้นและเปน็ อนั ตรายต่อสุขภาพ วตั ถทุ ่ีเปน็ อนั ตราย เช่น ระเบิด
อาวุธ สารพิษ แก๊สพิษ สิ่งแปลกปลอม เศษแก้ว เศษตะปู ฯลฯ โดยติดต่อประสานงาน ผู้นำชุมชน
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครองนักเรียน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการแก้ไขให้
ทันทว่ งที และแจง้ ใหผ้ ู้บริหารสถานศึกษาทราบด้วย

5. หากสำรวจพบว่า อาคารสถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ ระบบไฟฟ้า ระบบประปา ชำรุด เสียหาย และ
สุดวิสัยที่ไม่สามารถดำเนินการแก้ไขได้เสร็จทันท่วงที ให้นักการภารโรงหรือบุคคลที่ได้รับมอบหมาย จัดทำ
แนวกั้น จดั ทำปา้ ยเตือน ประสานครูเวรให้แจ้งเตือนนักเรียนให้ระมัดระวัง ไม่เข้าใกล้ และรีบดำเนินการแก้ไข
ให้แล้วเสร็จ ในระยะเวลาท่ีเรว็ ท่ีสุด และแจง้ ใหผ้ บู้ รหิ ารทราบดว้ ย

6. ให้ครูเวรประจำวัน ดูแลนักเรียนที่มาถึงโรงเรียนในตอนเช้า ตรวจนับนักเรียนทั้งไป-กลับ ควบคุม
การทำความสะอาดห้องเรียน เขตรับผิดชอบ กิจกรรมหน้าเสาธง ตรวจสุขภาพประจำวัน การรับประทาน
อาหาร กิจกรรมก่อนเขา้ เรยี นภาคบ่าย กจิ กรรมกอ่ นปลอ่ ยนักเรยี นกลบั บ้าน โดยควบคมุ ตรวจตรา ตรวจสอบ

ความผิดปกติของนักเรียน หากพบปัญหาให้ประสานงานครูประจำชั้น และหรือผู้ปกครองเพื่อทำการแก้ไข
และแจ้งใหผ้ บู้ รหิ ารสถานศกึ ษาทราบทันที

7. ใหค้ รปู ระจำชน้ั และครปู ระจำเรือนนอนทำหนา้ ที่ครูแนะแนว ใหค้ ำแนะนำ ปรกึ ษา จัดทำระเบียน
สะสม ระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนในชัน้ เรียนที่ไดร้ ับมอบหมาย ให้ความรัก ความเอาใจใส่ เอื้ออาทร พัฒนา
นักเรียนให้เต็มศักยภาพ โดยการสนทนา ซักถาม ควบคุม กำกับ ติดตาม อยู่เสมอ หากพบความผิดปกติหรือ
การเปลี่ยนแปลงของนักเรียน ให้ดำเนินการให้ความช่วยเหลือทันที พร้อมทั้งแจ้งให้ผู้บริหารสถานศึกษา
ทราบดว้ ย

8. ให้ครูเวรประจำวัน ครูประจำชั้น และครูประจำเรือนนอนติดตาม ดูแล เอาใจใส่ ต่อพฤติกรรม
เสี่ยงตอ่ ยาเสพตดิ ให้โทษ พฤตกิ รรมเสี่ยงด้านการพนัน อบายมุขต่าง ๆ พฤติกรรมเสีย่ งดา้ นชูส้ าว พฤตกิ รรม
เส่ียงปัญหาทางเพศ พฤติกรรมเสย่ี งการเล่นเกมและอินเตอรเ์ นต็ พฤตกิ รรมเสีย่ งการทะเลาะววิ าท การถูกเอา
รัดเอาเปรียบ การถูกรังแก ถูกละเมิดทางร่างกายและจิตใจ หากพบความผิดปกติให้ดำเนินการช่วยเหลือ
ประสานงานผู้ท่เี ก่ียวขอ้ ง และแจ้งให้ผบู้ ริหารทราบด้วย

9. ให้ครูเวรประจำวัน ครูประจำชั้น และครูประจำเรือนนอนได้ตรวจสอบการประกอบอาหาร
กลางวัน การจำหน่ายสนิ คา้ ของร้านคา้ ผู้ค้า ทัง้ ในสถานศกึ ษา และโดยรอบสถานศึกษา เน้นยำ้ ให้นักเรียนได้
บริโภคอาหารท่สี ะอาด ปลอดภยั มีประโยชน์ และประสานงาน ขอความรว่ มมือร้านคา้ ผ้คู ้าให้จำหน่ายสินค้า
ทดี่ ี มีคุณภาพ ถูกต้อง ตามระเบียบ กฎหมายและนโยบายของโรงเรียน

10. ให้ผู้ที่ได้แต่งตั้งเป็นเจ้าหน้าที่เวรรักษาความปลอดภัยสถานที่ราชการตามระเบียบว่าด้วย
การรกั ษาความปลอดภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2552 โดยเครง่ ครัด และ

10.1 หากผู้ใดได้รับคำสั่งจากผู้บังคับบัญชาให้เดินทางไปราชการนอกท้องที่อำเภอหรือจังหวัด
หรือได้รับอนุญาตให้ลาตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ. 2555 และ
จะต้องจัดหาเจ้าหน้าที่ในโรงเรียนภูเกต็ ปัญญานุกูลผู้อื่น ให้ปฏิบัติหน้าที่อยู่เวรแทน แล้วแจ้งให้ผู้บังคับบัญชา
ทราบ

10.2 หากผู้ใดที่ป่วยและวันที่ป่วยตรงกับวันที่ที่จะปฏิบัติหน้าที่รักษาเวรรักษาความปลอดภัย
และการป่วยนั้นยังสามารถที่จะแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาทราบว่าตนได้ป่วย และไม่สามารถจะปฏิบัติหน้าที่เวร
รักษาความปลอดภัยสถานที่ราชการได้ ให้ผู้นั้นแจ้งผู้บังคับบัญชาหรือผู้ตรวจเวรทราบโดยวิธีใดวิธีหนึ่งท่ี
ผูบ้ งั คับบญั ชาหรือผตู้ รวจเวรจะพึงทราบได้ เพอื่ พิจารณาวินิจฉัยสั่งการตอ่ ไป

11. ให้หัวหน้ากลุ่มบริหารทั่วไป ครูที่รับผิดชอบอาคารสถานที่ จัดทำข้อมูลสารสนเทศ ที่อยู่ เบอร์
ติดต่อ ของนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองครอง ผู้นำชุมชน สถานีอนามัย โรงพยาบาล
ตำรวจ หน่วยกู้ชีพ องค์การบริหารส่วนตำบล หน่วยงานต้นสังกัด อำเภอ จังหวัด ศาล และที่เกี่ยวข้องเพ่ือ
การตดิ ตอ่ ประสานงาน การสง่ ต่อไดท้ ันทว่ งที และใหป้ รากฏได้ชัดเจนไว้ในทีต่ า่ ง ๆ ตามความเหมาะสม

12. ให้ครูผู้สอนและหรือครูที่ได้รับแต่งตั้งควบคุมนักเรียนไปทำกิจกรรมทั้งใน และนอกสถานที่
การไปทัศนศึกษา การอยู่ค่ายพักแรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด การไปเข้าค่าย การไปร่วมกิจกรรม
การไปแข่งขัน จัดทำประวัติ ป้ายชื่อแสดงรายละเอียดของนักเรียน กำกับ ควบคุม ดูแล เอาใจใส่

รักษาความปลอดภัยให้แก่นักเรียนอย่างเต็มความสามารถ หากเกิดเหตุอันตรายให้ดำเนินการแก้ไข และหรือ
นำนกั เรียนไปเขา้ รับการรักษาโดยด่วน ตลอดท้งั ประสานงานใหผ้ ู้ปกครอง หรอื หน่วยงานที่เกย่ี วข้อง และแจ้ง
ใหผ้ ้บู รหิ ารทราบทนั ที

12. ให้หัวหน้ากลุ่มบริหารทั่วไปและหรือครูผู้รับผิดชอบด้านภัยพิบัติ ครูผู้รับผิดชอบด้านอาคาร
สถานที่ ครปู ระจำช้นั สร้างความรู้ ความเข้าใจ จัดกจิ กรรมเพอ่ื ปอ้ งกนั เตรยี มพรอ้ มรบั สถานการณ์ในกรณีเกิด
ภัยพิบัติ เช่น ไฟไหม้ พายุ ลมแรง ฟ้าคะนอง น้ำท่วม ดินทรุด ดินถล่ม ภัยแล้ง โรคระบาด ฯลฯ อยู่เป็น
ประจำ

13. ให้หัวหน้ากลุ่มบริหารทั่วไป จัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามมาตรการรักษาความปลอดภัย
ของโรงเรียนภเู ก็ตปัญญานุกูลเมื่อสิ้นปีการศึกษา เสนอต่อผู้บริหารสถานศึกษา ผู้มีส่วนเกี่ยวขอ้ งและเผยแพร่
ต่อสารธารณชน แล้วนำข้อมูลมาปรับปรุง แก้ไข พัฒนามาตรการรักษาความปลอดภัยในปีการศึกษาต่อไป
อย่างต่อเน่ือง

ประกาศ ณ วนั ท่ี 16 เดือน ธันวาคม พุทธศกั ราช 2562

(นายโตง้ พรมกุล)
ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นภภเู กต็ ปัญญานุกลู


Click to View FlipBook Version