The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โบราณคดีที่ทรงรักษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookrayong, 2020-04-03 04:08:23

โบราณคดีที่ทรงรักษา

โบราณคดีที่ทรงรักษา

Keywords: โบราณคดี

1

โบราณคดีที่ทรงรักทรงรักษา

“...ในการปฏบิ ัตริ าชการตามหน้าท่ี เรามักจะต้องเดนิ ทางมาก ต้องเข้าไปในภูมิประเทศท่ีมี
ลกั ษณะต่างๆ กนั ลักษณะภูมปิ ระเทศแปลกๆ เหลา่ นี้ นอกจากมีความสวยงามแล้วยังเป็น
เคร่ืองกาหนดความเปน็ อยขู่ องมนษุ ย์ไม่มากก็น้อย สถานท่ีส่วนใหญ่ท่ีเราเย่ียมเยียนมักจะ
เป็นชุมชนใหญ่น้อย ท่ีอยู่อาศัยของคน มา กหน้า หลายตา ท่ีมีวิถีชีวิต ถือปร ะเพณี
ประกอบการงานอาชพี ต่างกัน สถานที่เหล่านีบ้ ้างก็เปน็ ชมุ ชนที่เกิดข้ึนใหม่ แต่เรามักจะพบ
บอ่ ยๆ วา่ บรเิ วณท่ีตง้ั ชุมชนในปัจจุบันน้ีเคยมีมนุษย์มาต้ังหลักแหล่ง ทามาหาเลี้ยงชีพ
สร้างสรรคว์ ัฒนธรรมสืบทอดกันมาแต่อดีตอันยาวนาน บางคร้ังเราอาจอดเสียมิได้ท่ีจะนึก
ยอ้ นกลบั ไปวา่ แต่ก่อนสถานท่ีทเี่ รากาลังยืนอยู่ เป็นทางดาเนินชีวิตของบรรพชน ไม่รู้จัก
เทา่ ไรท่ีผ่านความสุข ความทุกข์ นานาประการ ไดม้ าและสูญเสียส่ิงต่างๆ จนผืนแผ่นดินน้ี
เป็นแผ่นดินไทย ที่เป็นของเรา ที่เราจะต้องถนอมรักษาไว้ใหอ้ ยู่ต่อไปอย่างดี...” ๑

สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารที รงสนพระราชหฤทัยในประวัติศาสตร์โบราณคดี
นับแต่ทรงพระเยาว์ ทรงเล่าถงึ กจิ กรรมสาคัญที่ตอ้ งพระราชหฤทัยอย่างหนึ่ง คือ การศึกษาโบราณคดี หรือ
ประวัตศิ าสตร์ ในครงั้ นั้นสมเด็จพระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ ีนาถ ทรงเชิญศาสตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ
ดิศกุล เพื่อถวาย คาบรรยายในเร่ืองโบราณคดี และนาเสด็จพระราชดาเนินทอดพระเนตรการจัดแสดงใน
พพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติ เมื่อทรงเจริญพระชันษา ทรงเลือกสาขาวิชาประวัติศาสตร์เป็นวิชาเอกในการศึกษา
ปรญิ ญาตรี ทคี่ ณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และทรงศึกษาต่อในระดับปริญญาโท สาขาวิชาภาษา
ตะวนั ออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศลิ ปากร

วิทยานพิ นธใ์ นระดับปริญญาโท เรอ่ื ง จารกึ ปราสาทพนมรุ้ง นับเปน็ พระราชนิพนธ์ท่ีทรงคุณค่าในทางวิชาการ
ไม่เฉพาะเพยี งเรือ่ งราวศิราจารกึ ท่เี ปน็ ภาษาตะวันออกเท่านัน้ หากยังเกีย่ วข้องกับเร่ืองราวทางโบราณคดีของ
โบราณสถานปราสาทพนมรุง้ ดว้ ย

ความสนพระราชหฤทัยใฝร่ ู้ และทรงศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยพระองค์เอง เมื่อทรงมีโอกาสนาสรรพวิทยา
ท่ที รงเรยี นรมู้ าถ่ายทอด ทาใหเ้ ม่ือทรงตกลงพระราชหฤทยั ในการรบั ราชการท่โี รงเรียนนายรอ้ ยพระจุลจอมเกล้า
เม่อื พุทธศกั ราช ๒๕๒๓ เปน็ ต้นมา จึงทรงเลอื กสอนวิชาประวัตศิ าสตร์ และอารยธรรมไทยให้แก่นักเรียนนาย
รอ้ ยพระจุลจอมเกลา้ เพื่อปลกู ฝงั ความรกั ความภาคภมู ใิ นประวตั คิ วามเป็นมาของชาติและบรรพชนไทย

นอกจากพระองคจ์ ะทรงสอนในหอ้ งเรียนแล้ว ยงั ทรงมพี ระราชดาริวา่ การศึกษาด้วยการฟังบรรยาย
การอ่านหนังสือ หรือศกึ ษาจากสไลดภ์ าพนง่ิ หรือส่อื อน่ื ใดนนั้ ไมส่ ามารถให้ภาพทแ่ี ท้จรงิ ได้ จึงทรงจดั กจิ กรรม
----------------------------

๑ กรมศิลปากร. ๙๔ ปี แห่งการสถาปนากรมศิลปากร (กรุงเทพฯ : บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จากัด,
๒๕๔๗, หน้า ๑๖ – ๑๗.

2

ทัศนศึกษาประกอบในการสอน ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ เสด็จพระราชดาเนนิ ทรงนาคณาจารย์และนักเรียน
นายร้อยพระจุลจอมเกล้าไปทศั นศกึ ษาพนื้ ท่ตี ่างๆ ของประเทศไทย ในแตล่ ะครง้ั ทรงนานกั เรียนของพระองค์ไปยัง
สถานที่สาคัญทางโบราณคดีและประวัตศิ าสตร์ รวมถึงสถานทส่ี าคัญด้านอน่ื ๆ เช่น การทหาร การเกษตร ฯลฯ
ดังทีไ่ ดพ้ ระราชทาน สมั ภาษณ์ เม่ือวนั ท่ี ๙ ธนั วาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๓๗ ความตอนหนง่ึ ว่า

“...การบรรยายถ่ายทอดความรขู้ องอาจารยใ์ ห้นักเรยี น การเปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่ว ม
ออกความคดิ เหน็ การใหน้ กั เรยี นอ่านหนังสือ การคน้ คว้าในหอ้ งสมุด การไปศึกษาค้นคว้าต่อ
ในสถาบันท่มี ีขอ้ มลู เชน่ หอจดหมายเหตุ หรือการออกไปสัมภาษณ์ การออกไปสังเกตการณ์
ออกไปเหน็ อะไรๆ ให้กว้างขวาง และรู้จักโยงวิชาการต่างๆ ท่ีได้เรียนรู้มาเข้าด้วยกัน
ประวตั ศิ าสตร์ คือ ศาสตร์ท่วี า่ ดว้ ยความเปน็ มา ไม่จาเปน็ จะตอ้ งเปน็ เร่อื งอดีตที่ห่างไกลอย่าง
เดียว ความเปน็ มาทกุ ๆ นาทที เี่ ปล่ยี นไปกถ็ ือว่าเป็นประวัติศาสตร์ โดยคิดอย่างกว้างท่ีสุด
การสอนแตเ่ รอื่ งโบราณอาจเป็นประโยชน์แกน่ ักเรียนน้อยเกินไป ประวัติศาสตร์แบ่งได้เป็น
หลายสาขา แต่ตอ้ งโยงเข้าหากันให้ได้ เพราะว่าเป็นปจั จยั ของชวี ิตด้วยกันทง้ั น้ัน ไม่ว่าจะเป็น
ความเปน็ อยู่ วัฒนธรรม ประเพณี หรือว่าเทคโนโลยี การใช้วิธีสอนให้ออกไปศึกษานอก
หอ้ งเรียนหรอื ทัศนศึกษาเปน็ คร้งั คราว เพ่ือให้ดูทกุ อย่าง และฝึกตัดสนิ ว่าตนเองเห็นว่าสิ่งนั้น
สง่ิ น้ีดหี รือไมด่ อี ย่างไร การดงู านหรอื ทัศนศึกษาชว่ ยใหเ้ ห็นหลายสิ่งหลายอย่าง ได้พบปะผู้คน
ท่ีแปลกออกไปกว่าคนทเ่ี คยพบเห็นอยู่เป็นประจา ได้มีโอกาสพูดคุยกับคนฐานะต่างๆ มีลักษณะ
นสิ ยั ตา่ งกนั มาจากส่งิ แวดล้อมตา่ งกนั แลว้ ฝกึ การวจิ ยั การเรียนรู้นอกห้อง...การจัดแต่ละ
ครัง้ ตอ้ งการให้นักเรียนไดร้ บั ความรทู้ วั่ ไปทกุ ด้าน ไมว่ า่ จะเป็นดา้ นภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์
โบราณคดี ชวี ติ และความเป็นอยขู่ องประชาชนในท้องถ่ิน ศิลปวัฒนธรรม ความมั่นคงและ
การทหาร วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และส่ิงแวดล้อม เร่ืองอาชีพราษฎรเป็นเร่ืองที่เน้นมาก
ตลอดเวลา...”๒

ในการเสด็จพระราชดาเนนิ แตล่ ะคร้ัง ยังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ข้าราชการ นักโบราณคดี
ผู้ปฏบิ ตั งิ านของกรมศิลปากรเปน็ วิทยากรนาชม รวมทงั้ พระราชทานแนวพระราชดาริในการจัดพิมพ์เอกสาร
ประกอบการทศั นศึกษาในแต่ละครัง้ โดยทรงพระราชนพิ นธ์ คานา และทรงเป็นบรรณาธิการในการจัดพิมพ์
เอกสารน้ันด้วยพระองคเ์ อง ทรงสนพระราชหฤทัยอยา่ งจรงิ จงั ในงานโบราณคดี และการอนรุ กั ษโ์ บราณสถาน

แนวพระราชดารทิ ่ีพระราชทานแก่กรมศิลปากรในการเสด็จพระราชดาเนินทอดพระเนตรแหล่ง
โบราณคดี และโบราณสถาน ถือเป็นแนวทางในการอนุรักษ์และพัฒนา แหล่งโบราณคดี โบราณสถานอย่าง
ยง่ั ยืน ซึ่งกรมศลิ ปากรไดย้ ดึ ถอื เป็นแนวปฏิบตั สิ บื ต่อมา ดงั ปรากฏในกรณีตา่ งๆ
--------------------------
๒ http://www.sirindhorn.net/Nilitary-Education-Duties.php

3

ไดแ้ ก่แนวพระราชดาริเมอ่ื เสดจ็ พระราชดาเนินทอดพระเนตรแหลง่ ต้นน้าเมอื งสุโขทยั (โซกพระรว่ งลองพระขรรค์
และโซกอน่ื ๆ เมื่อวนั ท่ี ๑๙ - ๒๐ กมุ ภาพนั ธ์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๓๔)

ในครงั้ นน้ั พระราชทานพระราชานุญาตให้คณะข้าราชการกรมศิลปากร ประกอบด้วย รองอธิบดีกรม
ศิลปากร (นายนคิ ม มูสกิ ะคามะ) ผู้อานวยการกองโบราณคดี (นายประโชติ สังขนุกิจ) หัวหน้าอุทยาน
ประวัตศิ าสตร์สุโขทัย (นางสาวมณีรตั น์ ทว้ มเจรญิ ) หัวหนา้ อุทยานประวตั ิศาสตร์ศรสี ชั นาลัย (นายเอนก สี
หามาตย์) ฯลฯ เขา้ เฝา้ เป็นกรณีพิเศษ เพือ่ รบั พระราชทานกระแสพระราชดารเิ กยี่ วกบั การจัดทากาหนดการนา
นักเรยี นนายร้อยพระจลุ จอมเกล้าไปทัศนศกึ ษา และแนวพระราชดารเิ กย่ี วกับการอนุรักษ์โบราณสถานและการ
จดั การโบราณวัตถุ ซ่ึงมีสาระโดยสงั เขป ดงั นี้

 การบรรยายและนาชม วทิ ยากรผู้บรรยายมกั จะอธิบายรายละเอียดลึกเกินไป มีคาศัพท์เฉพาะ
ตา่ งๆ ซง่ึ ทรงเขา้ ใจ เพราะทรงมพี ื้นฐานความรู้เก่ยี วกบั โบราณคดี ประวัติศาสตร์ศิลปะ เนื่องจากทรงสนพระ
ราชฤทัย และเคยเสด็จพระราชดาเนนิ ไปทอดพระเนตรโบราณสถาน และพิพิธภัณฑ์ต่างๆ โดยมีผู้เชี่ยวชาญ
เปน็ ผกู้ ราบบังคมทูลอธิบายใหท้ ราบแต่เมื่อคร้ังทรงพระเยาว์ แต่นักเรยี นนายร้อยพระจุลจอมเกล้าไม่มีความรู้
พื้นฐานดา้ นน้ี จงึ ควรใชภ้ าษางา่ ยๆ ในการบรรยาย ไม่ควรใช้ศัพท์ทางวิชาการมาก หากใช้ก็คว รอธิบาย
ความหมายให้ชดั เจน

 การอนุรักษโ์ บราณสถานและการจัดการโบราณวตั ถุ กรมศลิ ปากรควรสร้างคลังพิพิธภัณฑ์ขนาด
ใหญ่เพอ่ื จดั เก็บของใหเ้ ป็นระบบ สามารถใชเ้ ป็นสถานท่ีศกึ ษาเปรยี บเทียบโบราณวตั ถุ ได้ทรงมีพระราชวินิจฉัย
เกี่ยวกบั การขายโบราณวตั ถุวา่ เปน็ ส่ิงไมค่ วรทา ถ้าจะขายกค็ วรทาเทยี มขึ้นมาขายน่าจะดกี ว่า

เกี่ยวกับการอนุรกั ษโ์ บราณสถาน พระราชทานแนวพระราชดารวิ ่า การที่กรมศิลปากรมี
บคุ ลากรปฏบิ ตั งิ านด้านการอนุรกั ษโ์ บราณสถานไม่เพยี งพอ ควรที่จะเปิดหลักสูตรวิชาเฉพาะเพ่ือการอนุรักษ์
โบราณสถานในสถาบนั การศึกษาทอ่ี ยู่ในการดูแลของกรม เพ่ือสร้างบุคลากรที่มีความรู้เฉพาะทางเข้ามา
สนับสนุนการปฏิบตั ิงาน และลดปญั หาการวา่ งงาน

4

สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงฟังบรรยายสรปุ และทอดพระเนตรแผนที่ แผนผัง
แสดงถึงแหลง่ ตน้ นา้ บรเิ วณโซกพระรว่ งลองพระขรรค์ เม่ือวันที่ ๑๙ กมุ ภาพนั ธ์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๓๔

สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงฟงั บรรยายสรปุ และทอดพระเนตรแผนที่ แผนผงั
แสดงถึงแหล่งตน้ นา้ บริเวณโซกพระรว่ งลองพระขรรค์

5

สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารีทรงฟงั บรรยายสรุป และทอดพระเนตรแผนผงั
ภาพถ่ายเกาะแกง่ หนิ ของโซกพระแมย่ ่า (เหมืองยายองึ่ )

การอนุรกั ษห์ ลกั ฐานทางโบราณคดีในบริเวณหลมุ ขดุ ค้นวดั ชมช่ืน อาเภอศรสี ัชนาลัย จงั หวดั สุโขทัย
เมอื่ คราวท่ีสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดาเนินทอดพระเนตร

พน้ื ทข่ี ุดค้นวดั ชมชน่ื เมื่อวันท่ี ๒๘ กุมภาพนั ธ์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๓๗ และทรงถามถึงการอนุรักษ์หลักฐานทาง
โบราณคดีในบรเิ วณหลุมขดุ คน้ น้นั กรมศลิ ปากรได้นอ้ มนาพระราชดาริในการอนรุ กั ษ์แหล่งโบราณคดีดังกล่าว
ดว้ ยการจดั ใหพ้ ืน้ ท่ีหลุมขุดค้นวดั ชมช่ืนเปน็ แหลง่ เรยี นรู้ทางประวัติศาสตร์ โบราณคดี โดยสร้างหลังคาคลุม
หลมุ ขุดคน้ จัดแสดงข้อมลู พร้อมภาพเก่ียวกับหลักฐานทางโบราณคดีท่ีพบ และการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณ
โดยรอบแหล่ง สง่ ผลให้แหลง่ ขดุ คน้ วดั ชมชน่ื ไดร้ ับการพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชงิ วฒั นธรรมของประเทศไทย
ที่มคี วามสาคญั แห่งหนึ่งในเวลาตอ่ มา

จากแนวพระราชดาริในสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี อันทรงคุณประโยชน์ต่อ
การดาเนนิ งานด้านโบราณคดแี ละการอนุรักษโ์ บราณสถาน โบราณวัตถุ ดงั ท่กี ล่าวมา นับเป็นพระกรุณาธิคุณ
ที่ทรงมตี ่อกรมศลิ ปากร สะท้อนถึงพระราชหฤทยั ทท่ี รงรกั และทรงรกั ษามรดกทางวัฒนธรรมของไทยให้คงอยู่
ย่ังยนื สืบไป

6

สมเดจ็ พรเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงทอดพระเนตรหลกั ฐานทางโบราณคดี
จากการขุดคน้ ทว่ี ัดชมชน่ื จังหวดั สุโขทยั

อดตี อธบิ ดีกรมศลิ ปากร (นายเอนก สีหามาตย์) ขณะดารงตาแหน่งหวั หนา้ อทุ ยานประวตั ศิ าสตรศ์ รีสชั นาลัย
กราบบังคมทลู ถวายคาบรรยายนาชม เมื่อวันที่ ๒๘ กมุ ภาพนั ธ์ พทุ ธศักราช ๒๕๓๗

สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสดจ็ พระราชดาเนนิ ทรงทอดพระเนตรโบราณสถานในแหลง่ โบราณคดีดง
ละคร จังหวัดนครนายก

7

บรรณานุกรม

เลขานกุ ารกรม, สานัก. หนังสอื สานักเลขานกุ ารกรม ลงวนั ท่ี ๒๖ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๓๔ เร่ือง สมเดจ็ พระเทพรัตน ราชสุดาฯ
สยามบรมราชกมุ ารี พระราชทานกระแสพระราชดาริใหแ้ ก่ข้าราชการกรมศิลปากร
(เอกสารถา่ ยสาเนา)

ศลิ ปากร, กรม. หนังสือกรมศิลปากรเลขท่ี ๑๕๙๗/๒๔๘๓ ลงวันท่ี ๓๐ กันยายน ๒๔๘๓ ถึงคณะกรรมการจังหวัด
นครนายก เร่ือง ขอใหส้ อบสวนโบราณวัตถุสถานทปี่ ระกาศขึ้นทะเบียนแล้ว (เอกสารถ่ายสาเนา).
รายงานการขุดคน้ และขดุ แต่งเมอื งดงละคร อาเภอเมือง จงั หวดั นครนายก. กรงุ เทพฯ : สมาพันธ์, ๒๕๓๖.
๙๔ ปี แห่งการสถาปนากรมศิลปากร. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั รุง่ ศลิ ปก์ ารพมิ พ์(๑๙๗๗) จากดั , ๒๕๔๗.

อุทยานประวตั ิศาสตร์ศรีสัชนาลัย. หนงั สอื อทุ ยานประวัตศิ าสตรศ์ รสี ชั นาลัย ที่ ศธ.๐๗๐๔.๑๒/๑๕๔ ลงวันที่ ๑๐ มีนาคม
๒๕๓๔ เร่ืองสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารีเสดจ็ พระราชดาเนินทอดพระเนตรแหลง่ ต้น
น้าเมอื งสุโขทัย จงั หวัดสโุ ขทยั (เอกสารถา่ ยสาเนา)
หนังสืออุทยานประวัติศาสตรศ์ รีสชั นาลัย ท่ี ศธ.๐๗๐๗.๑๓/๑๘๖๖ ลงวันท่ี ๑๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๗ เรือ่ ง
ขอสนบั สนุนงบประมารจดั สร้างอาคารคลมุ หลุมขุดคน้ โครงกระดูกมนษุ ย์วัดชมช่ืนจากการท่องเที่ยวแห่ง
ประเทศไทย (เอกสารถ่ายสาเนา)
หนังสอื อทุ ยานประวตั ศิ าสตร์ศรสี ชั นาลยั ท่ี ศธ.๐๗๐๗.๑๓/๑๕๘ ลงวันท่ี ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๙ เร่ือง
เสนอคณะรัฐมนตรีเพ่ืออนมุ ัตหิ ลกั การโครงการก่อสรา้ งอาคารคลุมหลมุ ขดุ ค้นวดั ชมชืน่ และอาคารจดั แสดง
(เอกสารถา่ ยสาเนา)

http://www.sirindhorn.net/Nilitary-Education-Duties.php


Click to View FlipBook Version