The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นิตยสารเพื่อคนเลี้ยงไก่และสุกร และผู้ประกอบการปศุสัตว์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chicken and Pig Magazine, 2021-03-29 15:22:43

"สาส์นไก่ & สุกร" เดือนเมษายน 2564

นิตยสารเพื่อคนเลี้ยงไก่และสุกร และผู้ประกอบการปศุสัตว์

Keywords: ไก่,หม,ไข่,อาหารสัตว์,สุกร

ปที่ 19 ฉบบั ที่ 215 เดือนเมษายน 2564

พบกนั กบั “สาสน ไกแ ละสกุ ร” เดอื นเมษายน 2564 ในสภาวะอากาศทรี่ อ น จันทรแรม พุมกระจาง
จัดจงึ ขอนำคำเตอื นของ นายกสมาคมผเู ลย้ี งสกุ รภาคอีสานมาฝาก
ชุณหยากร
คณุ สทิ ธพิ นั ธ ธนาเกยี รตภิ ิญโญ นายกสมาคมผเู ล้ยี งสุกรภาคตะวันออก
เฉยี งเหนอื ฝากมาวา สภาพอากาศรอ นจดั และภยั แลง ทล่ี ากยาวมาตงั้ แตป  2563 Fเฟacซeบbุกoo:k นPิตagยeสา: ร@สcาhสicนkไeกnaแnลdะpสiุกgmรagazine
ตอ เนอ่ื งจนถงึ ปจ จบุ นั ประกอบประเทศไทยจะเผชญิ วกิ ฤตภยั แลง หนกั เนอ่ื งจาก
ปรมิ าณฝนสะสมในปท ผ่ี านมามีคา นอยกวาคา ปกติรอยละ 4 ทำใหฤ ดแู ลงนจี้ ะ
มีน้ำไมเพียงพอ สงผลกระทบตอภาคการเกษตร โดยเฉพาะการเล้ียงสุกรที่
ตองใชน้ำสำหรับกินและใชในกระบวนการเลี้ยงปริมาณมาก โดยเฉลี่ยพอแม
พันธสุ ุกรใชน้ำวนั ละ 130 ลติ รตอ ตวั สกุ รขนุ ใชนำ้ วนั ละ 40 ลิตรตอตวั ทำให
ปริมาณนำ้ ที่เกษตรกรกักเก็บสำรองไวใชใ นชวงฤดูแลงเร่ิมไมเพียงพอ เกษตรกร
หลายพน้ื ทต่ี อ งซอ้ื นำ้ จากแหลง อนื่ มาใหห มกู นิ ใชท ำความสะอาด และหลอ เลยี้ ง
ระบบทำความเย็นในโรงเรือน เพ่ือบรรเทาความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากการ
ขาดน้ำสะอาดและอากาศรอนจัด “ขณะนี้หลายพ้ืนที่ประสบปญหาภัยแลง
อยา งหนกั จนตอ งซอื้ นำ้ จากภายนอกมาใชใ นฟารม ทกุ วนั ทำใหม คี า ใชจ า ยสว นนี้
เพม่ิ ขน้ึ อกี จากเดมิ ตน ทนุ การใชน ำ้ อยทู ี่ 30 บาทตอ ตวั เพม่ิ เปน 300-600 บาทตอ
หมูขนุ 1 ตวั หรอื 3-6 บาทตอหมู 1 กิโลกรัม จากเฉลีย่ แลวหน่งึ เท่ียวราคาอยทู ี่
ประมาณ 3,000 บาทตอ น้ำ 1 หมน่ื ลิตร สำหรับฟารมขนาดเลก็ ตองใชนำ้ ราว 2
เทีย่ วตอ วัน ตนทนุ ในสวนนี้จึงเพมิ่ ข้นึ ถงึ 6,000 บาทตอ วัน หากเปนฟารมใหญ
ขาดแคลนน้ํามากตนทุนก็จะสูงข้ึนมากขึ้นไปอีก กลายเปนปจจัยสำคัญที่สงผล
กระทบกบั ตนทนุ การเลย้ี งอยา งหลกี เลยี่ งไมไ ด”

นอกจากน้ี ฤดูรอนยิ่งเพิ่มความเส่ียงการเกิดโรคกลุมอาการของระบบทาง
เดินหายใจและระบบสืบพนั ธุ หรอื โรค PRRS ที่ทำใหสกุ รแทง ลูกในระยะทา ย
ของการอมุ ทอ ง สง ผลตอ เนอ่ื งถงึ สกุ รอนบุ าลและสกุ รขนุ ทำใหอ ตั ราเสยี หายเพม่ิ
และตน ทนุ การเลย้ี งสงู ขน้ึ ขณะเดยี วกนั เกษตรกรทว่ั ประเทศยงั คงเฝา ระวงั ควบคมุ
และปอ งกนั โรคสำคญั ในสกุ รทงั้ ASF และ PRRS อยา งเขม งวด โดยเพมิ่ ความเขม ขน
ของระบบ Biosecurity ในฟารม และเนน การจดั การฟารม ทไ่ี ดม าตรฐาน ซง่ึ จำเปน
ตอ งใชต น ทนุ การปอ งกนั โรคเพมิ่ กวา 200-300 บาทตอ ตวั และคาดวา ตน ทนุ การ
เลย้ี งในขณะนสี้ งู กวา ประมาณการตน ทนุ การเลยี้ งสกุ รขนุ เฉลย่ี ไตรมาส 1/2564
ที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) คาดวาอยูท่ี 77.49 บาทตอกิโลกรัม
ขณะท่ีราคาเฉลี่ยสุกรมีชีวิตตามประกาศของสมาคมผูเลี้ยงสุกรแหงชาติอยูที่
79-80 บาทตอ กโิ ลกรมั เทา กบั เกษตรกรแทบไมม กี ำไรจากการเลย้ี ง แตย งั จำเปน ตอ ง
ประคบั ประคองอาชพี เดยี วเอาไว เพอ่ื ใหผ บู รโิ ภคมปี รมิ าณสกุ รบรโิ ภคอยา งเพยี งพอ

»‚·Õè 19 ©ºÑº·Õè 215 à´×͹àÁÉÒ¹ 2564 5 บก.ขอคุย
15 มองระบบ : โควดิ -19 กบั ปศสุ ตั วไ ทย : “ความเหมอื นทแ่ี ตกตา ง”
18 บอกขา ว
23 รูทนั “โลกธุรกิจ” : ธุรกิจแพลตฟอรม...โมเดลธุรกจิ ใหมของ

โลกในยุค New Normal
26 เกาะตดิ ขา วกรมปศสุ ตั ว: กรมปศสุ ตั วห ว งใยเตอื นภยั เกษตรกร

ปอ งกนั การเกดิ โรคระบาดในสุกร
31 ปศุสัตวพยากรณ

32 การจดั การไกเ นอ้ื ในชว งสปั ดาหแ รก มคี วามสำคญั
อยางไร ?

35 VNU รวมผูเช่ียวชาญแบงปน วสิ ยั ทศั น ผานงาน Dinner Talk
43 กรมปศุสัตวระดมความตองการปรับปรุงระบบทะเบียนใบ

อนญุ าตอาหารและยาสตั ว
46 ซพี เี อฟ เชญิ กูรูไขขอ สงสยั โควดิ -19 เสริมความรพู นักงาน

ตอกยำ้ ผูผลติ อาหารปลอดภัย
49 เกษตรกรเลย้ี งไก ขอบคณุ กรมการคา ภายใน ดนั ไขธ งฟา -สง ออก

ไข ชวยสรางเสถียรภาพราคา กาวผานวกิ ฤตไปดวยกนั

55 เยี่ยมชมปศุสัตวสมุทรปราการ กับโครงการ
อนรุ ักษส ตั วพืน้ ถิน่

61 สศก. พยากรณ “ขา วโพด และแนวโนมป 64”
71 ‘หมอดำเนนิ ’ แนะวธิ ี ปด จดุ เส่ยี ง เปดจุดสำคญั

ปอ งกนั ASF
76 สศก. พยากรณ “ปลาปน และแนวโนมป 64”

82 ผเู ลีย้ งหมภู าคใต เรง ยกระดบั ปอ งกันโรค PRRS ทกุ พืน้ ที่
ยำ้ หมูปลอดภัยกินได

83 เปนขาว

เฟซบุก : นิตยสาร สาสนไกและสุกร Facebook Page : @chickenandpigmagazine

















นวัตกรรมที่ดี
ตองแกปญหาใหถึงคนนับลาน

และใชไดจริง

โควิด-19 กับปศุสัตวไทย :

“ความเหมือนท่ีแตกตา ง”

หลังจากท่ีมองระบบเหลียวหลังแลหนาไกไขไทย 2. การปองกันดีกวา การรกั ษา
ผา นสายตาแฟนคอลมั ภไ ป ผมไดร บั คำแนะนำวา นา จะ
มองระบบ โควิด-19 สะทอนความเหมือนความตาง ในการปองกันโรคโควิด-19 เปนเชื้อไวรัส ไมมียารักษา
เพอ่ื นำไปใชป ระโยชนก บั ชวี ติ เพราะมกี ารเปลย่ี นแปลง ทางออกเดียวคือ การทำวัคซีน สรางภูมิคุมกันปองกันโรค
มากมายกบั โลก ผมขอมองใน “10 รปู แบบของความ ประเทศไทยกำลังเรงกระบวนการฉีดวัคซีน โดยเริม่ จากพ้ืนที่
เหมือนทแ่ี ตกตาง” เสย่ี งและบคุ คลทม่ี โี อกาสเสย่ี ง จากนน้ั จะกระจายลงสปู ระชากร
มากกวา 70% ใหเกิดคุมกันโรคระดับสูงมี “ภูมิคุมกันหมู”
1. ความไมมีโรค เปนลาภอนั ประเสรฐิ เปาหมายใหทุกคนปลอดภัยและลดการระบาด ติดเช้ือลง
เมอื่ ประเทศไทยทำสำเร็จ และประเทศอืน่ ทำสำเรจ็ โลกก็จะ
สัจธรรมน้ีถูกตองสำหรับชีวิต ประเทศ และฟารม เรา กลบั มาปกตเิ หมอื นเดิม
ปอ งกนั ไมใ หต วั เราปว ย ประเทศเราปว ย หรอื ฟารม เราตดิ โรค
โดยเฉพาะโรคระบาดที่อันตราย ติดตองาย และสรางความ แนวทางการทำวคั ซนี คอื ทำตามโปรแกรมอยา งครบถว น
เสยี หายมากมาย ทั้งจากโรคโควิด-19, ASF หรอื ไขห วัดนก โดยยดึ หลัก

ความสำเรจ็ ของประเทศไทย คอื เราควบคุมโรคไดต ้ังแต ตอ งทำวคั ซนี ปองกันโรคกอนทจี่ ะติดเชื้อ
จดุ เรมิ่ ตน ตอนทโ่ี รคยงั ไมแ พรก ระจาย กรณขี องโรคโควดิ -19 การสรา งภมู คิ มุ ใหอ ยใู นระดบั สงู เพยี งพอทจ่ี ะปอ งกนั โรค
ตองยกความดีใหกับอาจารยหมอท่ียกทีมเขาพบทานนายก ระดับภูมิคุมกันตองมีระดับใกลเคียงกัน เกาะกลุม
รัฐมนตรี ช้ีแจงวา “ถาเราควบคุมโรคไมได หอง ICU และ กนั ดีกวา แบบท่ีกระจายตวั
อุปกรณการแพทยจะไมเพียงพอ เราจึงใหยาแรงในชวงแรก โปรแกรมวัคซีนมีความสำคัญ ตองทำใหครบตาม
ใชหลักวิชาการนำการเมือง พรอมกับปรับพฤติกรรมเสริม คำแนะนำ เพื่อทำใหภูมิคุมสูงเพียงพอกับการปองกันโรค
การปอ งกนั โรค สวมแมส ลา งมอื ทำงานจากทบี่ า น เพอ่ื หยดุ เชอื้ “การฉดี วคั ซนี ไมค รบทำใหผ ลการรกั ษาและปอ งกนั โรคไมค รบถว น
เพื่อชาติ เราจึงสำเร็จมาถึงวันน้ี สรุปงายๆ คือ หามติด เทคโนโลยีการผลิตวัคซีนมีหลายสำนัก แตวิธีการ
หา มปว ย ตอ งมีวินัยมากๆ ทดสอบและประเมินผลเหมือนกัน ดังน้ัน วัคซีนท่ีผานการ
อนมุ ตั จิ งึ มคี วามปลอดภยั และเปน กลไกทส่ี งั คมโลกไดส รา งมา

15สาสนไก & สุกร

CHICKEN & PIG MAGAZINE

ในดานโรคสัตวของเรา การปองกัน คอื การจดั การฟารม ผิดพลาดการดตก เมื่อภาพรวมดูแลไดดี แตมีบางพ้ืนที่เกิด
ไมใหเช้ือเขาประเทศและเขาฟารม เพราะโรคระบาด ปญ หาระบาดในพนื้ ทที่ เ่ี ปราะบาง ออ นไหว เราจะกลบั สภู าวะ
ในสตั วท เี่ รากลวั (ASF / AI) ไมอ นญุ าตใหม กี ารฉดี วคั ซนี ดงั นนั้ ปกติได คือ ตองไมมีผูปวยติดเช้ือตอเนื่อง และวันนี้พ้ืนท่ีนี้
ตองตัดเชื้ออยางเดียว ดังนั้น ตองเขมงวดและรวมมือกัน ตองไดร ับวคั ซีน 70% ของคนในสงั คม
มากกวา จงึ จะสำเรจ็
ในฟารมปศุสัตวเราไมไดมีภาครัฐมาชวยตรวจ เราตอง
3. ไบโอซเี คยี วรติ ้ี หรอื ความปลอดภยั ทาง รับผิดชอบเอง แถมเม่ือเจอโรคระบาดเจอกฎหมายหาม
ชีวภาพ จะเปนบรรทดั ฐานใหมข องสงั คม เคลอื่ นยา ยสัตวปว ย เสยี หายหนกั ขาดทนุ แน !!

เปนกลไกท่ีใชแพรหลายในการจัดการสุขภาพ ทำใหคน 5. โรคทำใหโ ลกเกดิ ความปกตใิ หม
หรอื สตั วม สี ขุ ภาพแขง็ แรง อยใู นสง่ิ แวดลอ มทม่ี ปี รมิ าณเชอ้ื ตำ่ (New Normal)
และลดโอกาสสัมผสั เช้ือได
สำหรบั คนเลย้ี งไก คดิ ถงึ ประสบการณก อ นเกดิ ไขห วดั นก
เมอ่ื เราทำไบโอซเี คยี วรติ ้ี ความสะดวกสบายอาจตอ งลดลง ตางจากปจจุบันมากมาย ต้ังแตระบบการเลี้ยงที่เปลี่ยนจาก
อยากใหอดทน เพราะศัตรูของเราคือ เชื้อโรคที่มีอันตราย เลาเปดเปนเลาปด เลย้ี งไกในหอ งแอร รูปแบบการคาเปลีย่ น
ท่ีทำงานไมม ีวันหยดุ ไมมีการตอรองเจรจา ไปจากไกแชแข็งเปนไกปรุงสุก เม่ือทุกอยางพัฒนามาแลวจะ
เกิดพัฒนาการและการเรียนรู
“เม่ือเราปลอดภัย ครอบครัว และคนอยูรอบขางเรา
ปลอดภัย สังคม ชุมชนเราปลอดภัย จังหวัด และประเทศ บทเรยี นสอนเราวา โลกกอ นเกดิ การระบาดไมก ลบั มาแลว
เราปลอดภยั ความสำเรจ็ เกดิ ขน้ึ จากระดบั เลก็ ๆแลว ขยายผลไป” หากเราไมปรับตัวเราก็จะถูกบังคับใหเปลี่ยน ความปกติใหม
(New Normal) เกิดขึน้ แลว ท่เี ห็นชดั ๆ คือ
4. การดอยาตก คำนี้มคี วามหมาย
โลกออนไลนม าแลว คนใชเ ทคโนโลยี โทรศพั ท เขา มา
การระบาดของโควิดมีโอกาสที่จะเกิดข้ึนไดตลอดเวลา แทนการพบปะแบบเผชิญหนา สิ่งนี้ทำใหการติดตอสื่อสาร
“ตองไมเกิดโรคระบาดทั้งวันน้ีและพรุงน้ี แตการควบคุมโรค ระบบการคาขายพัฒนาข้ึน คนไทยใชจายผานมือถือเร็วกวา
จะสงผลตอการดำเนินชีวิตประจำวัน การทำมาหากิน และ ปกติ 4 ป และสามารถอยไู ดโดยไมสมั ผสั เงนิ สดได 8 วนั
การใชช วี ติ ใหเ ดนิ หนาไปได
การเดนิ ทางขา มประเทศจะยากลำบาก มกี ฎระเบยี บ
ตรงจุดนี้เปนความผิดปกติ เปนสิ่งท่ีทุกฝายหาทางแกไข มากขนึ้ ดงั นนั้ การทอ งเทยี่ ว รปู แบบธรุ กจิ จะเปลยี่ นไป กำลงั
วันไหนท่ีเราการดตก เกิดขอผิดพลาด เกิดการติดเชื้อ หรือ ซอ้ื และรปู แบบการบรโิ ภคจะเปลย่ี นรปู ไป (แตก ย็ งั ตอ งกนิ ตอ งใช)
ที่เรียกวา “ไขแตก” หากพ้ืนที่ใดที่เกิดโรคข้ึนจะตองผาน ดังนั้น มาตรฐานและกฎระเบียบจะเปนบรรทัดฐานใหม
กระบวนการหยุดโรคของภาครัฐอยา งเขมงวด ตอ งเรม่ิ ตน นบั สงสารรา นรวงที่เปด รอนักทอ งเทย่ี วกวา จะกลับมาอีก 2 ป
หนึ่งใหม ลำบากกนั ไปหมด ตอนน้ีมีคำศพั ทใ หม “สะเกด็ ไฟ”
16 สาสนไก & สุกร สังคมตองการ “ส่ิงใหม ตอบโจทย แกปญหาได”
ดังนั้น นวัตกรรมและเทคโนโลยี คือ กลไกท่ีทำใหทุกอยาง
CHICKEN & PIG MAGAZINE เปลี่ยนแปลง พฒั นา

6. การเปลี่ยนแปลงเกดิ ข้ึนทั้งผูผลิต
และผบู รโิ ภค

หลงั จากเกดิ โควดิ โครงสรา งรายไดข องประเทศเปลย่ี นไป
เราเตบิ โตชา ลง เงนิ ลน โลกแตไ มไ ดม าทเ่ี รา ไหลไปอยตู ลาดทนุ
เกดิ การเขยา เพอ่ื หาจุดลงตวั ใหม

เงนิ ของประเทศหายไปหนง่ึ ใน4สว นจากการทอ งเทย่ี วและ
ธรุ กจิ บรกิ าร การบรกิ ารและการทอ งเทย่ี วไทยจะไมเ หมอื นกนั

SME ที่มมี ูลคา เศรษฐกจิ 35% มีโอกาสท้ังจะเพม่ิ เปน
50% หรอื ลดลงเหลอื 30% เปน ไปไดท ง้ั หมด SME คอื พลงั ของ
คนเล็กทต่ี อ งอยูร อด อยเู ปน อยูเยน็ อยยู าว เพ่อื นชว ยเพื่อน
ขับเคล่ือนเศรษฐกิจไทยตองปรับตัวครั้งใหญครับ โดย SME
ทำได เพราะมีความคลอ งตวั และ พรอมท่ีจะเดินหนา

สถานการณโ ควดิ -19 ถอื วา พน้ื ทร่ี ะบาดเปน พน้ื ทเ่ี สย่ี ง
จะใหท ำวคั ซีนกอ น แตต อ งสมุ ตรวจคนท้ังชุมชนวาปลอดโรค
ใน 3 สปั ดาหก อ น จงึ จะเปลยี่ นสี กลบั กนั หากเปน ฟารม ปศสุ ตั ว
เราไมม คี นชวยแบบน้ี เราตอ งรบั ผดิ ชอบความเสยี หายเอง

การกา วออกจากเขตสีไมง ายครับ

9. ไมมรี างวัลสำหรบั ผูแพ

7. ความสำเรจ็ เรม่ิ ตนจาก ในสถานการณเชนน้ีทุกคนตองดูแลตัวเอง ไมมีรางวัล
“ตลาดภายในประเทศไทย” สำหรบั ผแู พแ ละผูส ูญเสยี

ความสำเร็จของไทยชวงที่สงออกไกเนื้อแชแข็งไมได เรา เราจะไปโทษความโหดรา ยของโลกกไ็ มไ ด เพราะทกุ ฝา ย
ตอ งมารณรงคก ารบริโภคภายในประเทศเพม่ิ จาก 40% เปน ตอง “เอาตวั รอด” และบริหารสถานการณใ หผลกระทบนอย
70% ธรุ กจิ สรา งความแขง็ แรงจากภายในสรู ะบบมาตรฐานโลก ที่สดุ
ทำใหว นั นเี้ ราโตมหาศาล สนิ คา สำเรจ็ สดุ ทา ยเราสามารถครอง
ตลาดไดท งั้ เชงิ ปรมิ าณ และคณุ ภาพ ในหมวดอาหาร บทเรยี น ทุกความสำเร็จเร่ิมที่จุดเล็กๆ ดูแลตัวเองใหดี
นั้นสอนวา หมดเวลาใครครวญ ยึดติดกับความสำเร็จในอดีต และโทษ
ฟาดิน โอกาสเปดเสมอสำหรบั คนทำงาน
ประเทศไทยตอ งทำธรุ กจิ ครบวงจร สามารถควบคมุ
คณุ ภาพทั้งขบวนการผลติ 10 . รางวัลสำหรบั ผชู นะ คือ คนท่ีปรบั ตัวได

ตองขยายการผลติ ผลิตสนิ คา ถงึ มือผบู รโิ ภค โดยใช ผทู ่ีปรับตัวไดคือ ผูชนะ โดยมคี ุณสมบตั ิ คือ
จุดเดนของคนไทยที่มีแรงงาน และศักยภาพทางเทคโนโลยี เราตองไมป ว ยจากโควิด-19
ปอนตลาดเฉพาะ ฟารม เราตอ งไมป ว ย และเสยี หายจากโรคระบาดรา ยแรง
เราตองนำพาองคกรเราใหอยูรอดปลอดภัย ปรับตัวเขา
กับการเปล่ียนแปลงทเี่ กิดขนึ้ ทำกอนสำเรจ็ กอน
นาทีน้ี คือ วินาทีของการสรางนวัตกรรม และการใช
เทคโนโลยีของตวั เอง และองคกรครับ

8. กาวออกจากพื้นที่โรคระบาด คณะกรรมการนโยบายการเงิน ธนาคารแหง ประเทศไทย
สพู ้ืนท่ปี ลอดภัย
กนง.ประมาณการเศรษฐกิจ
ลองสมมุตติ ัวเอง หากเราอยูในเขตสีแดงเขม โชครา ยเจอ
โรคระบาด (ไมวาจะเปนโรคระบาดสัตว หรือโควดิ -19 กต็ าม) (% YoY) 2564 2565
ส่งิ ท่ีเกดิ ข้นึ คอื อตั ราการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ 3.0 (3.2) 4.7 (4.8)
มูลคา การสงออก 10.0 (5.7) 6.3 (7.0)
ความเสยี หายจากโรค เชน ตองทำลายสตั วท ง้ิ หรอื มูลคาการนำเขาสนิ คา 15.2 (7.7) 6.8 (5.0)
สูญเสยี ชวี ติ ดลุ บัญชีเดินสะพัด (พนั ลานดอลลาร) 1.2 (11.6) 25.0 (29.1)
จำนวนนักทองเทีย่ วตางชาติ (ลานคน) 3.0 (5.5) 21.5 (23.0)
เสยี โอกาสทจ่ี ะสรา งผลกำไร หรอื ขยายธรุ กจิ เพราะ ราคาน้ำมันดิบดไู บ (ดอลลาร/บารเ รล) 60.0 (47.3) 62.5 (51.5)
โลกรงั เกยี จคนทเ่ี ปน โรค ไมม ใี ครอยากคบสมาคมดว ย เหมอื น
กับคำพูดติดตลก (ไมอ อกวา ) “มหาชัยโมเดล” ความเสียหาย หมายเหตุ : ( ) รายงานนโยบายการเงนิ ฉบบั เดือนธนั วาคม 2564
จะรุนแรงมากนอยหรือยาวนานเพียงใดข้ึนกับความสามารถ ท่ีมา : รายงานนโยบายการเงนิ ฉบับเดอื นมนี าคม 2564
ในการปรับตวั สรา งระเบยี บมาตรฐานใหมข ้นึ มารองรับ

17สาสนไก & สุกร

CHICKEN & PIG MAGAZINE

18 สาสนไก & สุกร
CHICKEN & PIG MAGAZINE

19สาสนไก & สุกร

CHICKEN & PIG MAGAZINE

20 สาสนไก & สุกร
CHICKEN & PIG MAGAZINE

21สาสนไก & สุกร

CHICKEN & PIG MAGAZINE

22 สาสนไก & สุกร
CHICKEN & PIG MAGAZINE

รู้ทัน

"โลกธุรกจิ "
ธุรกจิ แพลตฟอรม…

โมเดลธุรกจิ ใหมข องโลกในยุค New Normal

ไฮไลท

• ธุรกิจแพลตฟอรมเปนหน่ึงในโมเดลธุรกิจใหมของโลก ซ่ึงเกิดจากความกาวหนาของเทคโนโลยีและปจจัย
แวดลอ มทางธุรกิจทีเ่ ปล่ียนไป โดยเปนตัวกลางทจ่ี ับครู ะหวา งผูมสี นิ คา/บรกิ ารกับผูท่ีตอ งการสินคา/บรกิ าร

• ปจจุบันธุรกิจแพลตฟอรมสวนใหญเปนรูปแบบการจับคูระหวางผูขาย-ผูซ้ือ และอำนวยความสะดวก
เพอ่ื ใหเ กิดธุรกรรม (Transaction Platform) รวมถึงยงั ปด Pain Point ในดานตา งๆ เชน มรี ะบบตรวจสอบผขู าย
มีการตดิ ตามสินคา/บริการใหเปน ไปตามขอตกลง

• ธุรกิจแพลตฟอรมมีแนวโนมเติบโตสูงและขยายวงกวางไปในหลายอุตสาหกรรม ซ่ึงอาจเปล่ียนโฉมหนา
วงจรธุรกิจทั่วโลก ผูประกอบการไทยควรทำความเขาใจและปรับตัว เพ่ือไมใหพลาดโอกาสในการเขาเปนสวนหน่ึง
ของโมเดลธุรกจิ ใหมนี้

ทา มกลางความกา วหนา ทางเทคโนโลยี รวมถงึ ปจ จยั แวดลอ มและเทรนดธ รุ กจิ ทเ่ี ปลย่ี นไปอยา งรวดเรว็ (Disruption)
ตลอดจนพฤตกิ รรมผบู รโิ ภคยคุ ใหม กอ ใหเ กดิ โมเดลธรุ กจิ ใหมๆ ทข่ี บั เคลอ่ื นดว ยเทคโนโลยแี ละมาเตมิ เตม็ ชอ งวา งทาง
ธรุ กจิ โดยหนง่ึ ในโมเดลธรุ กจิ ทก่ี ำลงั มาแรงและถกู กลา วถงึ เปน วงกวา ง คอื ธรุ กจิ แพลตฟอรม (Platform Business)
ซึ่งหมายถึงธุรกิจท่ีเปนตัวกลางในการเช่ือมโยงระหวางผูมีสินคา/บริการ (Provider) กับผูท่ีตองการสินคา/บริการ
(Seeker) ภายใต Ecosystem เดยี วกัน โดยใชเ ทคโนโลยีเปน เครือ่ งมอื สำคญั ในการดำเนนิ การเพ่อื ใหธ ุรกรรมตางๆ
เกิดขึน้ ไดอยา งสะดวกและนาเชือ่ ถอื ทัง้ น้ี ธรุ กจิ แพลตฟอรมมีแนวโนมทจ่ี ะทวีบทบาทสำคญั และขยายขอบเขตไป
ในหลายอุตสาหกรรม ซ่ึงชวยใหธุรกรรมการคาและบริการตางๆ เกิดขึ้นไดสะดวกรวดเร็ว โดยเฉพาะในมิติของ
ผูประกอบการจะสามารถใชแพลตฟอรมเปนชองทางสำคัญในการขยายตลาดไปยังผูซื้อหรือลูกคากลุมใหมๆ
ทั่วโลก ตลอดจนชวยลดตนทุนการดำเนินการภายใตเทคโนโลยีท่ีมีประสิทธิภาพ บทความฉบับนี้จึงขอฉายภาพ
ใหผ ปู ระกอบการไทยไดร จู กั โมเดลธรุ กจิ แพลตฟอรม และตวั อยา งแพลตฟอรม ทนี่ า สนใจ นอกเหนอื จากแพลตฟอรม
ท่เี ปนที่รจู ักกันดีอยา ง Amazon, Grab, Facebook เพื่อใหผ ูป ระกอบการไทยปรบั ตวั ไดทันทวงที และไมพ ลาด
โอกาสทจ่ี ะเขา ไปเปน สวนหน่งึ ของแพลตฟอรม ทีต่ อบโจทยก ับธุรกจิ ของตน

23สาสนไก & สุกร

CHICKEN & PIG MAGAZINE

ร้ทู นั

"โลกธรุ กจิ "

ตัวอยา งธุรกจิ แพลตฟอรม ท่นี า สนใจ

24 สาสนไก & สุกร
CHICKEN & PIG MAGAZINE

รทู้ ัน

"โลกธรุ กจิ "

ทม่ี า : วารสาร EXIM E-NEWS ธนาคารเพือ่ การสงออก และนำเขา แหงประเทศไทย 25สาสนไก & สุกร
ปท ี่ 16 ฉบบั ท่ี 2 เดอื นกุมภาพันธ 2564
CHICKEN & PIG MAGAZINE

เกาะตดิ ข่าวกรมปศสุ ตั ว์

กรมปศุสตั วห ว งใยเตอื นภยั เกษตรกร
ปองกันการเกิดโรคระบาดในสกุ ร

กรมปศสุ ตั วแ นะนำเกษตรกรผเู ลย้ี งสกุ รสงั เกตอาการ และดแู ลสขุ ภาพสตั ว
อยางใกลชิด พรอมท้ังเนนย้ำเรื่องระบบการปองกันโรคภายในฟารม เพื่อเฝา
ระวงั และปอ งกนั การเกดิ โรคระบาดในสุกร

นายสตั วแพทยส รวศิ ธานโี ต อธบิ ดกี รมปศสุ ตั ว ชแ้ี จงกรณที ส่ี อ่ื มวลชนไดน ำเสนอขา ววา ขณะนม้ี กี ารเกดิ โรคระบาด
ในสกุ รในหลายพนื้ ทขี่ องประเทศไทย โดยพบจงั หวดั ทมี่ คี วามเสยี่ งสงู กวา 50จงั หวดั ทำใหฟ ารม ขนาดเลก็ และกลางเทขาย
สกุ รทำใหร าคาสกุ รตกตำ่ ซงึ่ เชอื่ วา เปน การระบาดของโรคอหวิ าตแ อฟรกิ าในสกุ ร (ASF) ซง่ึ ปจ จบุ นั ยงั ไมพ บการระบาด
ของโรค ASF ในประเทศไทย โดยโรค ASF เปน โรคไวรสั ทตี่ ดิ ตอ รา ยแรงในสกุ รทพี่ บการแพรร ะบาด 35 ประเทศทวั่ โลก
และในประเทศเพอ่ื นบา น เชน จนี เวยี ดนาม ลาว กมั พชู า มาเลเซยี และเมยี นมา และมแี นวโนม ขยายเปน วงกวา งอยา ง
ตอเนอ่ื ง ในขณะทีช่ ายแดนประเทศไทยและประเทศเพื่อนบา นท่มี กี ารระบาดของโรค ASF มีความยาวรวมกวา 5,000
กิโลเมตร จึงมีความเส่ียงท่ีจะมีการลักลอบนำซากสุกรและผลิตภัณฑสุกรผานตามแนวชายแดน ซ่ึงจากการตรวจยึด
การลกั ลอบการนำซากสกุ รและผลิตภณั ฑส กุ รมีจำนวน 4,402 ครั้ง ตรวจพบสารพนั ธุกรรมของเชอื้ ASF จำนวน 440
ตัวอยาง (ขอ มูล ณ วันที่ 13 มีนาคม 2564)

ดงั นน้ั จากสถานการณโ รค ASF ในประเทศเพอ่ื นบา นและทว่ั โลก กรมปศสุ ตั วจ งึ ไดม กี ารกำหนดมาตรการอยา งเขม งวด
โดยการประเมนิ ความเส่ียงตอโรคตามหลกั การทางระบาดวทิ ยา ดว ยแอปพลเิ คชัน e-smart plus โดยใชวิธี Spatial
Multi – criteria decision Analysis ทุกจงั หวัดทวั่ ประเทศ เพอ่ื ดำเนนิ การเฝาระวังโรคท้ังในเชงิ รุกและเชงิ รับในทุก
พน้ื ทข่ี องประเทศไทย ไมวาจะเปนในฟารมสุกร โรงฆา สกุ ร สถานที่จำหนายเนอ้ื สุกร และสถานที่จำหนา ยอาหารสตั ว
รวมไปถงึ การเคลอื่ นยา ยสกุ ร/หมปู า ทมี่ ชี วี ติ และซาก ทงั้ การเคลอ่ื นยา ยภายในประเทศ ระหวา งประเทศ หรอื การลกั ลอบ
เคลอื่ นยา ยทกุ กรณอี ยา งเขม งวด

แตอ ยา งไรกต็ ามปจ จบุ นั มกี ารแพรร ะบาดของโรคพี อาร อาร เอส สายพนั ธใุ หมใ นสกุ ร (PRRS : Porcine Reproductive
and Respiratory Syndrome) ซงึ่ มคี วามรนุ แรงมากขนึ้ ในจนี และประเทศเพอ่ื นบา นรวมถงึ ประเทศไทย ซง่ึ โรค PRRS
กอ ใหเ กดิ อาการทางระบบสบื พนั ธุ และทางเดนิ หายใจ อตั ราการเกดิ มมั มแ่ี ละลกู ตายแรกคลอดสงู และกอ ใหเ กดิ การตาย
ในสัตวปว ยมากกวารอยละ 80 สามารถแพรกระจายไดง ายไปกบั ยานพาหนะ คน สตั วหรอื ซากสัตว เชน เดียวกบั โรค
ASF ถงึ แมว า โรค PRRS นม้ี วี คั ซนี ทส่ี ามารถใชป อ งกนั โรคได แตป รมิ าณวคั ซนี ทม่ี จี ำหนา ยในประเทศไทยยงั มไี มเ พยี งพอ
มรี าคาสงู และการใชว คั ซนี เพยี งอยา งเดยี วไมเ พยี งพอตอ การปอ งกนั โรค ตอ งดำเนนิ การควบคไู ปกบั การยกระดบั ความ
ปลอดภยั ทางชวี ภาพในฟารม และในกรณพี บการระบาดในพน้ื ทจ่ี งึ มคี วามจำเปน ตอ งทำลายสกุ รเพอ่ื ปอ งกนั การแพรก ระจาย

อธบิ ดกี รมปศสุ ตั ว ขอยนื ยนั วา ปจ จบุ นั ยงั ไมม รี ายงานการเกดิ โรค ASF ในประเทศไทย จงึ ขอความรว มมอื เกษตรกร
ดูแลสุกรของตนอยางใกลชิดใหความสำคัญในเร่ืองระบบการปองกันโรคภายในฟารม มีคอกคัดสัตวเพื่อขายแยกจาก
ฟารม เพอ่ื ปอ งกนั พอ คา ทร่ี บั ซอ้ื สกุ รอาจนำเชอ้ื มาสฟู ารม พน ยาฆา เชอ้ื ทกุ ครง้ั กอ นเขา และออกฟารม และโรงเรอื น เลอื กซอ้ื
สตั วจ ากแหลง ทเ่ี ชอ่ื ถอื ได กกั สตั วก อ นนำเขา รวมฝงู หมนั่ สงั เกตอาการสตั วเ ลยี้ งของตน หรอื ใกลเ คยี ง หากพบสตั วป ว ย
หรอื ตายโดยไมท ราบสาเหตอุ ยา นำไปจำหนา ย ตอ งรบี แจง ปศสุ ตั วอ ำเภอ อาสาปศสุ ตั ว เจา หนา ทป่ี ศสุ ตั วใ นพน้ื ทท่ี นั ที
เพอ่ื ใหก ารชว ยเหลอื และตรวจสอบโดยเรว็ หากมขี อ สงสยั สามารถตดิ ตอ หนว ยงานดงั กลา ว หรอื สอบถามขอ มลู ไดท ส่ี ำนกั
ควบคมุ ปอ งกนั และบำบดั โรคสตั ว (สคบ.) กรมปศสุ ตั ว หรอื call center 063-225-6888 หรอื แจง ผา นแอปพลเิ คชนั
DLD 4.0 ไดตลอดเวลา

26 สาสนไก & สุกร ขอมูล : สำนกั ควบคุม ปอ งกัน และบำบัดโรคสตั ว กรมปศสุ ตั ว
CHICKEN & PIG MAGAZINE









สวสั ดที า นสมาชกิ ทเ่ี คารพรกั ทกุ ทา นเขา สชู ว งทอ่ี ากาศรอ นทส่ี ดุ ของประเทศแลว นะครบั แตส ภาพอากาศ
ทแ่ี ปรปรวนอาจสง ผลกระทบใหห ลายทา นเกดิ อาการปว ยได เพราะฉะนน้ั กอ นออกจากบา นตอ งศกึ ษาสภาพอากาศ
ใหด ีดวยนะครับ

ชปกไมสมาว่ิังรนไรยะใดกไใหสมชหดานามจมรเทาับทชงายสยี่นาผกในคนหาานนุวรมนเี้ไราเกาเปง่ิมมกขันินตวขตาเราปนึ้ลมนะคนอมาคไณุ อดแดัวดจยาตรดอะมาะีนกยทงรวั่ับดนกัำางั ี เเแหกเขหสตาลามนรกามกาใยต็หาาชะๆอชรจสวงงว มนาารดยทดนะเหาปวศวไนนปยงัิลนโนุเไดรปทดนอ่ืยสี่จำงเควฉับขมยวพอโีตมาชางมาผีคคะมใูรจจวหักอาาาญมมกกงี ตคไสเดปมัวนวาสนนนไทกดาตพจใี่ามนชัวะิรเใาาศงรนรนกาบษเถนาวกงเรลคชกาวเาววนง็บนทางินจเเนมเ่ีวงมหาินี้รจลีปกมักะไาญหาวพเใะหอนลหบสยนาชาเมูกยจื่อีจวับนิๆตอย ตกชไปทดอว่ัี่สรนวนคาุดกใบูแรวนาใลถากหรมะสนางมสริ่งาราากาั แเในกมงรหลถอินาะะรึมงยวมถจเงัาอีเวนเงใกรจลยทำณอื่ รไาาำงปอทฑมองตนี่ไไาัทนอใดดรจยี่ใคเมเหเอรงรุณณิิ่นมดดว็ ี

ชเไอถจปหาูกุวบกนลยใักตจกอเแิขแเาายบหรบาราเงอตบดงงเดอุบนิไทามีกทาี่ อนทคภมาารวันงาาจาะกไรกดมเาะมกกครรทัวิ ดดเักาง่ีมาดพขนิรทีอคึ้มบนะ่ียเดิ เีคคมวงูไนนัิดยาง สสเอปจสา่ิงาญอยี กทยกนเหผเ่ีชงาปานทูนิ อรยอ่ีโบองกด าาแมายควนลรถใโุวมชสะเาองีอเกอมหินมุปวารตทาจตสักุจุมกรนรงเลระใทเคชาวขใยซค ังหาเกึ่วงปแกมาาับนมกรา เลใกหกคหำอำลยอลลลากจงัิสังยวะจาใรดงจชะระโา ขวดดงกนยอขียาับอแนใึ้คนตาหกนจกอัวปเรขทาเุปญอูจรมำงเสักหใแงมหรานขิ าคคทร็งรกวณุไม่ีะควกาวอี หจมวงัยมมาถารไู ทันดดักกกู ่ี คเถคสศงูกณิุ่ักงวนิ ใหายกกหกมักภอาามรหานรรัอกพลเเงงพาไงับนิามจกอื่าจนสทนัคงำูไดแอำนเดปีนบใยใหนนเัากบรตคงครเิ่มจทอุรณะ็บงอต่ีมวไใๆบีัใชงนดนกคจพกตาารับบยัววัร

ใกสเพอรช่ิงาาิจ็วจใรจาวกาหเรนัจายงณมะอริทนใงยยา่ีไเหาไัามตงวนกไไครกดอมับียาอราเดคมบีจนจคุณใรอมกจิดอ็ีไคครมนนจนคะเแงสทววรนียัางี่ใับหมชะกมนรใาานักยรำา ดฉตจเแผะลุกแีอยเละเงกกฉใใจะดิชานินมงขรค สเเีงคนต้ึวกิ่งาวราบ็กทนายีมเา่ีคมรอมอระุณราใเดงจวกัไทนิวปังกเใปนอกดบัชยานใบผไ หใรูดสลนังถมใ่ิงลเเนูกาทอกพั ยกเณาคี่ ปธาไณุฑทมดว่ี กงงเเใขปชาาาานนนจรมกเเสากองาายวับนิกรพนใงมสฝรนามรีาาอนเารายรมจกแย่ืตอๆะลรางตบัะงคกอกแๆวันงาลาเระหมมปครนารวราอก่ืัะกายยมมสจเกสาารา นบัีักยยย แแแกวแาบัลลลคควววะไกุณาใดมานเกปแั่นนรตานงอั้นใอราจคบสนเนใงนามนนินขมถอี้สออกูางิ่งรหยใกทหถาว็เที่คใยหปชุำณนคเนมงัวกทสันินาแำุมขไรนอดราในดกยัจวีู

วคั ซนี ทไ่ี ดร บั การฉดี ใหก บั คนกลมุ แรกๆ ของประเทศนน้ั ชว ยสรา งความมน่ั ใจใหก บั เศรษฐกจิ อยา งเหน็ ไดช ดั
หวงั เปนอยา งยง่ิ วาประเทศของเราน้ันจะสามารถผา นพน วิกฤตนไี้ ปไดด ว ยดี แลวพบกนั ใหมฉบบั หนา ครับ

31สาสนไก & สุกร

CHICKEN & PIG MAGAZINE

ในชวงสัปดาหแรก

ไกเน้ือการจดั การวามสำคัญอยา งไร ?นางสาวนติ ยา บตุ รวงษ

มีค Technical Support Team
LIC Agrotech Co., Ltd.

การเลีย้ งไกเนอื้ ตอ งอาศัยการจดั การท่ีเหมาะสมและมี ภาพท่ี 1 เอ็มบริโอและถงุ ไขแดง (Yolk) ในฟองไข
ประสทิ ธภิ าพหลายอยา ง เชน โรงเรอื น การใหน ำ้ และอาหาร
การทำความสะอาดฆา เชอื้ และพักโรงเรอื น สภาพแวดลอม ความสำคัญของถุงไขแ ดง (Yolk sac)
ภายในโรงเรือน (อุณหภูมิ ความชื้น การระบายอากาศ)
การควบคมุ โรค เปน ตน เพอ่ื ใหไ ดผ ลผลติ ไกเ นอ้ื ทม่ี คี ณุ ภาพ ☺ ถุงไขแ ดงคดิ เปนน้ำหนกั 20-25% ของน้ำหนกั ตวั
ไดน ำ้ หนกั ตามเปา หมายในระยะเวลาทกี่ ำหนด ทงั้ น้ี อาหาร ลกู ไก (Ramnoff, 1960)
และการจดั การในชว งแรกมคี วามสำคญั อยา งยง่ิ ยวด เนอ่ื งดว ย
การพัฒนาของระบบทางเดินอาหารไมไดสมบูรณพรอมตั้ง ☺ เปนแหลงอาหารแรกของลูกไก (Freeman and
แตแรกฟกออกจากไข ซ่ึงส่ิงท่ีกระตุนพัฒนาการของระบบ Vince, 1974)
ทางเดนิ อาหารไดเ ปน อยา งดี คอื การกนิ อาหาร อกี ทง้ั ในชว ง
สปั ดาหแ รกลกู ไกย งั ไมแ ขง็ แรง และไมส ามารถควบคมุ อณุ หภมู ิ
ของรา งกายใหค งทไ่ี ด จงึ จำเปน ตอ งใหค วามอบอนุ กบั ลกู ไก
เพ่ือใหล กู ไกมีการเจริญเติบโตตามมาตรฐานสายพนั ธุ (ผศ.
ดร.ประภากร ธาราฉาย, 2560)

ดงั นน้ั ผเู ลย้ี งจงึ ตอ งใหค วามสำคญั กบั การเตรยี มอณุ หภมู ิ
ภายในโรงเรอื น และอณุ หภมู ขิ องวสั ดรุ องพนื้ ซง่ึ ตอ งมกี ารจดั
เตรียมใหเหมาะสมกับลูกไก หากวัสดุรองพ้ืนและอุณหภูมิ
เย็นเกินไปอุณหภูมิรางกายของลูกไกจะลดลง ทำใหเกิด
พฤตกิ รรมการสมุ เบียดกนั และกอใหล ูกไกเกดิ ความเครยี ด
ซง่ึ ทำใหล กู ไกก ินอาหารและนำ้ ไดนอ ยลง อกี ท้ังยังสงผลให
การดูดซึมสารอาหารจากถุงไขแ ดง (Yolk sac) ลดลง โดยมี
การศึกษาพบวาการดูดซึมเอาไขแดงมาใชประโยชนน้ัน
ถูกกระตุน ไดโ ดยการกนิ อาหาร หากเกิดภาวะท่ีทำใหไกไ ม
กินอาหาร จะเปน การชะลอกระบวนการดูดซึมเอาไขแดงที่
มสี ารอาหารทส่ี ำคญั และจำเปน ของไกใ นชว งแรก อกี ทง้ั ทำ
ใหไ มไดร บั ภมู คิ ุม กนั ทีถ่ า ยทอดจากแม ซ่ึงอาจสง ผลตอการ
เจรญิ เตบิ โตและปญ หาสขุ ภาพได ระบบทางเดนิ อาหารเปน
อวยั วะสำคญั ทค่ี อยสง สารอาหารเพอ่ื พฒั นาอวยั วะอน่ื เชน
กลามเน้ือ อิทธิพลของการพัฒนาท่ีสมบูรณเต็มท่ีนี้สงผล
โดยตรงตอ อัตราการแลกเนื้อ อตั ราการเจรญิ เตบิ โต และ
คุณภาพซากของไก
32 สาสนไก & สุกร

CHICKEN & PIG MAGAZINE

☺ มสี ารอาหารประเภทไขมนั มากกวา 30%(Shenstone, ภาพที่ 3 Activity of lipase in broiler and laying hen,
1968; O’Sullivan et al., 1991; Vieira and Expressed in units/kg body weight (Nir., 1993)
Moran, 1998)
จากปริมาณการหล่ังน้ำดีของลูกไกที่ยังไมเพียงพอตอ
☺ เปน แหลง Passiveimmune(ภมู คิ มุ กนั แบบรบั มา) ความตองการของรางกายในชว งแรก ดังนน้ั การเสริมดวย
หลกั ท่ถี ายทอดจากแมส ูลกู ไก (Hamalet,.Al. 2006) ผลติ ภณั ฑ Bedgen 40 (เบดเจน 40) ซ่งึ เปน ผลิตภณั ฑที่
สกัดจากพืช Cynara scolymus L. ที่คนควาโดยบริษัท
ในชว งสปั ดาหแ รกการผลติ และหลงั่ นำ้ ดที ส่ี รา งจากตบั เบดสนั จากประเทศอารเ จนตนิ า ไดส ารออกฤทธท์ิ ม่ี ผี ลกระตนุ
ยังมีปริมาณท่ีไมเพียงพอตอการยอยสารอาหารในรางกาย การทำงานของเซลลต บั โดยเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการสรา งและ
(ภาพท่ี 2,3) ซงึ่ จะหลง่ั เขา สลู ำไสเ ลก็ สว นตน (Duodenum) หลงั่ ออกของนำ้ ดที ต่ี บั และถงุ นำ้ ดี จงึ ไปเพม่ิ การยอ ยโปรตนี
เพ่ือรอการหล่ังเม่ือมีอาหารที่ผานจากกระเพาะอาหารสู ทม่ี าจากสตั ว และเพมิ่ การแตกตวั ของไขมนั ทไ่ี ดจ ากอาหาร
ลำไสเล็ก น้ำดีไมไดมีหนาที่เฉพาะทำใหเกิดการแตกตัว และการดดู ซมึ จากไขแ ดง ซงึ่ จะดดู ซมึ สารอาหารดงั กลา วไป
ของไขมันเทานั้น ในน้ำดียังประกอบไปดวยกลุมเอนไซม ใชป ระโยชนเ พอื่ การเจรญิ เตบิ โตของรา งกาย และการแสดง
Metalloproteases ทท่ี ำหนา ทใ่ี นการยอ ยโปรตนี บางกลมุ ออกตามศกั ยภาพทางพันธกุ รรมของไก
ในอาหาร เชน ทำหนาท่ียอย anti-nutritional factors
(ANF) ในกากถว่ั เหลอื ง ยอ ยสว นทเ่ี ปน คอลลาเจนในแหลง
โปรตีนท่ีมาจากสัตว ซึ่งน้ำหนักลูกไกที่เพิ่มขึ้น 10 กรัม
ทอี่ ายุ 7 วนั จะไดน ้ำหนักไกเน้ือเพม่ิ ข้นึ 74 กรมั ทอี่ ายุ 35
วนั (Alvarado (Aviagen). 2017.)

ภาพที่ 2 Bile daily secretion per g of feed intake
(NOY, 1997)

33สาสนไก & สุกร

CHICKEN & PIG MAGAZINE

สาสนไก & สุกร โดยมงี านการทดลองเสรมิ ผลติ ภณั ฑ Bedgen 40 (เบดเจน 40) ในลกู ไกเ นอ้ื ทอ่ี ายุ 1-7 วนั (ชว งกกลกู ไก)
ผลการทดลองพบวา กลมุ ทม่ี กี ารเสรมิ ผลติ ภณั ฑ Bedgen 40 (เบดเจน 40) มนี ำ้ หนกั ตวั มากกวา กลมุ
34 CHICKEN & PIG MAGAZINE ทีไ่ มไ ดใช 22 กรัม มคี า ADG มากกวา 3 กรัม/วนั และมกี ารดดู ซึมถุงไขแ ดง ไดดีกวา ซึง่ สรปุ ไดวา กลุม
ทม่ี กี ารเสรมิ ผลติ ภณั ฑ Bedgen 40 (เบดเจน 40) ในชว งกกลกู ไกม สี ว นชว ยในเรอ่ื งของการเจรญิ เตบิ โต

Reference

(1) ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย. 2560. การเลยี้ งไกก ระทงและการผลิตสัตวปก.
(2) คมู อื เลย้ี งและจดั การไกเ นือ้ สายพันธุคอบบ. 15 พฤศจิกายน 2556
(3) Nir., 1993. Activity of lipase in broiler and laying hen, Expressed in units/kg body weight.
(4) YAEL NOY and DAVID SKLAN. 1997. Bile daily secretion per g of feed intake.

VNU รวมผูเ ชย่ี วชาญแบง ปนวสิ ยั ทัศน

ผานงาน Dinner Talk

35สาสนไก & สุกร

CHICKEN & PIG MAGAZINE

เมอ่ื วนั ท่ี 10 มนี าคม ทผ่ี า นมา วเี อน็ ยู เอเชยี แปซฟิ ค จดั งาน Dinner
Talk ภายใตหัวขอ Food for Good : Best Practices and Lesson
Learned - เรียนรจู ากแนวทางปฏบิ ัติ สูบทเรียนจรงิ ของการบริหาร
ธุรกิจ ซ่งึ เปน งานสดุ พิเศษสำหรับบรรดาผบู รหิ ารและผูนำตา งๆ ทัง้ จาก
ภาครฐั สมาคม สถานทตู ตลอดจนภาคเอกชน นำโดยกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ, สำนกั งานสง เสรมิ การจดั ประชมุ และนทิ รรศการ, ประธานคณะ
กรรมการขับเคลือ่ นธุรกจิ การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ และ
ทป่ี รกึ ษารองนายกรฐั มนตรจี รุ นิ ทร ลกั ษณวศิ ษิ ฏ ซง่ึ ใหเ กยี รตมิ าแบง ปน
มมุ มองเชิงลกึ และทิศทางเศรษฐกจิ ระดบั ประเทศ

นอกจากน้ี ยงั มชี ว งเสวนาซง่ึ เปน ไฮไลทส ำคญั ของ แนวโนม ของธุรกจิ การผลิตอาหาร
งาน ดำเนินรายการโดย คุณไฮโก เอม็ ชตสุ ซิงเงอร และโปรตนี จากเนื้อสตั ว /
ผูอำนวยการ วิฟ เวิลดไวด และ กรรมการผูจัดการ
บริษทั วเี อน็ ยู เอเชีย แปซิฟค และ บริษัท วีเอ็นยู ยุโรป ความสำคญั ของการจดั งานแสดงสินคา
ซึ่งไดรับเกียรติจาก คุณประสิทธิ์ บุญดวงประเสริฐ
ประธานคณะผูบริหาร บริษัท เจริญโภคภัณฑอาหาร คณุ อลงกรณพลบตุ รทป่ี รกึ ษารฐั มนตรี
จำกดั (มหาชน) หรอื ซพี เี อฟ / คณุ จกั รนิ แตไ พสฐิ พงษ วา การกระทรวงเกษตรและสหกรณ ประธาน
รองกรรมการผูจัดการใหญบริหาร กลุมงานบริหาร ในพธิ ใี หเ กยี รตกิ ลา วเปด งานและปาฐกถาใน
สว นกลางเครอื เบทาโกร/คณุ วศิ ษิ ฐลม้ิ ลอื ชาประธานกลมุ หัวขอความสำคัญของอุตสาหกรรมปศุสัตว
อตุ สาหกรรมอาหาร สภาอตุ สาหกรรมแหง ประเทศไทย โดยกลา ววา อตุ สาหกรรมการผลติ อาหารและ
ทไ่ี ดแ บง ปน ประสบการณจ ากหลากหลายมมุ มองสำหรบั โปรตนี จากสตั วน น้ั มกี ารเตบิ โตอยา งตอ เนอ่ื ง
วธิ กี ารนำหวั ใจมาใชใ นการผลติ อาหาร - สรา งทรพั ยากร เพราะคนไทยมีสัดสวนของการบริโภคเนื้อ
บุคคล - สรางบรรจุภัณฑ และสรางแบรนดใหยั่งยืน สตั วเ ปน โปรตนี หลกั ในชวี ติ ประจำวนั ดงั นนั้
ซง่ึ นำเสนอแนวทางการบรหิ ารอยา งมอื อาชพี ทน่ี ำมาใช ทางภาครฐั จงึ พรอ มทจ่ี ะรองรบั ความตอ งการ
จริงในการบริหารงานขององคกร เพ่ือใหผูเขารวมงาน ของตลาดดงั กลา วและตดิ ตามการเปลย่ี นแปลง
ไดข อ คดิ และกลยทุ ธใ หมๆ ในการประยกุ ตใ ชเ ขา กบั การ ของตลาดปศสุ ตั วใ นประเทศตลอดเวลา อนงึ่
พฒั นาธรุ กจิ ตอ ไป ภายในงานคบั คง่ั ดว ยจำนวนผเู ขา รว ม การจัดงานแสดงสินคาสำหรับอุตสาหกรรม
งานมากกวา 170 ราย พรอ มดว ยแขกจากตางประเทศ ปศสุ ัตวโดยตรงอยาง VIV Asia (วิฟ เอเชยี )
ทไี่ มส ามารถมารว มงานได และรบั ชมผา นการถา ยทอด และ Meat Pro Asia (มที โปร เอเชยี ) ก็นบั
สดมากกวา 100 รายในวนั ดังกลาว เปนอีกกลไกใหการกระตุนการเติบโตของ
เศรษฐกจิ ระดบั ประเทศทน่ี า จบั ตามอง ผมจงึ
อยากเชญิ ชวนใหผ ปู ระกอบการทกุ ทา นใหก าร
สนบั สนนุ และเปน สว นหนง่ึ ของงานทส่ี ำคญั น”้ี

36 สาสนไก & สุกร
CHICKEN & PIG MAGAZINE

คณุ จริ ตุ ถ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ผอู ำนวยการสำนกั งานสง เสรมิ การจดั ประชมุ ดังน้ัน การจัดงานแสดงสินคาอันมี
และนิทรรศการ (องคการมหาชน) ใหเกียรติเขารวมแบงปนขอมูลในประเด็น ความเกย่ี วขอ งกบั อตุ สาหกรรมอาหาร-
การพฒั นาประเทศไทยสจู ดุ หมายปลายทางทย่ี งั่ ยนื ของอตุ สาหกรรม โดยกลา ววา ปศุสัตวจึงมีความสำคัญในการแก
“กรงุ เทพฯ ครองอนั ดบั 2 จากผลการจดั อนั ดบั เมอื งทเ่ี ปน จดุ หมายปลายทางของ ปญหาความขาดแคลนในอนาคต
การจดั งานทมี่ ศี กั ยภาพและมกี ารพฒั นาอยา งยงั่ ยนื จาก GDS-Index ประเทศของ ในสวนของภาคเอกชนก็ควรนำแนว
เราเปน รองแคเ พยี งกรงุ โตเกยี ว ประเทศญปี่ นุ เทา นนั้ ผมเชอ่ื มนั่ วา ทกุ ทา นจะภมู ใิ จ คิดการบริหารธุรกิจโดยตระหนักถึง
กบั ผลการจดั อนั ดบั ในครง้ั น้ี ซง่ึ แสดงใหเ หน็ วา ประเทศเรามศี กั ยภาพ แตเ นอื่ งจาก ผลกระทบในเชงิ บวกตอ สงั คมสว นรวม
การจัดอันดับมีทั้งขาข้ึน-ลง สิ่งที่ดีที่สุดท่ีผูจัดงานทุกทานจะทำไดคือ การรักษา แนน อนวา การพดู นน้ั งา ยกวา การกระทำ
มาตรฐานการจดั งานและพยายามมงุ มนั่ ทจ่ี ะรกั ษาความยง่ั ยนื นไ้ี ว ซง่ึ ทาง สสปน. แตมันจะเกิดข้ึนไดก็ตอเมื่อทานเริ่ม
เรากเ็ ขา ใจเปน อยา งยง่ิ และตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของการจดั งานแสดงสนิ คา อนั เปลี่ยนมมุ มองและ DNA ขององคกร
จะเปน กลไกทส่ี ำคญั ของการขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ ในทกุ ภาคสว น และพรอ มสนบั สนนุ ของทา นเอง”
อยา งเตม็ ที่เพื่อเสริมสรา งจุดแข็งของประเทศไทยตอไป”
บทเรียนการนำหวั ใจมาใช
ในการผลติ อาหาร /

สรางทรพั ยากรบุคคล /
สรา งบรรจภุ ัณฑ

และสรา งแบรนดอ ยา งยง่ั ยนื

คุณปรญิ ญ พานชิ ภักดิ์ ประธานคณะกรรมการขบั เคลอ่ื นธรุ กิจการเกษตร คณุ ประสทิ ธ์ิ บญุ ดวงประเสรฐิ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ และทป่ี รกึ ษารองนายกรฐั มนตรี จรุ นิ ทร ลกั ษณวศิ ษิ ฏ ประธานคณะผูบริหารของ บริษัท
หนง่ึ ในวทิ ยากรหลกั ของการจดั งานไดใ หเ กยี รตมิ ากลา วปาฐกถาพเิ ศษ โดยกลา วถงึ เจริญโภคภณั ฑอาหาร จำกัด ไดใ ห
“ความสำคญั ระหวา งภาครฐั -เอกชนทต่ี อ งผสานความรว มมอื ในการเรง แกไ ขปญ หา เกยี รตแิ บง ปน วธิ กี ารนำหวั ใจมาใชใ น
ภาวะทพุ ภกิ ขภยั หรอื สภาวะของการขาดแคลนอาหารอยา งกวา งขวาง ซง่ึ เปน วกิ ฤต การผลติ อาหารใหย ัง่ ยนื โดยกลา ววา
ระดับโลกที่สงผลกระทบตอทุกคนในอนาคตท่ีทุกภาคสวนควรใหความสำคัญ เปา หมายหลกั ของบรษิ ทั เจรญิ โภคภณั ฑ
อาหาร คอื การผลติ อาหารทเี่ ต็มดวย
สารอาหาร และเปนราคาท่ีเขาถึงได
ในทกุ กลมุ ลกู คา เพอ่ื การนท้ี างบรษิ ทั ฯ
จงึ ไดน ำเอาเทคโนโลยอี ยา ง Internet
of Things (IoT), ปญ ญาประดษิ ฐ (AI)
และหนุ ยนต เพอื่ มาประยกุ ษใ ชใ หเ กดิ
ประสิทธิผลสูงสุดในทุกกระบวนการ

37สาสนไก & สุกร

CHICKEN & PIG MAGAZINE

ต้ังแตโรงงานผลิตอาหารจนถึงโรงเชือด ตลอดจนระบบขนสงจนจบที่โตะอาหาร สำหรบั การจดั งานในครง้ั นท้ี างคณะ
ของผบู ริโภค และอีกสวนที่มคี วามสำคญั อยา งยง่ิ คือ การบรหิ ารทรพั ยากรบุคคล ผูจัดงานขอขอบพระคุณผูสนับสนุน
อันจะเปนสินทรัพยท่ีสำคัญที่สุดขององคกร เพราะพวกเขาคือฟนเฟองสำคัญใน หลักอยางเปนทางการจาก บริษัท
การนำเอาใจใสใ นทกุ ๆ ขนั้ ตอนการผลิตอยางแทจ ริง” Ceva Animal Health, บรษิ ัท Big
Dutchman ตลอดจน บรษิ ทั Munters
คุณจักริน แตไพสฐิ พงษ รอง ผรู ว มสนบั สนนุ ตลอดจน สำนกั งาน
กรรมการผูจัดการใหญบ รหิ าร กลุม สง เสรมิ การจดั ประชมุ และนทิ รรศการ
งานบรหิ ารสว นกลาง เครอื เบทาโกร และพนั ธมติ รสอ่ื ทช่ี ว ยประชาสมั พนั ธ
ไดใ หเ กยี รตแิ บง ปน ประสบการณ และ การจดั งานอยา งตอ เนอื่ งทง้ั นติ ยสาร
แลกเปลี่ยนมุมมองในการบริหาร Asia Food and Beverage,
บคุ ลากรของเครอื เบทาโกรดว ยแนวคดิ หนงั สอื พมิ พบ างกอกโพสต, นติ ยสาร
Purpose Driven Organization Food Focus Thailand, นิตยสาร
ท่ีชวยหลอหลอมใหคนในองคกรมี INNOLAB, หนังสือพิมพคมชัดลึก,
ความเปนหน่ึงเดียวกันและทำงาน ปศุศาสตร นิวส, หนังสือพิมพฐาน
รวมกันอยางมีประสิทธิภาพ ภายใต เศรษฐกจิ และ นติ ยสาร “สาสน ไก &
คำวา “One Thought, One Goal & Direction และ One Team ซ่งึ เปน 3 สุกร” ทางวีเอ็นยูฯ ผูจัดงานแสดง
คำที่เรียบงายแตทรงพลังในการขับเคลื่อนองคกรไปสูเปาหมายในอนาคตรวมกัน สินคา VIV Asia (วิฟ เอเชีย) และ
การหาจดุ สมดุลระหวางกำไร บุคลากร และ ส่ิงแวดลอ ม น่ันคือ การนำหวั ใจมา Meat Pro Asia (มีท โปร เอเชีย)
ใชใ นการสรางทรพั ยากรบุคคลของเรา” พรอมท่ีจะนำเสนองานแสดงสินคา
คณุ วศิ ษิ ฐลมิ้ ลอื ชาประธานกลมุ และงานประชมุ สมั มนาระดบั ภมู ภิ าค
อตุ สาหกรรมอาหารสภาอตุ สาหกรรม เพื่อเสริมความเขมแข็งใหกับหวงโซ
แหงประเทศไทย ใหเกียรติแบงปน อาหารตง้ั แตต น นำ้ ถงึ ปลายนำ้ ในภาค
ประสบการณก ารนำหวั ใจมาใชใ นการ การผลติ โปรตนี จากเนอื้ สตั วต ลอดจน
สรางบรรจุภัณฑ และสรางแบรนด กระบวนการผลติ อาหาร และเปน ศนู ย
อยางยั่งยืน คุณวิศิษฐกลาววา กลางของการอพั เดทเทคโนโลยขี า วสาร
“การระบาดของเช้ือไวรัสโควิด-19 ของอุตสาหกรรมจากทั่วโลกสูตลาด
น้ัน ทำใหบรรจุภัณฑอาหารมีความ เอเชยี ผทู สี่ นใจสามารถติดตามขาว
สำคัญมากย่ิงข้ึน เน่ืองมาจากความ สารการจดั งานและกจิ กรรมทน่ี า สนใจ
กงั วลในเรอ่ื งความปลอดภยั ทางอาหาร ไดท าง www.vivasia.nl และ www.
และความนิยมในการใชบริการจัดสง meatpro-asia.com หรือโทร.
อาหารสำหรบั สว นสำคญั ของบรรจภุ ณั ฑ 02-1116611 (วีเอน็ ยูฯ)
น้ันตองมีการออกแบบที่นาดึงดูด
สามารถนำกลบั มาใชซ ำ้ ไดอ ยา งยง่ั ยนื
ในดานแนวโนมเทคโนโลยีใหมที่นำ
มาใชกับบรรจุภัณฑน้ัน ไดมีการนำ
ระบบบง ชด้ี ว ยคลนื่ ความถวี่ ทิ ยุ RFID
มาปรบั ใชก บั เทคโนโลยรี ะบบอตั โนมตั ิ
และท่ีมากไปกวานั้นขณะน้ีมีผูผลิต
หลายรายพยายามทจี่ ะนำเสนอขอ มลู
เก่ียวกับแบรนดและผลิตภัณฑของ
ตนมากข้ึนผานทาง QR code บน
บรรจุภัณฑ”
38 สาสนไก & สุกร

CHICKEN & PIG MAGAZINE









กรมปศสุ ัตวระดมความตอ งการปรบั ปรงุ
ระบบทะเบียนใบอนุญาตอาหารและยาสัตว

นายสตั วแพทยรักไทย งามภกั ดิ์
กลาวรายงาน

นายสตั วแพทยสรวศิ ธานีโต อธิบดีกรมปศสุ ัตว เปนประธานการประชมุ เชงิ ปฏิบัติการ เรือ่ ง โครงการ
ประชมุ ระดมความคดิ เหน็ และความตอ งการใชง านระบบ ภายใตโ ครงการปรบั ปรงุ ระบบทะเบยี นใบอนญุ าต
อาหารสัตวและวัตถุอันตรายดานปศุสัตว ระยะที่ 3 โดยมีนายสัตวแพทยรักไทย งามภักด์ิ ผูอำนวยการ
กองอาหารและยาสตั ว กลา วรายงาน พรอ มเจา หนา ทท่ี เ่ี กยี่ วขอ งเขา รว มประชมุ แสดงความคดิ เหน็ เมอ่ื วนั ท่ี 25
กุมภาพันธ 2564 ณ โรงแรมบางกอกโอเอซิส กรงุ เทพฯ

43สาสนไก & สุกร

CHICKEN & PIG MAGAZINE

นายสัตวแพทยสรวิศ ธานีโต
อธบิ ดกี รมปศสุ ตั ว กลา ววา การดำเนนิ
งานของกองควบคุมอาหารและยา
สัตวไดพัฒนาระบบบริการทางดาน
อิเล็กทรอนิกส เพื่ออำนวยความ
สะดวกใหแกผูประกอบการอาหาร
สัตวและวัตถุอันตรายดานปศุสัตว
แสดงใหเห็นถึงความมุงม่ันต้ังใจท่ีจะ
ใหบ รกิ ารแกผ ปู ระกอบการซง่ึ สอดคลอ ง
กับนโยบายของรัฐบาลท่ีกำหนดให
ภาครฐั ดำเนนิ การตามพระราชบญั ญตั ิ
อำนวยความสะดวกในการพิจารณา
อนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558
ซึ่งเปนการลดข้ันตอนระยะเวลาการ
บรกิ ารเบด็ เสร็จ ณ จดุ เดยี ว และเปน
การบริการในรูปแบบไรกระดาษ
(Paperless) โดยอาศยั เทคโนโลยที าง
ดจิ ทิ ลั เปน เครอื่ งมอื ในการดำเนนิ งาน
อยางไรก็ตาม เจาหนาที่ผูใหบริการ
และผปู ระกอบการตอ งมคี วามรคู วาม
เขา ใจถงึ แนวทางการบรกิ ารผา นระบบ
บรกิ ารทางดา นอเิ ลก็ ทรอนกิ ส จงึ ตอ ง
มีการจัดประชุม อบรม สัมมนากัน
อยางตอเน่ือง ซึ่งมีเจาหนาท่ีผูให
บรกิ ารทง้ั สว นกลาง สว นภมู ภิ าค และ
ดานกกั กนั สตั วเ ขารวม
44 สาสนไก & สุกร

CHICKEN & PIG MAGAZINE

กรมปศสุ ตั วไ ดใ หค วามสำคญั และ ของเจา หนา ทใ่ี นการออกใบอนญุ าตใบแจง ใบสำคญั การขน้ึ ทะเบยี น และใบรบั รอง
กำกับดูแลผูประกอบการดานอาหาร ใหทนั ตอ ความตองการของประชาชน กรมปศุสตั วมีใบอนญุ าต ใบแจง ใบสำคัญ
สตั ววตั ถอุ นั ตรายดา นการปศสุ ตั วต าม การขนึ้ ทะเบียน และใบรับรอง ในรปู แบบดจิ ิทลั รบั รองใบรบั รองอิเล็กทรอนกิ ส
พระราชบญั ญตั คิ วบคมุ คณุ ภาพอาหาร (Certificate Authority) บรกิ ารในรปู แบบไรก ระดาษ (Paperless) และตรวจสอบ
สตั ว พ.ศ. 2558 และพระราชบญั ญตั ิ ทางระบบสารสนเทศได
วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 และกรม
ปศสุ ตั วไ ดร เิ รม่ิ ใหบ รกิ ารทางดา นระบบ
อเิ ลก็ ทรอนกิ สเพอ่ื อำนวยความสะดวก
ใหแกผูประกอบการดานอาหารสัตว
วัตถุอันตรายดานการปศุสัตวตั้งแตป
2551 เปนตน มา ซ่งึ ในหลายปทผ่ี าน
มามีผูประกอบการดานอาหารสัตว
และวตั ถอุ นั ตรายดา นการปศสุ ตั วเ พม่ิ
มากขึ้น กรมปศสุ ัตวจ งึ ไดพ ฒั นาและ
ปรบั ปรุงระบบมาอยางตอ เนื่อง และ
ไดมีการจัดทำโครงการพัฒนาระบบ
เชอ่ื มโยงขอ มลู ระบบ National Single
Windowระยะ3ซง่ึ ทำใหก ารยน่ื คำขอ
ใบอนุญาต ใบแจง ใบสำคัญการขึ้น
ทะเบยี นและใบรบั รองมปี ระสทิ ธภิ าพ
มากข้ึน สามารถบริการไดรวดเร็ว
ถกู ตอ ง เปน การลดขนั้ ตอนการขอรบั
บรกิ าร ตลอดจนสามารถนำขอมลู ใน
ระบบอิเล็กทรอนิกสมาวิเคราะห
เพื่อประกอบการวางแผนการปฏิบัติ
งานในสวนที่เกี่ยวของ และเพื่อเปน
การเพม่ิ ศกั ยภาพของระบบบรกิ ารทาง
ดานอิเล็กทรอนิกสใหมีความสะดวก
รวดเรว็ รัดกุม มากย่งิ ขึน้ ซ่งึ จะสง ผล
ดีตอการบริการออกใบอนุญาตผลิต
นำเขา ขาย รวมถึงการแจงนำเขา
สง ออก ตลอดจนการขนึ้ ทะเบยี นและ
ออกใบรบั รองตา งๆ โดยเพม่ิ ระบบการ
ปฏิบัติการ คือ ระบบการตรวจสอบ
ความถูกตองของเอกสารใบอนุญาต
ใบแจง ใบรับแจง ใบสำคัญการข้ึน
ทะเบยี น และใบรบั รองอตั โนมตั ิ ระบบ
การลงลายมอื ชอ่ื ดจิ ทิ ลั (e-signature)
ระบบการ Mobile Application
สำหรบั เจา หนา ทต่ี รวจสอบอาหารสตั ว
และวัตถุอันตรายดานการปศุสัตว
ภาคสนาม ซึ่งจะไดรับประโยชนใน
การเพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการ

ขอ มูล : กองควบคมุ อาหารและยาสตั ว กรมปศุสัตว 45สาสนไก & สุกร

CHICKEN & PIG MAGAZINE

ซีพเี อฟ เชิญกูรไู ขขอ สงสัยโควดิ -19

เสรมิ ความรูพ นักงาน ตอกยำ้ ผผู ลติ อาหารปลอดภยั

บรษิ ัท เจรญิ โภคภัณฑอาหาร จำกดั มหาชน ศ.นพ.ยง ภวู รวรรณ กลา ววา ไวรสั โควดิ -19 จะถกู ทำลายดว ย
หรอื ซีพเี อฟ จัดกจิ กรรมเสริมความรูใ หพ นกั งาน ความรอ น เปลอื กของเชอื้ ไวรสั เปน ไขมนั ทำลายหรอื ชะลา งไดด ว ยสบู
โดยไดร บั เกียรตจิ าก ศ.นพ.ยง ภวู รวรรณ หัวหนา หรอื แอลกอฮอล สำหรบั การปรงุ อาหารหรอื เนอ้ื สตั วค วรผา นความ
ศูนยเชี่ยวชาญเฉพาะทางดานไวรัสวิทยาคลินิก รอนเกิน 56 องศาเซลเซียส จะใชเวลาคร่ึงช่ัวโมงทำใหไวรัสตาย
ภาควิชากุมารเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร ถา อณุ หภมู ิ 65 องศาเซลเซยี ส ระยะเวลาจะเหลอื 15 นาที หากเกนิ
จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลัย บรรยายความรู “ไขขอ 80 องศาเซลเซยี สขนึ้ ไป จะใชเ วลาเพยี ง 1 นาทใี นการทำลายเชอื้ ไวรสั
สงสยั เรอื่ ง โควดิ -19 รอู ยา งเขา ใจ ใชช วี ติ ในวถิ ใี หม โควิด-19 แตถาใชความรอนจนเดือดในการปรุงอาหารเชื้อไวรัสจะ
หา งไกลโควิด-19” ในรูปแบบ e-learning เพอื่ ให ตายทันที รวมถึงอาหารท่ีอุนในไมโครเวฟ หากใชความรอนสูง
ขอมูลทุกแงมุมเกี่ยวกับไวรัสโควิด-19 ตั้งแตตน เกินอุณหภูมิ 85 องศาเซลเซียส หลักการทางวิทยาศาสตรพิสูจน
กำเนิด สาเหตุ อาการ แนวทางในการปฏิบัตติ นใน แลววา ไวรสั ตาย กม็ น่ั ใจไดวา อาหารน้ีปลอดภัยจากโควดิ -19
การปองกันการแพรระบาด มาตรการปองกันของ
สถานประกอบการ รวมถงึ เพม่ิ ความเชอ่ื มน่ั เกย่ี วกบั “เชื้อไวรัสโควิด-19 ติดตอทางระบบหายใจ ทางปาก และตา
วัคซีนตานโควิด เพ่ือเปนประโยชนในการดำเนิน ทกุ คนตอ งมน่ั ใจวา มอื จะตอ งสะอาดกอ นสมั ผสั หรอื จบั ตอ งใบหนา
ชวี ติ และทำงานอยา งปลอดภยั รบั กบั วถิ นี วิ นอรม อล ลางมือใหสะอาดทุกคร้ังกอ นและหลงั จับตองอาหาร สามารถมัน่ ใจ
46 สาสนไก & สุกร ไดว า ชว ยปอ งกนั การแพรร ะบาดเชอ้ื โรคโควดิ -19 รวมถงึ เชอื้ โรคอนื่ ๆ
ได และรับประทานอาหารท่ีสะอาด ปรุงสุกผานความรอนทุกคร้ัง
CHICKEN & PIG MAGAZINE สวนการสัมผัสอาหารชวงการเตรียม การปรุง โดยเฉพาะอยางย่ิง
อาหารแชแข็ง ที่อาจกลัวกันวามีการปนเปอนเชื้อโควิด-19 วิธีการ
ทป่ี ลอดภยั ทสี่ ดุ คอื ทกุ ครงั้ กอ นและหลงั สมั ผสั อาหารควรลา งมอื ให
สะอาดทันที หากปฏิบัติไดเชนนี้แลวสามารถสบายใจไดเลยวาจะ
ปลอดภัยจากการติดเชือ้ โควดิ -19 อยา งแนน อน” ศ.นพ.ยง กลา ว

ทั้งน้ี ศ.นพ.ยง ยืนยันวา ไวรัสโควิด-19 ไมพบในไกและสุกร
รวมถึงอาหารทะเล สวนอาหารแชแข็งและอาหารแปรรูป ควรอุน
หรือปรุงสุกในอุณหภูมิสูง ทั้งนี้ ที่ผานมายังไมเคยพบวา มีผูปวย
ติดเช้ือโควดิ จากการทานอาหาร รวมท้งั อาหารทะเล ขณะทว่ี ัคซนี
ปอ งกันโควดิ -19 เปนความหวังของไทย ซง่ึ จะชวยปอ งกันและยตุ ิ
การแพรระบาด ทำใหค วามเปน อยูของคนในประเทศดขี ึน้

ดา น น.สพ.ดำเนิน จตรุ วิธวงศ รองกรรมการผจู ดั การอาวุโส
ดา นบรกิ ารวชิ าการสกุ ร ในฐานะคณะทำงานศนู ยป ระสานงานโรค
ตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ของซพี เี อฟ ยำ้ วา บรษิ ทั ฯ มมี าตรการ
ดานการปองกันการแพรระบาดโควิด-19 อยางเขมขน เพื่อให
พนักงานทุกคนไดทำงานอยางปลอดภัย ปลอดเช้ือโควิด-19 และ
สรางความเชื่อม่ันวา อาหารท่ีบริษัทฯ ผลิตสะอาด ปลอดภัยตอ
การบริโภค และปราศจากการเจือปนจากไวรสั ทีก่ อใหเกิดโรค

“การเชิญผูเช่ียวชาญมาใหความรูแกพนักงาน เปนสวนหนึ่ง
ของมาตรการปอ งกนั โควิด-19 ทบ่ี ริษัทใหความสำคัญอยางยงิ่ ยวด
ดวยซีพีเอฟยกระดับความปลอดภัยขั้นสูงสุดตลอดหวงโซการผลิต
และสามารถตรวจสอบยอนกลับไดทุกข้ันตอน ต้ังแตโรงงานผลิต
อาหารสตั ว ฟารม ปศสุ ตั ว โรงงานแปรรปู อาหาร การขนสง คคู า และ
ชองทางจำหนาย พรอมเพิ่มมาตรการเสริมควบคูเพื่อปองกันใน
ทกุ มติ ิ โดยเฉพาะการดแู ลสขุ ภาพและความปลอดภยั ของพนกั งาน
ซึ่งเปนหัวใจสำคัญในการผลิตและสงมอบอาหารคุณภาพ สด
สะอาด ปลอดภัย จนถึงมือผูบริโภคไดอยางเพียงพอ” น.สพ.
ดำเนินกลา ว

47สาสนไก & สุกร

CHICKEN & PIG MAGAZINE

48 สาสนไก & สุกร
CHICKEN & PIG MAGAZINE

เกษตรกรเลีย้ งไก ขอบคณุ กรมการคา ภายใน
ดนั ไขธ งฟา -สงออกไข ชว ยสรา งเสถยี รภาพราคา

กา วผา นวิกฤตไปดว ยกัน

นายสุเทพ สุวรรณรัตน นายกสมาคมผูเลี้ยงไกไขภาคใต เปดเผยวา
เกษตรกรผูเลี้ยงไกไขตองแบกรับภาระขาดทุนสะสมมานานกวา 3 เดือน
นับจากเดือนธันวาคม 2563 ตั้งแตมีการระบาดของโควิด-19 ระลอกใหม
ทำใหต ลาด รา นคา รา นอาหารบางแหง ตอ งปด ทำการ ตลอดจนการประกาศ
หยุดการเรียนการสอน การทองเท่ียวกลับมาหยุดชะงักอีกครั้ง ซ่ึงในภาวะ
ปกติน้ันกลุมนักทองเท่ียวตางชาติมีการบริโภคไขไกถึงวันละ 2 ลานฟอง
สง ผลใหก ารบรโิ ภคลดลงอยา งเหน็ ไดช ดั จากปรมิ าณผลผลติ ไขไ กเ ฉลย่ี วนั ละ

42 ลา นฟอง แตม กี ารบรโิ ภคเพียงวนั ละ 38 ลานฟอง ทำใหมผี ล
ผลิตไขไ กสว นเกนิ ถงึ วนั ละ 4 ลานฟอง สง ผลใหร าคาไขไก
ปรับลดลงอยา งตอ เน่อื ง
ทงั้ น้ี กรมการคา ภายใน เรง ออกมาตรการ
แกป ญ หาผลผลติ ไขไ กล น ตลาดและราคาตกตำ่
ดว ยการจดั “โครงการไขไ กธ งฟา ลดราคาเพอื่
ประชาชน” ภายในปมน้ำมันพีทีที สเตช่ัน
และบางจาก ทด่ี ำเนนิ การจบไปแลว เมอ่ื สน้ิ เดอื น
กุมภาพันธท่ีผานมา ชวยระบายไขไกสดตาม
เปาหมาย 20 ลา นฟอง ถึงมือผบู ริโภคโดยตรง
ประกอบกับคณะกรรมการบริหารกองทุนรวม
เพ่ือชวยเหลือเกษตรกรมีมติใหกรมการคาภายใน
49สาสนไก & สุกร

CHICKEN & PIG MAGAZINE

ดำเนนิ โครงการรกั ษาเสถยี รภาพไข ดา น นางพเยาว อรกิ ลุ นายกสมาคม
ไก ป 2564 ดำเนินการเรง ผลักดัน การคาผูเลี้ยงไกไขรายยอยภาคกลาง
ไขไก 200 ลานฟอง ออกสูตลาด กลา ววา ปจจุบันราคาไขไกค ละหนา
ตางประเทศอยางเรงดวน โดย ฟารมเกษตรกรอยูท่ีฟองละ 2.50
รัฐบาลจะสนับสนุนเงินชดเชยให บาท ขณะทตี่ น ทนุ การผลติ เฉลย่ี พงุ
ผูประกอบการสงออกจำนวน 100 ไปถงึ ฟองละ 2.69 บาทแลว และมี
ลานฟองแรก ในราคาฟองละ 50 แนวโนม ตน ทนุ จะสงู ขน้ึ อกี จากวตั ถดุ บิ
สตางค คาดวา จะใชง บประมาณ 51 อาหารสตั วท ป่ี รบั ราคาสงู ขน้ึ ตอ เนอ่ื ง
ลานบาท ซ่ึงเปนงบประมาณจาก ท้ังขาวโพดเลี้ยงสัตว กากถ่ัวเหลือง
กองทนุ รวมเพอื่ ชว ยเหลอื เกษตรกร มันสำปะหลัง นอกจากนี้ เกษตรกร
จากการดำเนินการที่ตอเน่ืองและ หลายรายตองมีคาใชจายเพ่ิมจากการซ้ือ
ทันทวงทีน้ีจะสามารถระบายไขไก น้ำสำหรับใชภายในฟารม กลายเปนตนทุนที่
ออกจากระบบ และพยงุ ราคาไขไก จำตอ งแบกรับเพม่ิ ขนึ้ ถึง 10-20 สตางคตอ ฟอง
ไมใ หต กตำ่ จนเกษตรกรไมส ามารถ
รับภาระการขาดทุนได ท้ังน้ี การ “ผเู ลยี้ งไกไ ขท งั้ ประเทศ ขอขอบคณุ เอก บอรด กรมการคา ภายใน และ
สง ออกไขไ กท เ่ี กดิ ขน้ึ นเ้ี กดิ จากภาวะ ผปู ระกอบการสง ออก ทรี่ ว มมอื กนั ทำเพอื่ เกษตรกรและอตุ สาหกรรมไขไ ก
จำเปน ทไ่ี ทยตอ งเรง ระบายผลผลติ ของไทย ขอใหภาคเอกชนท่ีมีกำลังพอที่จะชวยผลักดันการสงออกไดอีก
สว นเกนิ ใหส อดคลอ งกบั ความตอ ง ใหม าชว ยกนั เรง ระบายผลผลติ ไขไ ปยงั ตา งประเทศ ใหเ กษตรกรไดพ อลมื ตา
การบริโภค เพื่อรักษาเสถียรภาพ อา ปาก และผา นพน วกิ ฤตทง้ั โควดิ และปญ หาราคาตกตำ่ ไปได” นางพเยาว
ราคาไขภ ายในประเทศ โดยผสู ง ออก กลาว
ตอ งยอมสง ไขใ นราคาขาดทนุ ทำให
สามารถแขง ขันกับประเทศคูแขง

“เกษตรกรขอขอบคุณกรม
การคาภายในที่เห็นถึงทุกขของ
เกษตรกร และย่ืนมือเขามาชวย
ท้ังการจัดโครงการไขไกธงฟาฯ
และการเรง สง ออกไขไกโดยพจิ ารณา
สนับสนุนเงินชดเชยเพื่อกิจกรรมน้ี
เพราะการสงออกน้ันไมใชการ
สรางผลกำไรใหผูสงออก แตเปน
การขายขาดทุนฟองละ 40-50
สตางค เพ่ือแขงขันราคากับท้ังจีน
และสหรัฐฯ ที่เปนคูแขงสำคัญ
ทผี่ า นมาจงึ ไมม ใี ครอยากสง ออกไข
การสงออกจึงถือเปนการเสียสละ
เพอ่ื พน่ี อ งเกษตรกรและอตุ สาหกรรม
ไขไกทั้งระบบ” นายสเุ ทพ กลา ว

50 สาสนไก & สุกร
CHICKEN & PIG MAGAZINE


Click to View FlipBook Version