The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอาใจใส่ดูแลสุขภาพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookrayong, 2021-01-18 02:23:07

เอาใจใส่ดูแลสุขภาพ

เอาใจใส่ดูแลสุขภาพ

0

Ff โดย นางสาวอญั ธิอร บุญโกมล: ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น

1

อาหารมคี วามสำคญั ต่อการเจริญเตบิ โตของรา่ งกายและพฒั นาการของสมอง ตัง้ แต่อยใู่ นครรภ์มารดาตลอดจน
วยั เดก็ หากภาวะโภชนาการบกพร่อง จะนำไปสู่การเจริญเตบิ โตทไี่ มส่ มบูรณ์ ภมู ิคมุ้ กนั บกพร่อง ทำใหเ้ จบ็ ป่วย
บอ่ ย จะมีผลกระทบตอ่ สตปิ ัญญา และความสามารถในการเรียนรขู้ องเด็ก

อาหารทม่ี คี ณู ค่าทางโภชนาการเหมาะสมตามวยั จะสง่ เสรมิ ทำให้เดก็ มีการเจริญเตบิ โตตามวยั ได้
ปญั หาทพี่ บการให้อาหารตามวัยทไ่ี ม่เหมาะสมเกดิ จาก เรมิ่ ใหเ้ รว็ เกินไป สว่ นประกอบที่ไมเ่ หมาะสม
สารอาหารท่ีไม่เพียงพอ เปน็ ต้น หลักการให้อาหารตามวัยอย่างเหมาะสมตอ้ งสมวยั มีปรมิ าณท่ีเพียงพอ และ
มคี วามปลอดภัย รวมถึงตอ้ งเหมาะสมกบั ความหิวอิ่มและพัฒนาการตามวัยของทารก
สมวัย

ควรเรม่ิ ให้อาหารเมื่อทารกมวี ัยทเ่ี หมาะสม คือ เม่ือนมแม่อย่างเดยี วไม่พอเพียงต่อการเจรญิ เติบโตของ
ทารกและทารกมคี วามพร้อมทจ่ี ะรบั อาหารอ่ืนนอกจากนมได้ คอื เม่ือระบบทางเดนิ อาหาร ไต ระบบประสาท
และกล้ามเน้ือไดพ้ ฒั นาการจนสามารถทำหนา้ ที่พร้อมแลว้ การให้อาหารเสรมิ ตามวัยสำหรับทารกจะชว่ ยให้
ทารกปรับตัวเขา้ กับการรับประทาน อาหารกงึ่ แขง็ กง่ึ เหลว ค้นุ เคยกบั รสชาติและลักษณะอาหารทห่ี ลากหลาย
เพอื่ พัฒนาไปสู่การรับประทานอาหารแบบผู้ใหญ่ความหยาบละเอียดของเนอ้ื อาหารเสรมิ
เพียงพอ

สารอาหารทท่ี ารกต้องการควรมสี ารอาหารครบถว้ นทง้ั 5 หมู่ ไดแ้ ก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน
วติ ามนิ และแรธ่ าตุตา่ งๆ ในปริมาณทเี่ พียงพอกบั ความต้องการของเด็ก ซึ่งไดจ้ ากการกนิ อาหารทห่ี ลากหลาย
ไดแ้ ก่ ขา้ ว แป้ง เน้อื สตั ว์ ไข่ ถั่ว น้ำมนั ผักและผลไม้เป็นประจำทุกวนั ในปริมาณเพยี งพอกับความต้องการของ
เด็ก
ปลอดภยั

การให้อาหารตามวัยสำหรบั ทารกท่ีสะอาดและปลอดภยั โดยเตรยี มและเก็บอาหารอยา่ งถูกหลกั อนามัย
อปุ กรณ์ที่ใช้ตอ้ งสะอาด ลา้ งมือก่อนเตรียมและป้อนอาหาร เพ่อื ป้องกนั โรคอจุ จาระร่วง ลา้ งผักและผลไม้ให้
สะอาด เพ่อื ไม่ให้มสี ิ่งสกปรกและสารเคมตี กค้าง ไม่ควรให้น้ำส้มค้ันแก่ทารกเพราะถา้ เตรียมไม่สะอาดอาจจะ
เกิดโรคอจุ จาระร่วงได้

2

วัยแรกเกิด – 6 เดอื น อาหารที่เหมาะสมสำหรับเด็กในวยั นี้มี
เพียง “นมแม”่ เท่านัน้ การใหน้ มแม่ไมม่ ีการกะเกณฑ์ปรมิ าณ
ทต่ี ายตัว คณุ แม่ควรยึดหลัก “กินอิ่มหลบั สบาย” แต่คุณแม่
สามารถประมาณการใหน้ มแตล่ ะครง้ั นานไมน่ ้อยกว่า 20 – 30
นาที และใหน้ มอยา่ งน้อย 8 คร้ัง / วัน

วัย 6 – 7 เดอื น ในวยั น้นี อกจากนมแม่แล้ว ควรให้
อาหารเสริมซึ่งเปน็ อาหารบดวนั ละ 1 มอ้ื เพ่ือแทนนม
อาจใหอ้ าหารเสรมิ ในช่วงมื้อเช้าหรอื มือ้ กลางวัน ในชว่ ง
วยั 6 – 7 เดอื นน้ี ระบบการย่อยของเด็กเร่ิมแข็งแรงข้ึน
ดังนน้ั ควรเพม่ิ เน้ือสตั ว์สกุ บด เช่น เนื้อไก่ เนือ้
หมู เน้ือปลา นอกจากนค้ี วรให้เกเริม่ รับประทาน
ผลไม้ เพื่อใหร้ า่ งกายไดร้ บั วิตามนิ ซบี ำรุงเหงือกและ
ฟัน เพราะวยั นฟ้ี นั เร่มิ ขึ้นแล้ว ผลไมท้ ่ใี ห้รบั ประทาน
เป็นมะละกอสกุ ห่นั ชน้ิ เลก็ ๆ เงาะฝานชน้ิ บางแล้วยใี ห้
ละเอียดอีกคร้ัง หรอื จะเป็นองุ่นลอกเปลือกออก ห่นั คร่งึ นำเมลด็ ออก หน่ั เป็นช้ินเล็ก ๆ ควรใหล้ กู กนิ ใน
ปรมิ าณน้อย ๆ กอ่ น เมอ่ื เริ่มคุ้นเคยค่อยเพิม่ ปริมาณ

3

วัย 8 – 9 เดอื น ในชว่ งวยั นี้รับประทานอาหารเสรมิ
แทนนมแม่ 2 ม้อื สำหรับอาหารเสริมใหร้ บั ประทาน
อาหารเสริมเหมือนช่วงวยั 6 – 7 เดอื น แต่ควรเพ่ิม
รับประทานผักบดเพิ่มด้วย และเพ่ิมผลไม้เป็นอาหาร
วา่ ง

วยั 10 – 12 เดือน ในช่วงวัยน้ีควรฝกึ ให้เดก็ เร่ิมรับประทานอาหารดว้ ยตนเอง แม้จะเลอะเทอะไปบ้างก็
ตาม อาหารเสรมิ ในวัยนเี้ นื้อจะเร่ิมหยาบขึ้นเพราะเร่มิ มี
ฟันสำหรับบดเคีย้ วไดม้ ากข้นึ อาหารเสริม เช่น ขา้ วตม้
กว๋ ยเตยี๋ วขา้ ว บะหมี่สปาเกตตี โดยคณุ แมต่ ้องตดั เปน็
ชนิ้ เล็ก ๆ นำมาตม้ สุก ใส่นำ้ ซปุ ทม่ี เี น้ือสตั วแ์ ละ
ผกั เพม่ิ เพ่ิมรสชาติและฝึกการบดเคยี้ ว สำหรับอาหาร
วา่ งนอกจากผลไมแ้ ลว้ อาจเปน็ ขนมปงั เวเฟอร์เพ่มิ เติม
กไ็ ด้

วยั 1
- 2 ปี เรมิ่ เคี้ยวอาหารไดม้ ากขึน้ ถือวา่ ใกลเ้ คยี งกันผใู้ หญ่
แล้ว ดงั น้นั คณุ พอ่ คณุ แมส่ ามารถเตรียมอาหารน่ากนิ ได้
หลากหลายเมนมู ากขึน้ แตข่ อ้ ควรระวังคอื ผกั และเน้อื สัตว์
จะตอ้ งไมแ่ ขง็ หรอื เหนียวจนเกนิ ไป เพราะอาจทำใหล้ กู รูส้ กึ
ว่าอาหารชนิดนน้ั ๆ กินยาก ไมอ่ ร่อย และพาลให้ไม่ชอบ
ไม่อยากกนิ ไป

วยั 2 - 5 ปี จำเปน็ ต้องได้รับพลังงานจากอาหาร เพื่อการ
เรยี นรู้ โดยเฉพาะพลังงานจากอาหารม้อื เช้า เพราะเปน็ ช่วงเวลา
แรก ๆ ของการทำงาน ซ่ึงสมองต้องการพลังงานสงู ในการ
ทำงาน มื้อเช้าจงึ เป็นมื้อสำคัญสำหรับเดก็ ๆ ในชว่ งวยั น้ี คุณแม่
ควรเตรียมเมนอู าหารง่าย ๆ อย่างเชน่ ขา้ วต้นแบบไทย ๆ หรอื
ชดุ อาหารเช้าแบบฝร่งั อยา่ งเชน่ คอนแฟล็กซ์ หรอื ขนมปัง ไข่
ดาว ไสก้ รอก เสรฟิ พร้อมนมสักแก้ว เท่านี้ ก็จะชว่ ยใหล้ ูกมี
พลงั งานสงู มากพอในการทำงานของสมอง

4

การตดิ ตามการเจรญิ เตบิ โตของเดก็ อายุ 1-6 ปี
กราฟนำ้ หนกั ตามเกณฑ์อายุ เพศชาย-เพศหญิง

กราฟสว่ นสงู ตามเกณฑ์อายุ เพศชาย-เพศหญงิ

5

กราฟน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง เพศชาย-เพศหญงิ

6

การตรวจสขุ ภาพและการรับวคั ซนี สร้างภมู คิ มุ้ กันโรค

กำหนดการฉีดวัคซีนของเดก็ ในวยั ต่างๆ

การฉดี วคั ซีนของเด็กน้นั จะต้องใหต้ ามแบบแผนท่ีกระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้ โดยสำนกั โรคติดต่อมีการ
สนับสนุนใหฉ้ ดี วัคซนี ได้ฟรสี ำหรบั เด็กทุกคนในปี 2561 จำนวน 9 ชนดิ ซึง่ สามารถควบคุมโรคได้ถงึ 11 โรค
คอื วคั ซนี วณั โรคหรือวัคซีนบีซีจี วคั ซนี โรคไวรสั ตบั อกั เสบชนิดบี วัคซีนโรคคอตบี วัคซีนโรคไอกรน วัคซีนโรค
บาดทะยัก วัคซีนโรคโปลิโอท่ีมที งั้ แบบชนดิ รบั ประทานและชนดิ ฉดี วัคซีนโรคหัด วคั ซีนโรคหดั เยอรมนั วคั ซนี
โรคคางทมู วคั ซนี โรคไขส้ มองอักเสบเจอี และวัคซีนโรคเอชพวี ี

7

กำหนดการฉดี วคั ซนี ของเด็กในวยั ตา่ งๆ

อายุ วัคซนี /ป้องกนั

เดก็ แรกเกดิ DTP-HB3 รวมปอ้ งกนั โรคคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน และตับอกั เสบบี

OPV3 ป้องกันโรคโปลโิ อ แบบรับประทาน 1 คร้ัง

อายุ 1 เดือน HB2 ปอ้ งกนั โรคตบั อักเสบบี

อายุ 2 เดือน DTP-HB1 ป้องกันโรคคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน และตบั อักเสบบี

OPV1 ปอ้ งกนั โรคโปลิโอชนิดรับประทาน โดยใชห้ ยอดข้างปาก

อายุ 4 เดอื น DTP-HB2 วัคซนี รวมเพ่ือป้องกนั โรคคอตบี บาดทะยัก ไอกรน และตบั

อกั เสบบี

OPV2 ป้องกันโรคโปลโิ อ แบบรบั ประทาน 1 คร้ัง

IPV1 ป้องกนั โรคโปลิโอ โดยต้องใหแ้ บบฉดี 1 เข็ม

อายุ 6 เดอื น DTP-HB3 รวมป้องกนั โรคคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน และตับอักเสบบี
อายุ 9 เดือน OPV3 ปอ้ งกันโรคโปลโิ อ แบบรบั ประทาน 1 ครั้ง
อายุ 1 ปี MMR1 รวมปอ้ งกันโรคหดั คางทูม และหัดเยอรมัน ซ่งึ ถ้าไมไ่ ดฉ้ ีดวคั ซนี
อายุ 1 ปี 6 เดอื น ตามกำหนด จะตอ้ งรีบฉดี โดยเร็วทีส่ ดุ
อายุ 2 ปี 6 เดอื น LAJE1 ป้องกนั โรคไข้สมองอักเสบเจอี ชนดิ เช้อื เป็นแบบออ่ นฤทธ์ิ
อายุ 4 ปี DTP4 รวมปอ้ งกนั โรคคอตีบ บาดทะยัก และไอกรน
ประถมศึกษาช้นั ปที ่ี 1 OPV4 ป้องกนั โรคโปลโิ อ แบบรบั ประทาน 1 ครั้ง
LAJE2 ปอ้ งกันโรคไขส้ มองอักเสบเจอี ชนิดเช้อื เป็นแบบออ่ นฤทธ์ิ
MMR2 วคั ซนี รวมป้องกันโรคหดั คางทูม และหดั เยอรมนั
DTP5 รวมป้องกันโรคคอตีบ บาดทะยัก และไอกรน
OPV5 ป้องกันโรคโปลิโอ แบบรบั ประทาน 1 ครั้ง
MMR รวมป้องกนั โรคหัด คางทูม และหัดเยอรมนั
HB ปอ้ งกันโรคตับอักเสบบี
LAJE ป้องกนั โรคไขส้ มองอักเสบเจอี ชนดิ เช้อื เป็นแบบออ่ นฤทธิ์
IPV ปอ้ งกันโรคโปลโิ อ โดยตอ้ งใหแ้ บบฉดี 1 เขม็
dT ปอ้ งกันโรคคอตีบและบาดทะยัก
OPVป้องกันโรคโปลิโอ ชนดิ รับประทาน 1 ครั้ง
BCG ป้องกนั โรควัณโรค

8

วธิ ีการรักษาความสะอาด

1.สระผมให้ลูก

ให้ใชฟ้ องน้ำชบุ นำ้ อุ่นบีบใสห่ วั ลูก หรือไม่ก็ใชม้ อื คอ่ ยๆ วกั นำ้ อุ่นลูบก็ได้นะ จากนน้ั บบี แชมพูเด็กลงบนมือ นวด
เบาๆ แลว้ ลา้ งออกด้วยน้ำเปล่า ระวงั อย่าให้แซมพเู ข้าตาลกู (เด็กเล็กวัย 0-2 สัปดาห์ ใช้น้ำเปลา่ สระผมก็พอ
ไมค่ วรแกะเกาไขขาวๆ ท่หี วั ลูก เพราะอีกเด๋ียวมันจะหลุดออกไปเองตามธรรมชาติ ซึ่งการแกะเกาอาจจะทำให้
ลูกเกดิ แผลได้ แตอ่ าจจะใชเ้ บบ้ีออยล์ เชด็ ตรงไขน้ันเบาๆ ท้ิงไวส้ ักครู่ก่อนพาลกู ไปสระผม

2.อาบน้ำให้ลูก

ใหอ้ าบน้ำใหล้ ูกก่อนจะกนิ นม เพราะหลงั จากกินลูก
อมิ่ แล้ว ลกู คงอยากนอนหลับ โดยคุณแม่ควรเตรียม
น้ำอนุ่ พอดี อาจจะใชข้ ้อศอกแตะดวู ่าน้ำอนุ่ พอดี
หรือยัง จากนั้นค่อยๆ หย่อนตัวลกู ลงนำ้ เพอ่ื ใหล้ กู
ชนิ กบั อณุ หภูมิ จากน้นั ควรรีบถสู บู่ ลา้ งตวั ให้
สะอาดจากนน้ั ยกตวั ลูกข้ึนจากนำ้ และเช็ดตวั ลูกให้
แหง้ สนิทขณะถสู บู่ตวั ลกู จะลื่นมาก ตอ้ งระวงั ให้ดี
และหากคุณแม่ยังไมม่ คี วามมั่นใจ อาจจะเช็ดตัวลกู
ด้วยน้ำเปล่ากอ่ นก็ได้ โดยวางลกู ไวบ้ นตักหรือโตะ๊
ทมี่ ีผา้ ปู ทำแบบน้ันสัก 2-3 ครั้ง เม่อื มีความชำนาญจึงค่อยพาลูกลงนำ้ และถสู บู่ครบั

3.การทำความสะอาดหูตาจมูกปาก 9

หู ไม่ควรใช้อุปกรณ์ใดๆ แคะหลู ูก เพราะอาจจะทำให้เย้ือ
แกว้ หขู องลกู เกดิ อนั ตรายได้ แตอ่ าจใชส้ ำลซี ับทำความ
สะอาดแค่ บรเิ วณดา้ นหนา้ และดา้ นหลังของใบหลู ูกเท่าน้ัน

ตา ไม่ตอ้ งทำความสะอาดดวงตาของลูกนะ เน่ืองจากลกู
จะสรา้ งน้ำตามาทำความสะอาดตาอยเู่ สมอ แตห่ ากลูกมีข้ี
ตาหรอื ตาแฉะ อาจจะใชส้ ำลีซุบนำ้ ตม้ สกุ ท่ีเย็นแลว้ บีบ
หมาดๆ เชด็ ทำความสะอาดเบาๆ จากหัวตาไปหางตาครัง้
เดยี วทงิ้ โดยเปล่ียนสำลีก้อนใหมเ่ สมอ

จมูก หากลูกมนี ้ำมูกท่ีปลายจมกู คณุ แม่อาจใช้สำลพี นั ปลาย
ไมช้ ุบน้ำอนุ่ เชด็ ออก ไมค่ วรใช้อุปกรณ์ใดๆ สอดเข้าไปในรู
จมูกลูกลกึ ๆ นะครบั แตถ่ า้ เป็นน้ำมกู ที่แห้งแล้ว กอ็ าจใช้สำลี
พันปลายไม้ชบุ น้ำอุ่นเช็ดในจมูกลูกเบาๆ

ช่องปาก ในการทำความสะอาดช่องปากของลูก อาจจะใช้
ผ้าพนั รอบนิ้วชข้ี องคุณแม่ชุบน้ำสกุ แลว้ บดิ หมาดๆเชด็
บรเิ วณเหงอื ก ลิ้น กระพุ้งแก้ม และเพดานให้ทัว่ ท้ังปาก
อย่างน้อยวนั ละ 1 คร้ัง เม่ือลูกฟันเริ่มข้ึน อาจใช้สำลีชุบ
น้ำอนุ่ เชด็ ฟนั ให้ลูก หรือใช้แปรงสีฟันชนิดขนอ่อนสำหรบั
เดก็ มาแปรงฟนั ให้กับลกู เพอ่ื ให้ลูกคนุ้ กบั การแปรงฟันครับ

10

4.การทำความสะอาดก้นให้ลูก

การล้างก้นเม่อื ลูกฉี่หรอื อนึ น้ั คณุ แมจ่ ะอมุ้ แบบไหนก็ได้ ขอให้อมุ้ แล้วรสู้ ึกถนัดมือ ทีส่ ำคัญ ต้องลา้ งจากอวัยวะ
เพศไปหากน้ เพราะถ้าลา้ งจากก้นมาอาจทำให้เชอ้ื โรคเข้าสูอ่ วัยวะเพศของลกู ได้ เรม่ิ จากใชส้ ำลชี บุ นำ้ ต้มสกุ ที่
เย็นแลว้ บีบลา้ งอลึ ูกออกให้หมด ถ้าเป็นฉี่กใ็ ช้สำลชี ุบนำ้ บีบลา้ งเช่นกัน จากนน้ั กใ็ ช้สำลีชุบน้ำบีบหมาดๆ เช็ดอีก
ครั้ง โดยเปลี่ยนกอ้ นสำลใี หม่ทกุ ครัง้ นะครับ และก็ซบั ใหแ้ หง้ ดว้ ยผ้าออ้ มท่ีสะอาดอกี คร้งั กอ่ นจะสวมใสเ่ ส้ือผ้า

11

5. อธิบายและยกตวั อยา่ งวิธีการดแู ลฟันน้านม

ฟนั น้ำนม คือ กระดูกฟนั ท่ีพัฒนาข้นึ มาเพ่ือใช้บดเคี้ยวอาหารในชว่ งวยั เร่มิ แรกของชีวติ เด็กจะมีฟนั
น้ำนมก่อน แลว้ จะหลดุ ออกเพอ่ื ให้ฟันแท้งอกข้นึ มาแทนทเ่ี ม่ือถึงเวลา ฟนั นำ้ นมคแู่ รกจะงอกขน้ึ มาในเวลา
ไล่เลี่ยกันในขณะทเี่ ดก็ มีอายุประมาณ 6 เดือน และ
ฟนั คถู่ ัดมาดา้ นซา้ ยและขวาจะงอกขนึ้ เร่ือย ๆ จน
ครบฟนั บน 10 ซ่ี และฟนั ล่าง 10 ซ่ี เม่อื อายุ
ประมาณ
2 ปคี ร่งึ ถึง 7 ปี โดยเดก็ ผู้หญิงมักจะมฟี ันงอกข้นึ มา
เรว็ กวา่ เดก็ ผ้ชู าย และจะเร่ิมหลุดรว่ งเพื่อให้ฟนั แท้
มาแทนทีเ่ ร่ือย ๆ จนฟนั แทค้ รบ 32 ซี่ เมื่ออายุ
ประมาณ 13 ปี

ในกระบวนการเกิดฟันนำ้ นม จะพบอาการที่เปน็ ผลกระทบโดยท่ัวไป คือเดก็ จะมีนำ้ ลายไหล และเด็ก
จะมีเหงือกบวมแดงก่อนฟันจะแทรกตวั งอกข้ึนมา ซง่ึ ทำให้เกิดความเจบ็ ปวด อาจรบกวนการนอนและการ
รบั ประทานอาหารของเด็กได้ แต่หากมีอาการรุนแรง อยา่ งเดก็ มีไข้ ท้องรว่ ง หรอื มีอาการชกั กระตุกตวั เกร็ง
ควรพาเด็กไปพบแพทยเ์ พ่อื รับ
การรักษาทันที

ฟันนำ้ นมมบี ทบาทสำคัญในลำดบั ข้ันพฒั นาการของเด็ก นอกจากจะเป็นตำแหนง่ ท่ีจะเกิดฟันแท้มาแทนท่ี ยัง
ชว่ ยในเรื่องลักษณะทางกายภาพให้มีโครงสร้างร่างกายเปน็ ปกติ มฟี นั ไวช้ ว่ ยบดเคีย้ วอาหาร หากฟันน้ำนมมี
สขุ ภาพดี ไมผ่ ุกร่อนหรือตดิ เชื้อ ก็จะส่งเสริมพฒั นาการฟนั แท้ที่จะงอกตามมาให้สมบูรณ์แขง็ แรงไปดว้ ย

12

เม่ือฟนั น้ำนมของเดก็ เริ่มคลอนแต่ยังไมห่ ลุดรว่ งออกไป อาจต้องใช้เวลาเพ่ือรอใหฟ้ ันหลดุ หรอื อาจใช้
ผา้ กอ๊ ซหุ้มฟันแลว้ ดงึ ออกอย่างรวดเรว็ หากวธิ ดี งั กล่าวไมไ่ ด้ผลหรือมปี ญั หาเกีย่ วกับฟันและพัฒนาการของฟัน
ควรพาเดก็ ไปปรึกษาทันตแพทย์

วิธีการดแู ลรกั ษาสขุ ภาพเหงอื กและฟันน้านม เพอื่ พร้อมรบั การงอกของฟันแท้

-ใหเ้ ดก็ แปรงฟนั อย่างสมำ่ เสมอ อย่างน้อย 2 ครงั้ ต่อวัน แปรงฟนั ใหเ้ ด็ก หรอื ช่วยให้เดก็ เรยี นรูว้ ธิ ีแปรงฟัน
-รักษาความสะอาดของช่องปากอยู่เสมอ บ้วนปาก แปรงฟัน หลังรับประทานอาหาร หรืออาจใชไ้ หมขัดฟนั ทำ
ความสะอาดฟนั เพิม่ เตมิ
-รบั ประทานแต่อาหารที่มปี ระโยชน์ ดีต่อสขุ ภาพ และจำกัดปรมิ าณอาหารหรอื ขนมขบเค้ียวทไ่ี ม่มปี ระโยชน์
-พาเด็กไปพบทนั ตแพทยเ์ พอ่ื ตรวจเช็คสุขภาพฟันเปน็ ประจำ

13

6. อธิบายและยกตวั อย่างวิธีการป้องกนั อบุ ตั ิเหตุ

การป้องกนั อบุ ตั ิเหตุ
อุบัติเหตเุ ป็นสง่ิ ที่เกิดขึ้นได้อย่างไม่คาดคิด

และจะเกิดเวลาใดก็ไดเ้ มอ่ื เกิดข้นึ แล้วยอ่ มนำมาซงึ่
ความสูญเสียและความโศกเศรา้ แก่ครอบครัว
อุบตั เิ หตสุ ว่ นใหญ่มักเกิดขนึ้ ในบ้านและสามารถ
ป้องกันได้ เช่น การจัดบา้ นให้โอกาสเกดิ อบุ ตั ิเหตุ
น้อยลง การดแู ลเด็กอย่างใกล้ชิด การสอนพีเ่ ลีย้ ง
เดก็ และตัวเด็กเองใหร้ จู้ ักระวงั การสอนเด็กแมว้ า่
เด็กจะยงั ไมเ่ ข้าใจ
แต่การสอนบ่อยๆ จะทำให้เด็กคอ่ ยๆ ซึมซาบได้
เม่ือโตขึน้ เด็กจะเร่ิมทำตามสง่ิ ท่ีได้รบั การสอน
แตใ่ นขณะทเี่ ด็กยังเล็กและไม่สามารถเข้าใจเหตผุ ล จะต้องดูแลเดก็ ไม่ใหค้ ลาดสายตา
ในช่วง 6 เดือนแรกโอกาสเกิดอบุ ัตเิ หตุจะน้อยกว่าช่วงอ่นื ของชวี ติ เนอ่ื งจากเดก็ ยังเคลือ่ นไหวไม่มาก และการ
ดูแลเดก็ ในช่วงน้ีมักจะค่อนข้างใกลช้ ิด แต่ถ้าเกิดอุบตั เิ หตุมักจะรนุ แรง เช่น ทำเด็กหลดุ มือ ตกเตยี ง หรือมีการ
อดุ ตันทางเดินหายใจจากการนอนคว่ำ เน่อื งจากมีการใชห้ มอนใหญห่ รือเบาะที่น่ิม ใช้ผ้าหม่ หนา หรือมีตุ๊กตา
นม่ิ ๆ ตวั ใหญ่ เมอื่ พ้นระยะ 6 เดือน เดก็ จะเคลื่อนไหวมากข้ึน เร่มิ สำรวจส่งิ ท่ีอยรู่ อบตัว เรยี นรดู้ ้วยการเอาส่งิ ท่ี
สนใจเข้าปาก ซ่ึงอาจสำลกั หรือหลดุ เขา้ ไปในทางเดินหายใจ ทำให้ขาดอากาศ เกิดสมองตายหรือเสยี ชวี ิตไดใ้ น
เวลาเพียง 4-5 นาที หลงั ระยะ 1 ปี เด็กจะเคลือ่ นไหวมากขึ้น การพลัดตกหกลม้ การสัมผสั กบั สารพษิ การตก
นำ้ หรือจมนำ้ อุบัตเิ หตจุ ากรถยนต์ รถจกั รยาน สเกต็ บอรด์ จะเพ่ิมมากขึ้นตามตัว ดังนน้ั ข้อควรปฏบิ ัตแิ ละข้อ
ห้ามตา่ งๆ ทส่ี ามารถป้องกันอุบัติเหตุได้ต้องไมถ่ ูกละเลย

หลกั การป้องกนั อบุ ตั ิเหตุ

1. ไม่ควรปล่อยเด็กให้อยคู่ นเดยี ว ไม่ว่าจะมธี รุ ะยุ่งสกั
เพยี งใด ต้องร้วู ่าขณะนีเ้ ด็กทำอะไร ไดแ้ ล้ว เวลาที่
ควรระวงั อบุ ตั เิ หตุที่สดุ คือ ตอนเยน็ เนอ่ื งจากความ
เหนอ่ื ยลา้ ของผ้เู ลีย้ งดูเดก็ และภารกจิ ของครอบครัว
เช่น การเก็บผ้าทีต่ ากไว้ หรอื การประกอบอาหาร
เป็นต้น
2. การจมน้ำเป็นสาเหตุการตายจากอุบตั ิเหตุสูงสดุ ทีเ่ กิดขึน้ ในเดก็ มักเกิดข้ึนในช่วงหน้ารอ้ น แม้วา่ จะมีการหัด
ใหเ้ ดก็ ว่ายนำ้ เปน็ ตง้ั แตอ่ ายุน้อยๆ แตเ่ ด็กท่ีอายนุ อ้ ยกวา่ 2 ปี มักจะวา่ ยน้ำต่อเมื่อไดร้ ับคำส่ังเท่านนั้ ถา้ เด็ก
เหลา่ นี้ตกน้ำจะไมว่ า่ ยน้ำเอง และอาจจมน้ำตายได้ จึงตอ้ งระมัดระวังไม่ใหเ้ ด็กเขา้ ใกล้นำ้ โดยไม่มีผู้ดแู ลใกลช้ ิด

14

3. ควรเลือกของเลน่ ทปี่ ลอดภัยให้เดก็ หลกี เลีย่ งของเลน่ ชิน้ เลก็ ๆ หรือแตกง่าย เชน่ ของเล่นพลาสตกิ ทเ่ี ขยา่
แล้วมเี สยี งดงั เม่อื แตกข้างในเป็นพลาสติกกลมเล็กๆ อาจติดหลอดลมได้ รวมท้ังพวกลูกแกว้ ลกู ปัด และลูกหนิ
ด้วย

7. อธิบายและยกตวั อย่างการปฐมพยาบาลเบือ้ งต้น

อุบัติเหตุ เกิดขึ้นไดต้ ลอดเวลา โดยทเ่ี รามอิ าจคาดคิดได้ อีกทงั้ พัฒนาการตามวัยของลูกน้อยวยั ทารก
และลูกวยั ก่อนเรยี น มีความเอื้ออำนวยให้ลกู ประสบอบุ ัตเิ หตตุ ่าง ๆ รอบ ๆ ตัวไดง้ ่าย การเจริญเติบโตและ
พัฒนา ทกั ษะของกลา้ มเนอื้ ที่ยังไม่แขง็ แรงสมบรู ณ์เต็มทที่ ำให้การคบื การคลาน การเล่น การวิ่ง และความ
ซกุ ซนตามวัยของเด็กนั้นเป็นเหตขุ องอันตราย อกี ทั้งพัฒนาการด้านการเรียนรู้ทำใหเ้ ด็กได้รับอันตรายจากส่ิงที่
ตนกระทำการระมัดระวังเพื่อไมใ่ หเ้ กดิ ข้นึ จงึ เป็นหนทางแห่งการปอ้ งกันท่ดี ีทส่ี ุด แต่อย่างไรคุณพ่อคุณแม่ก็ไม่
สามารถทจี่ ะปอ้ งกนั ได้ 100 % จงึ จำเป็นอยา่ งย่ิงท่ตี อ้ งศึกษาและรู้จัก พร้อมรบั มือกบั อุบตั ิเหตุท่คี าดไม่ถงึ และ
สิง่ สำคัญคือตอ้ งรูจ้ ักการปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรับเดก็ ที่ถกู ต้อง เพื่อให้ลูกน้อยปลอดภยั

การปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน้ ในเดก็ เลก็ ทพ่ี อ่ แมค่ วรรู้ เพอ่ื ช่วยรกั ษาชวี ติ ลกู

การปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้ คอื การให้ความช่วยเหลอื เบื้องต้นเมื่อลกู น้อยได้รับบาดเจบ็ ภายในเวลานน้ั
ทันที ณ บรเิ วณเกิดเหตุ อาจเป็นการใช้ทกั ษะความรู้เฉพาะทางหรือการตดั สินใจที่เหมาะสมกบั สถานการณ์
ฉกุ เฉิน ทง้ั นี้ในการชว่ ยเหลอื ณ ตอนน้ัน คุณพ่อคุณแม่อาจใชเ้ พียงอปุ กรณ์เทา่ ทห่ี าได้ในขณะนัน้ เพือ่
ประคบั ประคองอาการของลูกน้อยจนกว่าจะได้รบั การรักษาจากบคุ ลากรทางการแพทย์ หรอื ถกู ส่งต่อเพอื่ เขา้
รบั การรกั ษาในโรงพยาบาลอยา่ งเรง่ ด่วน

จุดประสงคใ์ นการปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน้

1.เพอ่ื ช่วยลดอาการบาดเจบ็ ของลูกให้น้อยลง
2.ปอ้ งกนั ไม่ให้มอี าการรุนแรงขึ้น
3.ช่วยป้องกนั ความพิการที่อาจจะเกดิ ข้นึ ได้
4.ช่วยใหก้ ารรกั ษาพยาบาลหายเร็วขนึ้
5.ชว่ ยชวี ิตเดก็ ที่ประสบอบุ ตั เิ หตทุ ีร่ ้ายแรงได้

15

7.1 มไี ข้

เมื่อทารกเปน็ ไข้สำหรับทารกที่มอี ายุ 6 เดือนหรอื นอ้ ยกวา่ นนั้ เมื่อมีไข้เกินกวา่ 37 องศาพร้อมกบั มี
อาการอนื่ ท่ีแทรกซ้อนเช่น มีอาการอาเจียน ท้องเสีย ผนื่ ขึ้น เซอื่ งซมึ ผวิ หนังเรม่ิ เปลี่ยนสี การหายใจตดิ ขัด
หรือลกู คุณมอี าการปวดเจบ็ โดยเฉพาะบรเิ วณคอควรพาไปพบแพทย์ทันที ทารกทมี่ ีอายุ 6 เดือน ถงึ 1 ขวบ

เด็กที่มีอายุอยู่ในชว่ งระหว่าง 6 เดอื นถงึ หนึง่
ขวบ คณุ ควรจะรบี พาเขาไปพบแพทย์ทันที ถา้
หากเขามีไขน้ านเกนิ กว่า 1 วนั หรอื ว่ามีอาการ
แทรกซ้อนเพิ่มเติม ตามท่ีไดก้ ลา่ วอาการ
เหล่าน้นั ไว้ขา้ งต้น บางคนอาจจะเถียงวา่ การ
เปน็ ไขใ้ นเด็กไม่ไดเ้ กิดจากการขึ้นของฟัน แต่แม่
ท่ไี ดผ้ า่ นพน้ ตอนนั้นมา จะบอกคณุ ไดว้ ่าทุกครั้ง
ทลี่ ูกมีฟันขึ้น เด็กจะมีอาการเป็นไขร้ ะดับต่ำ
เด็กวัยเตาะแตะทม่ี ีอายุ 1-2 ขวบ เด็กวัยหัดเดนิ ถ้ามไี ข้ทน่ี ้อยกว่า 39 องศาและสามารถควบคุมไดโ้ ดย
การทานยาลดไขส้ ำหรับเด็ก ที่ซื้อไดจ้ ากตามรา้ นขายยาหรือจากยาสามัญประจำบา้ น กไ็ มจ่ ำเปน็ ทจ่ี ะต้องพาไป
พบแพทย์ แต่อย่างไรก็ดี ถ้าไขย้ งั สูงขึน้ ไปเร่อื ย ๆ จนมากกวา่ 39 องศา และไมส่ ามารถควบคุมได้ดว้ ยยาทวั่ ไป
หรือวธิ ีอืน่ ๆ และมีไขน้ านเกินกว่า 2 วัน พรอ้ มกบั มีอาการอืน่ แทรกซอ้ นเขา้ มากค็ วรพาไปพบแพทย์โดยทนั ที
วิธกี ารที่จะชว่ ยลดอาการปว่ ยของลกู น้อยอย่างมีประสิทธภิ าพ เมื่อลูกมีไขส้ ูง มอี ยู่สองวิธีหลักคอื การ
ทานยาลดไข้และเชด็ ตัวลดไข้
1. การทานยาลดไข้ ยาลดไขส้ ำหรบั เด็กที่มีความปลอดภยั สงู ใชไ้ ด้ตั้งแตเ่ ด็กอายุ 1 เดือนขึน้ ไป และมี
ผลข้างเคียงน้อยถ้าใช้ไมเ่ กินขนาดคือยาพาราเซตามอล ซึ่งมที ้ังชนดิ รปู แบบน้ำและเมด็ โดยชนดิ รูปแบบนำ้ จะมี
ขนาดความเขม้ ข้นของยาแตกตา่ งกันหลายชนดิ เช่น 120 มิลลิกรัม, 160 มิลลกิ รมั , 250 มลิ ลิกรมั
ต่อยา 5 ซซี ี หรอื 100 มลิ ลกิ รมั ตอ่ ยา 1 ซซี ี ดังนน้ั คุณพ่อคุณแม่จึงควรอา่ นฉลากยาให้ดเี พอื่ ให้ลูกไดร้ ับยาใน
ขนาดท่ถี ูกต้อง
2. การเชด็ ตวั ลดไข้
เป็นวิธีท่ีทำให้ไข้ลงได้อย่างรวดเร็วโดยอาศัยหลักการพา
ความร้อนออกจากรา่ งกายดว้ ยนำ้ โดยคณุ พ่อคุณแม่ควร
ใช้นำ้ ที่อุณหภมู ปิ กติไม่รอ้ นหรือเยน็ จนเกนิ ไป ถอด
เสอ้ื ผา้ ลกู ออกใหห้ มดขณะเช็ดตัว และเชด็ แตล่ ะรอบ
นาน
15-20 นาที จนรู้สึกวา่ ลูกตัวเยน็ ลง สามารถเช็ดตัวซ้ำได้
ถ้าภายใน 30 นาทีหากหลงั เช็ดตัวไปแลว้ ไข้ยงั ไมล่ ง

16

นอกจากน้ีการดูแลอื่นๆท่จี ะช่วยให้อาการไขข้ องลูกดีขึ้นก็คือการให้ลูกพักผ่อนในท่มี ีอากาศระบาย
ถา่ ยเทสะดวก ไมร่ ้อนหรอื หนาวเกินไป ใสเ่ สือ้ ผา้ ทีโ่ ปร่งสบายเพอื่ ชว่ ยระบายความรอ้ น และด่ืมน้ำมากๆ เพราะ
ระหวา่ งมีไขร้ ่างกายของลูกจะสญู เสยี น้ำเยอะกว่าปกตจิ งึ มีอาการอ่อนเพลียจากการขาดน้ำได้

ส่งิ ท่ีควรระวงั เมื่อลกู มไี ขส้ ูงคอื ไมค่ วรให้ลูกอยใู่ นห้องท่ีอบอา้ ว อากาศร้อน หรือใส่เสอ้ื ผ้าทหี่ นาเกินไป
เพราะกลัววา่ ลกู จะหนาว ซ่งึ นอกจากจะไม่ชว่ ยในการลดไข้แล้วยังทำให้การระบายความรอ้ นจากรา่ งกายทำได้
ไม่สะดวก อาการไข้จึงลดลงได้ชา้

7.2 ชกั

อาการชกั (Seizure หรือ Convulsion) ในเด็กแลว้ โดยทว่ั ไปจะพบในเด็กท่ีมีไข้สูงโดยเฉพาะในเด็กเล็ก
และอีกสว่ นหนึ่งจะพบในเด็กที่มปี ญั หาของโรคอน่ื ๆ
แล้วจงึ มปี ญั หาเรื่องชักตามมา เด็กกลุ่มน้ีมักเปน็ เด็ก
ท่ปี ว่ ยเรือ้ รงั อาจมคี วามผดิ ปกตแิ ตก่ ำเนิดรว่ มดว้ ย
เชน่ เด็กทีม่ ีนำ้ ในโพรงสมองมาก (Hydrocephalus)
แตส่ ำหรบั เด็กเล็กอายตุ ้ังแต่ 3 เดือนถงึ ไม่เกิน 6ปี
มกั จะมอี าการชกั จากการมไี ข้สูง โดยสาเหตุของไข้
มักจะไมห่ นีปญั หาจากโรคตดิ เชื้อ (ยกเว้นติดเชอ้ื ทาง
สมอง) เชน่ โรคหวดั โรคปอดบวม ท้องเสีย และ

อาการชักจากไขส้ งู /ไขช้ กั (Febrile convulsion)
อาการชักจากไข้สูง มักเกิดข้ึนภายใน 24 ชัว่ โมงแรกที่เร่ิมมีอาการไข้ อาการชักของเดก็ จะสมั พันธ์กับการมี
อุณหภูมิร่างกายท่สี ูงขึ้นอยา่ งรวดเรว็ อณุ หภมู ิที่พบอาจสงู ไดถ้ ึง 39-40 อง ศาเซลเซียส (Celsius) อาการชัก
จากไข้สงู ท่ีมักเกิดในเดก็ เล็กเพราะเด็กเลก็ ยงั มเี ซลส์สมองทพี่ ัฒนาไมเ่ ตม็ ที่ จงึ ถูกกระตุ้นให้ปลอ่ ยกระแสไฟฟ้าท่ี
ผดิ ปกติไดง้ ่ายจากการมีไข้ เดก็ แต่ละคนจะมีอาการชกั รนุ แรงไมเ่ ทา่ กนั เชือ่ ว่า มเี หตุปัจจยั มาจาก
พันธกุ รรม อาการชักจากไข้สงู มักจะไมร่ ุนแรง และไม่มผี ลทำให้สมองพิการ ถา้ ไดร้ บั การดแู ลท่ีเหมาะสม แต่

17

ถ้าเด็กเกิดอาการชกั บ่อยๆ อาจมีผลกระทบกระเทือนต่อสมองที่กำลังเจรญิ เตบิ โต และมีแนวโน้มทจ่ี ะเกดิ เป็น
โรคลมชกั (Epilepsy) ได้สงู กว่าเด็กท่ัวไป ถา้ เด็กอายุเกนิ 6 ปมี ีไขแ้ ลว้ เกิดอาการชัก แสดงว่าอาการชกั ท่ี
เปน็ อยถู่ ูกกระตนุ้ ใหม้ ีอาการโดยไข้ โอกาสทเ่ี ด็กคนน้ีจะเป็นโรคลมชกั ในเวลาต่อมา มไี ด้มากขนึ้ เป็นเงาตามตวั
อาจเปอรเ์ ซน็ ต์มากถงึ 90% เลยทเี ดียว ถ้าพบเด็กกำลังชักให้รีบอุ้มเด็กไปอย่ใู นสถานท่ีที่ปลอดภยั สถานทท่ี ่ี
ปลอดภยั ในทน่ี ห้ี มายถงึ สถานทีไ่ ม่ไดใ้ กลเ้ ครอ่ื งจกั รกล หรือพัดลม หรอื เครื่องใชไ้ ฟฟ้าตา่ งๆ สงิ่ ของท่ีจะลม้
กระแทกเด็กได้ง่าย เชน่ โต๊ะ เก้าอ้ี ไม่อยใู่ กล้ของมีคมทกุ ชนิด ไม่อยู่บนเตยี งที่ไมม่ ีท่กี ั้น (ถ้าเปน็ เดด็ ออ่ น)
เพราะเดก็ อาจดน้ิ ไปกระแทกเกิดอันตรายบาดเจ็บซ้ำไดอ้ ีก

ลดปัจจยั เส่ียงต่างๆท่ีส่งเสริมให้เกิด
อาการชกั

-ใหเ้ ด็กพกั ผ่อนอย่างพอเพียงทุกวัน หลีกเล่ยี งการอด
นอน

-ส่งเสรมิ กจิ กรรมทีก่ ่อให้เกิดความสงบ และ
เพลดิ เพลินแกจ่ ิตใจของเดก็ เช่น การปลูกต้นไม้
การสะสมแสตมป์ การนงั่ สมาธิ งานฝีมอื ตา่ งๆ
หลกี เล่ยี งการชมภาพยนตรห์ รือเลน่ เกมทท่ี ำให้เด็ก
ต่นื เตน้ ตกใจ กลวั

-สง่ เสริมการออกกำลังกายท่ีไม่หนักมาก ห้ามเลน่ กีฬาที่หนกั มาก ห้ามเลน่ กีฬาท่เี ส่ียงตอ่ อุบัตเิ หตุ เช่น
การปืนทีส่ ูง การขบั ขยี่ วดยาน การว่ายนำ้ ตอ้ งมผี ู้ใกล้ชิดอยู่กบั เด็กตลอดเวลา

-ใหเ้ ด็กรับประทานอาหารอยา่ งเพียงพอ หลกี เลยี่ งการอดอาหาร
-ใหเ้ ด็กอยูใ่ นสถานท่รี ่มรื่น ไมม่ แี สงจ้าเกินไป หรือมีแสงกระพริบของไฟฟ้า
-เด็กควรได้เขา้ รับการศึกษาร่วมกับเด็กปกติ การเรียนของเดก็ จะได้ผลดีหรือไม่ ข้นึ อยู่กบั การควบคุมการชัก
โดยทวั่ ไประดบั สติปัญญาของเด็กจะเท่ากับเด็กทว่ั ๆไป

7.3 สาลกั เศษอาหาร เศษของ

อาการสำลกั อาหารมักเกิดขน้ึ กบั เด็กท่มี ี 6 เดือน - 3
ปี เพราะเปน็ วัยที่กำลังซน เดี๋ยวหยบิ โนน่ หยิบน่เี ขา้ ปาก
บ้างใสใ่ นชอ่ งจมูกบ้าง และยังเปน็ วยั ทฟี่ ันกรามยังงอกไม่
เต็มที่ ไมส่ ามารถเคีย้ วอาหารไดล้ ะเอยี ด และทางเดนิ
หายใจก็มีขนาดเลก็ ดังนั้นเสี่ยงมากท่จี ะมสี งิ่ แปลกปลอม
หรอื แม้แต่อาหารช้นิ เล็กๆ เข้าไปอดุ กัน้ ในชอ่ งทางเดิน
หายใจ ซึง่ อาจทำใหเ้ ป็นอันตรายถึงขัน้ เสียชีวิตได้

18

การปฐมพยาบาลเมอื่ ลกู สาลกั น้า สาลกั อาหาร

- จบั ลูกนอนคว่ำลงบนแขน วางแขนไว้บนหนา้ ตกั ให้ศีรษะของลกู อยตู่ ำ่ กวา่ ลำตวั เล็กนอ้ ย และตบหลงั ลูกเบา ๆ
- ไม่ควรใช้น้ำล้างเขา้ ไปในปากของลูก

- ถา้ ลูกดอู าการไมด่ ขี นึ้ เหมือนยังหายใจไมส่ ะดวก ไอจนหนา้ แดงควรรีบพาลกู ส่งโรงพยาบาล
วิธีป้องกนั อาการสาลกั

- เรม่ิ จากอาหารการกนิ ของลูก โดยเฉพาะอาหารที่มเี มลด็ ก้าง หรือเปลือก คุณพ่อคุณแม่ห้ามนำอาหารเหลา่ นี้
มาใหล้ กู ทานเด็ดขาด เพราะเด็กในวยั น้ยี ังเลก็ เกนิ ไปทจ่ี ะหยบิ หรอื คายสง่ิ แปลกปลอมออกมาไดเ้ อง
- การจัดขา้ วของภายในบา้ นก็เป็นเร่ืองที่ต้องคำนงึ ถึงนะคะ เพราะเด็กจะชอบหยิบขา้ วเข้าปาก และถ้ายิ่งเป็น
ชนิ้ เล็กๆ ยง่ิ เสี่ยงต่อการกลืนและทำให้ไปอุดทางเดนิ หายใจได้
- ลูกสำลกั นำ้ นม อาการนม้ี กั เกดิ ขนึ้ บ่อยกับทารกที่ดดู นมแม่ อาจเปน็ เพราะหวิ หรอื ไมเ่ อานำ้ นมไว้ไม่ยอมกลนื
จึงทำใหส้ ำลักออกมาทางปากและจมูก ดังนั้นคณุ แมต่ ้องรีบใหล้ กู นอนตะแคงแล้วตบหรือลบู หลงั ลกู เบา ๆ
เพ่อื ให้ลูกสำลักไดส้ ะดวก

7.4 ท้องเสีย

โรคท้องเสียหรอื อจุ จาระรว่ งเฉยี บพลันเปน็ สาเหตุ
สำคญั ของการปว่ ยและการตายในเด็กทัว่ โลก โดยปกติเด็กท่ี
อายุน้อยกว่า 5 ปมี ีอตั ราการปว่ ยด้วยโรคอุจจาระร่วงเฉลีย่ 3
ครง้ั ต่อปี ซึ่งตามคำจำกัดความขององคก์ ารอนามยั
โลก ทอ้ งเสีย, ทอ้ งร่วง, ทอ้ งเดิน หรอื อุจจารระร่วง หมายถึง

-การถ่ายอุจจาระเหลวปนน้ำหรือถา่ ยเปน็ น้ำต้ังแต่ 3
ครัง้ ขนึ้ ไปในหนึ่งวนั

-หรอื ถา่ ยเปน็ มูกเลือดแมเ้ พยี ง 1 คร้ัง หรอื ถา่ ยเปน็ น้ำ
ปรมิ าณมากๆเพียงครง้ั เดียวต่อวนั

โรคท้องเสียเฉียบพลนั หมายถึง อุจจาระรว่ งที่มีอาการถ่ายผิดปกตนิ านไมเ่ กนิ 2 สัปดาห์ โดยสว่ นใหญ่มักจะ
หายภายใน 7 วนั ในทารกแรกเกิดท่ีกินนมแม่ จะถ่ายอจุ จาระเน้อื นิ่มและวนั ละหลายคร้ัง ซ่งึ ถือวา่ เป็นปกติ
การทีจ่ ะวินจิ ฉยั ทอ้ งร่วงในทารกตอ้ งอาศัยข้อมูลเพ่ิมเตม่ิ เช่น ลักษณะอจุ จาระเปล่ียนไปจากปกติ การมีไขร้ ่วม
ดว้ ย
ภาวะขาดน้ำในทารก เปน็ ต้น

19

ท้องเสียในเดก็ เกิดได้อย่างไร?

ทอ้ งเสยี /ท้องรว่ งในเด็กแบง่ เป็น 2 ชนดิ /แบบ คือ ชนิดถ่ายเปน็ นำ้ และชนิดถา่ ยเปน็ มูกปนเลือด

ก. ถ่ายเป็นน้า (Watery diarrhea or non-invasive diarrhea): เกิดจากทัง้ จากตวั เชอ้ื โรค/

เช้ือเองและ/หรือจากตวั สารพิษของเช้ือโรค (Toxin) ทำใหส้ มดุลการดดู ซึมเกลือแรแ่ ละน้ำเปลีย่ นไป โดยเช้ือ
หรอื สารพษิ แตล่ ะชนดิ ก็จะมีกลไกท่ีทำให้เกิดท้องเสียต่างกันเชน่
เชอ้ื อหวิ าตกโรค สารพษิ ของมันทำใหเ้ กดิ การหลงั่ สารโซเดียม สารคลอไลด์ (Chloride) ออกมาพรอ้ มกบั ดึงนำ้
ออกมาจากรา่ งกายดว้ ย จงึ เกิดภาวการณห์ ลั่งสารนำ้ ออกมาในทางเดนิ อาหารมากกว่าปกติ
หรอื ในเชือ้ ไวรัส ไวรัสกเ็ ขา้ ไปทำลายการทำงานของผนงั ลำใสเ้ ล็ก ทำใหก้ ารดดู ซมึ อาหารบกพร่อง และทำให้
การสร้างเอมไซม์ในการย่อยสารในน้ำนมลดลง เป็นต้น และเนือ่ งจากการทอ้ งเสียชนดิ นี้ไมไ่ ดท้ ำลายผนังลำใส้
อจุ จาระจงึ ไมม่ ีมกู เลือดเกิดขึ้น

ข. ถ่ายเป็นมกู ปนเลอื ด (Mucous bloody diarrhea): เกิดจากเชือ้ โรคทำลายผนงั ลำใส้

(Mucosa) โดยเม่อื เชอ้ื ผา่ นลำใส้เลก็ กย็ บั ย่ังการดดู ซึมน้ำและเกลือแร่ และเมอ่ื เช้ือผ่านมาถงึ ลำใสใ้ หญ่จะทำให้
เกิดการอกั เสบบริเวณผนงั ลำใส้ จึงทำใหม้ ีอาการถ่ายเป็นมูกปนเลือด อาการปวดเบ่ง เป็นตน้ ตัวอยา่ งเช้อื โรค
เช่น โปรตัวซัว (เชน่ เอ็นทาโมอบี า ฮีสโตไลติกา/Entamoeba histolytica/โรคบิดมตี ัว) เช้อื จะเขา้ ไปอยู่ใน
ผนงั ลำใสใ้ หญ่ทำให้เกิดแผลท่ีเยือ่ บลุ ำใส้ จงึ มีอาการถา่ ยอุจาระท่ลี ะน้อยๆปวดเบ่งและมีมูกเลอื ดปน เป็นต้น

อะไรเป็นสาเหตุของโรคท้องเสียในเดก็ ?

อาการทอ้ งเสยี /ท้องร่วงเฉียบพลันท่ีพบในเด็กมหี ลายสาเหตุ แตเ่ กือบท้งั หมดเกิดจากการติดเชอื้ ใน
ระบบทางเดินอาหารและจากสารพษิ ของแบคทีเรีย (Toxin) โดยสาเหตุหลกั คือการติดเช้ือไวรัส ซึ่งเชอ้ื ไวรัสที่
ทำใหเ้ กิดอาการท้องรว่ งเฉียบพลนั มีหลายชนดิ แต่ที่พบบอ่ ยทส่ี ุดคอื การตดิ เชื้อไวรสั โรต้า (Rotavirus, โรค
ทอ้ งรว่ งจากไวรสั โรตา) ซ่ึงเป็นสาเหตขุ องอุจจาระรว่ ง
เฉียบพลันในวัยเด็กที่มีอุบตั กิ ารณ์สูงถึง 50 % ของท้องเสยี
ในเดก็ ทงั้ หมด

ในปจั จบุ ันมกี ารรายงานถึงไวรสั ชนดิ อนื่ ท่ที ำใหเ้ กิด
โรคทอ้ งร่วงในลกั ษณะเดียวกันเพิ่มขน้ึ เช่น เอนเทอโรไวรสั
(Enterovirus), โนโรไวรสั (Norovirus), แอสโตรไวรัส
(Astrovirus), เนื่องจากมีการให้วคั ซีนโรตา้ มากขน้ึ จงึ ทำให้
พบการติดเชอ้ื โรตา้ ไวรสั ลดลงกว่าแต่ก่อน
สาเหตุรองลงมาเช่น การติดเช้อื แบคทเี รยี โปรโตซัว พยาธิต่างๆ สารพิษ ยา หรือโรคทเี่ กย่ี วกบั การดดู ซมึ ลดลง
ของทางเดนิ อาหาร สาเหตุจากแบคทเี รียที่พบบ่อยเช่น อี โคลาย (E.coli), ซานโมเนลลา (Salmonella,
โรคไทฟอยด์) , ชเิ กลลา (Shigella, โรคบดิ ไม่มีตัว), แคมไพโรแบคเตอร์ (Campyrobacter)

20

สาเหตุจากโปรตวั ซวั เชน่ เอน็ ทาโมอบี า ฮีสโตไลตกิ า (โรคบิดมี
ตวั ), ไกอาร์เดยี แลมเบลยี (Giardia lamblia) เป็นต้น สาเหตุ
อนื่ ๆเชน่ ภาวะลำไส้อักเสบ การรับประทานวิตามินบางชนิด
มากเกินไปเชน่ วิตามนิ ซีก็สามารถทำให้เกดิ อาการทอ้ งเสียได้
การรับประทานยาบางชนิดเช่น ยาระบาย/ยาแก้ท้องผูก ยาแก้
อกั เสบ/ยาปฏิชวี นะบางชนิด หรอื การแพ้อาหาร การแพ้นมวัว
ก็เป็นสาเหตทุ ี่พบได้เชน่ กนั

ป้องกนั โรคท้องเสียในเดก็ ได้อย่างไร?

ปอ้ งกนั โรคท้องเสยี /ทอ้ งร่วงในเด็กไดโ้ ดย
-ส่งเสริมใหม้ ารดาเลีย้ งลูกดว้ ยนมแมเ่ พือ่ ใหล้ ูกมีภมู ิคุ้มกนั ต้านทานโรค
-ผกั สดหรอื ผลไม้ ก่อนให้เด็กรับประทาน ควรล้างดว้ ยนำ้ สะอาดหรือล้างดว้ ยด่างทบั ทมิ ละลายน้ำ
-กำจดั ขยะมูลฝอยเพอื่ ไม่ใหเ้ ปน็ ทเี่ พาะพนั ธ์ุของแมลงวัน
-ถ่ายอุจจาระลงในสว้ มทถ่ี ูกสุขลกั ษณะ
-ผดู้ แู ลเด็กควรลา้ งมือให้สะอาดกอ่ นปรุงอาหาร ก่อนรบั ประทานอาหาร และหลงั จากการใชห้ ้องน้ำ
-สอนเด็กให้รูจ้ กั ลา้ งมือบอ่ ยๆโดยเฉพาะก่อนรับประทานอาหารและหลังใช้ห้องน้ำ
-ดม่ื นำ้ และสอนเด็กให้ดม่ื น้ำที่สะอาดหรือนำ้ ตม้ สุก
-รบั ประทานอาหารและสอนเดก็ /ดูแลเด็กใหร้ ับประทานอาหารทส่ี ะอาดและปรุงสกุ ใหม่ๆ

7.5 หวดั

อาการของไข้หวดั
อาการของโรคไขห้ วดั ธรรมดาประกอบดว้ ย คัดจมูก นำ้ มกู ไหล เจบ็ คอ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกลา้ มเนื้อ จาม มี
ไข้มสี งู นัก และไม่อยากอาหารเน่อื งจากมีเสมหะ ร่างกายมักแสดงอาการของโรคภายใน 3-7 วันหลงั ไดร้ ับเชื้อ
และจะเปน็ อยรู่ าว 3-5 วนั กอ่ นจะหาย

สิ่งท่ีไมค่ วรทาเม่ือลูกเป็นหวดั
ยาปฏิชวี นะไมช่ ว่ ยรกั ษาโรคไขห้ วัดธรรมดาและ
อาจทำให้อาการทรุดหนักลงด้วย หลายคนมกั
เข้าใจผดิ วา่ ต้องทานยาปฏชิ ีวนะหากน้ำมกู หรือ
เสมหะเปน็ สีเขียวหรือเหลือง อาการของโรค
ก่อใหเ้ กิดการขบั นำ้ มูกและเสมหะเหนยี วสอี อก

21

เหลืองหรอื เขียวเป็นปกติอยแู่ ล้ว ไขห้ วดั ธรรมดาเป็นโรคที่เราตอ้ งปลอ่ ยใหห้ ายขาดเอง
เม่ือเป็นมากกว่าแค่ไขห้ วัดไข้หวัดอาจนำไปสปู่ ญั หาอ่นื ๆ ตัวอยา่ งเช่น การตดิ เชือ้ ในหู การติดเชอ้ื ในลำคอ
หลอดลมอักเสบ ไซนสั อกั เสบ ปอดบวม

การป้องกนั คือวิธีท่ีดีท่ีสดุ

• หลกี เลีย่ งยาปฏชิ ีวนะนอกจากจะจำเปน็ จริง ๆ โชคไมด่ ีนักท่แี พทย์บางคนมักสั่งยาปฏชิ วี นะให้คนไข้
เปน็ วา่ เลน่ การใช้ยาปฏิชวี นะมากเกินควรจะบ่นั ทอนความสามารถของร่างกายในการต่อสกู้ ับเชอื้ โรค ทำให้
เป็นหวัดและโรคอื่น ๆ ไดง้ า่ ยย่งิ ขน้ึ
• ถ้าลูกตอ้ งไปเข้าสถานรับเล้ียงเด็ก พยายามเลอื กที่ท่ีมีขนาดเล็กเขา้ ไว้ ยิง่ จำนวนเด็กน้อยเท่าไร โอกาสติดหวดั
ก็น้อยลงเท่าน้นั ค่ะ
• รกั ษาความสะอาดในบา้ นสม่ำเสมอ
• ใหล้ กู นอนหลับพักผอ่ นอยา่ งเพยี งพอ ทานอาหารทมี่ ีคุณคา่ และดื่มน้ำมาก ๆ เพ่ือสร้างเสรมิ รา่ งกายให้
สมบูรณแ์ ข็งแรง อาหารท่ลี ูกไดร้ บั ควรมีโยเกิรต์ รวมอยดู่ ว้ ย จลุ ินทรียม์ ีประโยชน์ในโยเกิร์ตชว่ ยป้องกันโรคต่าง
ๆ ไดด้ ี

8. เหน็ ความสาคญั ของการเอาใจใส่ดแู ลสขุ ภาพ

เม่ือลกู น้อยเกดิ มาคณุ พ่อคุณแม่ก็ต้องดแู ลใหล้ กู มสี ุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง รวมทั้งมีพัฒนาการในด้าน
ตา่ งๆ ให้เหมาะสม โดยการดูแลสขุ ภาพร่างกาย คณุ พอ่ คณุ แม่สามารถดูแลในด้านตา่ งๆ ดังน้ี

ด้านทีห่ นงึ่ การให้อาหารท่ีถูกหลักอนามัย อาหารทส่ี ำคญั สำหรับทารก คือ นมแม่ ทารกที่ไดร้ ับนมแม่
ก็จะได้รับภูมคิ ้มุ กนั ทำให้มกี ารเจ็บป่วย ตดิ เช้ือ การเกิดโรคภูมิแพน้ อ้ ยกวา่ ทารกท่ีไมไ่ ดร้ ับนมแม่ เม่ือลกู น้อย
โตขึ้นก็ควรได้รบั สารอาหารให้ครบ 5 หมู่ และอย่าลมื ให้ลูกน้อยได้รบั ผัก ผลไม้ ใหเ้ หมาะสมกบั วัย เพื่อจะได้มี
การขบั ถ่ายทีป่ กตดิ า้ นทส่ี อง คณุ พ่อคุณแม่ตอ้ งดแู ลใหล้ ูกมีการนอนหลบั พกั ผ่อนท่ีเพยี งพอเหมาะกับอายขุ อง
ลูกด้านที่สาม การดูแลใหล้ กู น้อยมกี ารออกกำลังกายอย่าง
สมำ่ เสมอให้เหมาะกับวัยของลกู

นอกจากการดแู ลทางร่างกายดงั ที่กลา่ วมา คุณพ่อคุณแมค่ วร
ดแู ลพัฒนาการของลูกให้เหมาะกับวัยควบคู่ไปด้วย ซ่ึงการ
พัฒนาการแบ่งออกเปน็ ดา้ นต่างๆ ดังน้ี การพัฒนากล้ามเน้ือมัด
ใหญ,่ การพฒั นากลา้ มเนือ้ มดั เล็ก, การพัฒนาทางดา้ นภาษา, การ
พฒั นาทางด้านสังคม สิง่ ท่ีคุณพ่อคุณแม่ทำไดง้ ่ายท่สี ุด ในการช่วยในการพัฒนาการของลูกน้อย คือ การเล่น
กับลูก คณุ พ่อคณุ แม่สามารถหาของเลน่ ง่ายๆ ใหเ้ หมาะสมกบั วยั ของเด็ก และรว่ มเลน่ กับลกู ซ่ึงนอกจากลกู
นอ้ ยจะไดร้ บั การกระตนุ้ พัฒนาการแลว้ ยังจะได้รับความรักและความอบอุ่นจากคุณพ่อคุณแม่อกี ด้วย อีกท้งั
ระหวา่ งการเล่นคุณพ่อคุณแม่สามารถสอนเร่ืองระเบยี บวินยั ความเคารพกฎเกณฑ์ การร้แู พ้รู้ชนะ และการให้
อภยั


Click to View FlipBook Version