The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookrayong, 2021-03-06 01:15:50

The_Knowledge_vol_7

The_Knowledge_vol_7

CONTENTs

19

3
6

14

03 12 19 Office of Knowledge Management and Development
Nextpert Inside okmd ท่ปี รึกษา
Word Power ดร.อธปิ ัตย์ บ�ำ รงุ
กระดกู สันหลัง 4.0 OKMD กบั การถา่ ยทอดทกั ษะ ผู้อ�ำ นวยการส�ำ นกั งานบรหิ ารและพัฒนาองคค์ วามรู้
การจดั การความรู้ : KM สู่ชมุ ชน บรรณาธกิ ารบริหาร
จบั ตอ้ งยาก แตจ่ ดั การได้ ดร.ปรียา ผาตชิ ล
20 รองผู้อ�ำ นวยการส�ำ นกั งานบรหิ ารและพฒั นาองคค์ วามรู้
06 14 5ive หวั หนา้ กองบรรณาธิการ
ดร.อภชิ าติ ประเสรฐิ
Oneof a kiNd DigitOnomy 5 แพลตฟอรม์ จดั การ ผูอ้ ำ�นวยการส�ำ นกั โครงการและจัดการความรู้
องคค์ วามรทู้ อ้ งถนิ่ ในยคุ ดจิ ทิ ลั
Knowledge Management รวมมติ รขอ้ มลู สถติ ิ ฝา่ ยศิลปกรรมและภาพถ่าย
A-Z ดา้ นการเกษตร 22 บริษทั โคคูน แอนด์ โค จำ�กัด
whaT's goiNg oN 32 ซอยโชคชัย 4 ซอย 84 ถนนโชคชยั 4 แขวงลาดพร้าว
08 16 เขตลาดพรา้ ว กรงุ เทพมหานคร 10230
The Knowledge กจิ กรรมนา่ สนใจในแวดวง โทรศัพท์ 0 2116 9959 และ 087 718 7324
Next การจดั การความรู้
จดั การความร.ู้ .. สู่ชมุ ชน จัดทำ�โดย
อนาคตของการจดั การ Talk tO ZiNe ส�ำ นกั งานบรหิ ารและพฒั นาองคค์ วามรู้ (องคก์ ารมหาชน)
ความรู้ 69 อาคารวิทยาลัยการจดั การ มหาวิทยาลยั มหดิ ล
รทู้ นั โลกเทคโนโลยี พลกิ ธรุ กจิ ชนั้ 18-19 ถนนวภิ าวดรี งั สติ แขวงสามเสนใน
10 18 รบั โอกาสใหม่ เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400
โทรศัพท์ 0 2105 6500 โทรสาร 0 2105 6556
Decode ความรู้กินได้ 23 อีเมล [email protected]
Special FeaTure เวบ็ ไซต์ www.okmd.or.th
ถอดรหสั กระบวนการจดั การ ผลติ ภณั ฑแ์ กป้ ัญหา
ความรใู้ นชมุ ชนเกษตรกร Man of the Match อนุญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาต
ครีเอทีฟคอมมอนส์ แสดงที่มา-ไม่ใช้
เพ่ือการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0
ประเทศไทย
จัดทำ�ขึ้นภายใต้โครงการเผยแพร่กิจกรรมองค์ความรู้โดยสำ�นักงาน
บรหิ ารและพฒั นาองคค์ วามรู้ (องคก์ ารมหาชน) เพอ่ื สรา้ งแรงบนั ดาลใจ
ในการน�ำ องคค์ วามรมู้ าผสมผสานกบั ความคดิ สรา้ งสรรค์ เพอ่ื ประโยชน์
ดา้ นการเรียนรู้ ต่อยอดธุรกจิ เพม่ิ มูลคา่ เศรษฐกิจของประเทศ

ผู้สนใจรบั นติ ยสารโปรดติดตอ่ 0 2105 6520 หรือดาวน์โหลดที่เวบ็ ไซต์ www.okmd.or.th/knowledge/okmd-magazine

WORD POWER W 3

knowledge management

การจัดการความรู้ :
จบั ตอ้ งยาก
แต่จัดการได้

“ความรู้ท่วมหัวเอาตัวไม่รอด” เป็นสุภาษิตไทย

โบราณท่ีสะท้อนให้เห็นถึงการมีความรู้แต่ไม่สามารถจัดการกับ
องค์ความรู้ท่ีมีอยู่ หรือไม่สามารถดึงความรู้ท่ีมีไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์ที่จะท�ำให้ตนเองอยู่รอดในสังคม เรียกได้ว่า
ขาดการ “จดั การความร”ู้ ทมี่ ีประสทิ ธภิ าพ

ในความเปน็ จรงิ การจดั การความรมู้ อี ยคู่ สู่ งั คมไทยมาชา้ นาน
แต่อาจไม่มีการบัญญัติศัพท์เพ่ือเรียกกระบวนการเรียนรู้ท่ีมี
การถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นว่าเป็น “การจัดการความรู้” ตัวอย่างท่ี
เห็นไดช้ ัดคือ การถา่ ยทอดตำ� รบั ขนมไทยโบราณ ประเพณี และ
วัฒนธรรมด้ังเดิมของท้องถิ่นมาจนถึงปัจจุบัน หากขาด
กระบวนการจัดการความรู้แล้ว ส่ิงท่ีเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นหรือ
องค์ความรู้ด้ังเดิมของบรรพบุรุษจะสามารถถ่ายทอดและ
ตกทอดมาสู่ร่นุ ลูก หลาน เหลนไดห้ รอื ?

SCAN
เพอื่ ชมคลปิ
สรุปจบใน 1 นาที

Wo4rdWPoWwOeRrD POWER

ค�ำว่า “การจัดการความรู้ (Knowledge Management)” มีวิธีการอย่างไรในการรวบรวมและ
(Knowledge Management)” อยใู่ นชอื่ สำ� นกั งาน นอกจากนต้ี วั ชวี้ ดั ถ่ายทอดความรู้ของบุคลากรรวมถึง
มี ก า ร รั บ รู ้ กั น อ ย ่ า ง แ พ ร ่ ห ล า ย เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ การถ่ายทอดความรู้ที่เกี่ยวข้อง
มากข้ึน ในประเทศไทยพร้อมๆ ภาครฐั (Public Sector Management ระหว่างส่วนราชการกับผู้รับบริการ
กับค�ำว่า “เศรษฐกิจฐานความรู้ Quality Award: PMQA) ของ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เครือข่าย
(Knowledge-based Economy)” ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนา ผู ้ ส่งม อ บ พั น ธ มิ ต ร แ ล ะ ผู ้ ใ ห ้
แ ล ะ น ่ า จ ะ พ ร ้ อ ม กั บ ก า ร จั ด ต้ั ง ระบบราชการ (ก.พ.ร.) ยังก�ำหนด ความร่วมมือ ไปจนถึงส่วนราชการ
ส� ำ นั ก ง า น บ ริ ห า ร แ ล ะ พั ฒ น า ให้การจัดการความรู้เป็นตัวช้ีวัด มวี ธิ ีการอย่างไรในการใชอ้ งค์ความรู้
องค์ความรู้ (Office of Knowledge ห นึ่ ง ใ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล คุ ณ ภ า พ และทรพั ยากรตา่ ง ๆ เพอื่ ใหก้ ารเรยี นรู้
Management and Development: ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร อ ง ค ์ ก ร ด ้ ว ย ฝังลึกลงไปในวิถีการปฏิบัติงาน
OKMD) ทม่ี คี ำ� วา่ “การจดั การความรู้ โดยพจิ ารณาจากขอ้ ทว่ี า่ สว่ นราชการ ของส่วนราชการ เปน็ ต้น

ความรจู้ บั ต้องยาก?
หากพูดถึงการจัดการทรัพย์สินขององค์กร เช่น เคร่ืองจักร อุปกรณ์ หรือเงินสดให้เกิดประโยชน์คุ้มค่าที่สุด
แก่องค์กร หลายคนสามารถมองเห็นภาพอย่างชัดเจนว่า มีกระบวนการจัดการอย่างไร ในทางกลับกันเม่ือกล่าวถึง
“การจัดการความรู้” คนส่วนใหญ่ยังขาดความเข้าใจที่ถ่องแท้ เน่ืองจาก “ความรู้” เป็นส่ิงท่ีจับต้องยาก อย่างไรก็ดี
ความรู้ท่ีเกิดขึ้นในองค์กรถือเป็นทรัพย์สินอันมีค่าอย่างหน่ึงขององค์กร ดังสุภาษิตไทยที่ว่า “มีวิชาเหมือน
มีทรัพย์อยู่นับแสน” โดยเชื่อกันต่อมาว่าความรู้สามารถสร้างเงินได้ การบริหารธุรกิจปัจจุบันจึงให้ความส�ำคัญ
กับการบริหารจัดการความรู้ และมีการบรรจุวิชาการจัดการความรู้เป็นส่วนหนึ่งในหลักสูตรบริหารธุรกิจด้วย
โดยทั่วไปมีการจัดประเภทของความรู้ออกเป็น 2 ลักษณะ คือ

01 02

ความร้แู บบชัดแจง้ ความรู้แฝงหรือความรู้โดยนยั
(Explicit Knowledge) (Tacit Knowledge)

เป็นความรทู้ ส่ี ามารถนำ�มาถา่ ยทอดไดช้ ัดเจน เปน็ ความรทู้ เ่ี กดิ ขน้ึ จากประสบการณข์ องแตล่ ะบคุ คล ตดิ อยกู่ บั
เชน่ ความรู้ทจี่ ดั ทำ�เปน็ หนงั สือ ส่ือตา่ งๆ เป็นต้น ตวั คน อาจจะเรยี กวา่ เปน็ ทกั ษะ (Skill) เฉพาะตวั ของบคุ คลนน้ั ๆ

นอกจากนย้ี งั สามารถแบ่งประเภทออกเปน็ ความรู้เฉพาะด้าน เชน่ ความรดู้ า้ นเศรษฐศาสตร์ ความรูด้ า้ นกฎหมาย
และความรดู้ า้ นวศิ วกรรม เปน็ ตน้ หรอื แบง่ เปน็ ความรสู้ ว่ นบคุ คลและความรขู้ ององคก์ ร ไปจนถงึ ความรใู้ นองค์กรและ
ความรู้นอกองค์กร กล่าวได้ว่าการจัดประเภทของความรู้สามารถท�ำได้หลากหลายแนวทางขึ้นอยู่กับความต้องการ
นำ� ความรูใ้ นมมุ มองหรอื มติ ใิ ดไปใช้ให้เกดิ ประโยชนต์ ่อตวั บคุ คลหรือองค์กร

แม้วา่ ความรไู้ ม่สามารถตมี ลู คา่ ไดอ้ ยา่ งชัดเจนเหมือนทรัพยส์ ินทัว่ ไป แตใ่ นทางเศรษฐศาสตรส์ ามารถวัดความรู้
ออกมาเปน็ ตวั เงนิ ในลกั ษณะของทนุ ทางปญั ญา (Intellectual Capital) หรือ ทุนมนุษย์ (Human Capital) ซึง่ เมอื่ ใช้
ค�ำว่า “ทนุ ” กย็ ่อมสอื่ ถงึ ทรัพย์สนิ อนั มีคา่ ทแ่ี ปลงเปน็ มูลคา่ ได ้ โดยการแปลงคา่ ของความรอู้ อกมาเป็น “ทรพั ย์สนิ ทาง
ปัญญา” ในรูปของสิทธิบัตรหรือลิขสิทธิ์ที่เป็นทรัพย์สินของผู้ที่มีองค์ความรู้ด้านใดด้านหนึ่งท่ีมีการคิดค้นขึ้นมาเพ่ือ
ตอ่ ยอดเชงิ พาณชิ ย์ ความรจู้ งึ เปน็ ทรพั ยส์ นิ อยา่ งหนง่ึ ทม่ี กี ารจดั การได้ และการจดั การความรทู้ ดี่ จี ะกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์
ต่อท้ังทางเศรษฐกิจและสังคม

WORD POWWoErRd WPow5er

แนวคดิ 1. Transactional 2. Analytical
Knowledge Knowledge
การจดั การความรู้ Management Management

ในบทความเรือ่ ง “The Knowledge ก า ร จั ด ก า ร ค ว า ม รู ้ ที่ ใ ช ้ เ ท ค โ น โ ล ยี การสรา้ งองคค์ วามรใู้ หมจ่ ากการวเิ คราะห์
Management Spectrum - Understanding สารสนเทศ (IT) เป็นเคร่ืองมือสนับสนุน ขอ้ มลู และความรทู้ ม่ี อี ยเู่ ดมิ โดยการจดั กลมุ่
the KM Landscape” โดย Binney D. เช่น Frequently Asked Questions และเชอ่ื มโยงความสมั พนั ธข์ องขอ้ มลู ทมี่ อี ยู่
(2544) ซ่ึงตีพิมพ์ในวารสาร Journal (FAQs) หรอื คำ� ถามทพี่ บบอ่ ย ซง่ึ รวบรวม เป็นจ�ำนวนมากแล้วสังเคราะห์เป็นองค์
of Knowledge Management สรุปว่า ค�ำถาม/ค�ำตอบท่ีคาดว่ากลุ่มเป้าหมาย ความรใู้ หม่ เชน่ การวเิ คราะหพ์ ฤตกิ รรมของ
การจดั การความรแู้ บง่ ไดเ้ ปน็ 6 ลกั ษณะ ส่วนใหญ่ต้องการรู้ เพ่ือให้ผู้ท่ีต้องการ ลูกค้าจากประวัติการซื้อสินค้า เพื่อน�ำมา
ใช้ข้อมูลสามารถสืบค้นด้วยตัวเอง ท�ำโปรแกรมสง่ เสริมการขาย

3. Asset 4.Process Based 5.Developmental
Management Management Knowledge
Management
การให้ความสำ�คัญกับความรู้ในฐานะ การจัดการความรู้ที่ให้ความสำ�คัญกับ
สินทรัพย์ขององค์กรท่ีสามารถก่อให้ การเรียนรู้จากกระบวนการต่างๆ เช่น การจดั การความรทู้ เี่ นน้ กระบวนการเรยี นรู้
เกิดประโยชน์และผลตอบแทน เช่น กระบวนการปรับปรุงคุณภาพการผลิต การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ และ
ก า ร บ ริ ห า ร สิ น ท รั พ ย์ จ า ก ค ว า ม รู้ ใ น และการปรบั กระบวนการธรุ กจิ (Business การพฒั นาบคุ ลากร เช่น การสร้างชุมชน
รูปของสิทธิบัตรและลิขสิทธิ์ Process Reengineering) การเรียนรู้ และการสร้างส่ือสง่ เสริม
การเรียนรู้ที่เข้าใจง่าย

6. Innovation and จะเห็นว่าการจัดการความรู้สามารถท�ำได้ในหลายมิติและหลายรูปแบบ
Knowledge Creation เช่น การรวบรวมและจัดเก็บองค์ความรู้ที่มีอยู่ให้เป็นระบบ การวิเคราะห์เพื่อถ่ายทอด
และน�ำเสนอองค์ความรู้ การสร้างกระบวนการเรียนรู้ในรูปแบบของการประชุม
การสร้างความรู้และผลักดันให้เกิด การระดมความคิดเห็น หรือการให้ผู้เช่ียวชาญมาถ่ายทอดองค์ความรู้ เป็นต้น
ผลลัพธ์ในเชิงนวัตกรรมที่ก่อให้เกิด ในความเป็นจริงหลายองค์กรมีการด�ำเนินกิจกรรมในลักษณะของการจัดการความรู้
การเรียนรู้และความคิดสร้างสรรค์ใน อยแู่ ลว้ เพียงแตย่ งั ไม่แนใ่ จว่าเปน็ การจัดการความรู้หรอื ไม่ ทัง้ นี้จุดเน้นของการจดั การ
การพัฒนาสินค้าและบริการ หรือ ความรู้อยู่ที่ “การสามารถน�ำความรู้มาใช้ให้เกิดประโยชน์ตามเป้าหมายหรือ
กระบวนการใหมๆ่ เชน่ การวจิ ยั และพฒั นา วัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาศักยภาพมนุษย์เป็นส�ำคัญ”
เพ่ือให้เกิดองค์ความรู้ ส่ิงประดิษฐ์ สินค้า
บริการ และเทคโนโลยีใหม่ๆ

บทบาทของ จากช่ือของ OKMD ท่ีประกอบขึ้นจากค�ำว่า ทง้ั ในรปู แบบของการจดั อบรม สมั มนา และการลงพน้ื ที่
Knowledge Management (การจดั การความร)ู้ and ทำ� งานรว่ มกบั หนว่ ยงานด้านการศึกษา ท้องถิ่น และ
OKMD กับ Development (การพัฒนา) ได้ชี้ถึงบทบาทของ วิสาหกิจชุมชน ฯลฯ เพื่อถ่ายทอดกระบวนการ
หน่วยงานท่ีท�ำงานด้านการจัดการความรู้และ เรียนรู้ท่ีเป็นความรู้เฉพาะของ OKMD อันได้แก่
การจดั การ พัฒนาองค์ความรู้เป็นหลัก ท่ีผ่านมา OKMD ศนู ยค์ วามรกู้ นิ ได้ และการเรยี นรตู้ ามหลกั การพฒั นา
มีผลงานด้านการจัดการความรู้มากมาย ไม่ว่าจะ สมอง (Brain-based Learning)
ความรู้ ผ่านทางการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ในรูปแบบ
ของห้องสมุดมีชีวิต ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในช่ือ ส�ำหรับทิศทางของการจัดการความรู้ในมิติใหม่
อทุ ยานการเรยี นรู้ (ทเี คพารค์ ) หรอื สถาบนั พพิ ธิ ภณั ฑ์ ท่ี OKMD ให้ความสนใจ และจะน�ำมาใช้ใน
การเรียนรู้แห่งชาติ (มิวเซยี มสยาม) เปน็ การจดั การ การจัดการความรู้ เพ่ือพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์
ความรู้และการน�ำเสนอองค์ความรู้ผ่านส่ิงท่ี และลดความเหลื่อมล้�ำของการเข้าถึงองค์ความรู้
ปรากฏทางกายภาพ คือ หนังสือ ส่ือองค์ความรู้ คือ แพลตฟอร์มออนไลน์ หรือ แพลตฟอร์มดิจิทัล
นิทรรศการและกิจกรรมถ่ายทอดองค์ความรู้ โดยให้ความส�ำคัญกับนวัตกรรมการจัดการความรู้
รูปแบบต่างๆ นอกจากนี้ OKMD ยังมีบทบาทใน ท่ีทันยุคทันสมัย เข้าถึงง่ายและเป็นเทคโนโลยี
การสรา้ งกระบวนการเรยี นรใู้ หแ้ กก่ ลมุ่ เปา้ หมายตา่ งๆ ท่ีเหมาะกับคนยุคดิจิทัลท่ีสามารถใช้ประโยชน์จาก
องคค์ วามรไู้ ด้ทุกท่ี ทุกเวลา

SCAN QR CODE

เพอ�ื รับฟัง audio text

6 O One of a kiNd ActioN LearniNg

A-Z ก า ร เ รี ย น รู ้ จ า ก ก า ร ล ง มื อ
ปฏิบัติจริง เพื่อให้เข้าใจถึง
knowledge สาเหตุ นำ� ไปสู่การแกไ้ ขปัญหา
management และพัฒนาวิธีการท�ำงานให้มี
ประสทิ ธิภาพย่งิ ข้ึน

Best Practice CoachiNg Dialogue External CoNsultant
การเรียนรู้จากตัวอย่างหรือวิธี การให้ผู้ท่ีมีประสบการณ์
ทดี่ ที สี่ ดุ ในเรอ่ื งนนั้ ๆ เพอื่ ประยกุ ต์ มากกว่าหรือผู้ท่ีมีผลงานดีเด่น การจัดกลุ่มพูดคุยหรือเสวนา ผเู้ ชย่ี วชาญจากภายนอกหนว่ ยงาน
ใช้ในการท�ำงานอื่นให้บรรลุ เป็นพี่เลี้ยงให้แก่ผู้เริ่มต้นใหม่ เพ่ือแบ่งปันข้อมูลความรู้ที่ ซงึ่ ทำ� หนา้ ทใี่ หค้ ำ� ปรกึ ษาใหแ้ นวทาง
เป้าหมายในระดับสงู สดุ หรอื ผ้ทู ี่ต้องการปรับปรุงวิธีการ แต่ละคนมีอยู่ มีเป้าหมาย และแนะน�ำเคร่ืองมือการท�ำงาน
ท�ำงานให้ดขี ึ้น เพ่ือให้เกิดความร่วมมือและ ทเ่ี หมาะสมกบั แตล่ ะหนว่ ยงาน
การเรียนร้รู ่วมกนั

FoNluang+ Guru Helpman Intranet
แอปพลิเคชันท่ีรวบรวมข้อมูล เครื่องมือจัดการความรู้ใน ซอฟต์แวร์จดั การความรซู้ ึ่งเน้น
สภาพอากาศ อุณหภูมิ และ หนว่ ยงานซง่ึ ชว่ ยรวบรวมขอ้ มลู การรวบรวมค�ำถาม/ค�ำตอบที่ ระบบเครือข่ายสื่อสารภายใน
พนื้ ทฝ่ี นตกในประเทศไทยรวมถงึ ทจี่ ำ� เปน็ ให้พร้อมใช้งาน ช่วย พบบ่อย และวิธีการแก้ปัญหา หน่วยงาน รองรับการแบ่งปัน
แจ้งข้อมูลการออกปฏิบัติการ ค้นหาข้อมูล/ไฟล์งาน และ ให้แก่ลูกค้าของหน่วยงานเป็น จัดเก็บ และเข้าถึงองค์ความรู้
ฝนหลวงสำ� หรับเกษตรกร แสดงสถิติการใช้องค์ความรู้ หลัก ได้สะดวกจากทุกท่ี ในทุกเวลา

ของหน่วยงาน

Job RotaTioN Knowledge plus LessoN Learned Museums Pool

การสบั เปลย่ี นบคุ ลากรไปทำ� งาน แ อ ป พ ลิ เ ค ชั น โดย OKMD การเรยี นรู้จากความส�ำเร็จและ ระบบจัดการข้อมูลพิพิธภัณฑ์
ในหน่วยงานอ่ืนภายในสาย ซึ่งน�ำเสนอความรู้ สร้างแรง ความผิดพลาดจากการด�ำเนิน ท่ีให้ผู้ใช้ง า นสา มารถใช้
งานเดียวกันหรือข้ามสายงาน บันดาลใจ และกระตุ้นความ งานท่ีผ่านมา เพ่ือหาแนวทาง แ อ ป พ ลิ เ ค ชั น เ ดี ย ว ใ น ก า ร
เพ่ือให้เกิดการแลกเปลี่ยน คิดสร้างสรรค์ที่ต่อยอดเป็น ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดและมี เข้าชมข้อมูลของพิพิธภัณฑ์
ความรู้และประสบการณ์ของ อาชีพได้ใหแ้ กเ่ ด็กและเยาวชน ข้อผิดพลาดน้อยที่สุดส�ำหรับ ทุกแห่งในเครอื ข่าย
ท้งั สองฝ่าย งานถดั ไป

One of a kiNd O 7

Nuance Power PDF
Advanced

เครอ่ื งมอื จดั การแหลง่ ความรู้ทีเ่ ป็นเอกสาร/
ไฟล์เอกสาร โดยการจัดเก็บในรูปแบบไฟล์
PDF พร้อมตัวช่วยค้นหาเอกสารและแก้ไข
ข้อมูลในเอกสาร

OAE RCMO Peer Assist Q Restaurant Retrospect

“กระดานเศรษฐี : เกษตรกร “เพื่อนช่วยเพื่อน” การให้หรือ แอปพลิเคชันรวบรวมข้อมูล การเรยี นรรู้ ว่ มกนั หลงั งานสำ� เรจ็
มีโอกาส” แอปพลิเคชันท่ี ขอรบั ค�ำแนะน�ำจากบคุ คลหรอื ร้านอาหารท่ีได้รับการรับรอง เป็นกิจกรรมที่สมาชิกในทีม
ช่วยค�ำนวณต้นทุนการผลิต หนว่ ยงานทปี่ ระสบความสำ� เรจ็ มาตรฐานจากกระทรวงเกษตร ป ร ะ ชุ ม / พู ด คุ ย กั น ห ลั ง จ า ก
สินค้าเกษตร และให้ข้อมูล ในเรอื่ งนน้ั ๆ เพอื่ น�ำไปประยุกต์ และสหกรณ์ รวมถงึ แสดงวธิ กี าร ท�ำงานส�ำเร็จไปแล้วระยะหน่ึง
ตลาดสินค้าเกษตรในแต่ละ ใชใ้ นหน่วยงาน เดินทางไปยงั ร้านท่ตี อ้ งการ เพื่อทบทวนย้อนหลังเก่ียวกับ
พน้ื ท่ี งานนน้ั ๆ

StOrytelliNg Trip NorthErn Unity Virtual Team
แอปพลิเคชันน�ำเที่ยวจังหวัด ซอฟต์แวร์ที่ช่วยให้การเก็บ
การถอดความรู้ท่ีฝังลึกใน ในกลุ่มภาคเหนือตอนบน ซ่ึง รวบรวมและแบ่งปันความรู้ใน คณะท�ำงานซึ่งไม่ได้อยู่ในท่ี
ตัวบุคคล โดยให้ผู้ที่มีความรู้ รวบรวมขอ้ มลู สถานทที่ อ่ งเทยี่ ว หนว่ ยงานเปน็ เรอื่ งงา่ ยและสนกุ เดียวกัน แต่มีการแลกเปล่ียน
หรอื มีประสบการณ์เป็นผู้เล่า ร้านอาหาร ท่ีพัก โรงแรม ใชง้ านงา่ ย และรองรับไฟล์งาน ข้อมูล หารือ และตัดสินใจ
เร่ือง และมีการบันทึกเก็บไว้ กิจกรรมที่น่าสนใจ และวิธีการ หลากหลายรูปแบบ ร ่ ว ม กั น ผ ่ า น เ ค รื อ ข ่ า ย แ ล ะ
อย่างเปน็ ระบบ เดินทาง แพลตฟอร์มต่างๆ โดยไม่มี
ข้อจ�ำกัดด้านสถานท่ีและเวลา

WMSC XML YoNyx Zoho CoNNect

แหล่งข้อมูลข่าวสารด้าน ภาษาที่ใช้ในการเก็บข้อมูล แ พ ล ต ฟ อ ร ์ ม ส� ำ ห รั บ ส ร ้ า ง โซเชียลมีเดียแบบเฉพาะกลุ่ม
การบริหารจัดการน�้ำ เช่น และแสดงผลข้อมูล เหมาะ Decision Tree ซง่ึ เปน็ เครอื่ งมือ สำ� หรบั สมาชกิ ใชแ้ บง่ ปนั ความรู้
ปริมาณน�้ำฝน ปริมาณน�้ำท่า ส�ำหรบั การดูขอ้ มูลหรือเรียกใช้ ใ ห ้ ข ้ อ มู ล / ค� ำ แ น ะ น� ำ แ บ บ ประชุมออนไลน์ ติดตามความ
และปริมาณน�้ำในอ่างเก็บน�้ำ ข้อมูลในฐานข้อมูลขนาดใหญ่ โต้ตอบกันได้ (Interactive คืบหน้าของแผนงาน เก็บ
เ พื่ อ เ ต รี ย ม ก า ร รั บ มื อ ภั ย เช่น ระบบเครือข่ายในองค์กร Guide) เพอ่ื ชว่ ยแก้ปญั หาดา้ น รวบรวมองค์ความรู้ส่วนบุคคล
ธรรมชาตทิ ี่อาจเกดิ ขนึ้ เพื่อจัดการเรยี นรู้ เทคนิคใหแ้ ก่ลกู คา้ และอื่นๆ

8 T The Knowledge

จัดการความรู้ ... สู่ชุมชน

ห ล า ย ป ร ะ เ ท ศ ท่ั ว โ ล ก ร ว ม ท้ั ง ความรทู้ ง้ั หลายในโลกนม้ี อี ยู่2 รปู แบบ ส� ำ นั ก ง า น บ ริ ห า ร แ ล ะ พั ฒ น า
ประเทศไทยรู้ดีว่าต้นทุนของท้องถิ่น เช่น คือ ความรู้ชัดแจ้ง จ�ำพวกความรู้ องคค์ วามรู้ (องคก์ ารมหาชน) หรอื OKMD
ทรัพยากรธรรมชาติ วิถีชีวิต และ ในหนังสือ บนั ทึก หรอื เอกสารตา่ งๆ และ มีการท�ำงานร่วมกับภาคีเครือข่ายใน
ภู มิ ป ั ญ ญ า ช า ว บ ้ า น ห รื อ ภู มิ ป ั ญ ญ า ความรู้แฝง หรือ ความรู้โดยนัย ซ่ึงเป็น หลายพื้นที่ของประเทศไทย เพ่ือใช้
ทอ้ งถนิ่ (Local Wisdom) สามารถนำ� มา ความรู้ท่ีอยู่ในคน เป็นความรู้เฉพาะตัว กระบวนการจัดการความรู้เปล่ียนต้นทุน
สร้างมูลค่าเพ่ิมและขับเคล่ือนเศรษฐกิจ และเฉพาะเรอื่ ง ดงั นน้ั กระบวนการจดั การ ท ้ อ ง ถิ่ น ใ ห ้ ก ล า ย เ ป ็ น อ ง ค ์ ค ว า ม รู ้ ที่
ของชมุ ชนไดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื แตเ่ คยสงสยั ไหม ความรู้ หรือ Knowledge Management พ ร ้ อ ม ส� ำ ห รั บ ก า ร น� ำ ไ ป ท� ำ ม า ห า กิ น
ว่าภูมิปัญญาและความรู้ที่ถูกส่งต่อจาก Process: KM Process จึงเปน็ ตัวช่วยให้ ทส่ี อดคลอ้ งกบั บรบิ ทของแตล่ ะพน้ื ที่ โดยมี
คนรุ่นก่อนมาถึงเราครบถ้วนและถูกต้อง เกิดการถ่ายเทความรู้ที่ถูกน�ำมาใช้อย่าง ขนั้ ตอน 6 ขัน้ ตอน ดังน้ี
ไหม? แพรห่ ลาย

The Knowledge T 9

ข้ันตอนที่ 1 : ข้ันตอนท่ี 2 : ขนั้ ตอนท่ี 3 :
ชุมชนรู้จักตนเอง เสาะหาความรู้ เปล่ียนความรู้เป็น
องค์ความรู้
ศูนย์ความรู้กินได้และคนในท้องถิ่น ชุมชนรวบรวมความรู้ที่เกี่ยวข้องซึ่ง
ร่วมกันวิเคราะห์และคัดเลือกต้นทุน กระจัดกระจายอยู่ในแหล่งต่างๆ ใน น�ำ ความรทู้ ไ่ี ดม้ าเรยี บเรยี งและจดั หมวดหมู่
ท้องถ่ินท่ีอยู่ในรูปแบบต่างๆ เช่น รูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้ตอบโจทย์คนที่จะนำ�องค์ความรู้
ทรัพยากรท้องถ่ิน ประเพณี หรือ ตัวอย่าง ไปประกอบอาชีพ
ภูมิปัญญาที่มีศักยภาพในการท�ำเงิน - การจดบันทึก บันทึกเสียง หรือบันทึก ตัวอย่าง
ของแต่ละท้องที่ โดยโจทย์ท่ีถูกเลือก - ความเป็นมาของอาชีพ
มาจัดท�ำเป็นองค์ความรู้มักจะเป็น ภาพการถา่ ยทอดภมู คิ วามรจู้ ากปราชญ์ - ความรู้/ทักษะที่ต้องใช้
Product Champion หรือ สนิ คา้ โดดเด่น ชาวบ้านและคนทำ�อาชีพ - เงินลงทุนที่ต้องเตรียม
ของแต่ละพน้ื ท่ี การถา่ ยเอกสารจากหนงั สอื หรอื แผน่ พบั - แรงงาน/อุปกรณ์/วัตถุดิบที่ต้องใช้
ตัวอย่าง - ขั้นตอนการลงมือทำ�
ประเพณแี หเ่ ทยี นพรรษาจ.อบุ ลราชธานี - การตั้งราคาและการตลาด
ผา้ ทอกะเหรีย่ ง จ. แมฮ่ อ่ งสอน
ข้าวหอมมะลิ จ. สุรินทร์

ขั้นตอนที่ 4 : ข้ันตอนท่ี 5 : ขั้นตอนที่ 6 :
กลับมาเล่าสู่กันฟั ง
ตรวจสอบความพร้อม องค์ความรู้สู่อาชีพ

นำ�องค์ความรู้ที่จัดทำ�มาตรวจสอบ นำ � อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ไ ป เ ผ ย แ พ ร่ ใ ห้ ค น ใ น เชิญคนที่นำ�องค์ความรู้ไปใช้ให้กลับมา
ความสมบูรณ์และความถูกต้องกับ ท้องถิ่นนำ�ไปใช้ในการทำ�มาหากิน แลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน
เจ้าของความรู้และผู้เชี่ยวชาญ ก่อน ตัวอย่าง เพื่อเปิดรับความรู้ใหม่ นำ�ข้อมูลไป
จะแปลงร่างองค์ความรู้ทำ�มาหากิน - ช้ันหนังสือทำ�มาหากินและกล่อง สร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ รวมถึงนำ�ไป
ให้เป็น “กล่องความรู้กินได้” โดยเพิ่ม พัฒนาต่อยอด และสร้างวัฏจักรแห่ง
ตัวอย่างวัตถุดิบ วัสดุอุปกรณ์ ตัวอย่าง ความรกู้ นิ ได้ ในศนู ยค์ วามรกู้ นิ ได้ การเรียนรู้ให้กลายเป็นวิถีชีวิตของผู้คน
บรรจุภัณฑ์ และสื่อความรู้เพิ่มเติม - เว็บไซต์ www.okmd.or.th/know- ตัวอย่าง
เช่น หนังสือ แผ่นพับ คลิปวิดีโอ เพื่อ - กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบ
ให้เป็นสื่อองค์ความรู้แบบเบ็ดเสร็จ ledge-box-set/articles
(One-Stop Service Knowledge) ที่ - นิทรรศการหมุนเวียน ชุมชนนักปฏิบัติ (CoP)
พร้อมสำ�หรับการนำ�ไปศึกษาด้วยตนเอง - Workshop สร้างอาชีพ - การเสวนาและประชุมกลุ่มย่อย
ตัวอย่าง - งานมหกรรมความรู้สร้างอาชีพ
- การเลี้ยงปลาในนาข้าว
- งานปักลูกเดือย ภูมิปัญญาบนผ้าทอ OKMD มุ่งหวังว่าการจัดการความรู้สู่ชุมชนจะเกิดผลในการพัฒนางาน พัฒนา
คน และพฒั นาชมุ ชนใหเ้ ตบิ โต พรอ้ มทง้ั ชว่ ยสรา้ งงานในทอ้ งถน่ิ และเพิ่มความ
กะเหรี่ยง สามารถในการแข่งขันของประเทศในระยะยาวและยั่งยืน
- การท่องเที่ยวคาร์บอนต่ำ�
- เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล
- ธุรกิจ Catering ขนมไทย

10 D DECODE

ถอดรหัสกระบวนการจัดการความรู้

ในชุมชนเกษตรกร

ในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจดังเช่น ภายใต้แนวคิดข้างต้น OKMD ได้ด�ำเนินโครงการ
ปจั จบุ นั กลมุ่ คนและกลมุ่ อาชพี ทไ่ี มอ่ าจปรบั ตวั ไดท้ นั โดยเฉพาะ ศูนย์ยุทธศาสตร์การบริหารและจัดการองค์ความรู้ชุมชน
กลมุ่ เกษตรกร ยอ่ มตอ้ งเผชญิ กบั ปญั หามากมาย เชน่ ตน้ ทนุ ทเ่ี พม่ิ ร่วมกับธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.)
สูงขึ้น การแขง่ ขนั รนุ แรงทางการตลาด หนนี้ อกระบบ ฯลฯ จงึ จำ� เปน็ เพ่ือยกระดบั สมรรถนะวสิ าหกจิ ชุมชนขนาดกลางและขนาดยอ่ ม
อย่างย่ิงท่ีจะต้องเร่งพัฒนาให้กลุ่มอาชีพเหล่าน้ีมีความรู้และ ภาคเกษตรให้เป็นวิสาหกิจชุมชนต้นแบบด้านการจัดการ
ทักษะที่จ�ำเป็นต่อการประกอบอาชีพ และสามารถแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ โดยมีลูกค้าของ ธ.ก.ส.
ดว้ ยตนเองโดยไมต่ อ้ งรอความชว่ ยเหลอื จากภาครฐั เพยี งอยา่ งเดยี ว เป็นกลุ่มนำ� ร่อง

ภารกจิ ของศูนยย์ ุทธศาสตรฯ์

OKMD เเละ ธ.ก.ส. เนน้ กระบวนการทำ� งาน
รว่ มสนบั สนนุ เกษตรกร ใกลช้ ดิ พันธมติ ร

แหลง่ ความรู้ (OKMD) เกษตรกร แหล่งเงนิ ทนุ (ธ.ก.ส.) เพ่อื พฒั นากระบวนการเรียนรู้ของชุมชนเกษตรกร

SMAEs

แหลง่ ความรู้ (OKMD)

SMAEs

SMAEs

EXPRESS ผูซ้ อื้ ต่างประเทศ
DELIVERY

ขายภายในประเทศ

แหลง่ เงินทนุ (ธ.ก.ส.) แผนยทุ ธศาสตร์และ
กลยทุ ธ์การจดั การความรู้
ศนู ยย์ ุทธศาสตรก์ ารบรหิ ารและพฒั นาองค์ความรชู้ มุ ชน
การเกษตรชุมชน

DECODE D 11

KM เกษตรกร

• ขั้นตอนท่ี 5 • ขน้ั ตอนท่ี 1 • ขนั้ ตอนที่ 2
พฒั นาตน้ แบบการ ศึกษาความต้องการเฉพาะของชุมชน ออกแบบองค์ประกอบและกระบวนการ
พัฒนากลยทุ ธ์การบริหารและ
จดั การองคค์ วามรู้ชมุ ชน กลุ่มเป้าหมายและบูรณาการ พัฒนายุทธศาสตรก์ ารบรหิ าร
กรอบแนวคดิ ทางวชิ าการแกนกลาง และจดั การองคค์ วามรชู้ ุมชน
เขา้ กบั ความตอ้ งการเฉพาะของชมุ ชน
กล่มุ เปา้ หมาย โดยใชก้ ระบวนการ
มีสว่ นรว่ มระหวา่ ง ธ.ก.ส. และตวั แทนชมุ ชน

กลมุ่ เปา้ หมาย

• ข้นั ตอนท่ี 4 • ขน้ั ตอนที่ 3
จัดใหม้ ีการวพิ ากษ์กลยุทธ์ จดั อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร
การบรหิ ารและจดั การองคค์ วามรู้ (Workshop) เพ่อื ก�ำหนดกลยุทธ์
ชมุ ชน โดยผู้เชี่ยวชาญและ การบริหารและจัดการองค์ความรู้

ผู้ทรงคุณวุฒิ ชุมชน

ผลทไี่ ดร้ ับจากการถอดรหสั

บรู ณาการการท�ำงานรว่ มกัน เกดิ วิสาหกจิ ชมุ ชน เกิดเครอื ข่ายวิสาหกจิ ชุมชน เกดิ แนวทางการพฒั นา
ระหว่างหนว่ ยงานภาครัฐในการ ต้นแบบด้านการจัดการ ดา้ นการจัดการกระบวนการ วิสาหกิจชมุ ชนตน้ แบบดา้ น
สง่ เสรมิ กระบวนการเรียนรแู้ ละ กระบวนการเรยี นรู้และ การจัดการกระบวนการเรียนรู้
เรยี นรู้และแหล่งเรยี นรู้
การจดั การแหลง่ เรียนรู้ แหล่งเรยี นรู้ ทง้ั ภายในและภายนอกพน้ื ท่ี และแหล่งเรียนรู้
ให้แก่ วิสาหกจิ ชุมชน

ไขเ ค็มไชยา

community

ไขเ คม็ ดเี ดน

12 N Nextpert

กระดูกสนั หลัง 4.0

อาชพี เกษตรกรโดยเฉพาะชาวนาจดั เปน็ วชิ าชพี เกา่ แกค่ บู่ า้ นคเู่ มอื ง จากชาวนา 1.0
มาตงั้ แตส่ มยั โบราณ ดว้ ยความทไี่ ทยหรอื สยามเปน็ ประเทศอขู่ า้ วอนู่ ำ�้ ถึง Smart Farmer
ต้ังอยู่บริเวณพ้ืนที่ราบลุ่มและมีทรัพยากรดินอุดมสมบูรณ์ เอ้ือต่อ
การเพาะปลกู ดงั ทย่ี งยทุ ธ แฉลม้ วงษ์ (2558) ไดก้ ลา่ ววา่ เกษตรกรรม หากเร่ิมนับกันท่ี 1.0 ซ่ึงหมายถึงยุคเกษตรกรรม
คือแหล่งจ้างงานที่ใหญ่ท่ีสุดของประเทศคือเกือบ 1.5 ล้านคน หรือ 2.0 คือยุคอุตสาหกรรม และ 3.0 คือยุคเทคโนโลยี
มากกว่ารอ้ ยละ 35 ของการจ้างงานทัง้ หมด สารสนเทศและการสื่อสาร (ยุค IT) ยุค 4.0 ก็คือ
โลกหลงั ยคุ IT หรอื ยุคนวตั กรรม ทศิ ทางทโ่ี ลกเคลื่อน
ทว่าในความเป็นจริง ชาวนาไทยถูกเอารัดเอาเปรียบจากพ่อค้า ไปนี้ได้ผลักดันให้ทุกวงการต้องเคล่ือนไหวตาม
คนกลางท่ีกดราคาพืชผลมายาวนาน ประกอบกับตัวเกษตรกรขาด ไมเ่ วน้ แมแ้ ตภ่ าคการเกษตรทดี่ เู หมอื นจะเกยี่ วขอ้ งกบั
ความรใู้ นการเพมิ่ ผลผลิต มอี ตั ราการใช้เทคโนโลยีตำ่� แต่ใช้สารเคมี IT น้อยที่สุดก็ยังจ�ำเป็นต้องปรับตัว โดยการพัฒนา
อันตรายจ�ำนวนมากทั้งปุ๋ยและยาฆ่าแมลง ส่งผลให้ดินเสื่อมสภาพ องคค์ วามรทู้ จี่ ะชว่ ยเปลย่ี นชาวนา 1.0 ใหเ้ ดนิ หนา้ ไปสู่
เพาะปลกู ไมไ่ ดผ้ ล อกี ทงั้ นโยบายรฐั หลายยคุ สมยั ไมเ่ ออ้ื ตอ่ เกษตรกร Smart Farmer หรือชาวนา 4.0
ทำ� ใหเ้ กษตรกรตกอยใู่ นวงั วนความยากจน คณุ ภาพชวี ติ ตำ�่ และกลาย
เป็นภาคการผลิตที่แรงงานรุ่นใหม่ไม่สนใจ น�ำมาสู่ปัญหาการ
ขาดแคลนแรงงานในภาคการเกษตรดังเชน่ ปจั จบุ ัน

โลก 4 ยคุ ของ Alvin Toffler

ยุค 1.0 (First Wave) เป็นคล่ืนลูกแรกของมนุษยชาติ เปน็ ยุคหลังการปฏิวัติอุตสาหกรรม
คล่นื ลูกทห่ี นึ่ง มีจุดเร่ิมต้นจากวันท่ีมนุษย์เร่ิมหยุด ซึ่งมีการน�ำเครื่องจักรมาใช้ในการผลิต
ออกเดินทางเพื่อล่าสัตว์หันมาลงหลัก สนิ คา้ จำ� นวนมากสำ� หรบั ตลาดขนาดใหญ่
ปกั ฐานทำ� การเพาะปลกู และ การปศสุ ตั ว์ เปน็ ชว่ งเปลย่ี นผา่ นจากสงั คมเกษตรกรรม
ทำ� ใหเ้ กดิ การรวมกลมุ่ กอ่ กำ� เนดิ สงั คม สูส่ ังคมอตุ สาหกรรม
พัฒนาสู่การสร้างวัฒนธรรมและ ยคุ 2.0 (Second Wave)
การสง่ั สมองคค์ วามรู้ คลน่ื ลูกทสี่ อง

ยคุ 3.0 (Third Wave) เป็นยุคของการเช่ือมโยงและเข้าถึง เป็นยุคของการสร้างและขับเคล่อื น
คลนื่ ลูกทสี่ าม ระบบ IT ได้ทุกที่ โดยมีเทคโนโลยี สังคมดว้ ยนวตั กรรม
คอมพิวเตอร์และระบบโทรคมนาคม
เ ข้ า ม า ร อ ง รั บ เ กิ ด เ ป็ น ชุ ม ช น แ ล ะ ยคุ 4.0 (Forth Wave)
เครือข่ายซึ่งนำ�ไปสู่การเปลี่ยนแปลง คล่นื ลกู ทสี่ ่ี
ทางสังคมและเศรษฐกิจรูปแบบใหม่
SCAN QR CODE
เพือ่ ชมไฟล GIF

การจดั การความรู้ Nextpert N 13
มงุ่ สู่ Farmer 4.0
เกษตรกรไทย
เราลองมาเรยี นรจู้ ากแนวทางการจดั การความรแู้ ละการใชเ้ ครอ่ื งมอื ตา่ งๆ ใน Digital
ที่นำ�ไปสู่การสร้าง Smart Agriculture ในเกษตรกรญ่ีปุ่น ซ่ึงแบ่งออกเป็น Society
5 รูปแบบ ดงั นี้
แม้ชาวนารุ่นใหม่ต้องเผชิญกับปัญหา
01 Cultivation Support Solutions: มากมายและหลากหลายกว่าเม่ือเทียบกับ
แนวทางสนับสนุนการเพาะปลูก ชาวนาสมัยก่อน ไม่ว่าจะเป็นสภาพ
การบริหารจัดการข้อมูลการเกษตร ภมู อิ ากาศเปลย่ี นแปลง แมลงศตั รพู ชื ดอ้ื ยา
ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรือดินเส่ือมสภาพ ทว่าชาวนา 4.0
ระบบควบคุมสภาพแวดล้อมทาง มขี ้อได้เปรียบตรงทมี่ ชี วี ติ อยู่ในโลกยุค 4.0
การเกษตร เช่น อุณหภูมิ แสงสว่าง ทเี่ ครอ่ื งไมเ้ ครอ่ื งมอื อำ� นวยความสะดวกไดร้ บั
และความชนื้ รวมถงึ การบรหิ ารจดั การ การพฒั นาถงึ ขดี สดุ อกี ทง้ั ยาปราบศตั รพู ชื
กา๊ ซเรือนกระจก และปุ๋ยชีวภาพก็ได้รับการปรับปรุงให้ดีข้ึน
การลดต้นทุนทางการเกษตรโดยใช้ กว่ายุคปุ๋ยเคมี ที่ส�ำคัญระบบ IT ท�ำให้
ระบบ IT ชาวนา 4.0 สามารถน�ำเทคโนโลยีดิจิทัล
มาใช้ประโยชน์ในการจัดการความรู้ ซ่ึง
02 Sales Support Solutions: แตกต่างจากชาวนา 1.0 2.0 และ 3.0 ท่ี
แนวทางสนบั สนุนทางการตลาด การถา่ ยทอดองคค์ วามรยู้ งั ไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ
ระบบคาดการณ์ผลผลิตที่จะออกสู่ เทียบเท่าปัจจุบนั
ตลาด
ระบบประมาณการราคาตลาด ป ั ญ ห า ห ลั ก มี เ พี ย ง ป ร ะ ก า ร เ ดี ย ว
ระบบลดภาระแรงงานในฟาร์ม คือ ชาวนาจะมีกลยุทธ์ใดเพื่อเข้าถึง
องค์ความรู้ดังกล่าว ซึ่งหากท�ำได้อย่าง
03 Operational Support Solutions: เต็มรูปแบบประเทศไทยก็จะสามารถ
แนวทางสนบั สนนุ การด�ำเนินการ เข้าสู่ยุคชาวนา 4.0 หรือ Smart Farmer
การใช้โปรแกรมการจัดการด้านงาน เหมอื นนานาอารยะประเทศได้ในท่ีสดุ
บัญชี
การเชอื่ มโยงฐานขอ้ มลู กบั กรมอุตุนิยม
วิทยาด้านสภาพอากาศ ภัยธรรมชาติ
และแมลงศัตรูพืชเพื่อบริหารจัดการ
ด้านการประกันภัย

04 Precision Farming:
การเกษตรกรรมความแม่นย�ำสงู
การใช้ระบบภูมิสารสนเทศ (GPS)
ในการตดิ ตามความเคลอ่ื นไหวในฟารม์

05 Agricultural Robots:
การใช้ระบบหุ่นยนต์ทางการเกษตร
เต็มรูปแบบ
การนำ� ระบบควบคมุ เครอื่ งจกั รอตั โนมตั ิ
(Autopilot) หรือโดรนมาใช้ในฟาร์ม
การใช้ระบบหุ่นยนต์พาหนะในฟาร์ม
ต้งั แต่การเพาะปลูกถึงเกบ็ เกีย่ ว

14 D DigitOnomy รวมมิตรข้อมลู สถิติ
ด้านการเกษตร
GDP นอกภาค
การเกษตร มูลค่าภาคการเกษตรต่อผลิตภณั ฑม์ วลรวม

90%

ในประเทศ (GDP) 12,480,180

10,935,442

8,227,614

5,267,853

501,725 848,689 1,421,961 1,192,671

GDP ภาค 2545 2550 2555 2558
การเกษตร
5,7G6D9,P577 9,0G7D6,P303 12,3G5D7P,403 13,6G7D2P,851
10%
ภาคเกษตร นอกภาคเกษตร

ลักษณะการถือครองที่ดินทางการเกษตร พ.ศ. 2549-2558

(หน่วย : ล้านไร่) 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558

เนื้อทีถ่ ือครองทางการเกษตร 151 151 151 151 152 152 149 149 149 149

เนอ้ื ทขี่ องตนเอง 107 91 76 72 72 73 71 71 71 71

เนื้อที่ของคนอน่ื (เชา่ ผู้อืน่ 43 60 75 79 79 79 77 77 77 77
รับขายฝาก ได้ทำฟรี)

รายได้ รายจา่ ย และหนี้สินของครัวเรือนการเกษตร

(หนว่ ย : บาท/ครวั เรอื น)

กราายรเไกดษ้ทตางร รกาายรไเดกน้ษอตกร รกาายรจเา่กยษทตารง รกายารจเ่ากยษนตอรก ขนาดหนีส้ ิน้ จำนกวนมุ ผภ94าูล้ พ2งนัท,5ธะ8เ์ บ2พีย.นศคเ.รก2วัษ5เตร5ร9อื กนร

2554 142,039 100,326 84,190 113,258 59,808

7,

2556 148,240 120,063 99,770 130,185 82,572

2558 157,373 143,192 100,281 146,805 117,346

อา้ งอิง : กรมสง่ เสรมิ การเกษตร (2560)


























Click to View FlipBook Version