The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookrayong, 2021-01-22 03:40:59

การพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างเป็นองค์รวม

holisticelopment_early_childhood

การพฒั นาเด็กปฐมวยั อยางเปน องคร วม
วกิ ฤตปฐมวัยและแนวทางแกไข

ÖćøóçĆ îćđéÖĘ Ă÷ŠćÜđðîŨ ĂÜÙøŤ üö

ÙèąñýšĎ ċÖþćĒúąǰǰǰǰǰǰ ǰǰéø ßîĉóøøèǰǰÝćêĉđÿëĊ÷ø

ÿĆÜđÙøćąĀŤÜćîüĉÝ÷Ć ǰǰǰǰǰǰéø ÖĆîêüøøèǰǰöĊÿöÿćø

éø Ăõøĉ éǰĊ ǰǰĕß÷Öćúǰ

ïøøèćíÖĉ ćø ǰíéĉ ćǰóĉìÖĆ þŤÿĉîÿč×ǰ

ĂĂÖĒïïÿęĉÜóöĉ óǰŤ :ǰÿöÖĉêǰǰüÜýöŤ ćÖǰ ǰ ǰ ǰǰǰ

ÝĆéóöĉ óēŤ é÷

ÿöćÙöĂîčïćúýċÖþćĒĀŠÜðøąđìýĕì÷ĔîóøąøćßĎðëĆöõŤǰ

ÿöđéÝĘ óøąđìóøêĆ îøćßÿčéćĄǰÿ÷ćöïøöøćßÖčöćøĊǰǰ

óöĉ óŤÙøĆĚÜìǰĊę ǰǰǰǰ ǰǰÖĆî÷ć÷îǰǰ

ÝćĞ îüî ǰǰ
ǰđúöŠ

óĉöóìŤ ęĊ ǰǰ:ǰǰïøþĉ ĆìǰóúĆÿđóøÿǰÝćĞ ÖĆé

การพัฒนาเด็กปฐมวัย

อยา งเปนองคร วม

1
วกิ ฤตปฐมวัยและแนวทางแก้ไข

การพัฒนาเดก็ ปฐมวัย

อยา งเปน องครวม

เดก็ ปฐมวยั จาํ เปน ตอ งไดร บั การพฒั นาอยา งเปน องคร วมโดยพฒั นาอยา งรอบดา นและสมดลุ ทง้ั ดา น
รา งกาย ดา นอารมณ จติ ใจ ดา นสงั คมและดา นสตปิ ญ ญา เพอ่ื ใหเ ดก็ เตบิ โตขน้ึ เปน มนษุ ยท สี่ มบรู ณ
และพฒั นาไดอ ยา งเตม็ ศกั ยภาพ มรี า งกายสมบรู ณแ ขง็ แรง เคลอ่ื นไหวไดอ ยา งคลอ งแคลว มจี ติ ใจ
ทแี่ จม ใสเบกิ บาน สามารถควบคมุ อารมณไ ดอ ยา งเหมาะสม รจู กั และเขา ใจตนเอง เอาใจเขามาใสใ จ
เรา ชน่ื ชมสงิ่ รอบตวั ชว ยเหลอื ตนเองได อยรู ว มและทาํ งานกบั คนอนื่ ไดอ ยา งมคี วามสขุ มคี ณุ ธรรม
จรยิ ธรรม มคี วามรบั ผดิ ชอบ มที กั ษะชวี ติ ใชภ าษาสอ่ื สารไดเ หมาะสมกบั วยั มคี วามสามารถใน
การคดิ และแกป ญ หา สามารถแสวงหาความรไู ดด ว ยตนเอง มจี นิ ตนาการและความคดิ สรา งสรรค
สมดงั จดุ มงุ หมายของการปฏริ ปู การศกึ ษาทต่ี อ งการใหเ ดก็ เปน ทง้ั “คนดี คนเกง และมคี วามสขุ ”

2
วิกฤตปฐมวยั และแนวทางแก้ไข

แตใ นปจ จบุ นั เดก็ ปฐมวยั ถกู กระตนุ จากทง้ั ทางบา นและ โรงเรยี นมากเกนิ ไป เดก็ ถกู เรง ใหอ า นออก
เขยี นได บวกลบเลข ถกู ใหท อ งจาํ และทาํ สง่ิ ตา งๆเกนิ วยั ดว ยคาดหวงั ใหเ ดก็ เปน คนเกง แตแ ทจ รงิ
แลว การเปน คนเกง เพยี งอยา งเดยี วไมส ามารถทาํ ใหเ ดก็ ประสบความสาํ เรจ็ ในชวี ติ และอยใู นสงั คมได
อยา งมคี วามสขุ การมงุ สอนวชิ าการ ใหเ ดก็ เรยี นจากแบบเรยี น ฝก ทกั ษะผา นการทาํ แบบฝก หดั ให
นง่ั ฟง ครสู อนทงั้ วนั นนั้ ไมเ หมาะสมกบั พฒั นาการและลกั ษณะการเรยี นรขู องเดก็ ปฐมวยั เปน การมงุ
พฒั นาเฉพาะทางดา นสตปิ ญ ญา ทาํ ใหเ ดก็ ขาดโอกาสทจ่ี ะพฒั นาทกั ษะสาํ คญั อน่ื ๆ ในชว งเวลาทองท่ี
สมองของเดก็ จะเปด รบั การเรยี นรไู ดด ที สี่ ดุ เดก็ ไมไ ดร บั การพฒั นาอยา งเปน องคร วมและไมส ามารถ
พฒั นาไดอ ยา งเตม็ ศกั ยภาพ ยง่ิ ไปกวา นน้ั การสอนทคี่ รเู ปน ผบู อก อธบิ ายและออกคาํ สง่ั เดก็ เปน ผรู บั
ขอ มลู ไมไ ดล งมอื กระทาํ สาํ รวจ ทดลอง และไมไ ดน าํ ความรไู ปใชใ นชวี ติ ประจาํ วนั ทาํ ใหเ ดก็ ขาด
โอกาสทจ่ี ะพฒั นาทกั ษะทจ่ี าํ เปน ในการดาํ เนนิ ชวี ติ ในสงั คมอนาคต
คมู อื การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั อยา งเปน องคร วมฉบบั นี้ จะชว ยใหผ เู กยี่ วขอ งกบั เดก็ ปฐมวยั ไดม แี นวทาง
ในการพฒั นาเดก็ อยา งเปน องคร วมไดถ กู ตอ ง เหมาะสม และสอดคลอ งกบั พฒั นาการและการทาํ งาน
ของสมอง ซง่ึ เดก็ ควรไดร บั การพฒั นาทกุ ดา นไปพรอ มกนั ไดเ รยี นรอู ยา งอสิ ระเหมาะสมกบั วยั ไดม ี
โอกาสเลอื ก ไดม ปี ฏสิ มั พนั ธก บั บคุ คลและสง่ิ แวดลอ ม มคี วามสขุ กบั การไดเ ลน สาํ รวจ ทดลอง และ
ใชป ระสาทสมั ผสั ทง้ั หา และควรหลกี เลย่ี งการพฒั นาแตด า นสตปิ ญ ญาจนละเลยพฒั นาการดา นอน่ื
การจดั ประสบการณท ไ่ี มเ หมาะสมกบั วยั เรยี นรตู ามทผ่ี ใู หญก าํ หนดเพยี งฝา ยเดยี ว ขาดโอกาสในการ
เลน หากพอ แม ผปู กครอง ครู หรอื ผดู แู ลเดก็ ไดป ฏบิ ตั ติ ามแนวทางทคี่ วรทาํ และหลกี เลย่ี งสง่ิ ทไ่ี ม
ควรทาํ จะชว ยใหเ ดก็ เตบิ โตขนึ้ เปน มนษุ ยท สี่ มบรู ณ พฒั นาไดอ ยา งเตม็ ศกั ยภาพและเปน กาํ ลงั สาํ คญั
ของประเทศชาตติ อ ไป

3
วิกฤตปฐมวัยและแนวทางแกไ้ ข

การพฒั นาเดก็ อยา งเปน องคร วมจะชว ยใหเ ดก็ มพี ฒั นาการอยา งเตม็ ศกั ยภาพและนาํ ไปสกู ารเปน มนษุ ย
ทสี่ มบรู ณ ทเี่ ปน ทง้ั คนดี คนเกง และมคี วามสขุ คมู อื นจี้ ะชว ยใหพ อ แม ผปู กครอง ครู และผดู แู ลเดก็
มแี นวทางในการพฒั นาเดก็ ทง้ั ดา นรา งกาย ดา นอารมณ จติ ใจ ดา นสงั คมและดา นสตปิ ญ ญา ดว ยวธิ ี
การทถี่ กู ตอ งและสอดคลอ งกบั พฒั นาการและการทาํ งานของสมอง เพอื่ ใหเ ดก็ เตบิ โตขนึ้ เปน พลเมอื ง
ทด่ี มี คี ณุ ภาพตอ ไป ชว ยใหพ อ แม ผปู กครอง รวมทง้ั ครู และผดู แู ลเดก็ สามารถพฒั นาเดก็ อยา งเปน
องคร วมไดอ ยา งเหมาะสม

ความเกงอยางเดียวไม
สามารถทาํ ใหเ ดก็ ปฐมวยั
เตบิ โตเปนคนท่ีมีคุณภาพได

4
วิกฤตปฐมวยั และแนวทางแกไ้ ข

“พ่อแม่ ผปู้ กครอง
ควรทําอย่างไรดี”

ใหค วามสาํ คญั กบั การพฒั นาเดก็ อยา งเปน เนนใหเด็กอานออกเขียนได คิดเลขได
องคร วม ทง้ั ดา นรา งกาย อารมณ จติ ใจ มากกวา การพฒั นาดา นรา งกาย อารมณ
สงั คมและสตปิ ญ ญา เพราะพฒั นาการทกุ จติ ใจ และสงั คม การทพี่ อ แม ผปู กครอง
ดา นตา งมคี วามสมั พนั ธเ ชอื่ มโยงและสง ผล และผเู ลย้ี งดใู หค วามสาํ คญั กบั พฒั นาการ
ตอ กนั และกนั เพยี งบางดา น ทาํ ใหบ างดา นถกู ละเลยและ
เปด โอกาสใหเ ดก็ ไดเ ลอื ก ไดต ดั สนิ ใจทาํ สง่ิ อาจสง ผลใหพ ฒั นาการดา นอน่ื มปี ญ หา
ตา งๆ ตามความสนใจอยา งเหมาะสมกบั วยั ตัดสินใจแทนเด็กทุกเร่ือง การที่พอแม
เชน เลอื กเสอ้ื ผา ทจ่ี ะใสเ อง เลอื กนทิ านท่ี ผูปกครอง และผูเล้ียงดูคิดและตัดสินใจ
จะใหอ า นใหฟ ง เลอื กสถานทที่ จี่ ะไปเทยี่ ว แทนเด็กทุกเร่ือง จะทําใหเด็กขาดความ
ในวนั หยดุ มั่นใจในตนเอง ไมกลาคิด และไมกลา
เปด โอกาสใหเ ดก็ ไดท ดลองทาํ สง่ิ ตา งๆใน ตดั สนิ ใจ
ขอบเขตทเี่ หมาะสมและไมเ ปน อนั ตรายตอ ไมยอมใหเด็กทําสิ่งตางๆ ดวยตนเอง
ตวั เดก็ โดยเรมิ่ จากกจิ กรรมงา ยๆ ใกลต วั เนอื่ งจากกลวั วา เดก็ จะเกดิ อนั ตราย ทาํ ให
เดก็ เชน ใหแ ตง ตวั เอง ใหช ว ยเหลอื งานบา น เดก็ ขาดโอกาสที่จะเรียนรูและทดลองทํา
งา ยๆ ใหส าํ รวจสง่ิ รอบตวั ซง่ึ จะชว ยใหเ ดก็ สง่ิ ตา งๆ
มคี วามมนั่ ใจและสามารถพงึ่ พาตนเองได

5
วกิ ฤตปฐมวยั และแนวทางแกไ้ ข

เขาใจวาเด็กแตละคนมีความแตกตาง เปรยี บเทยี บเดก็ กบั พน่ี อ งหรอื เพอ่ื นทท่ี าํ สง่ิ
กัน ช่ืนชมส่ิงท่ีเด็กทําไดสําเร็จ พอแม ตา งๆ ไดด กี วา ทําใหเ ด็กไมเห็นคุณคา ใน
ผูปกครอง และผูเล้ียงดูควรเขาใจและ ตนเอง และไมกลา แสดงออก
ยอมรับในความแตกตางของเด็กแตละคน ใหเ ดก็ ทาํ กจิ กรรมเชงิ วชิ าการมากกวา การ
มองเหน็ สง่ิ ดใี นตวั เดก็ สนบั สนนุ และชมเชย ทาํ กจิ กรรมศลิ ปะ ดนตรี การออกกาํ ลงั กาย
เมอ่ื เดก็ ทาํ สง่ิ ทด่ี หี รอื ประสบความสาํ เรจ็ เนอ่ื งจากพอแม ผปู กครอง และผเู ลย้ี งดู
ใหความสําคัญกับการพัฒนาทุกดานไป เช่ือวาความสามารถทางดานวิชาการจะ
พรอมกัน ทั้งกิจกรรมท่ีเกี่ยวกับการคิด ทาํ ใหเ ด็กเกง จึงละเลยกจิ กรรมอื่น
การใชเหตุผล จินตนาการ และความคิด
สรา งสรรค เพอ่ื ใหส มองซกี ซา ยและซกี ขวา
ไดพัฒนาอยา งสมดุล

6
วิกฤตปฐมวยั และแนวทางแกไ้ ข

ดแู ลสขุ ภาพกาย โดยคาํ นงึ ถงึ การทาํ งาน พฒั นาเดก็ แบบตามใจ โดย
ของสมอง ดงั น้ี • ใหเด็กรับประทานอาหารขยะ เชน
• ใ ห  เ ด็ ก รั บ ป ร ะ ท า น อ า ห า ร ท่ี มี
แฮมเบอรเกอร ไกทอด พิซซา ขนม
ประโยชนครบ 5 หมู และมีคุณคา กรุบกรอบ เชน มันฝรั่งทอดกรอบ
ตอสมอง เชน ปลา ไขแ ดง พชื ตระกลู ขา วโพดอบกรอบ ขา วเกรยี บ อาหาร
ถั่ว ขาวกลอง ลูกเดือย ผักใบเขียว ทม่ี รี สหวานจดั เชน ลกู อม ชอ็ กโกแลต
มะเขือเทศ กลวย สม น้ํามะพราว อาหารที่ใสผงชูรส ของหมักดอง
ฯลฯ ในสัดสวนที่เหมาะสม และ ซึ่งทําใหเด็กมีภาวะโภชนาการที่ไม
หลากหลาย เหมาะสม เชน อวน หรือขาดสาร
• ใหเ ดก็ ดม่ื นา้ํ สะอาดในปรมิ าณเพยี งพอ อาหาร
โดยใหเ ดก็ จบิ นา้ํ บอ ยๆเพอื่ ใหร า งกาย • ใหเด็กดื่มนํ้าใสนํ้าตาล นํ้าอัดลม ชา
ดูดซึมนํ้าอยางมีประสิทธิภาพและ กาแฟ ซึ่งทําใหเด็กติดรสหวาน และ
ชวยใหสมองมีความชุมช่ืนและรับรู สง ผลตอการนอนหลบั ของเดก็
สิง่ ตางๆ ไดด ี • ใหเด็กนอนดึก นอนไมเปนเวลา
• ใหเด็กเขานอนเปนเวลาและนอนวัน หรือพักผอนไมเพียงพอ ซ่ึงสงผลตอ
ละอยา งนอย 10 - 12 ช่ัวโมง ซง่ึ จะ สุขภาพและการเจริญเตบิ โตของเดก็
ชวยใหรางกายไดพักผอนและสมอง
ไดจัดลําดับขอมูลที่ไดรับมาตลอดวัน
นอกจากนี้ในเวลาท่ีเด็กนอนหลับ
สนิท สมองจะหลั่งฮอรโมนท่ีชวยให
รางกายของเดก็ เจรญิ เตบิ โตออกมา

7
วกิ ฤตปฐมวยั และแนวทางแกไ้ ข

• ชวนเดก็ ออกกำ�ลงั กายและเคลอ่ื นไหว • ให้เด็กน่ังอยู่กับท่ีเฉยๆเป็นเวลานาน
เชน่ วง่ิ เลน่ ปน่ั จกั รยาน อยา่ งนอ้ ย วนั เช่น ปล่อยให้น่ังดูโทรทัศน์หรือเล่น
ละ 30 นาที และควรใหเ้ ดก็ ออกไปเลน่ เกม หรอื โทรศพั ทม์ อื ถอื เปน็ เวลานาน
กลางแจง้ ใหไ้ ดร้ บั แสงแดด ในชว่ งเชา้ ทำ�ให้สมองไม่ได้รับการพัฒนาอย่าง
และเยน็ ไดส้ มั ผสั ธรรมชาตแิ ละอากาศ เหมาะสม
บรสิ ทุ ธ์ิ ซง่ึ ชว่ ยเพม่ิ ออกซเิ จนและผอ่ น
คลายความตึงเครียด ส่งผลให้สมอง พฒั นาเดก็ โดยไมค่ ำ�นงึ ถงึ ความรสู้ กึ ของเดก็
ทำ�งานไดด้ ี • ไมก่ อด สมั ผสั หรอื แสดงความรกั ตอ่

ดูแลสุขภาพใจโดยคำ�นึงถึงการทำ�งาน เด็ก ท�ำให้เด็กขาดความอบอุ่นม่ันคง
ของสมอง ดังน ้ี ทางจติ ใจ
• สร้างความม่ันคงปลอดภัยทางจิตใจ • พดู เสยี งดงั หรอื ตะคอกเดก็ ทำ� ใหเ้ ดก็
เกิดความกลัวและคุ้นชินกับความ
โดยกอดและสมั ผสั เดก็ ซง่ึ การสมั ผสั กา้ วรา้ วทางวาจา
ท่ีอ่อนโยนจะช่วยกระตุ้นการสมอง • วางกฎเกณฑ์ให้เด็กท�ำอย่างเข้ม
เช่ือมโยงกันมากขึ้นและท�ำงานได้ดี งวด เช่น ให้เด็กท�ำตามสิ่งท่ีผู้ใหญ่
ยง่ิ ขน้ึ ก�ำหนดอย่างเคร่งครัด ท�ำให้เด็กเกิด
• พูดจากับเด็กด้วยน้�ำเสียงท่ีนุ่มนวล ความเครยี ดและวติ กกงั วล
ทำ� ใหเ้ ดก็ รสู้ กึ อบอนุ่ และมน่ั คง • ใช้อารมณ์กับเด็ก ลงโทษเด็กด้วย
• ให้อิสระในขอบเขตท่ีเหมาะสมและ อารมณ์ หรอื ไมม่ เี หตผุ ลสมควร ขเู่ ดก็
ปลอดภัย เช่น ให้เด็กได้ส�ำรวจและ เช่น จะไมร่ กั จะใหต้ ำ� รวจจบั ตกุ๊ แก
เลือกท�ำกิจกรรมตามความสนใจโดย กนิ ตบั สง่ ผลใหเ้ ดก็ กลวั และกงั วล
อยใู่ นสายตาของผใู้ หญ่
• ใช้เหตุผลกับเด็ก อธิบายเหตุผลให้
เดก็ เขา้ ใจดว้ ยภาษางา่ ยๆ เชน่ ถา้ ไม่
แปรงฟนั ฟนั จะผแุ ละปวดฟนั

8
วิกฤตปฐมวยั และแนวทางแก้ไข

เขาใจและยอมรับอารมณความรูสึกของ ไมย อมรบั อารมณค วามรสู กึ ทางลบของ
เด็กท้ังทางบวกและทางลบ เชน ดีใจ เดก็ และสอนใหเ ดก็ ปกปด อารมณค วาม
เสยี ใจ พอใจ โกรธ อจิ ฉา ซง่ึ จะชว ยใหเ ดก็ รสู กึ ทางลบ เชน เมอ่ื เดก็ หกลม กบ็ อกวา ไม
สามารถรับรูและเขาใจอารมณความรูสึก เปน ไร ไมเ จบ็ ไมต อ งเสยี ใจ ไมต อ งรอ งไห
ของตนเอง ทาํ ใหเ ดก็ เกบ็ กดอารมณ
ใหคําแนะนําและชวยใหเด็กจัดการกับ ปลอ ยใหเ ดก็ แสดงอารมณต า งๆ ไดต าม
อารมณตา งๆไดอ ยางเหมาะสม เชน สอน ตองการ แมวาไมเหมาะสมก็ไมหาม
ใหเ ดก็ เขา ใจอารมณค วามรสู กึ ของผอู น่ื และ ปราม เชน เมื่อเด็กโกรธก็ปลอยใหเด็ก
รูจักเห็นอกเห็นใจผูอื่น สอนใหเขาใจวา ทุบตีผูใหญ เด็กอยากไดอะไรแลวไมไดก็
เดก็ มอี ารมณโ กรธได แตแ สดงออกใหเ หมาะสม กรดี รอ งโวยวาย
เปด โอกาสใหเ ดก็ ไดช ว ยเหลอื ตนเองและ ชวยเด็กทํากิจกรรมทุกอยางในชีวิต
ทาํ กจิ วตั รประจาํ วนั ไดอ ยา งเหมาะสมกบั ประจําวันหรือ ไมใหเด็กชวยเหลือ
วัย เชน ใหร บั ประทานอาหารเอง ใหน าํ ตนเอง พอแม ผูปกครอง และผูเลี้ยง
เส้อื ผาท่ใี สแลวไปใสตะกราผา เพ่อื ใหเด็ก ดูทํากิจวัตรประจําวันทุกอยางใหเด็ก
สามารถ ชวยเหลือตนเองไดและฝกความ เนื่องจากกลัววาเด็กทํางานไมเรียบรอย
รบั ผดิ ชอบ หรือใชเวลานาน
หาโอกาสใหเ ดก็ ไดพ บปะและเลน กบั เดก็ เลี้ยงเด็กใหอยูแตกับครอบครัวไมมี
อนื่ โดยพาไปเลน กบั ญาตพิ น่ี อ ง เพอ่ื นบา น สังคมขางนอกบาน ทาํ ใหเ ดก็ ขาดโอกาส
พาไปเลน ทส่ี นามเดก็ เลน ในหมบู า น เพอ่ื ฝก ในการสรา งความสมั พนั ธก บั เดก็ อนื่ และ
ใหเ ดก็ ไดเ ขา สงั คมกบั เดก็ อน่ื สง ผลตอ การปรบั ตวั และการเขา สงั คม

9
วิกฤตปฐมวัยและแนวทางแกไ้ ข

สอนใหเ ดก็ รจู กั มารยาททางสงั คม เคารพ คิดวาเด็กเล็กเกินไปท่ีจะสอนมารยาท
กฎกตกิ า การรอคอย การแบง ปน การดแู ล และกฎกติกา และไมเปนแบบอยางที่ดี
ส่ิงแวดลอม และสาธารณสมบัติ ดวย ใหแ กเ ดก็ พอ แม ผปู กครอง และผเู ลย้ี งดู
การเปนแบบอยางท่ีดี พอ แม ผปู กครอง ปลอ ยใหเ ดก็ สง่ิ ตา งๆ ทาํ ตามใจ เนอ่ื งจาก
และผูเลี้ยงดูควรเตรียมเด็กใหสามารถอยู เขาใจวาเด็กยังเล็ก ยังไมรเู ร่อื ง รอใหโต
รว มกบั บคุ คลอนื่ ในสงั คมไดอ ยา งเหมาะสม กอ นจงึ คอ ยสอน ซง่ึ แทจ รงิ แลว เดก็ ควรได
เชน สอนใหเ ดก็ ขอบคณุ ขอโทษ รจู กั ตอ ควิ รบั การปลกู ฝง ตง้ั แตย งั เลก็
ผลดั กนั เลน ซงึ่ การสอนทดี่ ที สี่ ดุ คอื การเปน ใหเ ดก็ ทาํ กจิ กรรมอนื่ ๆ จนไมม เี วลาเลน
แบบอยา งทดี่ ใี หแ กเ ดก็ โดยจัดตารางใหเด็กเรียนพิเศษทุกวัน
เปด โอกาสใหเ ดก็ ไดเ ลน ทกุ วนั และไดเ ลน ใหเ ดก็ ทบทวนเนอ้ื หาหรอื ทาํ กจิ กรรมทาง
อยา งหลากหลายลกั ษณะตามความสนใจ วชิ าการแทนการเลน เนอ่ื งจากไมเ หน็ ความ
ทงั้ เลน ในรม เลน กลางแจง เลน อสิ ระ เลน เกม สาํ คญั ของการเลน
ทมี่ กี ตกิ า เลน บทบาทสมมติ เลน ของเลน ใหเ ดก็ เลน แตข องเลน สาํ เรจ็ รปู ของเลน
จั ด ห า ข อ ง เ ล  น ท่ี ส า ม า ร ถ ส  ง เ ส ริ ม ท่ีไมสงเสริมการคิดและการเรียนรู เชน
พัฒนาการไดอยางครอบคลุมและสมดุล ของเลน ทส่ี ง เสยี งหรอื เคลอ่ื นไหวไดเ องเมอ่ื
และเหมาะสมกบั วยั พอ แม ผปู กครอง และ กดปมุ เปด รวมทง้ั ของเลน ทไ่ี มเ หมาะกบั วยั
ผูเลี้ยงดู ควรจัดหาของเลนที่หลากหลาย เชน ใหเ ดก็ เลน เกมคอมพวิ เตอร ทาํ ใหเ ดก็
และเหมาะสมกบั วยั ของเดก็ เชน ภาพตดั ขาดโอกาสทจ่ี ะไดร บั การพฒั นาอยา งเตม็ ท่ี
ตอ ของเลน สรา งสรรค ชว ยพฒั นาทางดา น
สตปิ ญ ญา จกั รยาน 3 ลอ ชงิ ชา ชว ยพฒั นา
ทางดา นรา งกาย

10
วิกฤตปฐมวัยและแนวทางแกไ้ ข

เลนกับเด็กอยางมีคุณภาพ การใชเวลา อางวาไมมีเวลาเลนกับเด็ก พอแม
อยา งมคี ณุ ภาพกบั เดก็ สาํ คญั กวา ระยะเวลา ผูปกครอง และ ผเู ลย้ี งดจู งึ ไมเ ลน กบั เดก็
ในการเลน ดงั นนั้ พอ แม ผปู กครอง และ ทาํ กจิ กรรมอน่ื ขณะทเี่ ดก็ เลน หรอื ปลอ ยให
ผเู ลย้ี งดจู งึ ควรใชเ วลาเทา ทส่ี ะดวกเลน กบั เดก็ เลน ตามลาํ พงั
เดก็ ดว ยความเตม็ ใจ กระตอื รอื รน ทจ่ี ะเลน ใหอานแบบเรียน หนังสืออานเพ่ิมเติม
สรา งบรรยากาศทสี่ นกุ สนานและมคี วามสขุ ความรู และทาํ แบบฝก หดั แทนการอา น
อ  า น ห นั ง สื อ นิ ท า น ใ ห  เ ด็ ก ฟ  ง อ ย  า ง นิทาน ทําใหเด็กเกิดทัศนคติไมดีตอการ
สมํ่าเสมอ ชวนใหเด็กมีสวนรวมในการ อา นและไมร กั การอา น
อา น เชน ชวนเดก็ อา นหนงั สอื ดว ยกนั ให
เด็กไดเลือกซ้ือหนังสือนิทานที่ชอบ เพ่ือ ใหครูและผูดูแลเด็กเปนผูทําหนาท่ีใน
สรา งประสบการณท างภาษา ปลกู ฝง นสิ ยั การอบรมเลยี้ งดเู ดก็ เพยี งฝา ยเดยี ว ทง้ั ที่
รักการอาน และสรางความสัมพันธท่ีดีใน จรงิ แลว พอ แม ผปู กครอง และผเู ลย้ี งดเู ปน
ครอบครวั บุคคลท่ีมีความสําคัญและใกลชิดกับเด็ก
ประสานความรวมมือกับทางโรงเรียน เปน อยา งมาก หากรว มมอื กบั ทางโรงเรยี น
เพ่ือใหไดแนวทางในการพัฒนาเด็กที่ ในการอบรมเลี้ยงดูเด็กอยางถูกตองตาม
สอดคลองกันระหวางบานและโรงเรียน หลกั วชิ าการแลว จะชว ยใหก ารพฒั นาเดก็
พอ แม ผปู กครอง และผเู ลยี้ งดู ควรเอาใจใส เปน ไปอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ
ดแู ลเดก็ ตดิ ตอ สอ่ื สารกบั ทางโรงเรยี น และ
นาํ แนวทางการพฒั นาเดก็ ของทางโรงเรยี น
มาใชท บี่ า น

11
วิกฤตปฐมวยั และแนวทางแกไ้ ข

“ครู ผดู้ ูแลเด็ก
ควรทําอย่างไรด”ี

พัฒนาเด็กใหครบทุกดานและเหมาะสม เรงรัดการสอนและการเรียนรูโดยไม
กบั วยั ครแู ละผดู แู ลเดก็ ควรพฒั นาเดก็ ทง้ั คํานึงถึงวุฒิภาวะและความพรอมของ
ดานสุขภาพอนามัย การควบคุมกลามเน้อื เดก็ เชน ใหเ ดก็ นง่ั ฟง ครสู อนเปน เวลานาน
ใหญแ ละกลามเนอื้ เลก็ การเขาใจอารมณ ทาํ ตามคําสัง่ ของครู สอนใหเ ด็กเขียนท้ังท่ี
ความรสู กึ การแสดงอารมณไ ดอ ยา งเหมาะสม กลามเน้อื ยังไมพรอ ม
การมีสนุ ทรียะ การชว ยเหลือตนเอง การ
ทาํ งานและอยรู ว มกบั ผอู นื่ การรบั ผดิ ชอบ
ตอสังคมและ ส่งิ แวดลอ มรอบตวั การคดิ
การใชภาษาในการสื่อสาร การมีทักษะ
ในการแสวงหาความรู การมที กั ษะชวี ติ โดย
คาํ นงึ ถงึ วฒุ ภิ าวะ ความพรอ ม และลกั ษณะ
การเรยี นรขู องเดก็ เชน ใหเด็กเรียนรูจาก
การเลน เรียนรูจากการลงมือปฏิบัติผาน
ประสาทสัมผสั ท้งั หา

12
วกิ ฤตปฐมวัยและแนวทางแกไ้ ข

สอนเรื่องที่ใกลตัว มีความหมายกับเด็ก สอนเนอ้ื หาทเ่ี กนิ วยั และไกลตวั เดก็ โดย
และสามารถนาํ ไปใชใ นชวี ติ ประจาํ วนั ได นําเนื้อหาในระดับประถมศึกษามาสอน
เชน เรอื่ งรา งกายและการดแู ลรกั ษารา งกาย เชน การสอนอา นเขยี นสะกดคาํ การบวก
ครอบครวั และการปฏบิ ตั ติ นทเ่ี หมาะสมใน ลบเลขโจทก
การอยรู ว มกนั ยานพาหนะและการปฏบิ ตั ิ
ตนทเ่ี หมาะสมในการเดนิ ทาง เนนวิชาการหรือใหเวลากับการพัฒนา
จดั กจิ กรรมทพ่ี ฒั นาความฉลาดรอบดา น เด็กดานใดดานหนึ่งมากไป เชน มุงให
ครูและผูดูแลเด็กควรจัดกิจกรรมที่หลาก เด็กอานเขียนหนังสือมากกวาการทํา
หลาย เชน ดานมิติสัมพันธ ดานภาษา กิจกรรมศิลปะ ดนตรี การเลนกลางแจง
ดา นดนตรี ดา นการเคลอื่ นไหวของรา งกาย เด็กจึงขาดโอกาสที่จะไดรับการพัฒนา
ดา นการเขาใจธรรมชาติ ซงึ่ จะชวยใหเ ด็ก ความฉลาดดา นอ่ืนๆ
ไดร บั การพฒั นาความฉลาดอยา งครบถว น เนนแตกิจกรรมท่ีใชสมองซีกซาย เชน
จัดกิจกรรมที่สงเสริมทั้งสมองซีกซาย สอนวิทยาศาสตร คณิตศาสตร การอาน
และสมองซีกขวาอยางสมดุล เชน ให และเขียนสะกดคํามากกวากิจกรรมดาน
เด็กทํากิจกรรมเก่ียวกับจินตนาการและ สุนทรียะท่ีสงเสริมความคิดสรางสรรค
ความคดิ สรา งสรรคค วบคไู ปกบั กจิ กรรมท่ี และจนิ ตนาการ
สง เสรมิ การคดิ ซงึ่ เปน การใหส มองทง้ั สอง จัดกิจกรรมอยางเดียวใหเด็กทําเหมือน
ซีกไดท าํ งานและพฒั นาอยา งสมดลุ กันหมดทง้ั หอง ใหเ ด็กทํากิจกรรมตาม
จดั กจิ กรรมทหี่ ลากหลายและคาํ นงึ ถงึ รปู ที่ครูกําหนดใหทุกครั้ง การที่ครูและ
แบบการเรยี นรขู องเดก็ ใหเ ดก็ ไดเ ลอื กทาํ ผูดูแลเด็กไมเปดโอกาสใหเด็กไดเลือกทํา
อยา งอสิ ระ ตามความสนใจ ความถนดั และ กิจกรรมท่ีเด็กสนใจ ทําใหเด็กเกิดความ
ความตอ งการของตนเอง เบือ่ หนายและไมสนใจทํากจิ กรรม

13
วิกฤตปฐมวยั และแนวทางแก้ไข

จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ด ย คํ า นึ ง ถึ ง ค า นิ ย ม ไมเชื่อมโยงการจัดกิจกรรมใหเขากับ
วัฒนธรรม ศาสนาและความเช่ือของ ความคิด ความเชื่อ วัฒนธรรมและ
บริบทที่เด็กอาศัยอยู เชน การนํานิทาน ศาสนาของเดก็ ทัง้ ท่ีสามารถทําได เชน
พื้นบาน ภูมิปญญาทองถ่ินมาใชในการ สอนวนั สาํ คัญทางศาสนาโดยไมเ ช่อื มโยง
จัดกิจกรรม กับประเพณขี องทอ งถ่ิน
จัดเตรียมสื่อวัสดุอุปกรณตางๆ ท่ีชวย เตรียมเฉพาะส่ือกระดาษ ดินสอ หรือ
กระตุนการเรียนรูและพัฒนาการอยาง ใหเด็กทําแตใบงานและแบบฝกหัด
หลากหลายและรอบดา น ครแู ละผดู แู ลเดก็ ซึ่งเปนการพัฒนาเด็กเพียงบางดาน เด็ก
จัดเตรียมส่ือวัสดุอุปกรณที่มีความหลาก ขาดโอกาสในการพัฒนาดานอ่ืนอยาง
หลาย เพราะสอื่ วสั ดอุ ปุ กรณแ ตล ะชนดิ จะ ครบถวน และทําใหเด็กขาดแรงจูงใจ
ชวยพัฒนาเด็กแตกตางกัน เชน แปงโดว ไมอยากทาํ กจิ กรรม
ชวยพัฒนากลามเน้ือเล็กและเสริมสราง
จินตนาการ จิกซอวชวยพัฒนาทางดาน
สติปญญาและความสัมพันธระหวางมือ
และตา เพลงชวยพัฒนาทางดานอารมณ
และสตปิ ญ ญา

14
วกิ ฤตปฐมวยั และแนวทางแก้ไข

จัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยค�ำนึงถึง จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เด็กเป็น
การทำ� งานของสมอง ดังน้ี ฝ่ายรบั ขอ้ มูลเพยี งอยา่ งเดยี ว
• จดั กจิ กรรมทที่ ำ� ใหส้ มองสว่ นอารมณ์ • ให้เด็กนั่งน่ิงอยู่กับท่ี ท�ำกิจกรรมที่

เปิด เช่น การท�ำสมาธิ เคล่ือนไหว ครกู �ำหนดอยา่ งเงียบๆ
ประกอบเพลง ปรบมือตามจังหวะ • เนน้ การฟงั ครบู รรยายและการทอ่ งจำ�
ให้ท�ำกิจกรรมท่ีชอบ สนุกสนาน
เพลิดเพลิน ท�ำให้เด็กกระตือรือร้น ซง่ึ ไมส่ อดคลอ้ งกบั ลกั ษณะการเรยี น
และสนใจทจ่ี ะเรียนรู้ รู้ท่ีดี
• จัดกิจกรรมให้เด็กได้ลงมือกระท�ำ • ไม่ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนา
สังเกต ส�ำรวจ ทดลอง ค้นคว้าและ ทกั ษะทส่ี ำ� คญั ในแตล่ ะชว่ งวยั ทำ� ให้
ค้นหาค�ำตอบด้วยตนเอง ได้เรียนรู้ เดก็ เสยี โอกาสทเี่ รยี นรใู้ นชว่ งเวลาท่ี
จากของจรงิ ผา่ นประสาทสมั ผสั อยา่ ง เหมาะสม
น้อย 3 ด้าน เพื่อกระตุ้นให้สมอง คาดหวังกับเด็กมากเกินไป ตำ�หนิเด็ก
ท�ำงานหลายส่วนและสามารถจดจ�ำ ตะโกนหรือใช้เสียงดังกับเด็ก ลงโทษ
ไดด้ ขี ้นึ ทางรา่ งกาย เปรยี บเทียบกับเด็กคนอน่ื ที่
• พัฒนาทักษะในช่วงหน้าต่างแห่ง ทำ�งานไดด้ กี วา่ ทำ�ใหเ้ ดก็ เกดิ ความเครยี ด
โอกาสซึ่งเป็นช่วงเวลาท่ีเด็กเรียนรู้ และกดดนั ซ่ึงไม่สง่ ผลดตี อ่ การเรียนรู้
ได้ดีท่สี ุด
สรา้ งบรรยากาศการเรยี นรทู้ ส่ี อดคลอ้ งกบั
การทำ�งานของสมอง โดยจัดบรรยากาศให้
อบอนุ่ มนั่ คง ปลอดภยั ผอ่ นคลาย ชมเชย
ให้กำ�ลังใจ และยอมรับเด็ก ทำ�ให้เด็ก
มีความสุขและเกิดการเรียนรูท้ ่ดี ี

15
วกิ ฤตปฐมวยั และแนวทางแก้ไข

จัดสรรเวลาใหเด็กไดเลนท้ังกลางแจง ใหทํากิจกรรมทางวิชาการจนไมมีเวลา
และในรมทุกวันอยางนอยวันละ 60 ใหเ ด็กไดเลน หรอื มีเวลาใหเ ดก็ เลน นอย
นาที ซ่ึงจะชวยใหเด็กมีสุขภาพแข็งแรง ทําใหเด็กขาดโอกาสในการพัฒนาทักษะ
กระฉบั กระเฉงคลอ งแคลว มอี ารมณร า เรงิ สาํ คัญตา งๆ
แจม ใส ใหเด็กเลนเพื่อฆาเวลา เชน ใหเด็ก
วางแผน กําหนดจุดมุงหมาย และจัด เลนเพ่ือรอกอนเปล่ียนกิจกรรม ใหเด็ก
กิจกรรมการเลนเพ่ือกระตุนใหเด็กได เลนเมื่อมีเวลาเหลือ ทําใหเด็กไมไดรับ
เรียนรูผา นการสาํ รวจ สงั เกต ทดลองและ ประโยชนจ ากการเลน อยางเต็มท่ี
มปี ฏสิ ัมพันธกับส่งิ แวดลอมรอบตัว ปลอยใหเด็กเลนตามลําพัง ครูและ
มสี ว นรว มในการเลน กบั เดก็ เพอื่ สง เสรมิ ผูดูแลเด็กทํากิจกรรมอื่นขณะท่ีเด็กเลน
การเรียนรูของเด็ก โดยดูแลใหเด็กเลน ไมเขาไปดูแลในขณะที่เด็กเลน ซึ่งเด็ก
ตามจุดมุงหมายท่ีกําหนดไว ดูแลการใช อาจเกิดอันตราย เลนผิดวิธี หรือไมได
ของเลนใหถูกตองตามวัตถุประสงคของ รับประโยชนจากการเลน อยางทตี่ ้งั ใจไว
การเลน ใหคําแนะนําในการเลน และเปน ใชง บประมาณในการซอ้ื แบบเรยี น แบบ
แบบอยา งที่ดีในการเลน ฝก หดั แบบคดั ลายมอื มากกวา การซอื้
จัดหาของเลนและเครื่องเลนท่ีมีความ ของเลนหรือผลิตของเลน มีของเลน
หลากหลาย สง เสรมิ พฒั นาการทง้ั 4 ดา น ไมเ พยี งพอกบั ความตอ งการของเดก็
เหมาะสมกบั วยั สะอาด ปลอดภัย และมี
จาํ นวนเพยี งพอกบั เดก็




Click to View FlipBook Version