The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นิตยสารเพื่อคนเลี้ยงไก่และสุกร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chicken and Pig Magazine, 2021-01-05 03:47:59

"สาส์นไก่ & สุกร" เดือนมกราคม 2564

นิตยสารเพื่อคนเลี้ยงไก่และสุกร

Keywords: ไก่,ไข่,สุกร,อาหารสัตว์,ปศุสัตว์

สศก. แถลง GDP เกษตร ป 63 หดตวั 3.3%

เหตเุ ผชญิ แลง เปนหลัก รวมถึงโควิด-19

เมอ่ื วนั ท่ี 23 ธนั วาคม 2563 ดร. เฉลมิ ชัย ศรีออ น รัฐมนตรวี า การกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ เปนประธานเปดการสัมมนา ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรป 2563 และแนวโนมป 2564
“เดินหนาเกษตรวิถีใหม ขับเคล่ือนไทยอยางย่ังยืน” ณ โรงแรมรามาการเดนส ซ่ึงจัดโดยสำนักงาน
เศรษฐกจิ การเกษตร (สศก.) ในโอกาสน้ี รฐั มนตรวี า การกระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดก ลา วถงึ แนวทาง
การขบั เคลอื่ นงานสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ป 2564 วา ภาคเกษตรมีความสำคญั อยา งยง่ิ
ตออนาคตของประเทศไทย เน่ืองจากเปน ภาคการผลิตทเ่ี ปน รากฐานของการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคม
ของชาติ โดยประชากรรอยละ 40 ของประเทศอยูในภาคเกษตร และทามกลางการเปล่ียนแปลงของ
โลกทป่ี ระเทศไทยจะตอ งเผชญิ กบั ความทา ทาย ทงั้ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติ
สถานการณการแพรระบาดของโควดิ -19 ความผันผวนของเศรษฐกจิ โลก ลว นสงผลกระทบ จึงจำเปนท่ี
ภาคเกษตรไทยตองปรบั ตวั ใหท ันตอ ความทาทายเหลานี้

การดำเนนิ งานของกระทรวงเกษตรฯ ในชว งทผ่ี า นมาถงึ ปจ จบุ นั มกี ารกำหนดนโยบายดา นการเกษตรใหส อดคลอ ง
กับบริบทของประเทศ และทันตอบริบทของโลกที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งแนวทางตลาดนำการผลิตจะใหความสำคัญใน
ทุกมิติต้ังแตการวิเคราะหความตองการของตลาด เพื่อเชื่อมโยงกับการวางแผนการผลิต สูการเพ่ิมประสิทธิภาพการ
ผลิตสินคาเกษตร มีการรับรองมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหาร การตรวจสอบยอนกลับ ตลอดจนสงเสริมและให
ความรูดานเทคโนโลยีและนวัตกรรมแกเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรอยางตอเน่ือง โดยการพัฒนาในทุกดานจะยึด
เกษตรกรเปนศูนยกลางและคำนงึ ถึงประโยชนข องเกษตรกรเปน หลักเสมอ

CสHาICสKEนN ไ&กP IG&MAGสAZุกINรE 51

“การนำเสนอภาวะเศรษฐกิจการเกษตรที่
สศก. จัดข้ึนเปนประจำทุกปนับวาเปนเร่ืองสำคัญ
อยา งยง่ิ เพราะเปน ตวั ชว้ี ดั การเตบิ โตทางเศรษฐกจิ
การเกษตรในภาพรวมของประเทศ ทำใหท ราบวา
โครงสรา งการผลติ ของภาคเกษตรและความสามารถ
ในการผลิตสินคาเกษตรของประเทศในแตละปมี
การเปล่ียนแปลงไปอยางไร ซ่ึงมีความสำคัญตอ
การกำหนดนโยบาย มาตรการ รวมท้ังเปาหมาย
ของแผนพฒั นาการเกษตรตา งๆ โดยปน ภ้ี าคเกษตร
เผชิญกับสถานการณภัยแลงท่ีรุนแรงตอเนื่องมา
ตั้งแตป 2562 ถงึ ชวงกลางป 2563 ทำใหม ีปริมาณ
นำ้ ไมเ พยี งพอตอ การเพาะปลกู และการเจรญิ เตบิ โต
สงผลใหผลผลิตพืชและผลผลิตประมงที่สำคัญลดลง รวมถึงปญหาดานโลจิสติกสจากมาตรการปดเมือง เพราะ
สถานการณก ารแพรร ะบาดของโควดิ -19 การขาดแคลนแรงงาน และเศรษฐกจิ โลกทย่ี งั ชะลอตวั สง ผลตอ การคา ระหวา ง
ประเทศ และการสง ออกสินคา เกษตร จงึ เปน สาเหตุสำคัญท่สี ง ผลตอการชะลอตวั ของ GDP ภาคเกษตรในป 2563”
รฐั มนตรเี กษตรฯ กลา ว

ทง้ั น้ี ภายในงานทกุ ภาคสว นทง้ั เกษตรกร นกั วชิ าการ ผปู ระกอบการ และภาคสว นอน่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ งกบั การเกษตร
จะไดท ราบถึงสถานการณเ ศรษฐกิจการเกษตร ปจ จยั ที่สงผลกระทบท้งั เชิงบวกและเชิงลบ รวมทั้งแนวโนมทก่ี ำลงั จะ
เกิดข้ึนในปถัดไป มีการวิเคราะหกระแสการเปล่ียนแปลงของโลกในมุมมองของวิทยากรผูทรงคุณวุฒิ ดร.ศุภชัย
พานิชภักดิ์ อดีตผูอำนวยการใหญองคการการคาโลก (WTO) และอดีตเลขาธิการการประชุมสหประชาชาติวาดวย
การคา และการพฒั นา(UNCTAD)ทใี่ หเ กยี รตมิ าปาฐกถาพเิ ศษ หวั ขอ “กา วทนั เศรษฐกจิ วถิ ใี หม สโู อกาสภาคเกษตรไทย
ทท่ี า ทาย” รวมถงึ การเสวนา “ทางรอดปลอดภยั สเู กษตรวถิ ใี หมท ยี่ ง่ั ยนื ” โดย อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั หอการคา ไทย
(ผศ.ดร.ธนวรรธน พลวชิ ยั ) ประธานคณะอนกุ รรมการขบั เคลอ่ื นธรุ กจิ เกษตร (Agribusiness) (นายปรญิ ญ พานชิ ภกั ด)์ิ
และผแู ทน Young Smart Farmer (นายยงยทุ ธ เลารจุ ริ าลยั ) ซง่ึ ขอ คดิ เหน็ ตา งๆ ทไ่ี ดแ ลกเปลย่ี นกนั ในวนั นส้ี ามารถ
นำไปเปน แนวทางในการกำหนดนโยบายและมาตรการ เพอ่ื รองรบั กบั สถานการณห รอื ปจ จยั ทค่ี าดวา จะสง ผลกระทบ
ตอ ภาคเกษตรในระยะตอ ไป นำไปสกู ารพฒั นาการเกษตรของไทยใหเ ทา ทนั ตอ การเปลย่ี นแปลงทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต
ไดอ ยางมงั่ คงและยั่งยืนตอไป

ดา น นายฉนั ทานนท วรรณเขจร เลขาธกิ าร สศก. กลา วถงึ ภาวะเศรษฐกจิ การเกษตรป 2563 พบวา หดตวั รอ ยละ
3.3 เมอื่ เทยี บกบั ป 2562 โดยหดตวั จากสาขาพชื สาขาประมง สาขาบรกิ ารทางการเกษตร และสาขาปา ไม ขณะทสี่ าขา
ปศุสตั วข ยายตวั โดย สาขาพชื หดตวั รอยละ 4.7 เน่อื งจากสภาพอากาศท่ไี มเ อื้ออำนวย ปรมิ าณนำ้ ในอา งเก็บนำ้
และแหลง นำ้ ธรรมชาตมิ ปี รมิ าณนำ้ นอ ยกวา ปท ผ่ี า นมา สง ผลใหพ ชื สำคญั มผี ลผลติ ลดลง เชน ขา วนาปรงั มนั สำปะหลงั
ออ ยโรงงาน สบั ปะรดโรงงาน ยางพารา ปาลมน้ำมนั มังคดุ และเงาะ อยางไรกต็ าม ยังมีผลผลติ พืชสำคัญท่ีเพิ่มข้ึน
คอื ขาวนาป เน่ืองจากในชว งกลางป 2563 เปน ตนมา มปี ริมาณน้ำฝนมากกวา ในป 2562 ทำใหเกษตรกรสามารถ
ปลูกขาวนาปรอบ 2 ไดเพ่ิมข้ึน ขาวโพดเลี้ยงสัตว มีการควบคุมและกำจัดหนอนกระทูขาวโพดลายจุดไดดี ลำไย
เนอ่ื งจากตน ลำไยทป่ี ลกู ในป 2560 เรม่ิ ใหผ ลผลติ ในปน ้ี และทเุ รยี น มผี ลผลติ เพม่ิ ขน้ึ เนอ่ื งจากราคาจงู ใจใหเ กษตรกร
มกี ารบำรงุ และดูแลรักษา ประกอบกบั มีพน้ื ที่ปลกู ใหมใ นป 2558 ทีเ่ ริ่มใหผลผลิตไดใ นปน ้ี

สาขาปศสุ ตั ว ขยายตัวรอยละ 2.7 จากปรมิ าณการผลิตทีเ่ พิ่มขึ้น เพื่อรองรบั ความตอ งการของตลาดทัง้ ในและ
ตา งประเทศที่ขยายตัวเพม่ิ ขนึ้ มีการจดั การฟารมทีไ่ ดม าตรฐาน การเฝา ระวังและควบคมุ โรคระบาดท่ีดี ทำใหส ินคา
ปศสุ ตั วส ำคญั ทง้ั ไกเ นอ้ื ไขไ ก โคเนอื้ และนำ้ นมดบิ มผี ลผลติ เพมิ่ ขน้ึ สาขาประมงหดตวั รอ ยละ 2.6 เนอื่ งจากผลผลติ
กุงทะเลเพาะเล้ียงลดลงตามความตองการของตลาดตางประเทศ จากการสูญเสียตลาดบางสวนใหกับประเทศคูแขง
ทำใหเกษตรกรมีการปรับลดจำนวนลูกพันธุและชะลอการลงลูกกุง ทำใหผลผลิตออกสูตลาดลดลง ขณะท่ีประมง
นำ้ จดื มีผลผลิตลดลงเชน เดยี วกนั โดยเฉพาะปลานลิ และปลาดกุ เนอ่ื งจากภาวะภยั แลงท่ีเกิดข้ึน

52 สCHาICสKนENไก& PIG&MAสGAุกZINรE

สาขาบรกิ ารทางการเกษตร หดตวั รอ ยละ 3.6 เนอ่ื งจากกจิ กรรมการจา งบรกิ ารทางเกษตรตา งๆ ทงั้ การเตรยี มดนิ
การดูแลรักษา และการเก็บเก่ียวลดลงตามเนื้อที่เพาะปลูกและเนื้อที่เก็บเก่ียวของพืชสำคัญที่ลดลง และสาขาปาไม
หดตวั รอยละ 0.5 เนื่องจากผลผลติ ไมย างพารา ไมย คู าลปิ ตสั ครง่ั และรงั นก ลดลง เปน ผลจากการตัดโคน สวนยาง
เกาเพ่ือปลูกทดแทนดวยยางพันธุดีลดลง ความตองการไมยูคาลิปตัสและคร่ังของประเทศคูคาสำคัญลดลงจากการ
แพรระบาดของโควิด-19 และผลกระทบจากสภาพอากาศทแี่ ปรปรวน

อยางไรก็ตาม แมภาวะเศรษฐกิจการเกษตรป 2563 จะหดตัว แตดวยการดำเนินนโยบายและมาตรการตางๆ
ของรฐั บาล และของกระทรวงเกษตรฯ ทำใหภ าคเกษตรและเกษตรกรไมไ ดร บั ผลกระทบมากนกั ไมว า จะเปน การขบั เคลอื่ น
โดยการดำเนินนโยบายอยางตอเนื่องของรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ อาทิ การบริหารจัดการน้ำ
การพฒั นาเกษตรกรสู Smart Farmer การสงเสริมตลาดสนิ คาเกษตรออนไลน การตลาดนำการผลิต ควบคกู ับการใช
เทคโนโลยีและนวัตกรรม มาตรการเยียวยาเกษตรกรจากผลกระทบของโควิด-19 ท่ีไดมีการจายเงิน 5,000 บาท
ใหเกษตรกรเปนระยะเวลา 3 เดือน การสงเสริมการบริโภคและการใชสินคาเกษตรในประเทศ การเพ่ิมศักยภาพใน
การผลิตสินคาเกษตรของไทยทีม่ คี ณุ ภาพ มาตรฐาน และความเช่ือม่ันในคุณภาพมาตรฐานของสินคาเกษตรไทย

สำหรบั ป 2564 คาดวา ภาวะเศรษฐกจิ การเกษตรจะขยายตวั ในชว งรอ ยละ 1.3 – 2.3 แตยังคงตองคำนึงถึง
ปจ จยั และสถานการณส ำคญั ทอ่ี าจจะสง ผลตอ การเปลย่ี นแปลงภาวะเศรษฐกจิ การเกษตร ทง้ั ความแปรปรวนของสภาพ
อากาศ สถานการณการระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืช การระบาดของโรคในสัตวท้ังในประเทศและตางประเทศ
ความเส่ียงจากความไมแนนอนของโควิด-19 อัตราแลกเปลี่ยน เพราะหากเงินบาทแข็งคาข้ึนมากกวาประเทศคูแขง
จะสง ผลตอความสามารถในการแขง ขนั ทางการคาของสินคา เกษตรไทย รวมไปถึงราคาน้ำมันดิบทีส่ งผลตอตนทุนการ
ผลติ สนิ คา เกษตร ซ่งึ สศก. จะมกี ารตดิ ตามสถานการณอยางตอ เนอื่ ง

“ภาวะเศรษฐกจิ การเกษตรจะสะทอ นใหเ หน็ ถงึ ผลการพฒั นาภาคเกษตรในภาพรวม แตย งั ไมใ ชก ารบง ชวี้ า เกษตรกร
จะมีรายไดเพ่ิมขึ้นหรือลดลง นอกจากนี้ การเติบโตของภาคเกษตรในระดับสูง ไมไดนำไปสูการเพิ่มข้ึนของมาตรฐาน
การครองชีพของเกษตรกรทุกคนเสมอไป ดังน้ัน หากตองการมองถึงความอยูดีกินดีและการกระจายรายไดของ
เกษตรกรในประเทศ จะตอ งพจิ ารณาใหล ะเอยี ดลงไปถงึ ตวั ชว้ี ดั อน่ื ๆ อาทิ รายไดเ ฉลย่ี ตอ หวั ของเกษตรกร สดั สว นหนส้ี นิ ตอ
ทรัพยส นิ สดั สวนเกษตรกรยากจน เน่อื งจากปจจยั แวดลอมในแตล ะพื้นท่นี ้นั มคี วามแตกตา งกนั ทงั้ น้ี สศก. หนวยงาน
เนวิเกเตอรเศรษฐกิจการเกษตร จะเดินหนาพัฒนาฐานขอมูลดานการเกษตรและเช่ือมโยงขอมูลที่เก่ียวของไปสูการ
เปน Big Data เพือ่ การวิเคราะหเศรษฐกจิ การเกษตรท่ีถกู ตอ งและแมน ยำ” เลขาธิการ สศก. กลา วในที่สุด

อตั ราการเตบิ โตของผลิตภณั ฑม วลรวมภาคเกษตร

หนว ย : รอยละ
สาขา 2563 2564
ภาคเกษตร -3.3 1.3–2.3
พืช -4.7 1.9–2.9
ปศุสัตว 2.7 1.0–2.0
ประมง -2.6 0.1–1.1
บริการทางการเกษตร -3.6 0.2–1.2
ปาไม -0.5 1.0–2.0

ท่มี า : กองนโยบายและ
แผนพฒั นาการเกษตร
สำนักงานเศรษฐกิจ
การเกษตร

ขาว : สวนประชาสัมพนั ธ / ขอมลู : กองนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตร CสHาICสKEนN ไ&กP IG&MAGสAZุกINรE 53

กรู ูมองแนวโนมและสถานการณไกไข

ในยุคโควดิ -19

เพราะปญหาของโควิด-19 รอบแรกประชาชนผูบริโภคต่ืนตกใจ มีการกักตุนไข ก็ทำใหปริมาณ
การซ้ือไขไกของประชาชนสูงข้ึนอยางรวดเร็ว เนื่องจากหลายคนกังวลเกี่ยวกับการแพรระบาดโรค
โควิด-19 ทำใหแหกันไปซื้อไขไกกักตุน แตรอบนี้เริ่มมีประสบการณ การกักตุนไขไมเกิด และดวย
ปญ หาเรอ่ื งการสง ออกไขไ ปยงั ตา งประเทศชะงกั ทำใหเ กดิ ปญ หาราคาไขไ มม เี สถยี รภาพ “ตอ งจบั มอื สามคั คี
ประคับประคองกนั ไปใหผานพน ชวงโควดิ -19 ใหไ ด”

นิตยสาร “สาสนไก & สกุ ร” ไดม โี อกาสสมั ภาษณกรู ู ซึ่งมากดวย
ประสบการณคร่ำหวอดในวัฏจักรไกไขตลอดช่ัวอายุ ซ่ึงแตละทานได
มองตา งมมุ สำหรบั ฉบบั เดอื นมกราคม 2564สองนายก และหนงึ่ ประธาน
ชมรม มองไกไ ขย คุ โควิด-19 อยางไร ตามไปดูกันคะ

คุณมาโนช ชูทับทิม นายกสมาคมผูเลี้ยงไกไข ไดมองถึงปญหา
อปุ สรรคท่ผี า นมาในป 2563 วา สมาคมผูเลย้ี งไกไขไดพ บเจอปญ หาอะไร
และมแี นวทางการแกไ ขสถานการณอ ยา งไร และรว มวเิ คราะหส ถานการณ
ไกไขในป 2564

54 สCHาICสKนENไก& PIG&MAสGAุกZINรE

ภาพรวมสถานการณไ ขไกป 2563 ภาพรวมในป 2563 ก็ถือวาเกษตรกรพออยูได
แตท วา ในแตล ะชว งอาจมเี รอื่ งใหเ ปน กงั วลบา ง ทง้ั ในเรอื่ ง
เมอื่ ถามถงึ ภาพรวมทผ่ี า นมาในป 2563 คณุ มาโนช พันธุสัตวทร่ี าคาแพง อาหารสัตวแพง ราคาไขถกู ราคา
ไดเ ผยวา “ภาพรวมในป 2563 นน้ั ยงั ถอื วา อยใู นเกณฑท ดี่ ี ไขแ พง แตถ งึ อยางไรกด็ สี ถานการณไ ขป  2563 จนไปถึง
จนกระท่ังมาเจอชวงโควิดทำใหคนต่ืนตระหนกกันไป ตน ป 2564 ความชัดเจนอาจยังไมดีเทา ที่ควร
เกดิ การกกั ตนุ ไข กท็ ำใหร าคาไขแ พงขนึ้ จนกระทง่ั รฐั บาล
มาควบคมุ และสง่ั หา มการสง ออก กท็ ำใหไ ขไ กเ หลอื ทะลกั สวนเร่ืองของปริมาณพันธุสัตวที่กระจายไมทั่วถึง
ในชว งปลายเดอื นมนี าคมถงึ ตน เดอื นเมษายน ซง่ึ ชว งนนั้ เกษตรกรนั้น เปนเร่ืองที่ตองผานเอกบอรดกอนแลว
ถือวาลำบากมากจนรัฐบาลมาชวยเหลือโดยการอนุมัติ กำหนดมาตรการรวมกัน หากถามถึงความเพียงพอของ
เงินผา นเอก บอรดในการสง ออกตา งประเทศ เพ่ือชดเชย พันธุสัตวนั้น คุณมาโนชไดเผยวาพอหรือไมพอตองดูใน
ประมาณ 100 ลา นฟอง จงึ ทำใหส ถานการณโ ดยภาพรวม
เร่ิมคล่ีคลายตง้ั แตเ ดือนพฤษภาคมเปนตนมา” เรอื่ งของปรมิ าณพนั ธสุ ตั วก บั ปรมิ าณไข
สมดุลกันตอความตองการหรือไมอันนี้
ถาใหพูดถึงมาตรการหรือแผนงานตางๆ ที่รัฐบาล สวนหนึ่ง และอีกสวนคือ พอดีกับ
ชวยเหลือมาก็ถือวาชวยไดเปนที่นาพอใจในระดับหน่ึง ความพอใจ ความพอดกี บั เกษตรกรหรอื
แตสภาพปญหาที่เกิดข้ึนยังไมไดรับการแกไขแบบ ไมก เ็ ปน อกี เรอื่ งหนง่ึ ถา คนเลยี้ งมคี วาม
เบ็ดเสรจ็ มันเปน การแกป ญหาเฉพาะหนา เพราะอัตรา พอเพียงมันก็เพียงพอ เกษตรกรสวน
การสงออกยังไมเปนไปตามแผนเทาที่ควร เนื่องจากวา ใหญเมื่อไดกำไรดี ก็มีความตองการ
ตลาดภายในราคามีการปรับตัวสงู ขน้ึ แตต ลาดภายนอก พันธุสัตวเยอะๆ แตดวยการกำหนด
กลับสวนทางลง เกณฑมาตรการตางๆ ของทางภาครัฐ
พนั ธสุ ตั วต อ งออกมาตามเกณฑม าตรฐาน
ที่กำหนดไว ตามปริมาณพอแมพันธุ
ท่ีมีอยู หากเพิ่มมากกวาน้ีจะทำใหการ
ควบคมุ กลไกการตลาดยากข้ึน
ดวยปญหานี้อาจทำใหมีเสียงเรียกรองจากทาง
เกษตรกรมาบา ง เปน เร่ืองท่ีนา เห็นใจทงั้ สองฝาย ดงั น้นั
ทกุ ฝายจึงตอ งชวยกนั ประคบั ประคองกนั ไป เพื่อเห็นแก
ประโยชนสวนรวม เร่ืองไหนสามารถผอนปรนกันไดก็
ควรชวยเหลือกัน เพื่อใหภาพรวมของคนเลี้ยงไกไขชวย
กนั ประคองใหผานพนชว งนไี้ ปใหได

CสHาICสKEนN ไ&กP IG&MAGสAZุกINรE 55

คาดการสถานการณป  2564 ประคองธุรกิจของเราเปนเรื่องสำคัญท่ีสุด เพราะไมวา
ใครก็ไมสามารถชวยเหลือตัวเราเองได เราตองดูแลและ
สวนสถานการณในป 2564 ตองดูสมมุติฐานจาก ประคับประคองธุรกิจของเราใหผานพนปญหาตางๆ
ปจจัยภายนอก เชน โรคระบาดที่สงผลกระทบท่ัวโลก ไปใหได และทายสุดในชวงของเทศกาลปใหม 2564
ไมวาจะเปนการนำเขา สงออก แมกระท่ังพันธุสัตว ท่ีใกลจะมาถึง ก็ขออวยพรใหพ่ีนองเกษตรกรและผูท่ีมี
รวมทั้งการสงออกไขไก เรื่องคาใชจายท่ีเพิ่มขึ้น หรือ หนาที่เกี่ยวของในวงการท้ังหมด จงพนโรค พนภัย
แมกระท่ังคาอาหารสัตวท่ีสูงข้ึน จากมาตรการตางๆ ประสบแตความโชคดี มีชัย ตลอดปแ ละตลอดไปครบั ”
วิเคราะหวาอาจไมตางจากป 2563

เพราะฉะน้ันการเลี้ยงไกไขในทุกวันนี้ คุณมาโนช
ไดสงสารแกเกษตรกรคนเลี้ยง และคนในวงการไกไขวา
ขอใหชวยกันประคับประคองกันไป ชวยเหลือกันให
มากๆ อยาเห็นแกตัวเอง ใหอาชีพเรายังสามารถเดิน
ตอ ไปไดก ็เพียงพอแลว

สดุ ทา ยคณุ มาโนชไดฝ ากทงิ้ ทา ยและอวยพรปใ หม นายสเุ ทพ สวุ รรณรัตน นายกสมาคมผเู ล้ียงไกไ ข
แกพี่นองเกษตรกรและผูที่เก่ียวของวา “อยากฝากให ภาคใต ไดกลาวถึงสถานการณราคาไขไกป 2563
พ่ีนองเกษตรกรผูเล้ียงไกไขทั้งหมด ตามท่ีผมไดบอก ในดานปญหา อุปสรรค ผลกระทบในชวงโควิด-19
ไปแลววา การทำอาชพี นีม้ ันลำบาก เราตองอยใู นความ ทางนายกฯ ไดเปด ใจเลา ใหเราฟง วา
ไมประมาท และพยายามฟงขอมูลขาวสารใหรอบดาน
ไมว า จะเปน สมาคม สหกรณ หรอื ทางราชการ ตอ งตดิ ตาม สถานการณป 2563
ขอมูลใหทันเหตุการณ และอีกเร่ืองคือการประคับ
โดยภาพรวมทั่วไปทางภาคใตยังอยูได ไมขาดทุน
ยังไมมผี ลกระทบมากนัก

ปญหาและอุปสรรคในชวงโควดิ -19

ในชว งโควิด-19 มปี ญหาในเรอ่ื งของการสง ออก คอื
ทางภาครฐั ไมใ หส ง ออก แตห ลงั จากนน้ั ประมาณ 1 เดอื น
มกี ารปลดลอ็ คใหส ง ออกได และยงั มอบเงนิ ชว ยเหลอื แก
เกษตรกรจำนวนหนึ่ง หลังจากน้ันไมนานราคาไขก็เริ่ม
ขยบั ขึน้ มา

56 สCHาICสKนENไก& PIG&MAสGAุกZINรE

สถานการณป 2564 นายกสเุ ทพ ไดฝ ากเชญิ ชวนเกษตรกรสมาชกิ ชาว
ไกไ ข วันที่ 3 มีนาคม 2564 มีการประชมุ ใหญส มาคม
จากสถานการณณปจ จบุ นั นเ้ี รายงั คาดการณแ นน อน ผูเลี้ยงไกไขภาคใต ปน้ีจัดท่ีจังหวัดภูเก็ต ในโอกาสน้ี
ไมได สาเหตุเกิดจากโรคโควิด-19 ท่ีกำลังระบาดอยู ณ จงึ ขอเชญิ ชวนทุกทานไปกันเยอะๆ นะคะ
ปจ จบุ นั วา จะระบาดไปอกี นานแคไ หน ตอนนน้ี กั ทอ งเทย่ี ว
ไมเ ขา มาเทยี่ วในเมอื งไทย คนไมค อ ยออกมาเทย่ี ว เรากจ็ ะ
รูวาลำบากแคไหน ตอนนี้ทางใตไดมีการปรับปริมาณ
การเลยี้ งไกไขใ หน อยลง เพ่อื ปรับสมดุลในเรือ่ งของไขไก
ซ่ึง ณ ปจ จุบันน้ีราคาไขไกอยทู ี่ 2.60 - 2.70 บาท (ราคา
ณ วนั ที่ 27 ธ.ค. 2563)

นอกจากน้ี วตั ถดุ ิบอาหารสตั วก ็มีการข้ึนราคา เชน
ถวั่ ขา วโพด จงึ ทำใหต น ทนุ การเลย้ี งไกเ พม่ิ มากขนึ้ ดงั นน้ั
เกษตรกรจงึ ตองมีการปรับตัวในเรื่องน้ี

ฝทาุกกทกา ำนลังใจ และอวยพรปใหมแดเ กษตรกรและ คุณสันติ ชินชฎาธาร ประธานชมรมผูเล้ียงไกไข
ภาคใต กลา วถงึ ปญ หาอปุ สรรคทผี่ า นมาในป 2563 นว้ี า
ขออวยพรใหเกษตรกรผูเลี้ยงไกไขและเกษตรกร ทางชมรมผเู ลย้ี งไกไ ขภ าคใตไ ดพ บเจอปญ หาอะไร และมี
ผูเ ลี้ยงสัตวบกทกุ ชนิด อยาใหเ จ็บ อยาใหจ น จะทำอะไร แนวทางการแกไ ขสถานการณอ ยา งไร และรว มวเิ คราะห
กใ็ หน กึ ถงึ ตลาดกอ นผลติ อยา เลย้ี งมากจนเกนิ ไป เพราะ สถานการณไกไขในป 2564
ตอนนี้ประเทศไทยยังไมมีนักทองเท่ียวเขามาจะทำให
สินคาเหลือ และทำใหร าคาตกต่ำ

CสHาICสKEนN ไ&กP IG&MAGสAZุกINรE 57

ปญ หาในป 2563 วเิ คราะหสถานการณป  2564

ในตนป 2563 มปี ญหาจริงๆ พันธสุ ตั วมันเกินความ เม่ือถามถึงสถานการณในป 2564 คุณสันติไดให
ตองการมาตลอด และในดานการผลิตเกิดรายใหญข้ึน ความเห็นวา “ในป 2564 ผมเชื่อวายังพอไปได
มาเยอะ ก็สงผลใหมีการผลิตไขออกมาเยอะจนกระทบ แตอาจไมดีเทาท่ีควร สาเหตุที่ผมมองแบบน้ีเนื่องจาก
ตลาด เม่ือมีการกระทบกันไปมาทำใหรายใหญตองลด เศรษฐกิจยังไมไดฟนตัวเร็วขนาดนั้น แตตัวที่รายคือ
การผลิตลง พอมีการควบคุมพันธุสัตวขึ้นมาก็ทำให GP3800 เปนตัวบล็อกเอาไว ตราบใดถาตรงนี้ยังไมได
ตลาดเรมิ่ ดีข้นึ แกว งการไกไ ขก ย็ งั ไมส ามารถทจ่ี ะฟน ตวั ได เพราะพอ แม
พันธใุ นสว นนีพ้ รอ มท่จี ะออกสูตลาด”
เมื่อถามถึงสถานการณพนั ธุสัตวในตอนนี้มีเพียงพอ
ตอเกษตรกรหรือไม คุณสันติไดใหคำตอบวา พันธุสัตว คุณสันติไดฝากทิ้งทายแกพ่ีนองเกษตรกรผูเลี้ยง
ตอนนก้ี ย็ งั พอหาได แตอ าจมไี มเ พยี งพอตอ ความตอ งการ ไกไ ขแ ละไดอวยพรปใ หมท ิง้ ทายวา “สำหรบั เกษตรกร
บางคนอยากได 10 แตได 5 บางคนอยากได 5 แตไ ด 2 รายเล็กที่เลี้ยงนอยกวา 5,000 ตัว ผมไมคอยเปนหวง
มันก็ตองแบงๆ กันไป ซ่ึงปญหาของเกษตรกรท่ีไมได เพราะเกษตรกรกลุมนี้คอนขางเขาใจและปรับตัวได
พันธุสัตวเกิดจากปจจัยหลายๆ อยาง เชน อาจจะเปน สำหรบั รายทเ่ี ลย้ี ง 7 – 8 หมนื่ ลงมา อาจจะตองปรบั ตวั
เรอื่ งของเงนิ ทนุ ฟารม คคู า หรอื เครดติ ของตวั เกษตรกรเอง ตองหาวธิ กี ารลดตน ทุนการผลิต อาจจะใชแรงงานคนใน
จริงๆ สำหรบั พันธสุ ัตวต อนน้ีผมเชอ่ื วาไมข าดเพยี งแตวา ครอบครัวแทนการจางคนงาน ลดตนทุนคาอาหารดวย
“คุณทำตัวยังไง” การหาแหลง อาหารสตั วท ถี่ กู ลง และทำการตลาดใหม าก
ขึ้นเพื่อกระจายสินคาออก และสำหรับปใหม 2564
จากสถานการณโควิด-19 ท่ีผานมาทำใหผูบริโภค ขอใหชาวไกไขทุกทานประสบแตสิ่งดีๆ พบเจอแต
กลัวการที่จะออกมาขางนอก จึงมีการซื้อไขกักตุนเปน ความสำเร็จ และชว ยกนั ประคับประคองกนั ไป”
จำนวนมาก ทำใหเ กดิ ไขไ กขาดตลาด จากประสบการณ
ของโควดิ -19 รอบทผ่ี า นมาทำใหร วู า ไมจ ำเปน ตอ งกกั ตนุ
สินคา แตเปนเพราะลักษณะการใชชีวิตในชวงโควิด
คนสวนใหญจะอยูบานไมคอยออกไปไหนอาจมีการกิน
ไขนอยลง ขณะเดียวกันเกษตรกรรายใหญภาคใตมี
พนั ธสุ ตั วล น มอื จงึ ทำใหไ ขไ กล น ตลาด และดว ยสถานการณ
ของโควดิ ไมส ามารถสง ไขอ อกไปยงั ตา งประเทศได ยง่ิ ทำให
มีไขไกลนตลาดเพ่ิมขึ้น โควิด-19 รอบสองจึงมองวาไข
ไมข าด

สำหรับสถานการณโควิดท่ีทำใหนักทองเที่ยวลดลง
เมอ่ื ถามวา สง ผลกระทบตอ ผเู ลย้ี งไกไ ขห รอื ไม คณุ สนั ตไิ ด
ใหค วามเหน็ วา “สำหรบั นกั ทอ งเทย่ี วตา งประเทศนน้ั ถอื
วาไมมีผลมาต้ังนานแลว แตจะมีสำหรับนักทองเท่ียว
ทองถ่ิน สำหรับคนที่จะเท่ียวตางจังหวัดก็คิดวาอยูบาน
ปลอดภยั กวา อยา งนครศรฯี ในชว งทผ่ี า นมามคี นมาเทยี่ ว
เยอะมาก แตป จ จบุ นั ไมเ ยอะเหมอื นเมอื่ กอ นถอื วา ลดลง
ไป 20 – 30% ได”
58 สCHาICสKนENไก& PIG&MAสGAุกZINรE

CสHาICสKEนN ไ&กP IG&MAGสAZุกINรE 59

สุขภาพที่ดีเริ่มจาก…ทางเดินอาหาร

สพ.ญ.ณฐั นนั ท คำหอม
Technical support team
บริษทั แอลไอซี อโกรเทค จำกดั

ในชว งหลายปท ผ่ี า นมาเรามกั ไดย นิ คำวา Gut-Brain axis (กทั -เบรน แอคซสิ ) จากหลายๆ
ชอ งทาง อาทเิ ชน งานสมั มนาวชิ าการ หรอื แมแ ตบ ทความในนติ ยสารทก่ี ลา วถงึ คำๆ น้ี เพอื่ เปน
การสรา งความเขา ใจในความหมาย และทมี่ าของคำนใ้ี หม ากขน้ึ บทความฉบบั นเี้ ราจงึ ขอนำเสนอ
ใหทุกทานไดร ูจ กั กับคำๆ นี้ และความสำคัญของคำนใี้ หด ีย่ิงขนึ้

กอนอื่นขอแนะนำใหทุกทานรูจัก
ความหมายของคำวา “Gut-Brain
axis” กนั กอ น Gut-Brain axis หมายถงึ
การตดิ ตอ สอื่ สารกนั ระหวา งระบบทาง
เดินอาหาร ระบบประสาทเอนเทอริก
(enteric nervous system : ENS)
และสมองสว นกลาง (central nervous
system : CNS)

การเช่ือมตอของระบบ central
nervous system ของสมองกับระบบ
enteric nervous system ของทาง
เดนิ อาหาร ประกอบไปดว ยปมประสาท
มากกวา 50 ลา นเซลล ตั้งแตห ลอดอาหารไปจนถึงทวารหนัก ซง่ึ บรเิ วณลำไสเลก็ และลำไสใ หญน ัน้ ไดร บั
การยอมรับในทางการแพทยวาเปน “second brain” ของรางกาย เพราะมีปริมาณของเซลลประสาท
(neuron) มากเปน อันดบั 2 รองจากสมอง และมกี ารทำงานดว ยระบบประสาทเอนเทอรกิ (ENS) ทเี่ ปน
อสิ ระจากการสงั่ งานของสมอง (autonomous system) ระบบประสาทเอนเทอรกิ (ENS) เปน ระบบยอ ย
ของระบบประสาทสวนกลาง (CNS) “ท่ีสามารถควบคุมระบบการทำงานตางๆ ของรางกาย เชน
ระบบภมู ิคุมกัน การยอยอาหาร กระบวนการเมแทบอลซิ ึม ความอยากอาหาร และความเครยี ด”
60 สCHาICสKนENไก& PIG&MAสGAุกZINรE

มกี ารศกึ ษาพบวา แบคทเี รยี ในทางเดนิ อาหารสามารถสรา งและหลงั่ สารสอ่ื ประสาทได เชน แบคทเี รยี
ตระกลู Bifidobacterium หลั่งสาร GABA แบคทเี รียตระกูล Enterococcus และ Streptococcus
หล่ังสาร serotonin แบคทีเรียตระกูล Escherichia หล่ังสาร noradrenaline และแบคทีเรียตระกูล
Lactobacillus หลง่ั สาร acetylcholine ซง่ึ สารสอ่ื ประสาททถ่ี กู สรา งและหลง่ั ออกมามผี ลตอ การทำงาน
ของเซลลป ระสาทในระบบประสาทเอนเทอรกิ จากงานการศกึ ษาของ Sudo และคณะเมอ่ื ป 2004 พบวา
หนูทดลองทเ่ี ลยี้ งในสภาวะปลอดเชื้อมีการตอบสนองตอความเครียดมากกวา หนูทดลองท่ีเลยี้ งในสภาวะ
ปกติ จงึ แสดงใหเ หน็ วา แบคทเี รยี หรอื จลุ ชพี ในลำไส (gut microbiota) มบี ทบาทตอ การทำงานของระบบ
hypothalamic-pituitary-adrenal (HPA) axis (ไฮโปทาลามคิ -พทิ อู ทิ าร-ี อะดรนี ลั แอคซสิ ) ซง่ึ เปน กลไก
การตอบสนองตอความเครยี ดทสี่ ำคัญของรา งกาย

การติดตอส่ือสารกันของระบบประสาทเอนเทอริกและระบบประสาทสวนกลาง จะส่ือสารผาน
ทางเสน ประสาทวากสั (vagus nerve) ซึง่ เปนเสนประสาทของระบบประสาทอตั โนมตั ิ (sympathetic
และ parasympathetic system)

ภาพแสดง ความสมั พนั ธแ ละการ
ทำงานของสมอง ทางเดนิ อาหาร และ
gut microbiota (Microbiota-gut-
brainaxis)ทม่ี กี ารสอ่ื สารกนั ดว ยหลาย
กลไก เชน 1. การส่ือสารผานระบบ
ประสาทเอนเทอรกิ (enteric nervous
system: ENS) 2. Hypothalamus-
pituitary-adrenal (HPA) axis
3. ระบบประสาทอตั โนมตั ิ (autonomic
nervous system) 4. สารเมแทบอไลต
(metabolites) และ 5.ระบบภมู คิ มุ กนั
(immune system)

มขี อ สนั นษิ ฐานวา ระบบทางเดนิ อาหารอาจมกี ารสอ่ื สารกบั สมองผา นสารเมแทบอไลตข องจลุ ชพี ใน
ลำไส (gut microbiota) ซง่ึ เปน สง่ิ มชี วี ติ เลก็ ๆ ทมี่ อี ยใู นรา งกายของสตั วม าตงั้ แตแ รกเกดิ โดยเชอ้ื จลุ ชพี
จะเพิ่มจำนวนอยางรวดเร็วภายหลังลูกสัตวเกิด แบคทีเรีย Lactobacilli ถือเปนเชื้อจุลชีพอันดับแรกๆ
ที่เกิดขึ้นในระบบทางเดินอาหารของลูกสัตว เน่ืองดวยกระบวนการคลอดตามธรรมชาติท่ีลูกสัตวตอง
เคลื่อนตัวผานชองคลอด (vagina) ของแมสุกร ซึ่งเปนบริเวณท่ีแบคทีเรียกลุม Lactobacilli อาศัยอยู
นอกจากน้ี สภาพแวดลอ มรอบทสี่ ตั วอ าศยั อยกู ม็ บี ทบาทสำคญั ในการกำหนดชนดิ ของเชอ้ื จลุ ชพี ในระบบ
ทางเดินอาหาร พบวาเช้ือจุลชีพในระบบทางเดินอาหารมีปริมาณที่แตกตางกันมากกวา 400 ชนิด
ขึ้นกับชนิดของสัตว และตำแหนงภายในระบบทางเดินอาหารของสัตว ซ่ึงสัตวแตละตัวน้ันก็จะมีชนิด
และจำนวนของเชื้อจุลชพี ที่แตกตางกนั

ตารางแสดง ชนิดและปริมาณของเช้ือจุลชีพ (log10/g)
ในสว นตา งๆ ของระบบทางเดนิ อาหารของสกุ ร

ชนดิ ของ Stomach Duodenum Ileum Caecum Rectum
เชื้อจุลินทรีย (กระเพาะอาหาร) (ลำไสเ ลก็ สว นตน) (ลำไสเลก็ สวนปลาย) (กระเปาะลำไสใ หญ) ไสตรง)
Lactobacilli 7-8 6-7 7-8 8-9 7-8
Coliform 5-6 4-5 6-7 7-8 8
Clostridium - - 0-4 45
Enterococci - - 0-4 5-6 5-6
CสHาICสKEนN ไ&กP IG&MAGสAZุกINรE
61

จากขอสันนิษฐานขางตนแสดงใหเห็นวา เช้ือจุลชีพในระบบทางเดินอาหารมีอิทธิพลตอการทำงาน
ของสมองผานการส่ือสารท่ีซับซอนของระบบ microbiota-gut-brain axis หากสัตวตองเผชิญกับความ
เจ็บปวย ติดเช้ือ หรือความเครียด เชน ลูกสุกรทองเสียจากการติดเชื้อ E.coli หรือ Clostridium spp.
ลกู สกุ รหลังหยานมเครยี ดจากการถกู ขนยา ย เปล่ียนทีอ่ ยู หรอื การเปลยี่ นอาหาร กจ็ ะสงผลตอสมดุลของ
เช้ือจุลชีพในทางเดินอาหาร การอักเสบของลำไส มีผลรบกวนการทำงานของระบบภูมิคุมกัน และกลไก
การปอ งกันของระบบทางเดินอาหาร (gut barrier function) จึงโนมนำใหเ กิดการสญู เสียที่เพิม่ สูงข้นึ ใน
ลกู สกุ รกอ นและหลังหยานม และชะงกั การเจริญเตบิ โต (set-back) ในลกู สกุ รหลังหยานม

“บรษิ ทั แอลไอซี อโกรเทค จำกดั ตวั แทนจำหนา ยผลติ ภณั ฑ
ในกลมุ วติ ามนิ และสารสกดั จากธรรมชาตทิ ม่ี ชี อ่ื เสยี งมากวา 15 ป”
มผี ลติ ภณั ฑท ชี่ ว ยสง เสรมิ สขุ ภาพทางเดนิ อาหาร ลดการอกั เสบของ
ระบบทางเดินอาหาร รักษาทองเสีย-ถายเหลว เพิ่มประสิทธิภาพ
การผลิต และลดผลกระทบของความเครียดในสัตว

DOSTO® เปน ผลติ ภณั ฑท ส่ี กดั มาจากพชื ออรกิ าโน (oregano)
และเปน ทางเลอื กเพอ่ื ทดแทนการใชย าปฏชิ วี นะในการรกั ษาอาการ
ทอ งเสยี -ถา ยเหลวในสกุ รทเ่ี กดิ จากเชอ้ื แบคทเี รยี ลดการอกั เสบและ
สง เสรมิ สขุ ภาพของระบบทางเดนิ อาหาร โดยมที ง้ั รปู แบบผง (powder)
สำหรบั ผสมอาหาร รปู แบบนำ้ (liquid) สำหรบั ละลายนำ้ ใหส ตั วก นิ
และรูปแบบอิมัลชั่น (emulsion) ท่ีเหมาะสำหรับปมปากในลูก
สกุ รเลาคลอด
POUSTIN-C® (พสุ ตนิ -ซ)ี นวตั กรรมใหมจ ากบรษิ ทั
CTCBIO ประเทศเกาหลใี ต เปน ผลติ ภณั ฑว ติ ามนิ ซรี ปู แบบ
น้ำที่มีความคงตัวสูง แมอยูในสภาวะความเปนกรด
ความรอนและความชืน้ ทำใหม่นั ใจไดวาสตั วรบั วิตามินซี
ไดอยางเต็มประสิทธิภาพ แนะนำการใชในชวงท่ีสุกรมี
โอกาสเกดิ ความเครยี ด เชน
อากาศรอ น การเปล่ียนแปลงของสภาพอากาศ
กอ นและหลงั การขนยา ย
กอนและหลังทำวคั ซีน
สกุ รมอี าการปว ย
สนใจสินคาสามารถตดิ ตอสอบถามขอ มูลเพิม่ เตมิ และสงั่ ซอื้ สินคา ไดจากพนกั งานขายของ บริษทั
แอลไอซี อโกรเทค จำกดั โทร. 02-8873498-99

เอกสารอา งองิ

ปวริศ วงษป ระยูร. (2561). Mechanisms of neuropsychological effects of probiotics and bene
ficzl effect on mental health (ออนไลน) . สบื คน จาก : file:///Users/bomberman/Downloads/
CPE-2017-002_final.pdf [4 พฤศจิกายน 2563]

คุณสมบัตขิ องโปรไบโอตกิ ทีด่ ีและขอกำหนดที่เกย่ี วของ (ออนไลน) . (2558). สืบคน จาก: https://www.
swinethailand.com [4 พฤศจิกายน 2563]

Sudo N, Chida Y, Aiba Y, Sonoda J, Oyama N, Yu XN, et al. Postnatal microbial colonization
programs the hypothalamic-pituitary-adrenal system for stress response in mice.
J Physiol. 2004;558(Pt 1):263-75.

62 สCHาICสKนENไก& PIG&MAสGAุกZINรE

ª·­ #D-Ĕ 3è .= * = %> >/I1A.R 6D /
I*Q÷9 >/I!&@ K! 9 9D!6>7 //-9.Ĕ> .Q= .%C
-9 K/ /<&> .= #?L76ĕ D / > !1> /> >'Č7%ĕ>.= .C%6 E

นายประสิทธิ์ บุญดวงประเสริฐ ประธานคณะผูบริหาร
บรษิ ทั เจรญิ โภคภณั ฑอ าหาร จำกดั (มหาชน) หรอื “ซพี เี อฟ”
มองโครงสรางอตุ สาหกรรมการเลยี้ งสกุ รเปลย่ี นแปลงไปจากอดตี
จะยั่งยืนไดตองมีการวิจัยและพัฒนาที่มีประสิทธิภาพ ครอบคลุม
ตั้งแตบริหารตนทุนใหลดลงจากการสรรหาวัตถุดิบ การพัฒนา
สายพันธุใหไดมาซึ่งพันธุที่แข็งแรง และการเลี้ยงสุกรที่ตองมี
มาตรฐานอาชีวอนามัยเพื่อปองกันโรคระบาด นอกเหนือไปจาก
การมีฟารมและการจัดการการเลี้ยงที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม
พรอมแหลงน้ำในการผลิตที่เพียงพอ

ในชวง 2-3 ปที่ผานมานี้ โรคระบาดในอุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกรยังไมมีวัคซีนปองกัน ทั้งโรคเพิรส (PRRS) และโดยเฉพาะ
โรคแอฟริกันสไวนฟเวอร (ASF) ที่ทำใหการเลี้ยงสุกรในประเทศจีนและเวียดนามเสียหาย สงผลใหเกิดภาวะสุกรขาดตลาดอยางมาก
การพยายามกลับมาเลี้ยงใหมก็อาจจะยังประสบความเสียหายไดหากระบบการเลี้ยงไมมีมาตรการปองกันดานชีวอนามัยที่เครงครัด
ซีพีเอฟจึงมุงมั่นในการวิจัยและพัฒนามาตรฐานการเลี้ยงที่มีมาตรฐานชีวอนามัยที่สูง ประกอบกับการพัฒนาพันธุสุกรใหแข็งแรง
มีความตานทานโรคสูงอยางตอเนื่อง
นายประสิทธิ์ กลาววา การที่โรค ASF ทำใหสุกรขาดตลาด
ในประเทศจีน เวียดนามและประเทศเพื่อนบานของไทย สงผลให
มกี ารนำเขา สกุ รจากประเทศไทยเพม่ิ ขน้ึ อยา งมาก และความตอ งการ
ยังมีมาตอเนื่อง ทำใหราคาสุกรในไทยปรับตัวสูงขึ้นในชวงนี้
การจะเรงเลี้ยงสุกรในหลายประเทศใหมีผลผลิตเทากอนมีโรค ASF
ในภูมิภาคนี้อาจใชเวลาอีกประมาณ 2-3 ป และสุกรอาจไมใชสินคา
โภคภัณฑพื้นฐานอีกตอไป ความสามารถในการเลี้ยงใหปลอดโรค
และมีตนทุนที่มีประสิทธิภาพ จะเปนปจจัยหลักสำหรับความสำเร็จ
ของธุรกิจสุกร จึงมองวาในภูมิภาคนี้ราคาสุกรใน 1- 2 ปขางหนา
จะยังคงอยูในระดับสูงจากภาวะสุกรขาดตลาด
CสHาICสKEนN ไ&กP IG&MAGสAZุกINรE
63

ความสำคัญของน้ำหนักไกเ น้อื ในชว ง 7 วนั แรก

โดยทีมวชิ าการ เวท็ อนิ เตอร กรุป

อุตสาหกรรมการผลิตไกเนื้อในประเทศไทย ปรมิ าณการสงออกไกเ นอ้ื
ถอื วา เปน อตุ สาหกรรมดา นปศสุ ตั วท ม่ี คี วามสำคญั ของประเทศผูผลิตท่วั โลก ป 2020
และมีขนาดใหญท่ีสุดเมื่อเทียบกับอุตสากรรม
ปศุสัตวอื่นๆ ประเทศไทยเปน ผูส ง ออกเนอื้ ไกเ ปน (หนว ย 1,000 ตนั )
อันดับ 4 ของโลก โดยสงออกประมาณ 810,000
ตนั /ป เปน รอง บราซลิ อเมรกิ า และสหภาพยโุ รป ท่ีมา : https://www.statista.com/statistics/751000/
โดยสว นใหญส ง ออกเนอ้ื ไกใ นรปู แบบปรงุ สกุ ซง่ึ จาก export-of-poultry-meat-leading-exporter/
การสำรวจขอ มลู ดา นประสทิ ธภิ าพการผลติ เกษตรกร
ผเู ลย้ี งไกเ นอ้ื ในประเทศไทยนน้ั พบวา มตี วั เลขดา น
ประสทิ ธภิ าพการผลติ ทคี่ อ นขา งดี สามารถผลติ ได
ใกลเคยี งกับมาตรฐานคมู อื ของสายพันธุน นั้ ๆ โดย
จดุ ประสงคใ นการผลติ ไกเ นอ้ื คอื ตอ งผลติ ไกเ นอ้ื ทมี่ ี
คณุ ภาพ ปลอดยาปฏชิ วี นะและสารตกคา ง ทส่ี ำคญั
ตองสรางผลกำไรสูงสุด โดยผลกำไรที่เกษตรกร
ไดรับน้ันจะไดผลตอบแทนสูงหรือต่ำขึ้นอยูกับ
ประสทิ ธิภาพการผลิตเปน หลัก

64 สCHาICสKนENไก& PIG&MAสGAุกZINรE

โดยมาตรฐานประสทิ ธภิ าพการผลติ ไกเ นอื้ นนั้ มหี ลายๆ มาตรฐานการจัดการสำหรับไกเนื้อยุคใหมควรจะเพ่ิม
คามาตรฐานที่สำคัญ แตท่ีใหความสนใจและเปนมาตรฐาน น้ำหนัก 4.5 - 5 เทา ในชวง 7 วันแรก เชน น้ำหนกั ลูกไกอายุ
ทใี่ ชใ นการสงั เกตการเจรญิ เตบิ โต กค็ อื คา นำ้ หนกั ตวั ในระยะ 1 วนั ประมาณ 40 กรมั ที่ 7 วนั จะเพม่ิ เปน 180 กรมั ซงึ่ จาก
เวลาเลย้ี งชว งตา งๆ ซง่ึ ในไกเ นอ้ื สายพนั ธตุ า งกนั จะมมี าตรฐาน ขอ มลู ของ Ross พบวา หากสามารถเพม่ิ นำ้ หนกั ลกู ไก 10 กรมั
น้ำหนักตัวที่ตางกัน คามาตรฐานหน่ึงท่ีผูเลี้ยงและผูผลิตให จะทำใหน้ำหนักไกเน้ืออายุ 35 เพ่ิมข้ึนได 40-60 กรัม
ความสำคญั เปน อยา งมาก คอื นำ้ หนกั ตวั ไกใ นชว ง 7 วนั แรก จากการศึกษาพบวา พัฒนาการท่ีดีในชวงแรกของลูกไกจะ
ชว ยเพม่ิ ความสมบรู ณแ ละพฒั นาการของระบบทางเดนิ อาหาร
ระบบภูมคิ มุ กนั การเจริญของกลามเนอื้ และประสิทธภิ าพ
การเผาผลาญสารอาหารในระยะยาว

ความสำคญั นำ้ หนกั ตวั ลกู ไกเ นอ้ื
ในชว ง 7 วนั แรก

ในชวง 7 วนั แรกมคี วามสำคญั และถอื วาเปน ชวงวกิ ฤต
ลกู ไกต องเผชิญกบั ความทา ทายหลากหลาย ไดแ ก อณุ หภมู ิ
และสง่ิ แวดลอ มใหม และการเปลย่ี นอาหาร นำ้ หนกั ลกู ไกเ นอื้
ท่ี 7 วัน สามารถใชพารามิเตอรเพื่อกำหนดประสิทธิภาพ
การผลิตได เปนวิธีที่ไดการยอมรับในการใชประเมินการ
จดั การการเลี้ยง น้ำหนกั 7 วันมีผลกระทบอยางมีนยั สำคัญ
ตอ พารามเิ ตอรท ส่ี ำคญั เชน นำ้ หนกั จบั ,อตั ราการแลกเนอ้ื และ
อตั ราการตาย เปนตน สายพันธุ Cobb500 ไดแ สดงความ
เหน็ วา การเล้ียงไกชว ง 7 วนั แรกน้นั 80% ของพลังงานจะ
ถกู ใชเ พอ่ื การเจรญิ เติบโต และเพียง 20% สำหรับดำรงชีพ
เหลา นบ้ี ง บอกถงึ ความสำคญั ของชว งเวลานใ้ี นชวี ติ ของลกู ไก

ภาพท่แี สดงความสัมพันธ ภาพทแี่ สดงความสมั พนั ธ
ของการเพมิ่ น้ำหนกั ตวั ลกู ไกใ นชวง 7 วนั ของการเพ่มิ นำ้ หนกั ตัวลกู ไกในชว ง 7 วนั
ที่มา : http://pt.aviagen.com/assets/Tech_Center/ ท่ีสงผลตอ นำ้ หนกั ตัวและอัตราการแลกเนอื้ (FCR)
Ross_Tech_Articles/RossTechNoteLowBroilerKill-
Weights.pdf ไกเ น้ือในวันท่ี 37 ของการเลย้ี ง

ท่ีมา : https://www.poultryworld.net/Nutrition/
Articles/20131/4/The-importance-of-seven-day-
weight-1211707W/
CสHาICสKEนN ไ&กP IG&MAGสAZุกINรE
65

จากภาพแสดงใหเ หน็ วา การเพมิ่ นำ้ หนกั ตวั ในชว ง 7 วนั Nuvisol Hatch L
แรกของไกเน้ือมีแนวโนมเพิ่มน้ำหนักตัวของไกเน้ืออายุ 37
วนั ได และสามารถเพมิ่ อตั ราการแลกเนอ้ื โดยสงั เกตจาก FCR Nuvisol Hatch L (นูวิโซล แฮช แอล) คอื ผลติ ภณั ฑ
ทลี่ ดลง สารเสริมวิตามินสำหรับสัตวปก ผลิตโดย บริษัท นูเทร็กซ
ประเทศเบลเยยี ม ออกแบบมาโดยเฉพาะสำหรบั ลกู ไกใ นชว ง
ปจ จยั ทเ่ี กย่ี วขอ งกบั นำ้ หนกั ตวั ไก 7-10 วันแรกของการเล้ียง สัปดาหแรกของไกเนื้อมีความ
ในชว ง 7 วนั สำคัญอยางย่ิงตอการเติบโตและประสิทธิภาพการผลิต
ในชวงวันแรกๆ น้ีไขมันในถุงไขแดงเปนแหลงพลังงานหลัก
1. คุณภาพลูกไก เปนผลมาจากคุณภาพไขฟก และ ท่จี ำเปน สำหรบั การดำรงชพี
การฟก
Nuvisol Hatch L เปนสารเสริมในรูปแบบละลายน้ำ
2. การขนสงลูกไก หากใชระยะเวลาขนสงยาวนาน พรอมใชงาน ที่ประกอบดวยวิตามินและสารอาหารที่
อุณหภูมิและการระบายอากาศไมเหมาะสมจะสงผลเสียตอ จำเปนตอลูกไก ชวยเพ่ิมความสามารถการใชประโยชน
ตัวลกู ไก จากสารอาหารในถุงไขแดง เน่ืองจากมีสวนประกอบของ
L- Carnitine ทำใหล กู ไกไ ดรบั สารอาหารและพลังงานจาก
3. การจดั การอาหาร ตองมกี ารจดั การอาหารและน้ำ ไขแดงอยางรวดเร็ว อีกทั้งมีสารสำคัญอ่ืนที่ชวยเรื่องพัฒนา
ท่ีเหมาะสม ลูกไกตองสามารถกินอาหารไดเร็วท่ีสุด โดย การของอวยั วะทางเดนิ อาหารและระบบภมู คิ มุ กนั ซงึ่ จะชว ย
ตรวจสอบจากปริมาณอาหารในกระเพาะพกั ของลูกไก ใหไกเนื้อมีน้ำหนักในชวงสัปดาหแรกเปนไปตามมาตรฐาน
ของสายพนั ธุ ซง่ึ สง ผลตอ นำ้ หนกั จบั โดยตรง ลดการแตกไซส
4. การกกและสภาพแวดลอมโรงเรือน อุณหภูมิและ และอตั ราการตาย นอกจากนี้ Nuvisol Hatch L ยงั สามารถ
การระบายอากาศมีความสำคัญมากตอ การดำรงชพี ระยะน้ี ใชเสริมในไกพันธุเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตท้ังในดาน
เปอรเซ็นตการใหไขท่ีเพิ่มขึ้นจากเดิม 4.5% และเพ่ิม
ในระยะนี้ลูกไกจะมีการตายสูงสุดในชวงวันที่ 3 - 4 เปอรเ ซน็ ตการฟก ออก 4.3%
ซงึ่ สว นใหญเ กดิ จากไมส ามารถดดู ซมึ ไขแ ดงจากถงุ ไขแ ดงใน
ลำไสข องลูกไกมาใชประโยชนไ ด ถุงไขแดงเปน แหลง อาหาร สำหรับขอมูลเพ่ิมเติมและราคา Nuvisol Hatch L
แรกที่ลกู ไกจะใชในการดำรงชีพ หากลกู ไกไมส ามารถดูดซมึ สามารถติดตอพนักงานขายประจำเขตของฟารมทานได
เอาไขมนั และโปรตนี จากไขแ ดงมาใชป ระโยชนไ ด กจ็ ะสง ผล หรอื ตดิ ตอโดยตรงที่ บรษิ ทั บวี ี อินเตอรคอรป จำกัด
อยางสูงตอการเจริญเติบโต และหากการใหอาหารและน้ำ
ไมเหมาะสมดวยแลวจะเพ่ิมอัตราการตายและความไม
สม่ำเสมอของน้ำหนักไกในฝูง ดังน้ัน ผูเล้ียงไกเนื้อควรให
ความสำคัญกับการเลี้ยงไกระยะน้ี เพราะเปนกุญแจสำคัญ
ในการเลี้ยงไกเน้อื ใหประสบความสำเรจ็

ขอ มูลเพิ่มเตมิ สามารถตดิ ตอไดท ่ี
บรษิ ัท บีวี อินเตอรค อรป จำกัด
14 ถนนสวนสยาม แขวงคนั นายาว เขตคันนายาว กรุงเทพฯ 10230
โทร. 02-919-6881-4 โทรสาร. 02-919-6880
66 สCHาICสKนENไก& PIG&MAสGAุกZINรE









“สินเพช็ รฟารม”

เดนิ หนา ขยายฟารมสุกร

บนเน้อื ท่ี 100 กวา ไร ในตำบลดอนแสลบ อ.หวยกระเจา จ.กาญจนบรุ ี เปน ทตี่ งั้ ของ “หจก.สนิ เพ็ชร
ฟารม ” ฟารม สกุ รระบบปด ทไ่ี ดม าตรฐานและการเลย้ี งทเ่ี ปน มติ รกบั สงิ่ แวดลอ ม (Green Farm) บรหิ ารงาน
โดย คณุ สธุ ี สนิ เพช็ ร เจา ของรา นบญุ ชยั วสั ดกุ อ สรา ง จากเกษตรกรคนเลย้ี งไกท ไ่ี ดห นั มาเปน คนเลย้ี งหมู

“ผมทำอาชพี เลยี้ งไกเ นอื้ มากวา 15 ป ไดก ำไรบา งเสมอตวั
บา งเปน อยอู ยา งนม้ี าโดยตลอดประกอบกบั สถานการณป จ จบุ นั
ไมส ดู นี กั จงึ หยดุ เลย้ี งและใหเ กษตรกรเชา ฟารม และดำเนนิ การตอ
หลังจากนั้นไดมีโอกาสพูดคุยกับผูจัดการทั่วไปของ บริษัท
เจรญิ โภคภณั ฑอ าหาร จำกดั (มหาชน) หรอื ซพี ีเอฟ เมอ่ื ตน ป
พ.ศ. 2558 จึงไดรบั การแนะนำโครงการสงเสรมิ การเล้ียงสุกร
หรือโครงการฝากเลี้ยง ซึ่งสอดคลองกับความคิดของตนท่ีวา
การทำฟารมเล้ียงสุกรนาจะเหมาะที่สุดในปจจุบัน” คุณสุธี
กลา วถงึ ทม่ี ากอ นการตดั สนิ ใจทำฟารม เลย้ี งสกุ ร

CสHาICสKEนN ไ&กP IG&MAGสAZุกINรE 71

หลังจากศึกษาความเปนไปไดเกี่ยวกับการทำ สวนสาเหตุท่ีเลือกทำฟารมเล้ียงสุกรกับซีพีเอฟ
คอนแทร็คฟารม พบวาการเร่มิ ตน อาชีพไมย ากและไมม ี เนื่องจากเชื่อมั่นในมาตรฐานของบริษัทฯ รวมถึงรายไดที่
ความเสย่ี ง ทั้งในเรื่องของพนั ธสุ ตั ว อาหาร ยารกั ษาโรค มั่นคง ระบบการเล้ียง พันธุสุกร และอาหารที่มีคุณภาพ
และการใชวัคซีนตางๆ คุณสุธีจึงตัดสินใจเขารวม ทำใหการทำฟารมเล้ียงสุกรงายข้ึน และทำใหชีวิตความ
โครงการโดยเร่ิมสรางโรงเรือนท่ีไดมาตรฐานจำนวน 5 เปนอยูของครอบครัวดีขึ้น เนื่องจากมีรายไดที่ม่ันคงและ
หลงั ขนาดความกวา ง 13 เมตร ยาว 79 เมตร ในระบบ มีตลาดรองรบั ผลผลติ ท่แี นน อน
อีแวป (Evap) ที่สามารถควบคุมอุณหภูมิใหเหมาะสม
กับการเล้ียงสุกรในแตละชวงอายุ พรอมดวยระบบการ นอกจากนี้ ทางฟารมมีการนำ “ระบบไบโอแกส”
ใหอ าหารแบบอัตโนมตั ิ และเร่ิมเล้ียงสุกรจำนวน 3,000 เขามาใช และที่สำคัญชวยลดตนทนุ การผลติ ดา นพลังงาน
กวาตวั โดยการนำมูลสุกรและน้ำเสียจากการลางคอกเปนสารตั้ง
ตนในการผลิตแกสชีวภาพไปผลิตเปนพลังงานไฟฟาใชใน
ตอมาในปจจุบันมีทั้งหมด 15 โรงเรือน เดิมบรรจุ ฟารม และที่สำคญั ชว ยลดตน ทุนการผลิตดา นพลงั งานได
สกุ รหลงั ละ 700 ตวั มาปจ จบุ นั มจี ำนวนสกุ รเพม่ิ มากขน้ึ ถึง 70-80% ซ่ึงคาไฟท่ีฟารมเฉลี่ยแลวจายเดือนละ
จงึ ไดเ พม่ิ จำนวนสกุ รเปน หลงั ละ 750 – 770 ตวั เปน สกุ ร ประมาณ 30,000 บาท จากแตกอนรุนแรกๆ ตอนท่ียัง
ขุนท้ังหมดขนาดกวางxยาว 13x68 เมตร และทางซีพี ไมม ีบอไบโอแกส ตองจายคาไฟถงึ 1 แสนบาท/เดือน
ไดมีการปรับเปลี่ยนวิธีการเลี้ยง ลักษณะของโรงเรือน
และสูตรอาหาร ทำใหเลี้ยงหมูในระยะเวลาเทาเดิมแต
ไดน้ำหนักตัวท่ีเพ่ิมข้ึน ปกติทางฟารมเคยเลี้ยง 25
สัปดาห จะไดนำ้ หนักจับประมาณ 110 กิโลกรมั แตใน
ปจจุบันไดนำ้ หนกั จับอยทู ี่ 120 กโิ ลกรัม

72 สCHาICสKนENไก& PIG&MAสGAุกZINรE

เม่ือถามถึงสภาพอากาศสงผลกระทบตอการทำ เม่ือถามถงึ วธิ ีการเลือกใชอปุ กรณ คุณสุธีไดเ ลือกใช
ฟารมอยางไร ? คุณสุธีกลาววา “เน่ืองจากเขตพื้นท่ี วสั ดอุ ยา งดสี ำหรบั การสรา งโรงเรอื นในครงั้ แรกเลย ไมว า
จงั หวดั กาญจนบรุ เี ปน พน้ื ทท่ี ม่ี อี ากาศรอ นเปน อนั ดบั ตน ๆ จะเปนคุณภาพของเหล็กที่นำมาสรางโรงเรือน หรือจะ
ของประเทศ ดงั น้นั จะประสบปญ หาการขาดแคลนน้ำ เรอื่ งของพนื้ คณุ สธุ ไี ดเ ลอื กวสั ดอุ ปุ กรณท ม่ี คี ณุ ภาพอาจ
ใชอุปโภคบริโภคในภาคเกษตรและปศุสัตวท่ีสรางความ จะมีตนทุนท่ีสูง แตเพ่ือคุณภาพที่ดีของอุปกรณและ
เสียหายใหกับเกษตรกร หากไมมีมาตรการหรือแผน ความคงทนของโรงเรอื นกถ็ อื วา คมุ คา แกก ารลงทนุ เพราะ
รองรบั ทงั้ ระบบเกษตรกรกจ็ ะเดอื ดรอ น สว นภาคปศสุ ตั ว ทำใหปจจุบันทางฟารมไมตองมีการซอมหรือเปล่ียน
ฟารม ทไ่ี มไ ดเ ลยี้ งในระบบโรงเรอื นอแี วป อาจไมส ามารถ อุปกรณเ ลย
ควบคมุ อณุ หภูมทิ ่มี คี วามผนั ผวนตลอด ซึ่งอาจสง ผลให
สตั วท ีเ่ ลย้ี งเจ็บปวยได” และบริษัทที่คุณสุธีไววางใจเลือกใชบริการ คือ
บรษิ ทั the regent อปุ กรณ ซงึ่ คณุ สธุ ไี ดเ ลอื กใชอ ปุ กรณ
ของ the regent มาตงั้ แตสมยั ทเ่ี รม่ิ ทำฟารมไก เพราะ
วสั ดอุ ปุ กรณท ม่ี คี ณุ ภาพ แขง็ แรงทนทาน และการบรกิ าร
ท่เี ปนเลศิ ทำใหคณุ สุธีเลอื กใชม าจนถึงปจจุบนั

CสHาICสKEนN ไ&กP IG&MAGสAZุกINรE 73

ใ น อ น า ค ต คุ ณ สุ ธี มี แ ผ น ก า ร ท่ี จ ะ ข ย า ย ฟ า ร ม ใ ห ม ท่ี ขอขอบคณุ ขอ มลู ดๆี จาก
อ.บอ พลอย มพี นื้ ท่ี 28 ไร โดยวางแผนจะขยายฟารม ใหมภ ายใน คณุ สธุ ี สนิ เพช็ ร หจก.สณิ เพช็ ร ฟารม
2 ป ไดม ีการออกแบบโรงเรือนเปน รูปแบบเลา แฝดขนาดกวา งx 111 ม.13 ต.ดอนแสลบ อ.หว ยกระเจา
ยาว 27x78 เมตร สามารถบรรจสุ กุ รได 1,700 ตวั จะสรา งทง้ั หมด
4 หลงั และไดทำการเจาะหาน้ำบาดาลเพอ่ื ดปู รมิ าณน้ำวาเพียง จ.กาญจนบรุ ี
พอตอ ความตองการหรอื ไม เพราะพ้ืนทฟ่ี ารม ปจ จบุ ันคอ นขา ง โทร. 086-323-1761
มปี ญ หาเรอื่ งนำ้ จงึ ทำใหต อ งมคี า ใชจ า ยเพม่ิ ขน้ึ เมอื่ จะขยายฟารม
ใหมค ณุ สุธจี ึงตองการพน้ื ท่ีท่มี ีนำ้ ใชเ พยี งพอตอความตอ งการ

และคุณสุธียังเลือกท่ีจะทำฟารมเล้ียงสุกรกับซีพีเอฟอีก
เชนเคย โดยใหเหตุผลวา “ซีพีเอฟเปนพันธมิตรที่ดีและให
ความชวยเหลือมาโดยตลอด อีกท้ังใหคำแนะนำและความรู
ตา งๆ ทเี่ ปนประโยชนใ นการลดตน ทุนการผลติ จากทเี่ มื่อกอ น
ไมเคยทำฟารมหมู จนวันนี้ถือวาประสบความสำเร็จมากใน
ระดับหนงึ่ ”

สุดทายคุณสุธีไดฝากท้ิงทายถึงคนท่ีสนใจอยากหันมา
เลย้ี งสกุ รในระบบคอนแทรค็ “จรงิ ๆ แลวการเลย้ี งหมูในระบบ
คอนแทร็คก็เปนเรื่องท่ีดี และเปนโอกาสที่ดีสำหรับคนเลี้ยงหมู
และในชวงน้ีถือวาการทำฟารมปศุสัตวเปนอาชีพท่ีดีมาก
กวา อาชพี อน่ื ถา มโี อกาสอยากหนั มาทำอาชพี เกย่ี วกบั ปศสุ ตั วก ็
แนะนำ และแนะนำใหหาบรษิ ทั ท่มี ัน่ คง มเี สถียรภาพ”

74 สCHาICสKนENไก& PIG&MAสGAุกZINรE

เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2563 ทีมวิชาการ “หมอหมู” เกษตรศาสตร ภาควิชาเวชศาสตรและทรัพยากร
การผลิตสัตว คณะสัตวแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กำแพงแสน ไดจัดงานสัมมนาวิชาการขึ้น
“ทันโรคทันเหตุการณ กับการเลี้ยงสุกร” ในงานเกษตรกำแพงแสนซึ่งเปนการจัดตอเนื่องทุกป โดยครั้งนี้จัดขึ้น
เปนครั้งที่ 19 สวนหัวขอการสัมมนาครั้งนี้มาในหัวขอ “Proactive Farm Monitoring”

สำหรบั วิทยากรทม่ี าบรรยายยังคงเปน อาจารยแ ละนกั วิชาการท่คี ุนเคยกนั ดี ประกอบไปดว ย รศ.ปรยี พันธุ อดุ มประเสรฐิ ,
รศ.กิจจา อุไรรงค, ผศ.น.สพ.ดร.ปริวรรต พูลเพิ่ม, ผศ.ณัฐวุฒิ รัตนวานิชโรจน, ผศ.น.สพ.ดร.อลงกต บุญสูงเนิน,
อาจารย น.สพ.พชิ ยั จิรวัฒนาพงศ, อาจารย น.สพ.นรตุ ม ทะนานทอง, น.สพ.สหธชั พทุ ธปฏิโมกข, ผศ.น.สพ.ดร.มานะกร
สุขมาก และ อาจารย สพ.ญ.ยลยง วุนวงษ

รศ.ปรียพนั ธุ อุดมประเสริฐ

รศ.ปรียพันธุ กลา วถงึ นิยามหรอื ความหมายของคำวา “Proactive” ในแงข องการเล้ยี ง การผลิตสุกร ซง่ึ อาจารยกลา ว
โดยสรุปไดวา คำวา Proactive ถาแปลตามพจนานุกรม ความหมายทั่วไป แปลวา เริ่มตนทำกอน แตในความหมายของการเลี้ยง
การผลิตสุกร ความหมายก็จะตางออกไป ซึ่งความหมายที่เปนไปไดในสวนนี้ ก็คือ การดำเนินการเชิงรุก หรือถาใหชัดเจนขึ้นไป
ก็จะมีความหมายตรงกับคำวา Proactive Monitoring activity หมายถึง การตรวจสอบหรือเฝาระวงั เชงิ รุก
เพอ่ื ใหเ หน็ ภาพทช่ี ดั เจน อาจารยจ งึ ไดย กตวั อยา งเรอ่ื ง การหยา นมตอ แมต อ ป ขน้ึ มาเปรยี บเทยี บใหฟ ง วา ถา ทำแบบเชงิ รกุ
จะตองทำอยางไร คิดอยางไร ซึ่งกลาววา ถาเราตั้งเปาหยานมตอแมตอปที่ 30 ตัว การดำเนินการเชิงรุก สิ่งที่ตองทำคือ การเตรียม
หมูสาวทดแทนใหดีที่สุด ถูกตองที่สุด เพราะการที่เราจะไดลูกสุกร 30 ตัวตอแมตอปตามเปาหมาย จะขึ้นอยูกับขนาดกลุมผสมกับ
อตั ราเขา คลอด ซึ่งขนาดกลุมผสมมีปจ จยั ท่สี ำคญั มาจากเรือ่ งหลักๆ 2 เรอ่ื ง คอื สุกรสาวทดแทน กบั การคดั ทิง้ สวนอัตราการเขา
คลอด มปี จจัยที่สำคญั คอื เรือ่ งของการกลับสัด
CสHาICสKEนN ไ&กP IG&MAGสAZุกINรE
75

ดังนั้น สัตวแพทยที่ทำงานในการควบคุมการผลิตในระดับฝูงในเชิงรุก ทุกครั้งที่ไปฟารม การดูแลสุกรสาวทดแทน
การวิเคราะหการคัดทิ้ง การวิเคราะหเ ปอรเ ซน็ ตก ารกลบั สดั จึงเปนงานสำคัญที่ตองดูทุกครั้ง เพื่อชี้ใหเห็นวาเปนการเฝาระวังในเชิงรุก
เฝพงู โื่อดใยหปลกูกตหเิ ยปาน นกมารตทอำคงราอนกในเปเชนงิ ไรปกุ ตเปานมปเปกาตหอิ มยาแู ยลว ถาโดมยีอสะรไปุรเกPิrดoขaึ้นcกtiv็จeะมfaีเวrmลาแMกoไnขiทtoันrทinี gฉะacนtั้นivชitี้ใyหกเหค็ ็นอื ไกดาเรลเฝยาวราะวกงัาฝรงูทใำนงเชานงิ รใกุนนรน่ัะดเอับง

ผศ.น.สพ.ดร.ปริวรรต พลู เพ่ิม ผศ.น.สพ.ดร.อลงกต บุญสูงเนนิ

ผศ.น.สพ.ดร.ปริวรรต และ ผศ.น.สพ.ดร.อลงกต กลาวในประเด็น “ผลแลปกับการเฝาระวังสุขภาพของฟารม” ซึ่ง
ทั้งสองทา นกลาวโดยสรุปเอาไววา การปองกนั แกไขปญ หาเชิงรุกหรือ “Proactive” ของฟารมท่ีเกิดขน้ึ โดยเฉพาะเร่ืองโรคท่ีสำคญั ๆ
ทีจ่ ะกลา วในวันนคี้ อื โรค PRRS, PCV2, PED และ APP ส่งิ สำคญั อันดบั แรกคือ การใชผลแลปหรอื ผลจากหองปฏบิ ัตกิ ารในการ
ประเมนิ ปญ หาและควบคมุ โรค ซึง่ วธิ ีการในหองปฏบิ ัตกิ ารที่สำคัญ เชน ELISA Seroprofile, PCR, RT-PCR และ Sequencing

อยางไรก็ตาม หากพูดถึงปญหาของฟารมที่มักจะเปนสาเหตุที่นำไปสูการเกิดโรคจะมีจุดที่เปนความเสี่ยงหรือจุดวิกฤต
อยูหลายจุดในกระบวนการผลิต ในที่นี้อาจารยไดยกมา 2 จุดคือ ชวงระหวางสุกรรุนพันธุไปสูสุกรสาว และชวงสุกรสาวไปสูฝูงผสม
ซึ่งโดยปกติเรามกั จะมองจุดทเ่ี ปน ความเสีย่ งเฉพาะแตช ว งสุกรสาวไปสฝู ูงผสมเพยี งชว งเดียว แตถ าเราจะทำในลกั ษณะเชงิ รกุ เราตอง
ยอนกลับไปในชวงสุกรรุนพันธุไปสูสุกรสาวดวย เพราะถือวาเปนจุดเสี่ยงเชนกัน ดังนั้น ทั้งสองจุดหากจะทำเชิงรุก เพื่อควบคุม
และแกไขปญหาที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตก็จะตองทำการคัดสุขภาพ คัดคุณภาพเจาะเลือดตรวจดว ยวธิ ี ELISA และ PCR

การดำเนินการแบบเชิงรุกในจุดเสี่ยงที่กลาวมา ทั้งสองทานบอกวา จะทำในกรณีที่ฟารมมักเกิดปญหาซ้ำๆ แตหากฟารม
ที่นิ่งแลวก็อาจไมตองกังวลแตตองเฝาระวัง สำหรับฟารมที่มักเกิดปญหาซ้ำๆ อยางในกรณีของโรค PRRS สิ่งที่บงบอกวามันนิ่งแลว
(Stable herd) คอื ทกุ จดุ ของฟารม จะตอ งไมม ปี ญ หาสกุ รปว ย ไมใ ชว า สกุ รสาวผลเลอื ดดี ไมม สี กุ รตวั ไหนปว ยหรอื มปี ญ หา แตใ นสกุ ร
อนุบาลมปี วย ผลเลอื ดเปน บวก อยา งน้ไี มถ อื วา Stable เพราะยังมจี ุดอื่นท่เี ปนลกั ษณะ Stable Inactive

แตการที่จะบงบอกไดวาฝูงสุกร Stable ในแตละคนอาจไมเหมือนกัน ถาอางอิงจากงานวิจัยในตางประเทศ (ค.ศ.2000)
ฝูงที่นิ่งหรือ Stable คือ ฝูงที่เมื่อตรวจเลือดดวย ELISA พบวา 90% ของตัวอยางใหผลเปนบวก และในฝูงที่ไมใชวัคซีน 90% มีคา
S/P <1.0 และ <10% มคี า S/P >2.0 เทา น้ัน แตถ าในฝูงทีใ่ ชว ัคซนี 90% มีคา S/P <2.0 จงึ จะยอมรับวา ฝูง Stable แตอ ยา งไรก็ดี
ปจ จุบันการจะช้ีวาฝูงน่งิ หรือไมตอ งใชหลายๆ ปจ จยั มาชวยชว้ี ดั ดังทีไ่ ดกลา วมา

ในสว นของ PCV2 เปน โรคท่อี าจารยม องวา มันคอื โรคที่ไมไดน ากลัวมากนกั หากไมม ีปจจัยแฝงอ่นื ๆ มาเกี่ยวของ เชน
มีการติดเชื้อ PRRS รวม ซึ่งจะมั่นใจหรือไมวามีการติดเชื้อรวมใหเก็บตัวอยางเขาตรวจในหองปฏิบัติการ แตถาไมตองการใหเกิด
ปญ หาเรากต็ อ งดำเนนิ การเชงิ รกุ กอ นทจ่ี ะเกดิ ปญ หา เพราะฉะนน้ั เรอ่ื งของ PVC2 หากเราไมม น่ั ใจวา มปี จ จยั อน่ื ๆ มาเกย่ี วขอ งหรอื ไม
ก็จบปญหาดว ยการใชว ัคซีน แตอยา งไรก็ตาม วัคซีน PCV2 ทุกชนิดทม่ี อี ยใู นปจจบุ นั ไมสามารถปอ งกันการตดิ เชอื้ ได 100% เพยี งแต
ชวยลดภาวะ Viremia ของเชื้อไวรสั ในตัวสกุ รเทาน้นั

76 สCHาICสKนENไก& PIG&MAสGAุกZINรE

กรณีของ PED หลักการในการควบคุมใหเตรียมสุกรสาวที่มีภูมิคุมกันกอนเขาฝูง กระตุนภูมิแมกอนคลอด ทำสุขภาพแม
กอนคลอดใหดีที่สุด ทำใหลูกในเลาคลอดมีภูมิสูงที่สุด ซึ่งนมน้ำเหลืองน้ำนมสำคัญมาก และหลักการควบคุมที่สำคัญอีกขอคือ การ
ทำใหไมมีเชื้อ หรือมีเชื้อใหนอยที่สุดในสิ่งแวดลอมซึ่งจะตองหาใหเจอ อยางไรก็ตาม วิธีการที่ดีที่สุดในตอนนี้ในการคุมโรค PED
ในฟารม ยงั คงเปน เร่อื งของการปอ นไสในสุกรทีย่ ังไมตดิ เชอื้ สว นวิธีการอนื่ ๆ เชน การใชว คั ซีนก็ยังเปน เร่ืองท่ตี องศึกษาตอไปในอนาคต

สดุ ทา ย APP ปจ จบุ นั มเี กอื บทกุ Serotype ซง่ึ ในระยะ 4-5 ปท ผ่ี า นมากม็ กี ารตรวจเจอกนั มาก สง่ิ ทอ่ี ยากแนะนำคอื ในฝงู
แมพ นั ธุ สกุ รสาว แมอุมทอ ง ควรจะตอ งมกี ารตรวจสอบสถานภาพ APP วาฟารมเรามสี ถานภาพอยา งไร เพราะบางฟารมไมทราบวา
เปน APP กวาจะรแู มสุกรก็ตายแลว ดงั น้ัน โรค APP จะตอ งมีการตรวจอยูเ สมอดว ยวธิ ีดงั ทไี่ ดกลาวไว เพราะโรคนีถ้ า สุกรตดิ เชอื้ แลว
เชื้อมันสามารถเขาไปหลบอยูในเม็ดเลือดขาวได เพราะฉะนั้นการปองกันควบคุมในสวนของโรค APP จะตองใชวิธีการทั้ง 3 สวน คือ
วคั ซนี ยาปฏชิ ีวนะ และการจัดการ

อยางไรก็ดี ไมวาโรคอะไรเปาหมายสุดทายของทุกฟารม คือ การทำใหฟารมมีความ Stable แตการจะไปถึงจุดนั้นจะตอง
ดำเนินการเชิงรุก อยามัวแตตั้งรับ การดำเนินการเชิงรุกที่ดีและรวดเร็ว คือ การใชผลทางหองปฏิบัติการ ทั้งนี้เพื่อสรางความมั่นคง
ดานสุขภาพฟารมสุกรของทานใหม่ันคงและยั่งยืน

น.สพ.พิชยั จิรวฒั นาพงศ น.สพ.สหธชั พุทธปฏิโมกข

น.สพ.พิชัย และ น.สพ.สหธัช กลาวในประเด็น “รูทันสุขภาพหมู ดูแลอนาคต” ซึ่งทั้งสองทานกลาวโดยสรุปวา
เปาหมายหลักของการเลี้ยงสุกร โดยเฉพาะฟารมที่เลี้ยงแบบครบวงจร คือ การไดสุกรขุนที่โตเร็ว เสียหายนอย แตการที่จะได
สุกรขุนในลักษณะดังกลาวเราตองเริ่มตนตั้งแตสุกรอนุบาลที่มีสุขภาพดี แตการจะไดสุกรอนุบาลที่ดีก็ตองไลมาตั้งแตแมเลี้ยงลูก
แมอุมทองตองไมปวย และแมทดแทนตองมีคุณภาพ

เราจะรูไดอยางไรวาสุกรปวย เบื้องตนคือ การสังเกตอาการ ซึ่งเปนสิ่ง
ทฟี่ ารม สามารถทำไดง า ยและทำไดท ันทที กุ วัน แตหากพบความผดิ ปกติใหสงตัวอยาง
ตรวจหองปฏิบัติการ และถาพบสุกรตายทันทีใหสงซากผาพิสูจนไดเลย การสังเกต
อาการและสงสยั วา สกุ รปว ยสงิ่ ท่บี งช้ีได คือ สุกรไมกนิ อาหารหรอื กินไมหมด มอี าการ
ไอ หอบ มีหนองไหล มีไข ตัวแดง นอนซึม ขาเจ็บ ขอบวม และทองผูก ซึ่งอาการ
เหลา นี้การจะทราบไดผ เู ลี้ยงจะตอ งมคี วามใสใจและประสบการณพ อสมควร
แตอยางไรก็ตาม สิ่งที่จะกลาวในประเด็นนี้อาจารยไดเนนไปที่แมอุมทอง
ซึ่งเปนจุดที่ถือวาเปนจุดสำคัญ เพราะเปนจุดที่จะสงผลกระทบตอเนื่องไปยังสวน
ผลิตอื่นๆ ของฟารม ไมวาจะเปนสวนของแมเขาคลอด แมเลี้ยงลูก และแมหยานม
หากแมอุมทองปวยผลกระทบที่ตามมาคือ ลูกในทองตายมัมมี่ ถาเปนแมเขาคลอด
จะเกิดอาการเครียด แรงเบงนอย และเกิด stillborn แมเลี้ยงลูกจะมีอาการนมแหง
เลี้ยงลูกไมไหวแมจะเลิกเลี้ยง ปญหาที่ตามมาคือ ลูกตายกอนหยานม ในขณะที่แม
หยานมจะมีอาการเปนสัดชา คัดทิ้งสูง และนำโรคกลับไปสูเลาแมอุมทองตอไป
การแกไขปญหา แนนอนวาจะตั้งรับอยางเดียวไมไดจะตองดำเนินการ
เชงิ รกุ หรือ “Proactive” วิธีการสามารถทำไดโดยควบคุมคุณภาพน้ำและอาหาร
ใหปลอดภัย ทั้งการปลอดภัยจากการปนเปอนเชื้อโรคและปนเปอนจากสารพิษ
รวมถึงการมีโภชนะครบถวนในสวนของอาหาร และการกินไดของสุกรในแตละรุน
วากนิ ไดเพยี งพอตอความตองการของรางกายหรือไม โดยเฉพาะน้ำ
CสHาICสKEนN ไ&กP IG&MAGสAZุกINรE
77

นอกจากนี้ ทางฟารมจะตองดูในสวนของความรอนในรางกายสุกรวามีมากนอยหรือไม หากมากไปอาจทำใหเกิด
Heat Stress ซงึ่ หมายถึง สภาวะความเครียดของสตั วท ส่ี ตั วไมส ามารถระบายความรอนสวนเกนิ ออกจากรา งกายไดอยา งเหมาะสม
ทำใหอุณหภูมิของรางกายสูงขึ้นสงผลตอกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาในตัวสัตว ทั้งระบบการสรางภูมิคุมโรค การให
ผลผลิต การสบื พันธุ และการเจริญเติบโต หรอื สตั วอาจถึงแกค วามตาย รวมถงึ ทำใหเกิด Comfortable Zone ซงึ่ หมายถงึ สภาวะ
ที่สัตวสามารถควบคุมและรักษาอุณหภูมิรางกายใหเปนปกติอยูเสมอ ไมสูญเสียความรอนออกจากรางกายมากเกินไป สภาวะดังกลาว
ฟารมตอ งหาวธิ ีการชว ยระบายความรอ นใหอยใู นระดับทเ่ี หมาะสม เชน การจดั รูปแบบการเลย้ี งใหส มั พนั ธกบั พืน้ ที่การเล้ยี งและ
อุณหภูมิในแตล ะชว งเวลา

โดยสรปุ สุขภาพของสกุ รท่ดี ีข้นึ อยูก บั การจัดการท่ีดี มคี วามสมำ่ เสมอ ดังท่ีไดก ลา วมาทั้งในเรอ่ื งของการระบายความรอน
การจัดการฝูงสุกร การจัดการอาหาร เพราะสิ่งเหลานี้จะเปนปจจัยที่นำไปสูความสำเร็จของฟารม ที่สำคัญฟารมควรมีขอมูล เมื่อมี
ขอ มูลก็จะทำใหรูปญหาเร็ว แกไ ขไดไว และมีความสญู เสยี นอย นำไปสกู ารแกปญหาอยา งถกู ตอ งและเหมาะสม

ผศ.น.สพ.ดร.มานะกร สุขมาก อาจารย สพ.ญ.ยลยง วุน วงษ

ผศ.น.สพ.ดร.มานะกร และ อาจารย สพ.ญ.ยลยง กลาวในประเด็น “รูสายพันธุ รูทันโรค” กลาวโดยสรุปวา เมื่อพูดถึง
สายพันธุก็ตองนึกถึงเรื่องพันธุกรรม เรื่อง DNA, RNA เพราะเปนสิ่งที่บงบอกความสัมพันธของสิ่งมีชีวิต แนนอนวามันก็จะไป
เชื่อมโยงกับเชื้อโรคในฟารมดวยวาเปนชนิดหรือสายพันธุเดียวกันหรือไม โดยการใชหลักการในเรื่องของพันธุศาสตร หรือ
พันธุกรรมมาประเมินวาเชื้อในฟารมเปนเชื้อเดียวกัน หรือมีความสัมพันธกันหรือไมอยางไร

78 สCHาICสKนENไก& PIG&MAสGAุกZINรE

แตอยางไรก็ตาม สิ่งหนึ่งที่เรารูกันดีก็คือ เชื้อบางตัวมีการกลายพันธุโดยเฉพาะเชื้อ
กลุมไวรัส ซึ่งเหตุผลของการกลายพันธุของไวรัสก็เปนไปเพื่อความอยูรอดของมัน อีกสาเหตุที่
สำคัญ ก็คือ เกิดจากการใชยาเกินความจำเปน ทำใหเชื้อไวรัสเกิดการกลายพันธุ จนนำไปสู
ปญหาเชื้อดื้อยา การกลายพันธุของเชื้อจะสงผลในหลายเรื่อง ไดแก ผลตอการติดเชื้อไวรัส
หมายความวา เชื้อไวรัสมีความสามารถในการติดเชื้อไดหลากหลาย ทำใหแพรกระจายไดเร็ว
สงผลตอความรุนแรงในการกอโรค หมายถึง ความรุนแรงในการทำลายอาจจะรุนแรงมากขึ้น
หรือนอยลง แตสวนใหญจะไปในทิศทางที่รุนแรง นอกจากนี้ ยังมีผลตอการควบคุมและปองกัน
โรคอีกดวย
ดังนั้น การที่เราจะทราบวาเชื้อที่เกิดขึ้นในฟารมของเราเปนเชื้ออะไร ชนิดหรือสายพันธุไหน เพื่อนำไปสูการแกไขปญหา
ควบคุมและปองกันโรคตอไปนั้น เราจะตองทำการเก็บตัวอยางสงตรวจในหองปฏิบัติการ ก็จะทำใหเราทราบไดวาเชื้อที่เกิดขึ้นนั้น
เปนเชื้ออะไร ซึ่งจุดสำคัญที่เหมาะตอการนำมาเปนตัวอยาง และถือวาจุดเสี่ยงของฟารมก็คือ จุดที่มีการนำเขา ไดแก จุดที่เปน
สุกรสาว เพราะมักมีการนำเขา จุดที่เปนเลาคลอด เลาอนุบาลหรือขุน ก็ถือวาเปนจุดเสี่ยงเชนกัน
สำหรบั การเก็บตัวอยาง วธิ กี ารหรือขนั้ ตอนการเก็บท่ถี ูกตอง คือ ควรเกบ็ ตวั อยา งจากสกุ รปวยท่แี สดงอาการใหมๆ เพราะ
เปนชวงที่มีปริมาณเชื้อเยอะ ไมควรเก็บจากสุกรที่โทรมแลวโดยสุมเก็บตัวอยางกลุมละ 3-5 ตัวอยาง ถาเปน PRRS แนะนำใหเก็บ
ตัวอยางจากซีรั่มหรือปอดจากสุกรสาว แมพันธุ ลูกดูดนม อนุบาล และขุน ถาเปน PCV2 ไมแนะนำใหเก็บตัวอยางจากสุกรที่โทรม
เพราะเชื้อไวรัสจะลดลง แตควรเก็บจากสุกรที่มีอาการผื่นแดง ถายเหลวเปนมูกเลือด หรือตัวซีด ตัวอยางที่เหมาะสมคือ ซีรั่ม
ตอมน้ำเหลืองบริเวณขาหนีบ สวน PED แนะนำใหเก็บจากลำไส หรือมูลของสุกร
การตรวจจะใชวิธีการตรวจแบบ Sequencing การตรวจดวยวิธีดังกลาวแนะนำใหทำการเก็บตัวอยางปละครั้ง เพื่อเปน
ขอมูลฟารม หรือเก็บตัวอยางในกรณีที่มีลักษณะโรคที่ผิดปกติไป หรือรุนแรงมากขึ้น หากมีการนำเขาสุกรสาวหรือสุกรกลุมใหญ
เขามาจากภายนอกควรเก็บตัวอยางสงตรวจ ในกรณีมีการแยกหลายยูนิตควรเก็บแยกทุกยูนิต และที่สำคัญคือตองแจงประวัติ
การทำวัคซีนในกลุมที่ตรวจดวย เพื่อปองกันการสับสน

- อา นตอ ฉบับหนา

CสHาICสKEนN ไ&กP IG&MAGสAZุกINรE 79

อธบิ ดีกรมปศสุ ตั วแจงกรณปี ญหาการสงออกสุกรไป
ประเทศกมั พูชา และพรอมเปดดา นฯ ตามนโยบาย
รมว.กษ.อยา งเรง ดว นเพอื่ ชว ยเหลอื เกษตรกรผเู ลย้ี งหมู

นายสตั วแพทยส รวศิ ธานโี ต อธบิ ดกี รมปศสุ ตั ว ชแ้ี จงกรณที ่ี น.สพ.
วิวัฒน พงษว ิวัฒนชัย อปุ นายกสมาคมผเู ลย้ี งสุกรแหงชาติ ระบถุ ึงปญหา
การสง ออกสกุ รมชี วี ติ ไปประเทศกมั พชู าวา ขณะนย้ี งั ไมส ามารถสง ออกได
จากความขดั แยง ระหวา ง โบรกเกอร กลมุ ทไ่ี ดร บั สทิ ธท์ิ ำการคา กบั ประเทศ
กัมพูชากับอีกกลุมที่ไมไดรับสิทธ์ิ ท่ีใชรถยนตและรถบรรทุกปดก้ันถนน
ไมใ หร ถขนสกุ รผา นจดุ ผา นแดนได ซง่ึ ปญ หาดงั กลา วยดื เยอ้ื นานกวา 1 เดอื น
สงผลใหปริมาณสุกรลนตลาดจนกระทบตอราคาหมูที่ตกต่ำลงอยางมาก
และเกษตรกรตอ งแบกรบั ภาวะการขาดทนุ มากวา 3 ป ทง้ั นแ้ี มจ ะเรยี กรอ ง
ใหรฐั บาลชว ยแกป ญ หาผานนายกรัฐมนตรี รองนายกรฐั มนตรี รัฐมนตรี
วาการกระทรวงพาณิชย และกรมปศุสัตว แตยังหาขอสรุปไมได และมี
การโยนความรับผิดชอบไปมาระหวางกระทรวงพาณิชย กรมปศุสัตว
รวมทงั้ กระทรวงการตา งประเทศ ในประเดน็ ขอ โตแ ยง เรอื่ งการเปน AEC
อยางไรก็ตาม หากปญหาดังกลาวไมไดรับการแกไข เกษตรกรผูเล้ียงสุกรทั่วประเทศจะนัดรวมตัวกันครั้งใหญ เพื่อทวงถาม
คำตอบจากนายกรฐั มนตรี ทท่ี ำเนยี บรฐั บาลภายใน 7 วนั ซง่ึ สนิ้ สดุ วนั ที่ 24 ธ.ค. นนั้ กรมปศสุ ตั วช แ้ี จงวา เมอ่ื วนั ที่ 2 พฤศจกิ ายน
2563 ทผ่ี านมา หนวยงานสุขภาพสตั วและการผลติ ราชอาณาจกั รกมั พชู า (General Directorate of Animal Health and
Production : GDAHP) ไดมีจดหมายอิเลก็ ทรอนกิ สสง ถงึ กรมปศสุ ตั ว แจง ขอ กำหนด (requirement) การนำเขา /นำผานสกุ ร
มีชีวิตไปยังกัมพูชา/เวียดนามฉบับใหม พรอมกับแจงอนุญาตใหผูประกอบการจำนวน 5 บริษัทเปนผูสงออกได โดยใหมีผล
บงั คบั ใชใ นวนั ท่ี 9 พฤศจกิ ายน 2563 ทำใหก ลมุ ผูประกอบการทเี่ คยสงออกไดมากอ นอีกจำนวน 24 บริษทั ไดร บั ผลกระทบ
ไมส ามารถสง ออกไดต ามปกติ และยนื่ เรอื่ งรอ งเรยี นตอ ศนู ยร บั เรอื่ งราวรอ งทกุ ขท ำเนยี บรฐั บาล รวมถงึ ไดร วมกลมุ กนั ไปปด กนั้
ถนนไมใ หร ถขนสกุ รมชี วี ติ เพอ่ื การสง ออกทางดา นชอ งจอม จงั หวดั สรุ นิ ทร ซงึ่ กรมปศสุ ตั ว กระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดร ว มกบั
สำนกั นายกรัฐมนตรี กระทรวงพาณชิ ย และกระทรวงการตา งประเทศ เรงแกไขปญ หาใหกบั ผูประกอบการทไี่ ดรบั ผลกระทบ
อยา งตอ เนอื่ ง จนเมอ่ื วนั ท่ี 18 ธ.ค. 63 GDAHP ไดแ จง เพมิ่ เตมิ อนญุ าตใหผ ปู ระกอบการอกี 5 บรษิ ทั รวมเปน 10 บรษิ ทั สามารถ
สง ออกไปยงั กัมพชู าได
อธิบดีกรมปศุสัตว กลาวเพิ่มเติมวา กรมปศุสัตวรับผิดชอบ
การออกหนังสอื รับรองสุขอนามยั สัตว (Health Certificate) และ
ใบอนุญาตนำสัตวออกนอกราชอาณาจักร โดยตองปฏิบัติตาม
พ.ร.บ.โรคระบาดสตั ว พ.ศ. 2558 (ประกาศกรมปศสุ ัตว เรื่อง การ
ขออนุญาต การออกใบอนญุ าต วธิ กี ารนำเขา สงออก หรอื นำผาน
ราชอาณาจกั รสตั วห รอื ซากสตั ว พ.ศ. 2558) โดยปจ จบุ นั การสง ออก
ไปยังประเทศเพื่อนบาน ไดแก ลาว พมา เวียดนาม ไมมีการ
เปล่ยี นแปลงขอกำหนดการนำเขา ยงั คงมกี ารออกหนงั สือรับรองฯ
และใบอนุญาตฯ ไดตามปกติ ในสวนของประเทศกัมพูชาไดมีการ
80 สCHาICสKนENไก& PIG&MAสGAุกZINรE

เปลย่ี นแปลงขอ กำหนดการนำเขา ใหม กรมปศสุ ตั วจ งึ อยใู นระหวา งประสานงานใหก มั พชู าพจิ ารณาเหน็ ชอบรา งหนงั สอื รบั รองฯ
ฉบับใหม อยางไรก็ตาม ปจจุบัน GDAHP ไดผอนปรนใหใชหนังสือรับรองฯ ฉบับเดิมไปกอนได กรมปศุสัตวจึงสามารถออก
หนงั สือรับรองฯ และใบอนุญาตฯ ใหผ ูประกอบการไดท นั ที หากมผี ูประกอบการยนื่ ขออนุญาตพรอ มหลกั ฐานครบถวนถกู ตอง
ตอ มาเม่อื วันท่ี 23 ธันวาคม 2563 มีผปู ระกอบการท่ี GDAHP อนญุ าตใหสง ออกสกุ รมีชวี ิตไปยังประเทศกัมพูชาไดมายนื่ ขอ
หนงั สอื รบั รองฯ และใบอนญุ าตฯ ณ ดา นกกั กนั สตั ว โดยกองสารวตั รและกกั กนั กรมปศสุ ตั ว ไดต รวจสอบหลกั ฐานครบถว นถกู ตอ ง
จงึ ไดอ อกหนงั สอื รบั รองฯ และใบอนญุ าตฯ แลว จำนวน 4 ฉบบั นอกจากน้ี กรมปศสุ ตั วไ ดส ง หนงั สอื ขอเพม่ิ รายชอ่ื ผสู ง ออกเพอ่ื
ใหฝายกัมพูชาพิจารณาแลว โดยกรมการคาตางประเทศ กระทรวงพาณิชย และสถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงพนมเปญ
กระทรวงการตา งประเทศ จะเรง ตดิ ตามการเจรจาขอเพม่ิ รายชอ่ื ผปู ระกอบการทไี่ ดร บั อนญุ าตใหส ง ออก/นำผา นไปกมั พชู ากบั
หนว ยงานภาครฐั ของกมั พชู าโดยเรง ดว น ตามมตทิ ป่ี ระชมุ ตดิ ตามความคบื หนา เพอ่ื แกไ ขปญ หาการสง ออกสกุ รไปยงั ราชอาณา
จักรกมั พชู า กรณีมาตรการจำกดั การนำเขาสุกรจากไทย เมือ่ วันท่ี 17 ธ.ค. 63 ณ กรมการคา ตางประเทศ กระทรวงพาณชิ ย
ดว ยแลว และลา สดุ ดร.เฉลมิ ชยั ศรอี อ น รฐั มนตรวี า การกระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดส ง่ั การใหก รมปศสุ ตั วอ อกหนงั สอื
รบั รองสขุ อนามยั สตั ว (HC) พรอ มทง้ั มคี ำสงั่ ใหท กุ ดา นสามารถสง ออกสกุ รไปยงั กมั พชู าไดต ามปกติ ตง้ั แตว นั ท่ี 21 ธนั วาคม
2563 เพอ่ื แกไขปญหาความเดือดรอ นใหก ับเกษตรกรผูเลี้ยงสกุ รโดยเรงดว นอีกดวย อธิบดีกรมปศุสตั ว กลา ว

ขอมลู : ทีมงานโฆษกกรมปศุสัตว
ขา ว : เพ็ญศิริ ดวงอดุ ม นกั วิชาการเผยแพรช ำนาญการพเิ ศษ ขาวปศสุ ัตว

ไขขอสงสัย "ฝหนอง" ในหมเู กิดจากการอกั เสบ
แนะสงั เกตสัญลกั ษณ 'ปศสุ ตั ว OK'

ชวงท่ีผานมาในโลกออนไลนม กี ารแชรภาพ "ฝหนอง" ทเี่ กิดในหมู จนอาจเกดิ ขอสงสยั วา ฝหนองที่วา นเี้ กดิ จากอะไร
เรอ่ื งน้ี อธบิ ดกี รมปศสุ ตั ว น.สพ.สรวศิ ธานโี ต ไขขอ ขอ งใจวา เปน กอ นฝห นองทเ่ี กดิ จากภาวะอกั เสบ และตดิ เชอื้ แบคทเี รยี
ทำใหเ กดิ หนอง คาดวา เกิดจากความไมสะอาดในข้ันตอนการฉีดวัคซนี หรอื การฉีดยารักษาสตั ว ซ่งึ ในการเลี้ยงระบบมาตรฐาน
นั้นการรักษาสัตวอยูภายใตพระราชบัญญัติวิชาชีพการสัตวแพทย พ.ศ. 2545 และตามการควบคุมของสัตวแพทยผูควบคุม
ฟารมตามประกาศของกรมปศุสัตว ท่ีโดยปกติกอนจะฉีดวัคซีนหรือยาใหหมู ผูฉีดจะใชสำลีชุบแอลกอฮอลเช็ดบริเวณผิวหนัง
กอ นทกุ ครง้ั เพอื่ ปองกันเร่ืองความสะอาดบนผิวหนังกอ น อยา งไรกต็ าม ปญ หาฝในหมนู นั้ เกดิ จากหลายสาเหตุ เหมือนกบั คน
ท่ีเวลามแี ผลแลว ไมสะอาดเชือ้ แบคทเี รียกเ็ ขา ไปกลายเปน หนอง
CสHาICสKEนN ไ&กP IG&MAGสAZุกINรE
81

อธิบดีกรมปศสุ ตั ว ยนื ยนั วา กรณดี งั กลา ว “ไมเปน อนั ตรายตอ ผบู ริโภค” เพราะไมไดมสี ารตกคางใดๆ อยางทีบ่ างคนเขาใจ
แตก ็ไมค วรนำสว นท่ีเกิดฝหนองไปรับประทาน และหากพบสามารถแจงเจา หนาที่สาธารณสขุ หรอื เจา หนาทป่ี ศสุ ัตวเพอื่ ดำเนิน
การตรวจสอบไดทันที แนะนำผบู รโิ ภคเลอื กซ้ือผลิตภณั ฑจากผูผลติ ท่ีนาเชื่อถือ โดยเฉพาะการสังเกตตราสัญลักษณ “ปศสุ ัตว
OK” ทีก่ รมปศุสตั วเปนผูตรวจรับรองใหก ับสถานทีจ่ ำหนายเนอ้ื สัตวท ี่มีกระบวนการผลิตท่ีไดมาตรฐานทกุ ข้ันตอน โดยตอ งมา
จากฟารมมาตรฐาน (GAP) ผานการเชือดและชำแหละจากโรงฆาสัตวท่ีไดรับใบอนุญาตถูกกฎหมาย มีสุขอนามัยที่ดี
ปลอดภัยจากยาและสารตกคาง วางจำหนายในสถานท่ีจำหนายที่สะอาดถูกสุขลักษณะ และตองสามารถตรวจสอบยอนกลับ
ถงึ แหลง ทม่ี าของสนิ คา ได ผบู รโิ ภคสามารถซอ้ื หาไดอ ยา งมน่ั ใจ หากเกดิ ปญ หากบั ผลติ ภณั ฑ เจา หนา ทก่ี รมปศสุ ตั วก จ็ ะสามารถ
เขาไปตรวจสอบยอนกลบั และดำเนนิ การใหอยางทนั ทวงที

น.สพ.สรวศิ ยังใหคำแนะนำกบั เกษตรกรและภาคผผู ลิตวา ใหเ นน ในเร่ืองความสะอาดตลอดกระบวนการเลีย้ ง ควรจัดให
มกี ารใชแ อลกอฮอลเ พอ่ื ทำความสะอาดผวิ หนงั รว มกบั การใชเ ขม็ ทกุ ครง้ั รวมถงึ การนำเขม็ ไปใชค วรมกี ารตรวจสอบการเบกิ จา ย
และเกบ็ คนื เขม็ โดยตอ งมจี ำนวนเทา กนั เพอ่ื ปอ งกนั ปญ หาเขม็ ตกคา งทพ่ี บเจอกนั ในชว งทผี่ า นมา ซง่ึ ปกตแิ ลว ในฟารม มาตรฐาน
จะบรหิ ารจัดการเร่ืองนีไ้ ดเ ปนอยา งดีตามมาตรฐานและขอ แนะนำของกรมปศุสตั ว

ขณะที่ ผชู ว ยศาสตราจารย น.สพ.ดร.อาสตู ร สงวนเกยี รติ ภาควชิ าสตั วแพทยสาธารณสขุ ศาสตร คณะสตั วแพทยศาสตร
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร วทิ ยาเขตกำแพงแสน นครปฐม ระบถุ งึ เรือ่ งน้ีวา มีความเปนไปไดม ากที่จะเก่ียวขอ งกบั ลกั ษณะ
ของ Abscess หรอื ฝท มี่ กี ารเกดิ เฉพาะจดุ ในบรเิ วณของกลา มเนอ้ื โดยสงั เกตไดจ ากสที ห่ี นอง ซง่ึ จะแตกตา งจากสขี องกลา มเนอื้
และไขมนั ปกติ และสงั เกตลกั ษณะของเนอ้ื เยอ่ื เสน ใย fibrous tissue รอบบรเิ วณฝ ซง่ึ ลกั ษณะดงั กลา วเปน กลไกปกปอ งตวั เอง
ตามธรรมชาตขิ องสตั ว รวมทง้ั มนษุ ยด ว ย สาเหตกุ ารอกั เสบทเ่ี ปน ไปไดม ากทส่ี ดุ คอื เชอ้ื จลุ นิ ทรยี แ ละสง่ิ ทเ่ี กย่ี วกบั การเลย้ี งสตั ว
โดยการฉีดวัคซีนปองกันโรค หรือการใชยาฉีดในกรณีที่สัตวมีความจำเปนตองไดรับการรักษาตามหลักวิชาการตรวจเน้ือแลว
การตดั สนิ เนอ้ื ทม่ี ฝี แ บบนค้ี อื ถา พบในบรเิ วณเฉพาะจดุ ไมใ หญม ากใหต ดั เลาะบรเิ วณทไ่ี ดร บั ผลกระทบออกไป และพจิ ารณาให
เหมาะสมตอ การนำมาบรโิ ภค หรือถาไมแ นใ จการทำเนื้อใหส ุกอยางทวั่ ถึงกเ็ ปน การลดอันตรายท่อี าจปนเปอนมากับเนือ้ และ
ทำใหการทานเน้อื น้นั อรอยและปลอดภัยกบั ผูบริโภค

ทางดา น นายกสมาคมสตั วแพทยค วบคมุ ฟารม สกุ รไทย ผศ.น.สพ.ดร.สเุ จตน ชน่ื ชม ระบวุ า จากภาพทป่ี รากฏสนั นษิ ฐาน
ไดว า อาจจะเกิดจากการอกั เสบของเนอื้ หมู ในขณะทมี่ ีการฉีดวคั ซนี เขา ไปท่ีสวนสนั คอซ่ึงเปน กลา มเน้ือมดั ใหญ รอยโรคท่เี ปน
ลักษณะคลายฝหนองในเนื้อหมูที่อาจเกิดไดจากการฉีดวัคซีนหรือยารักษาโรค ซ่ึงข้ันตอนที่สำคัญที่สุดสำหรับผูประกอบการ
เพื่อปองกันอาหารท่ีไมไดคุณภาพท่ีจะสงถึงมือลูกคา คือ การใหความรู-ความเขาใจแกทีมงานอยางเพียงพอ ในสวนของเช้ือ
แบคทีเรียที่มักพบในกอนฝหนองก็ไมใชเช้ือที่ติดสูคน และการที่รางกายสรางเยื่อพังผืดหุมกอนหนองก็เพื่อปองกันไมใหเชื้อ
แพรกระจาย แตก็ไมควรรับประทานเน้ือสวนน้ัน สำหรับเน้ือสวนอื่นก็ยังคงปลอดภัยหากทำใหสุกกอนบริโภค อยางไรก็ตาม
หากพบก็ควรตัดสวนนน้ั ทง้ิ ไปหรอื พิจารณาท้ิงเนอื้ ทง้ั ชิ้นน้นั ไปเลย

นอกจากนี้ รองคณบดีคณะสัตวแพทยศาสตร กำแพงแสน ผศ.น.สพ.ดร.ปริวรรต พลู เพมิ่ ไดโ พสตใ นเฟซบกุ สว นตัวให
ความรใู นเรอ่ื งนว้ี า เปนการเกดิ กอ นฝจ ากเข็มฉดี ยาทอ่ี าจปนเปอนเชอื้ แบคทเี รยี กรณีการเกิดฝห นองจากเขม็ ฉีดยา มกั จะเกดิ
ข้ึนกอนท่ีจะขายหมูขั้นต่ำ 1-3 เดือน การตกคางของยาคงไมเกิดข้ึนในเนื้อดังกลาว ซึ่งเช้ือแบคทีเรียท่ีมักพบในกอนฝหนอง
ไมใชเช้ือท่ีติดสูคน แตปกติก็ควรตัดสวนฝหนองทิ้ง หรือทำลายทิ้งท้ังกอน และเน้ือสวนอ่ืนยังคงปลอดภัยหากทำใหสุกกอน
บริโภค ทั้งน้ีในสวนของโรงชำแหละที่มีมาตรฐานจะมีเจาหนาท่ีตรวจเน้ือที่ผานการอบรมจากกรมปศุสัตว เพ่ือใหม่ันใจวาเนื้อ
หมูท่ีจะสงออกขายมสี ขุ อนามยั ที่ดีสำหรับการบริโภค

สรุปคือ กอนฝหนองในเน้ือหมูเกิดจากการอักเสบจากเช้ือ
แบคทเี รยี ซง่ึ เปน เชอ้ื ทไี่ มเ ปน อนั ตรายกบั คน หากพบก็ แนะนำให
ตัดออกไมควรบริโภค แตเน้ือสวนอื่นยังสามารถทานไดหาก
ปรงุ สกุ แลว สว นจะเลอื กซอ้ื เนอื้ หมูปลอดภยั มาบรโิ ภคก็แนะนำ
ใหเ ลอื กจากผผู ลติ มาตรฐาน สงั เกตตราสญั ลกั ษณ “ปศสุ ตั ว OK”
เพียงเทา นี้กบ็ ริโภคไดอยางปลอดภัย
82 สCHาICสKนENไก& PIG&MAสGAุกZINรE

กรมเจรจาฯ เปดโพยภาษยี เู ค 4 กลมุ

หลงั เบรก็ ซติ พบสนิ คา ไทยไดป ระโยชนเพียบ

กรมเจรจาการคาระหวางประเทศชำแหละนโยบายการคาของสหราชอาณาจักร (ยูเค) หลังออกจากอียู
1 ม.ค.64 พบยดื หยนุ กวา ของอยี ู เผยอตั ราภาษถี กู แบงออกเปน 4 กลุม ไทยจะไดประโยชนภ าษนี ำเขาลดลง
หลายสินคา ประหยัดภาษไี ดก วา 737 ลา น แถมยงั ยกเลิกเก็บเอดอี ีก 4 รายการ ลาสุดไดหารือยูเคต้ังคณะ
กรรมการรว มดานเศรษฐกิจและการคา และจา งท่ปี รกึ ษาศึกษาประโยชนจ ากการทำเอฟทเี อไทย-ยเู คแลว

นางอรมน ทรัพยทวธี รรม อธิบดีกรมเจรจาการคา ระหวางประเทศ เปด เผยวา กรมฯ
ไดติดตามกรณีสหราชอาณาจักร (ยูเค) จะออกจากการเปนสมาชิกสหภาพยุโรป (อียู)
อยางสมบูรณ หรือเบร็กซติ ในวนั ที่ 1 ม.ค. 2564 พบวา ยูเคจะเริ่มใชนโยบายและมาตรการ
ทางการคาของตนเอง โดยนโยบายการคาของยูเคจะผอนคลายและยืดหยุนกวาของอียู
เพ่ือหลีกเล่ียงผลกระทบที่จะเกิดข้ึนกับผูบริโภคและผูประกอบการในยูเค รวมถึงเอ้ือตอ
การพัฒนาเปน Trading Nation ของยเู คภายหลงั เบรก็ ซิต
ทงั้ น้ี ในสว นของนโยบายและมาตรการทางการคา ในสว นทเ่ี กย่ี วกบั ภาษี สามารถแบง ออก
ไดเ ปน 4 กลุม คอื
1. ยเู คจะยกเลกิ ภาษศี ลุ กากรทเ่ี กบ็ กบั สนิ คา นำเขา คดิ เปน สดั สว นประมาณ 48% ของรายการสนิ คา ทง้ั หมด ซงึ่ ประเทศทยี่ งั
ไมม คี วามตกลงการคา เสรี (เอฟทเี อ) กบั ยเู ค รวมถงึ ไทยจะไดร บั ประโยชนจ ากมาตรการดงั กลา ว โดยสนิ คา ทจ่ี ะยกเลกิ ภาษนี ำเขา
หลงั เบรก็ ซติ ทนั ที เชน ผลไม อาหารทจ่ี ดั ทำไวส ำหรบั การเลยี้ งสตั ว เวชภณั ฑ เศษของโลหะมคี า เครอื่ งประมวลผลขอ มลู อตั โนมตั ิ
และวงจรพมิ พ
2. ยเู คจะลดอัตราภาษสี นิ คา นำเขาเหลอื 2-10% เปนสัดสว น 30% ของรายการสินคาทง้ั หมด เชน เครือ่ งเพชรพลอย
และรูปพรรณชบุ โลหะ ซอสและของปรงุ แตงสำหรบั ทำซอส ขาวกลอง และขา วขาว
3. ยูเคยังคงเกบ็ ภาษีนำเขา 12-70% กับสินคา ประมาณ 10% ของรายการสนิ คา ทัง้ หมด เชน เครอื่ งดื่มผสมแอลกอฮอล
ยาสบู สนิ คา ประมงแปรรูป เส้ือผา และผลไมแปรรปู บางประเภท
4. ยเู คจะใชม าตรการภาษเี ฉพาะหรอื กำหนดโควตานำเขา กบั สนิ คา ประมาณ 10% ของรายการสนิ คา ทง้ั หมด เชน สตั วป ก
มีชีวติ และแปรรปู ผลิตภัณฑน ม ธัญพชื น้ำตาล และแปง
อยางไรก็ตาม เมื่อประเมินขอมูลการคาไทย-ยูเค ในชวงป 2560-2562 พบวา จะชวยประหยัดภาษีศุลกากรที่ผูสงออก
ไทยตอ งจา ยใหย เู คประมาณ 737 ลานบาทตอป
นอกจากนี้ หลังจากเบร็กซิตยเู คจะยกเลกิ การเก็บภาษตี อบโตการทมุ ตลาด (เอด)ี กับสนิ คา ไทยท่เี คยถกู เรยี กเกบ็ เอดีจาก
อยี จู ำนวน 4 รายการ ไดแ ก ขา วโพดหวานแปรรปู ขอ ตอ ทอ เหลก็ หลอ อบเหนยี วสลกั เกลยี ว รถลากดว ยมอื และผา ตาขา ยใยแกว
ขณะเดยี วกนั เบรก็ ซติ ยงั ทำใหย เู คและอยี ตู อ งเจรจาปรบั ปรมิ าณโควตาในรายการสนิ คา ตา งๆ ทเี่ คยผกู พนั โควตาภาษไี วก บั
สมาชิกองคการการคาโลก (WTO) แบงเปนโควตาท่ียูเคจะจัดสรรใหประเทศคูคา และโควตาเขาสูตลาดอียู 27 ประเทศ
โดยโควตาใหมทไี่ ทยไดรับไมนอยกวา โควตาเดมิ เชน ไกหมกั เกลอื เนื้อไกปรุงสกุ และเนอื้ ไกแ ปรรปู เปนตน
นางอรมน กลา วตอ วา กรมฯ ยงั อยรู ะหวา งการหารอื กบั ยเู ค เพอ่ื จดั ทำรายงานการทบทวนนโยบายการคา รว ม (Joint Trade
Policy Review) และจดั ทำบนั ทกึ ความเขา ใจ (MoU) เพอ่ื จดั ตง้ั คณะกรรมการรว มดา นเศรษฐกจิ และการคา (Joint Economic
and Trade Committee : JETCO) กับยูเคในระดับรัฐมนตรี ซ่ึงจะเปนเวทีหารือสงเสริมความรวมมือและแกปญหาและ
อุปสรรคทางการคา และการลงทุนระหวางกนั
พรอมกันน้ี ไดมอบใหบริษัท โบลลิเกอร คอมพานี (ประเทศไทย) จำกัด ศึกษาประโยชนและผลกระทบของการจัดทำ
เอฟทีเอระหวางไทยและยูเค ตลอดจนจัดรับฟงความเห็นจากภาคสวนท่ีเกี่ยวของ เพ่ือรวบรวมขอมูลเสนอระดับนโยบาย
พจิ ารณาตดั สนิ ใจในเรอ่ื งการเจรจาเอฟทเี อกบั ยเู คตอ ไป โดยจะตอ งรอความพรอ มของฝา ยยเู คกอ น ซงึ่ ลา สดุ ยเู คไดส รปุ ผลการ
เจรจาจดั ทำเอฟทเี อกบั 30 ประเทศคคู า เดมิ ทเี่ คยมเี อฟทเี อดว ยกนั สมยั ทยี่ เู คยงั เปน สมาชกิ อยี ู เชน สงิ คโปร เวยี ดนาม แคนาดา
เม็กซโิ ก และญีป่ นุ เปน ตน CสHาICสKEนN ไ&กP IG&MAGสAZุกINรE
83

เปน็ หมูบนผลประโยชนของใคร
ข่าว
ปองกัน ASF แทบตาย

กลายเปนทำนาใหนกกนิ

กราบเรียน รองนายกรฐั มนตรี และรฐั มนตรวี า การกระทรวงพาณชิ ย
ชาวหมูขาดทุนมา 5 ป ลงทุนปองกันโรค

AเกSFษมตารแกลรว ช2าปว4หเดมอืูถนูกพขออจใะหลขมื ตาายอไามปเากกินไดบ 8า 0ง
บาทตอกิโลกรัม เพ่ือใหผูบริโภคชาวไทยจะได
ไมต องกนิ หมูแพงเหมอื นตา งประเทศ ทง้ั ๆ ทเ่ี รา
แบกวภันารนะ้ีเรพาชื ปออางหกาันรสโรตั ควจAนSหFลงัไอดา นใคไรมๆเ คตยาบงน ก็
มาหาผลประโยชนจ ากพวกเรา การสงออกท่พี อ
จะทำใหเ กษตรกรลมื ตาอา ปากไดบ า งและทำเงนิ
ตแรลาวเหขยาปุดรกะาเรทสศงอกอลกับถเกูกษแยตงรชกิงรผมลอปงรดะูตโยาปชนริบกันๆ
ดวยความอดทนและอดทน

พวกเราอยากแสดงความคดิ เห็นและขอความกรุณาไปยังทานดงั น้ี
1. การไมส ง ออกดว ยเหตผุ ลใดๆ เปน การทำลายภาคการเกษตรไทยในทกุ หว งโซธ รุ กจิ เกย่ี วกบั สกุ ร เราสญู เสยี
คิดเป2น . มนูลโคยา บ4าย,5ก0า0รคลาา ขนอบงาปทร/ะเดเทือศนเพื่อนบาน เรื่องใหสิทธ์ิใครในการซ้ือขาย ทางเกษตรกรไมสามารถเขาไป
จัดการไดเปนเรือ่ งการแขง ขันของผูคา ในตา งประเทศ
3. การคา ขายของโบรกเกอรใ นประเทศไทย เปน ไปโดยเสรแี ขง ขนั กนั ไดเ ตม็ ความสามารถ เกษตรกรมคี วาม
เปนก4ล. าปงญ ใหหาคจวาากมขเอทา2เทแยีลมะใ3นกขาณระซน้อื เ้ีขกาดิ ยความขดั แยง กนั เกษตรกรตอ งการใหก ารสง ออกเปน ไปตามปกตใิ นทนั ที
สวนการเจรจาเปนหนา ที่ของหนว ยงานตางๆ กท็ ำไปตามขน้ั ตอน
5. “เกษตรผลติ พาณชิ ยต ลาด” เปน ความหวงั ของพวกเรา เรอ่ื งกฎระเบยี บมไี วเ ปน เครอื่ งมอื ไมอ ยากใหเ ปน
ขอจำ6ก. ดั นขักณกาะรนเมม้ี ือีวงกิ บฤาตงหคลนาตยอองยเาหง็นเแกกษสตวรนกรรวกมูชาหตยิคุดอื พคฤวตามิกหรรวมังแสวงหาผลประโยชน (กินมูมมาม) โดยบีบค้ัน
กดดันหัวหนาดานท่ีมีผลประโยชนทางการคาสูง และเม่ือไมตอบสนองก็สั่งยาย เชน ดานเชียงราย มุกดาหาร
สุรินทร เหยยี บย่ำขาราชการที่ทำดี มีผลงาน โดยไมล ะอายตอ สายตาประชาชน
เขาล7ง.ทคนุ นใทนงั้กโาลรกปภอ มู งใิ กจนัทโงึ่ รใคนมคาวมามากสาแมลาวรถของประเทศไทยทส่ี ามารถปอ งกนั ASFไดเกษตรกรอยากลมื ตาอา ปากได

จงึ เรยี นมาเพื่อขอความกรณุ าสงออกสุกรโดยดวน ขอแสดงความนับถือ
84 สCHาICสKนENไก& PIG&MAสGAุกZINรE ชาวหมไู ทย

ȑ ǰȘ Ǯ Ǘș ȇ Ǽ

G2N4. O =;5BRD/K A /=A#W<<_O ; ZE L=%A
<WE?QG6 5S =JD4:K<8Ċ4/K N
’. L35BDR /K A“ 83č` 1_#O K"EA.K 3 =B=ÿ2==;=L%

ǰ đöČęĂüĆîìĊęǰǰ ǰíîĆ üćÙöǰ ǰîć÷ÿøüĉýǰíćîēĊǰêǰĂíïĉ éǰĊÖøöðǰ ýÿč ĆêüǰŤ îć÷ÿøč đéßǰÿöĉđðøöǰøĂÜĂíĉïéÖǰĊ øöðýÿč ĆêüǰŤ
îć÷ðøĊßćǰ ßîąÖÝĉ ÖćĞ Ýøǰ øĂÜñšüĎ ŠćøćßÖćøÝĆÜĀüĆéîǰ ÙøýøĊíǰ øøöøćßǰ îć÷îĉóîíǰŤ ÿ×č ÿąĂćéǰ đÖþêøǰÝĆÜĀüĆéîǰ ÙøǰýøíǰĊ øøö
øćßǰĀüĆ ĀîšćÿŠüîøćßÖćøÖøöðýÿč ĆêüǰŤđ×êǰ ǰĒúąđ×êǰ ǰĒúąîć÷đýÖÿøøÙǰŤ ÿüîÖúĎ ǰðýčÿêĆ üŤÝǰ ĆÜĀüĆéîǰ ÙøǰýøǰĊíøøöøćßǰøüŠ ö
óíĉ Ċđðéŗ ǰ×ïüîĀâćš ĂćĀćøÿêĆ üŤǰóøąøćßìćîǰ óøąïćìÿǰ öđéĘÝǰóøąđÝćš Ă÷ĎŠĀüĆ Ąǰ ǰ ìøÜóøąÖøèč ćǰēðøéđÖúćš ēǰðøéÖǰ øąĀöŠĂöǰ
óøąøćßìćîóøąïøöøćßćîčâćêĔǰĀšÖøöðýčÿĆêüŤǰ îćĞ Āâćš ĂćĀćøÿêĆ üŤǰóøąøćßìćîǰ đóĂęČ ĔĀÙš üćöߊü÷đĀúĂČ đÖþêøÖøǰñšĎ
đúĚ÷Ċ ÜǰÿêĆ üìŤǰ ęĊðøąÿïĂìč Öõ÷Ć ǰ ĔîóČĚîìǰęĊÝĆÜĀüéĆ îǰ Ùøýǰ øíĊǰ øøöøćßǰ óøšĂöÖĆîîĊĚĕéšúÜóĚîČ ìđęĊ ÷÷Ċę öĒúąĔĀÖš ćĞ úĆÜĔÝǰñĎšđúĊĚ÷ÜǰÿĆêüŤǰìęĊĕéš
øĆïÙüćöđéĂČ éøĂš îǰ øüöìĚÜĆ öĂïĂćĀćøÿĞćĀøïĆ ÿĆêüǰđŤ ú÷ĊĚ Üǰ ÿîč ×Ć
ǰ ĔĀÖš ĆïñšđĎ ú÷ĊĚ Üÿîč Ć×ìęðĊ øąÿïĂčìÖõ÷Ć ĔîóĚîČ ìęđĊ ìýïćúîÙø
îÙøýøĊíøøöøćßǰöĂïĀâćš ĒĀÜš ǰ
ǰÖÖ ǰĔĀĂš ćĞ đõĂđöĂČ Ü
ǰóøąóøĀö
ǰđÞúöĉ óøąđÖĊ÷øêĉǰđÖþêøÖøǰ ǰøć÷ǰÝĞćîüî
ēÙǰ
ǰêĆü

CสHาICสKEนN ไ&กP IG&MAGสAZุกINรE 85

86 สCHาICสKนENไก& PIG&MAสGAุกZINรE

ȑǰȘǮǗȇș Ǽ

%œB%CĘ
ę › "9 Aõ 1# ) 6% ƒ‰ +è 6 6' ę6 .5 +Ĝ Đ B)41 < .6/ ''% 6'A)&J9 . 5 +Ĝ Đ
'+Ę %. 5 . < 6'A)&J9 .5 +Ĝ Đ A 8 <' 8
I9E %ę 6 ' 6

øý éø üĊøąóúǰ ìĂÜöć ĂíĉÖćøïéöĊ Āćüìĉ ÷ćú÷Ć ĒöēŠ Ýš Ēúą îć÷ÿöÙĉéǰ üøøèúčÖ×Ċ øĂÜÖøøöÖćøñĎšÝĆéÖćø
Ăćüēč ÿ ïøþĉ Ćì đÝøĉâēõÙõĆèæĂŤ ćĀćø ÝćĞ ÖĆé öĀćßî
ĀøĂČ àĊóđĊ Ăô øüŠ öúÜîćöïîĆ ìċÖÙüćöđ×ćš ĔÝđóČĂę ÙüćöøŠüö
öĂČ ìćÜüĉßćÖćøéćš îÿĆêüŤðÖŘ ĒúąĂêč ÿćĀÖøøöÖćøđúĚ÷Ċ ÜÿêĆ üŤðÖŘ ǰ øąĀüŠćÜǰ öĀćüĉì÷ćú÷Ć ĒöŠēÝǰš ÖïĆ ǰ ïøþĉ ìĆ ǰ àóĊ ĊđĂôǰ
ðøąđìýĕì÷
ǰ ÝćĞ ÖĆéǰ öĀćßî
ǰ đóęČĂóçĆ îćÖćøýċÖþć ÜćîüĉÝĆ÷ ĒúąÜćîüßĉ ćÖćø éšćîÖćøđúĚ÷Ċ ÜĕÖÖŠ øąìÜÙøïüÜÝø
Ēúąđú÷ĚĊ ÜĕÖĕŠ ׊ đóęČĂĔĀđš ÖĉéñúÿĆöùìíĝĉìĊöę Ċðøąÿìĉ íĉõćóêĂŠ ĂćßóĊ ÖćøđúĊ÷Ě ÜÿĆêüðŤ ŘÖĒúąĂčêÿćĀÖøøöÖćøđú÷ĚĊ ÜÿêĆ üðŤ ŘÖ×ĂÜ
ðøąđìýĕì÷ è öĀćüĉì÷ćú÷Ć ĒöŠēÝš Ý đßĊ÷ÜĔĀöŠ

ÖćøúÜîćöÙüćöøŠüööĂČ ĔîÙøĆÜĚ îÝĚĊ ĆéìĞć×ċîĚ đóĂęČ øüŠ öÿîïĆ ÿîîč ÖćøýÖċ þć ÖćøüĉÝ÷Ć ÜćîüĉßćÖćø ÖćøđúĊ÷Ě ÜÿêĆ üŤ
ðŘÖđßÜĉ íčøÖÝĉ ìęĕĊ éšöćêøåćîøüŠ öÖîĆ đßîŠ ÖćøĒúÖđðú÷ęĊ îđøĊ÷îøĎĔš îÖćøđú÷ĚĊ ÜĕÖÖŠ øąìÜ ÖćøđúĊ÷Ě ÜĕÖĕŠ ×ÙŠ øïüÜÝøēé÷Öćø
Ĕßìš øóĆ ÷ćÖøĒúąđìÙēîēú÷øĊ üŠ öÖĆî ĂÖĊ ìĆÜĚ ÙüćöøüŠ ööČĂĔîÖćøóçĆ îćïčÙúćÖø×ĂÜìĆÜĚ ÿĂÜòść÷ øüöëċÜÖćøöĊÿëćîìęđĊ ×ćš
òÖř Üćî×ĂÜîÖĆ ýċÖþćöĀćüìĉ ÷ćú÷Ć ĒöŠēÝš êúĂéÝîÖćøđÖĘïøüïøüöךĂöĎúìćÜéćš îðýčÿĆêüŤđóČęĂðøąē÷ßîŤĔîÖćøđø÷Ċ îÖćø
ÿĂîĒúąÜćîïøĉÖćøüßĉ ćÖćø îĂÖÝćÖîĆĚî Öćøđú÷ĊĚ ÜÿĆêüŤðŘÖđßÜĉ íøč ÖÝĉ ìĕęĊ éöš ćêøåćî÷ÜĆ ÖŠĂĔĀđš Öĉéðøąē÷ßîĒŤ ÖŠđÖþêøÖø
ĂÖĊ éšü÷

CสHาICสKEนN ไ&กP IG&MAGสAZุกINรE 87

88 สCHาICสKนENไก& PIG&MAสGAุกZINรE








Click to View FlipBook Version