The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือ Geographic Information System(GIS)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อภิสิทธิ์ ชูสุวรรณ, 2019-07-04 03:39:34

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือ Geographic Information System(GIS)

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือ Geographic Information System(GIS)

ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ หรือ Geographic Information System : GIS

เรียบเรยี งโดย
นาย อภิสิทธ์ิ ชูสุวรรณ
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
วิทยาลยั เทคนิคสุโขทัย

ระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ หรอื Geographic Information System : GIS

คอื กระบวนการทางานเกีย่ วกับข้อมลู ในเชงิ พน้ื ที่ด้วยระบบคอมพวิ เตอร์ ทใ่ี ช้กาหนดขอ้ มลู และสารสนเทศ
ท่มี คี วามสัมพนั ธก์ บั ตาแหนง่ ในเชิงพ้นื ท่ี เชน่ ทอ่ี ยู่ บ้านเลขท่ี สมั พันธก์ ับตาแหน่งในแผนที่ ตาแหน่ง เสน้ รุ้ง
เส้นแวง ขอ้ มลู และแผนทใ่ี น GIS เป็นระบบข้อมูลสารสนเทศท่ีอยู่ในรูปของตารางข้อมลู และฐานขอ้ มูลทมี่ ี
สว่ นสัมพนั ธ์กบั ขอ้ มลู เชงิ พ้นื ท่ี (Spatial Data) ซง่ึ รูปแบบและความสมั พันธข์ องข้อมลู เชงิ พ้นื ทีท่ ั้งหลาย จะ
สามารถนามาวิเคราะหด์ ว้ ย GIS และทาใหส้ อ่ื ความหมายในเรื่องการเปลี่ยนแปลงทส่ี มั พนั ธก์ ับเวลาได้ เชน่
การแพร่ขยายของโรคระบาด การเคล่อื นย้าย ถน่ิ ฐาน การบุกรุกทาลาย การเปลย่ี นแปลงของการใช้พนื้ ท่ี ฯลฯ
ขอ้ มลู เหล่านี้ เมื่อปรากฏบนแผนที่ทาใหส้ ามารถแปลและส่ือความหมาย ใช้งานได้งา่ ย

องค์ประกอบหลักของระบบ GIS จดั แบง่ ออกเป็น 5 สว่ นใหญ่ ๆ ดงั น้ี

1.อปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์ (hardware)
2.โปรแกรม(software)
3.ขอ้ มลู (data)
4.บุคลากร(people)
5.วิธีการหรือขน้ั ตอนการทางาน (methods)

หนา้ ทขี่ อง GIS

ภาระหนา้ ที่หลกั ๆ ของระบบสารสนเทศภูมศิ าสตรค์ วรจะมีอย่ดู ว้ ยกัน 5 อย่างดงั น้ี

1. การนาเขา้ ขอ้ มูล (Input)
กอ่ นที่ขอ้ มูลทางภมู ิศาสตร์จะถกู ใชง้ านได้ในระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ ข้อมลู จะตอ้ งได้รบั การแปลง
ให้มาอยู่ในรูปแบบของขอ้ มลู เชิงตัวเลข (digital format) เสียก่อน เชน่ จากแผนท่ีกระดาษไปส่ขู ้อมูล
ใน รปู แบบดิจติ อลหรือแฟ้มข้อมลู บนเครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ท่ใี ชใ้ นการนาเข้าเช่น Digitizer
Scanner หรอื Keyboard เป็นต้น

2. การปรับแต่งข้อมลู (Manipulation)
ขอ้ มูลท่ีไดร้ บั เข้าสูร่ ะบบบางอยา่ งจาเปน็ ต้องไดร้ บั การปรับแตง่ ใหเ้ หมาะสมกับงาน เช่น ข้อมูล
บางอยา่ งมีขนาด หรือสเกล (scale) ทแ่ี ตกต่างกนั หรือใช้ระบบพิกัดแผนท่ีท่ีแตกตา่ งกัน ข้อมูล
เหล่านี้จะตอ้ งไดร้ ับการปรบั ให้อยใู่ น ระดบั เดียวกนั เสยี ก่อน

3. การบรหิ ารขอ้ มลู (Management)
ระบบจัดการฐานขอ้ มลู หรอื DBMS มาใชใ้ นการบริหารข้อมูลเพื่อการทางานทม่ี ีประสทิ ธิภาพในระบบ
GIS DBMS ท่ีได้รับการเช่ือถือและนิยมใช้กนั อยา่ งกวา้ งขวางทีส่ ุดคือ DBMS แบบ Relational หรือ
ระบบจัดการฐานขอ้ มลู แบบสัมพัทธ์ (DBMS) ซ่ึงมีหลักการทางานพ้ืนฐานดังนค้ี ือ ข้อมลู จะถูกจัดเกบ็
ในรปู ของตารางหลาย ๆ ตาราง

4. การเรยี กค้นและวิเคราะหข์ อ้ มลู (Query and Analysis)
เม่อื ระบบ GIS มีความพร้อมในเรือ่ งของข้อมูลแล้ว ขั้นตอนตอ่ ไป คอื การนาข้อมูลเหล่านมี่ าใชใ้ หเ้ กิด
ประโยชน์ เชน่ ใครคือเจ้าของกรรมสทิ ธ์ิในทดี่ ินผืนทีต่ ิดกบั โรงเรียน

5. การนาเสนอขอ้ มูล (Visualization)
จากการดาเนนิ การเรยี กคน้ และวิเคราะห์ขอ้ มลู ผลลัพธ์ที่ได้จะอยู่ในรปู ของตวั เลขหรอื ตัวอกั ษร ซง่ึ
ยากต่อการตคี วามหมายหรือทาความเข้าใจ การนาเสนอข้อมลู ที่ดี เชน่ การแสดงชารต์ (chart) แบบ
2 มิติ หรือ 3 มติ ิ รปู ภาพจากสถานท่จี ริง ภาพเคลื่อนไหว แผนท่ี หรือแม้กระทัง้ ระบบมัลตมิ เี ดียสอ่ื
ต่าง ๆ เหล่านจ้ี ะทาใหผ้ ูใ้ ช้เข้าใจความหมายและมองภาพของผลลพั ธ์ทก่ี าลงั นาเสนอได้ดีย่ิงขนึ้ อีก ทงั้
เปน็ การดึงดดู ความสนใจของผ้ฟู งั อีกดว้ ย

แ ห ล่ ง ข้ อ มู ล อ้ า ง อิ ง
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี.“ระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร”์
[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก: http://gg.gg/eg0oh
(วันท่ีสืบค้นข้อมูล :วันท่ี 17 มิถุนายน 2562).


Click to View FlipBook Version