The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สค11003 การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม

ระดับประถมศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookrayong, 2020-06-15 23:28:20

สค11003 การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม

สค11003 การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม

ระดับประถมศึกษา

Keywords: ประถม

เอกสารสรปุ เน้ือหาทต่ี อ งรู

รายวิชา การพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม
ระดับประถมศึกษา
รหัสวิชา สค11003

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน
พทุ ธศักราช 2551

สาํ นักงานสง เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
สํานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
กระทรวงศึกษาธิการ

หามจาํ หนาย
หนังสือเรยี นนี้จดั พมิ พดวยเงินงบประมาณแผน ดินเพ่อื การศกึ ษาตลอดชวี ิตสาํ หรับประชาชน
ลขิ สทิ ธิเ์ ปนของสาํ นกั งาน กศน.สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร



2

สารบญั

หนา

คํานํา

คาํ แนะนําการใชเอกสารสรปุ เนอื้ หาทตี่ อ งรู

บทท่ี 1 การพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม 1

ความหมายของการพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม

ความสาํ คัญของการพัฒนาตนเอง ชุมชน สงั คม

หลักการพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สังคม

ประโยชนทไี่ ดร บั จากการพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม

บทท่ี 2 ความหมาย ความสาํ คญั และประโยชนของขอ มลู 6

ความหมายของขอ มลู

ลกั ษณะขอ มูลท่ดี ีและความสําคัญของขอมลู

ประโยชนข องขอ มลู

การนาํ ขอ มลู ไปใชในชีวิตประจําวัน

ความสมั พันธของขอมลู

บทที่ 3 วธิ ีการจดั เกบ็ วิเคราะหข อ มูลอยา งงา ย และการเผยแพรข อ มลู 10

วิธกี ารจดั เกบ็ ขอมลู และรวบรวมขอมูล

การวเิ คราะหขอมูล ตนเอง ชมุ ชน สังคม

การนาํ ขอ มูลไปใชใ นการจดั ทาํ แผนพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม

วิธีการเผยแพรข อ มลู

บทที่ 4 การมีสวนรว มในการวางแผนพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม 21

วิธีการมีสวนรวมในการวางแผนพฒั นาตนเอง ชมุ ชนสงั คม

กิจกรรมของการมสี วนรว มในการวางพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม

เทคนิคในการวางแผนพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คมโดยการมสี ว นรวมของประชาชน

3

สารบัญ (ตอ )

หนา

บทท่ี 5 การวางแผนไปประยกุ ตใชในชีวิตประจําวนั 26
แนวทางการพฒั นาชมุ ชน สังคมไปประยกุ ตใ ชกบั ตนเอง ชมุ ชนและสงั คม
ประโยชนทไี่ ดจากการวางแผน
วธิ กี ารนําผลทีไ่ ดจากการวางแผนไปประยกุ ตใชในชีวิตประจําวัน

กจิ กรรมทา ยเลม 29
บรรณานกุ รม 31
คณะผูจดั ทาํ 33

4

คําแนะนาํ การใชเ อกสารสรปุ เน้อื หาทต่ี องรู

หนงั สือสรุปเนือ้ หา รายวชิ าการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ระดับประถมศึกษา
เปนการสรปุ เนอ้ื หาหนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคมรายวิชาการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม
สค 11003 ระดับประถมศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) เพื่อใหผูเรียน กศน. ทําความเขาใจและเรียนรู
ในสาระสาํ คัญ ของเนอ้ื หารายวิชาสําคญั ๆ ไดสะดวกและสามารถเขา ถงึ แกนของเน้ือหาไดด ขี ้นึ

ในการศกึ ษาหนังสือสรปุ เนอื้ หารายวชิ าการพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สงั คม เลมนี้
ผูเรยี นควรปฏิบัติดงั น้ี

1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค11003
ระดับประถมศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช
2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) ใหเขาใจกอน

2. ศึกษารายละเอียดเน้ือหาของหนังสือสรุปเน้ือหารายวิชาการพัฒนาตนเอง
ชุมชน สังคม ใหเขาใจอยางชัดเจน ทีละบท จนครบ 5 บท และทํากิจกรรมทายเลมตาม
ทก่ี ําหนด ถายังไมมั่นใจวาปฏิบัติตามกิจกรรมไดอยางเหมาะสม ควรยอนกลับไปทําความเขาใจ
เนอ้ื หานน้ั อกี คร้ัง

3. หากตองการศึกษารายละเอียดเน้ือหารายวิชาการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม
เพิ่มเติมผูเรียน สามารถศึกษาหาความรูเพิ่มเติมจากตํารา หนงั สือเรียนท่ีมีอยตู ามหองสมุดหรือราน
จําหนา ยหนงั สอื เรยี น หรือครูผสู อน

1

บทที่ 1
การพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สังคม

เนอ้ื หาประกอบดว ย
1. ความหมายของการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม
2. ความสําคัญของการพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สังคม
3. หลกั การพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม
4. ประโยชนทีไ่ ดรับจากการพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม

1. ความหมายของการพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม
1.1 ความหมายของการพฒั นาตนเอง
การพัฒนาตนเอง หมายถงึ การปรับปรงุ เปลยี่ นแปลงส่งิ ท่ีตนเองเปน อยู มอี ยูใหดี

ขึ้นและกา วหนาไปกวา เดมิ
การพัฒนาตนเองตองคิดใหรอบดานวา เดิมตัวตนของเราเปนอยางไร ท้ังสุขภาพ

กายและสุขภาพใจ เมื่อปรับปรุงตนเองแลวจะสามารถมีชีวิตท่ีเปนไปตามความต้ังใจท่ีหวังไว
หรือไม ความเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นทําใหตัวเรามีจิตใจเบิกบาน มีอารมณแจมใสข้ึนกวาเดิม
หรือไมนอกจากนี้ยังเปนความสามารถคิดหาเหตุผลมารองรับใหเกิดความกาวหนาทาง
สติปญ ญาของตนเองได เมื่อพ่งึ พาสติปญญาตนเองได กย็ อมมีโอกาสใหผูอ่ืนพ่ึงพาสติปญญาตัว
เราไดเ ชน กัน

1.2 ความหมายของการพฒั นาชุมชน
การพัฒนาชุมชน หมายถึง การกระทําที่มุงปรับปรุง และสงเสริมใหกลุมคนท่ีอยู

รวมกันมีการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น มีความเปนอยูท่ีดีข้ึน สุขภาพแข็งแรง มีอาชีพที่ม่ันคง
มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน โดยอาศัยความรวมมือจากบุคคลภายในชุมชน
และหนว ยงานองคก ารตา ง ๆ ทั้งภายในและภายนอกชมุ ชน

1.3 ความหมายของการพฒั นาสงั คม
การพัฒนาสังคม หมายถงึ กระบวนการเปลย่ี นแปลงในทางที่ดีในดานเศรษฐกิจ

การเมอื ง สงั คม การปกครอง และวฒั นธรรม เพอ่ื ใหประชาชนในสังคมมีความเปนอยูที่ดีข้ึน
ทั้งดานท่ีอยูอาศัย อาหาร สุขภาพอนามัย การศึกษา การมีงานทําและมีรายไดเพียงพอสําหรับ

2

การครองชีพประชาชนในสังคมไดรับความเสมอภาค ความยุติธรรมและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
โดยประชาชนตองมสี วนรว มในกระบวนการเปลี่ยนแปลงทุกขั้นตอนอยา งมีระบบ

2. ความสําคญั ของการพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม
ความสําคัญของการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม เปนพื้นฐานในการเตรียมตนเองในดาน

ตาง ๆเชน รา งกาย สตปิ ญ ญา จติ ใจอารมณ และสังคม ใหมีความพรอมในการดํารงชีวิตใหอยู
ในชุมชน สงั คมไดอ ยางม่ันใจมีความสุขและเปนกําลังสําคัญเพ่ือชวยใหชุมชมแข็งแกรงและสราง
สงั คมท่ีเปน สขุ

3. หลักการพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม
การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม เปนการพัฒนาโดยยึดหลักการมีสวนรวม ประกอบดวย

การรวมคิด การรวมตัดสินใจ การรวมปฏิบัติ รวมติดตามและประเมินผล และรวมรับ
ผลประโยชน รวมท้ังการประสานความรวมมือ การประชาสัมพันธ การใหความรูทั้งทางตรง
และทางออม

4. ประโยชนท ไี่ ดร บั จากการพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม
1. ตนเองมีการเปลี่ยนแปลง มีสวนรวมในกิจกรรมของชุมชน สังคม ประสบผลสําเร็จ

ในการดาํ เนนิ ชวี ิต และสามารถอยูในสงั คมไดอ ยางมีความสุข
2. ชมุ ชน สงั คม ไดรับการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีข้ึน ประชาชนในชุมชน

สังคม มีคุณภาพชีวิตท่ีดี มีการเสียสละ และมีระเบียบวินัย ทําใหชุมชน สังคมเกิดความ
ปลอดภัย มีความเขม แขง็ และย่ังยืนตอไป

โดยมีตวั อยางประโยชนท ่ไี ดรับจากการพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สงั คม ตอไปได

3

ตวั อยา ง ประโยชนที่ไดร ับจากการพัฒนาตนเอง ไดแ ก

าพการตนู ผหู ญิง 25 ป แจงความรอยเวร ความซื่อสตั ยต อตนเองและผูอ่นื
ท่ีโรงพักวา เกบ็ กระเปา สตางคไ ดม ีคาํ พูด ทงั้ ตอ หนา และลับหลงั เปนตัวอยางที่ดี
ในสังคม
“ดิฉนั พบกระเปา สตางคห ลนอยูท่ี

ความเออื้ เฟอ เผือ่ แผ รจู ักการให
การแบง ปน ตามโอกาสอันควรโดยไม
หวงั สิง่ ตอบแทน

ภาพการต นู ชาย 30 ป สงถงุ ขาวสารใหหญงิ ชรา
จงั หวัด ไดข าวสารมาฝากคุณยายครับ”

4

รกั ของสวนรวม เมื่อพบความเสียหาย
ในทีส่ าธารณะ รีบแจงผูร ับผดิ ชอบดว น
เพ่อื ลดการสญู เสียทรพั ยากร

ภาพการตนู นกั ศกึ ษาสาว 22 ป ทกั ทายเพการตรงตอเวลา เปน การสรา งนิสัยทีด่ ี
ใหเ กิดขนึ้ ในสงั คม นบั วา เปนแบบอยางที่ดี
ท่ีควรปฏิบตั ิตาม

5

ตัวอยาง ประโยชนทไี่ ดรับจากการพัฒนาชมุ ชน สังคม

การประสานความรวมมือ

การประชาสมั พนั ธ

6

บทท่ี 2
ความหมาย ความสําคญั และประโยชนข องขอมูล

เนื้อหาประกอบดวย
1. ความหมายของขอ มูล
2. ลกั ษณะขอ มลู ทด่ี แี ละความสําคญั ของขอ มูล
3. ประโยชนของขอมลู
4. การนําขอมลู ไปใชในชีวติ ประจําวนั
5. ความสัมพนั ธของขอมูล

1. ความหมายของขอมูล
ขอ มูล คือ ขอเท็จจริงหรอื สภาพเปนจริงทีป่ รากฏในรูปตวั อกั ษร สัญลกั ษณ ตัวเลข ภาพ

เสยี ง คําบอกเลา จากผูรู สถานการณที่เกิดข้นึ รวมท้ังการบนั ทกึ และการถายทอดผานสือ่ ตา ง ๆ
ทงั้ เอกสาร บคุ คล วิทยุ โทรทัศน และอนิ เทอรเนต็ เปนตน

2. ลกั ษณะขอ มูลที่ดแี ละความสําคญั ของขอ มลู
ลักษณะของขอมลู ทด่ี ีตองเปน ขอ มูลที่มีความถกู ตองและเชอ่ื ถอื ได ตรงตามความ

ตองการของผูใชขอมูลและควรเปนขอมูลท่ีเปนปจ จบุ ัน และมคี วามทนั สมยั
2.1 ขอมูลท่ีดีตองมลี กั ษณะตอ ไปน้ี

2.1.1 ถกู ตอ งและเชื่อถือได กลาวคือตองมีความ
ม่นั ใจวา การรวบรวมขอ มูลมีความถูกตองและเช่ือถือได
โดยตองมีการตรวจสอบอยางละเอียด ซึ่งขอมูลอาจ
ตองแปลงใหอยูในรูปแบบที่เคร่ืองคอมพิวเตอร
เขา ใจไดอ ยา งถกู ตอ ง บางครั้งขอมูลผิดพลาดเพราะ
ใชโปรแกรมหรอื สตู รคาํ นวณผิดพลาดจึงตองกําหนด
วธิ ีการรวบรวมผลดว ยความละเอียดรอบคอบ

7

2.1.2 ตรงตามความตอ งการของผใู ช กลาวคอื
เมอ่ื จะเก็บขอมลู ใหเลือกเกบ็ ขอ มลู เฉพาะที่ผใู ช
ตองการเทา น้ัน ตองไมเกบ็ ขอ มลู อื่น ๆ ท่ไี มตรง
กับการใชง าน แตใหม่ันใจวา ขอมลู ที่ตอ งการ
เก็บน้ัน เก็บไดอ ยางครบถวนและสมบูรณ

ภาพการต นู ภาพเดิม 2.1.3 มคี วามทันสมัย กลาวคอื เปน ขอมูลท่เี ปน
จะใชต ัวเลขนีต้ ้งั แตเ ดือนท่ีแลว” ปจจบุ ัน และมีความทนั สมยั เพอ่ื ใหผ ใู ชขอมลู
นําไปใชไดทันเวลา

2.2 ความสาํ คญั ของขอ มูล
ซ่งึ ขอมูลดานตาง ๆ มคี วามสําคัญตอประชาชนมากมายมหาศาลท้ังการใชใน
ชวี ติ ประจาํ วันและดา นการปฏบิ ัตงิ าน ดังตอ ไปน้ี
- ดา นภมู ศิ าสตร เชน บริบทของชมุ ชน ลักษณะของชมุ ชน และลักษณะภมู ิอากาศ
เปน ตน
- ดานประวัตศิ าสตร เชน ความเปนมาของชุมชนนนั้ ๆ เปนตน
- ดานการเมือง การปกครอง เชน การมีสวนรวมในกิจกรรมทางการเมืองของชุมชน
และการใชสิทธิ์เลอื กตั้งตา ง ๆ เปนตน

8

- ดา นศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี เชน ความเชื่อ ศาสนาของคนในชุมชน วันสําคัญ
ทางศาสนา และพธิ กี รรมของชุมชน (การบวช การขึน้ บานใหม)เปน ตน

- ดานหนาที่พลเมืองเชน ความจงรักภักดีตอสถานบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย
ความสามัคคี การมีสวนรวมแสดงความคิดเห็น ความรับผิดชอบตอหนาที่ การเคารพกฎ
และระเบยี บชุมชน เปนตน

- ดา นทรัพยากร สง่ิ แวดลอ ม เชน ปา ไม แหลงน้ํา และการคมนาคม เปน ตน
- ดา นสาธารณสขุ เชน การดแู ลสุขภาพเบื้องตน และการปอ งกนั โรคตา งๆ เปนตน
- ดานการศึกษา เชน ระดับการศึกษาของคนในชุมชน สถานศึกษาในระบบและนอก
ระบบเปน ตน

3. ประโยชนข องขอ มูล
ขอมลู ตา ง ๆ ที่อยรู อบตัวเรา เราสามารถรับรูและนาํ ขอ มลู เหลา นัน้ มาใชป ระโยชนใน

ชีวิต ประจําวนั ไดมากมายท้ังทางตรงและทางออ ม ดังนี้
- ดา นภูมิศาสตร เปน การศกึ ษา เรยี นรูเ ก่ียวกบั บรบิ ทของชมุ ชน ลักษณะของชุมชน

ลักษณะภูมอิ ากาศ เพอ่ื ใหเปน ขอมลู พนื้ ฐานในการพฒั นาหรอื ประกอบอาชพี
- ดา นประวตั ศิ าสตร เปนการศกึ ษาเรียนรูความเปนมาของชุมชนน้ัน ๆ เพ่อื อนรุ ักษส บื

สาน หรือนําไปปรบั ปรงุ ประยกุ ตใชใหเ หมาะสมกบั สภาพปจ จุบนั
- ดานการเมอื ง การปกครอง เปนการศกึ ษา เรียนรูการมสี ว นรว มในกิจกรรมทาง

การเมอื งของชมุ ชน ประเทศและศกึ ษาเรียนรกู ารใชส ิทธเ์ิ ลือกตัง้ อยางถกู ตอง
- ดานศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี เปน การศึกษาเรยี นรูและปฏิบัตติ นตามวัฒนธรรม

ประเพณใี หถกู ตอ งในชมุ ชนนน้ั ๆ
- ดา นหนาทพี่ ลเมอื ง เปนการศกึ ษาเรยี นรูและปฏบิ ตั ิดวยความจงรักภักดีตอ สถาบัน

ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ความสามคั คี การมสี วนรว มแสดงความคิดเหน็ ความรบั ผิดชอบ
ตอ หนา ที่ การเคารพกฎ ระเบียบชุมชน ท่จี ะสง ใหช ุมชน สังคม อยอู ยา งสงบสุข

- ดา นทรพั ยากร ส่ิงแวดลอม เปน การศึกษาเรยี นรูทรพั ยากรปาไม แหลง นํ้า
การคมนาคม เพอ่ื นําไปใชไ ดอ ยา งเหมาะสม

- ดานสาธารณสขุ เปน การศึกษาเรียนรูก ารดแู ลสุขภาพเบ้ืองตน เรียนรูโรคภัยตาง ๆ
เพ่ือเปนการปองกันความสูญเสียของตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม สามารถดาํ รงตนอยอู ยาง
ปลอดภัย

9

- ดานการศกึ ษา เปน การศึกษาเรยี นรอู ยา งตอเนือ่ ง หรือเปน องคความรูท่ีทนั สมัย
ถกู ตอ ง และทันตอเหตุการณ เพ่อื การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคมใหม ีความเจริญตอ ไป
4. การนาํ ขอมูลไปใชในชวี ติ ประจําวัน

4.1 รขู อดี ขอดอ ยของขอมูลของชุมชนในดา นตาง ๆ คอื ดา นภมู ศิ าสตร ประวตั ิศาสตร
การเมอื ง ส่ิงแวดลอมสาธารณสุข การศกึ ษาวัฒนธรรม ประเพณี หนา ท่ีพลเมอื ง ทรพั ยากร
และศาสนา

4.2 วางแผนพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม ท่เี กดิ การศกึ ษาเรียนรูขอ มลู ดานตาง ๆ
4.3 แนวทาง วธิ ีการในการปฏิบัตริ ว มกันโดยมีเปาหมายใหค วามสําเร็จ
4.4 นาํ ไปประยุกตใชใ นชีวิตประจาํ วันท่เี หมาะสมกบั ตนเอง ชุมชม สงั คม

5. ความสมั พนั ธของขอ มูล
ความสัมพันธของขอมูลดานภูมิศาสตร ประวัติศาสตร การเมือง ศาสนา วัฒนธรรม

ประเพณีหนาท่ีพลเมือง ทรัพยากร สิ่งแวดลอมสาธารณสุข และการศึกษาในการนําไปใชนั้น
จงึ ตองเชอื่ มโยงบรู ณาการขอ มลู ดงั กลาวใหส มั พันธก ันเพื่อการนําไปพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม
ใหไดต ามเปาหมาย และประสบความสาํ เร็จได

10

บทท่ี 3
วธิ กี ารจดั เกบ็ วเิ คราะหขอมลู อยา งงา ย และการเผยแพรข อ มลู

เนอ้ื หา ประกอบดว ย
1.วิธกี ารจดั เกบ็ ขอ มูลและรวบรวมขอ มูล
2.การวเิ คราะหขอ มลู ตนเอง ชมุ ชน สังคม
3. การนาํ ขอ มลู ไปใชในการจดั ทาํ แผนพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สังคม
4. วิธีการเผยแพรขอ มูล

1. วิธกี ารจดั เก็บขอ มูลและรวบรวมขอ มูล
การจัดเก็บขอมูล คือ การเก็บรักษาขอมูลเพ่ือการบริหารโดยการเก็บไวในรูปแบบ

ตางๆ เชน การทําดวยมือ ซ่ึงเปนแฟมเอกสาร หรือดวยคอมพิวเตอรในรูปของแฟมขอมูล
เปนตน

โดยมีวธิ กี ารรวบรวมขอ มูล ไดแก การสังเกต การสัมภาษณ การสํารวจ การสอบถาม
และการรวบรวมขอ มลู ท่ีผอู นื่ รวบรวมไวแลว
ตวั อยา ง การเก็บรวบรวมขอมลู โดยการสงั เกต

ภาพการต ูนผชู ายอว นใสแ วน กันแดด มองไปที่ ถาตอ งการรูว า พระอาทติ ยต กโดยเฉลยี่ แลว
ดวงอาทติ ยซ ึ่งเกือบจะลบั ขอบฟา ตรงกับชวงเวลาใด ก็สังเกตชวงเวลา
พระอาทิตยต กในแตล ะวัน

ภาพชายคนเดิมไมใ สแ วน (ครง่ึ ตัว) แลวจดเวลาทพี่ ระอาทิตยต กไวทุกวนั
กําลงั จดขอมูลในสมดุ ตอ เนือ่ งกนั ไปเปนสัปดาหหรอื เปนเดอื นกไ็ ด

11

จากนั้นนาํ ขอ มลู เวลาที่บันทึกไวแตละ
คร้งั มารวมกนั ไดต ัวเลขเทา ใดก็นาํ มา
หารดวยจาํ นวนครั้งทจ่ี ดบันทึกเวลา ก็จะ
ไดวาพระอาทิตยตกโดย“คาเฉล่ีย”เฉลี่ย
แลว ตรงกบั เวลาใด
8.05 +18.07+18.09+18.10+18.13+1
การเก็บรวบรวมขอ มูลโดยการสงั เกต แมวาจะดูเหมอื นงา ยและสะดวก แตถา ใหไ ด
ขอ มูลท่ีชดั เจนและคลาดเคล่อื นนอ ยทสี่ ุด ตอ งเฝาดูดวยความเอาใจใสโดยการสังเกตและรับรู
ดว ยตา หู และการสัมผัส
วธิ ีการเกบ็ ขอ มลู โดยการสังเกต จึงจาํ เปนตองมขี อกาํ หนดตาง ๆ ดังนี้
กาํ หนดจดุ มุงหมายทแ่ี นนอนและชัดเจนวา ตองการรเู รอื่ งใด
วางแผนอยา งเปนระบบ กาํ หนดกรอบการสงั เกตและระยะเวลาใหช ัดเจน
บันทกึ เหตุการณและเรอื่ งราวท่ตี รงตามความตองการ
สามารถทดสอบเพอื่ ความถูกตองและนา เชอ่ื ถือได

การเกบ็ รวบรวมขอมลู โดยการสงั เกต แบง ออกเปน ขั้นตาง ๆ ทส่ี าํ คญั 4 ขน้ั คือ
1. ขน้ั เตรียมการสงั เกต :

เลอื กพื้นท่ี
เตรยี มวสั ดุอุปกรณส ําหรบั เก็บขอมลู ทัง้ ภาพและเสยี ง
กาํ หนดวนั เวลา สถานท่ีและนดั หมายผทู จ่ี ะไปทําการสังเกต
2. ขนั้ การสงั เกต :
แนะนําตนเองและทาํ ความรูจ กั กบั หวั หนากลมุ ผทู ่ีจะไปศกึ ษา ซ่ึงเรียกกันวา
กลมุ ประชากรศกึ ษา
สรางสัมพันธท่ีดีภายในกลมุ
สังเกตและเก็บขอ มลู ตามประเดน็ หรอื กรอบที่กาํ หนดไว
3. ขั้นการบนั ทกึ ขอมูล :
เขยี นบรรยายรายละเอยี ดใหไดมากทส่ี ุด

12

4. ข้นั เสรจ็ ส้นิ การสังเกต :
กลาวขอบคณุ ผใู หค วามรว มมอื ซึง่ ใหขอ มูลท่เี ปน ประโยชน

 ตวั อยาง การเก็บรวบรวมขอ มลู โดยการสมั ภาษณ
กาพการต นู หญิงสาวหนุ สวยนั่งอยูทโี่ ตะ ฝงหน่ึง ถือดนิ สอ มอื ซายแตะ
กระดาษบนโตะ กาํ ลังมองการสมั ภาษณ เปนการเกบ็ รวบรวมขอมลู ท่ีผูสมั ภาษณและ
ผใู หส ัมภาษณไดเผชญิ หนา กัน โดยมีการพูดคุยซักถามกนั ตอ หนา
แตต อ งไมลมื วาการพูดคยุ กันตองมจี ุดมงุ หมายที่ชัดเจ
ขณะพดู คยุ
ผเู ก็บขอ มูลหรอื ผสู ัมภาษณ จะใชเ ครอ่ื งมอื เพอื่ เกบ็ ขอ มลู ซ่งึ ก็
คอื แบบสมั ภาษณ

ความหมายของแบบสมั ภาษณ
แบบสัมภาษณ หมายถึง เครือ่ งมอื ท่ใี ชใ นการเกบ็ รวบรวมขอมูล ซ่ึงในแบบสัมภาษณจะ

มีขอคําถามท่ีผูเก็บรวบรวมขอมูลหรือผูสัมภาษณใชเปนแนวทางในการซักถามและพูดคุยกับผูให
สมั ภาษณ

ดังนน้ั การสมั ภาษณต อ งมีคนถามและคนตอบ คนถามใชแบบสัมภาษณท่ี เขียนคําถามไว
แลว ขณะสัมภาษณอาจถามและตอบกันแบบปากเปลา คนตอบเลาใหฟง สวนคนถามก็จดไว
เปนหลักฐานกันลืม หรืออาจใชการบันทึกเสียงดวยวิธีการตาง ๆ ท่ีทําไดโดยมีการขออนุญาต
บนั ทึกเสียงแลวเขยี นสรปุ อีกคร้งั หนง่ึ หลงั การซักถามพดู คุยจบลง

การเกบ็ ขอ มลู โดยการสัมภาษณจําแนกไดต ามความเหมาะสมกบั งานทต่ี องการศกึ ษา ดงั นี้
กาํ ลังจดขอ ความ

สัมภาษณเปนรายบคุ คล ผถู ูกเลือกถอื วา
งบนกระดาษ สวนหญิงสงู วัยใสแ วนรปู รา งอว เปน กลมุ ตัวอยางทเี่ ปนตัวแทนของประชาที่จะ

ศกึ ษาหรอื เรียกใหงายวาเปน ตัวแทน
ของเร่อื งทีต่ อ งการรู

13

สัมภาษณผ รู ูท่ใี หขอ มูลหลกั หรอื ขอมูลสาํ คัญ
50ป แตงกายภมู ฐิ านทนี่ ั่งอยใู นหอ งทํางานท่ี ซ่งึ คนอน่ื ไมรู เปนบคุ คลทแี่ ตกตา งจากคนอืน่

ช้ันหนงั สมคี วามรอบรูขอ มลู ตาง ๆ ในตอ งการ เพราะเปน
สมั ภาษณ ท่เี จาะลึกไดแ ก การเรอ่ื งที่ผู

สมั ภาษณปราชญช าวบา น นักวชิ าการ นกั ธุรกิจ
ผูนาํ ทองถ่นิ ฯลฯ

สัมภาษณเ ปนกลมุ เพ่อื หาขอมูลจากกลุม

ทั้งหญิงและชาย 8 คน ชาวบา นคนหนึง่ กาํ ลัง บุคคลทใ่ี หข อมลู เกย่ี วกับเรื่องทตี่ องการ

พดู ชายคนเดมิ กมหนา จดบนั ทกึ ศึกษา วธิ ีการแบบนอ้ี าจเรียกวา ซกั ถาม

หรือสนทนากลุม ทกุ คนออกความเห็น

และซกั ถามไดอ ยางเสรี

ข้นั ตอนเตรียมการเกบ็ ขอมลู โดยการสัมภาษณ

1. เตรยี มตัวผสู มั ภาษณ นัดประชมุ ชีแ้ จงให
เขา ใจแบบสมั ภาษณแ ละทีส่ ําคัญตองเขาใจ
ทงั้ ดา นภาษา วฒั นธรรมและประเพณีของ
ทอ งถิ่น รวมถงึ ผใู หส มั ภาษณแ ละสถานท่ี
ทําการสัมภาษณ

14

2. ทําหนังสือขอความรว มมือ กําหนดวัน
เวลาและสถานที่ ซ่ึงจัดเตรยี มไวเพ่อื การ
สัมภาษณแ ละอยา ลืมตรวจสอบใหแ นช ดั วา
ติดตอประสานงานครบถว นแลว

3. เตรยี มวสั ดอุ ุปกรณท ี่ตองใชในการสมั ภาษณ
พรอมใชงาน เชน ดินสอ ปากกา กระดาษ
เปน ตน

4. ขั้นสงแบบสมั ภาษณใ หผูใหขอ มูล
ไดท ําความเขา ใจและเตรียมตวั ใหพ รอ ม
กอ นการสัมภาษณ

15

5. ข้ันการสมั ภาษณ
ชี้แจงวตั ถปุ ระสงคใ นการเก็บขอ มูล

บ อ ก ค ว า ม สํ า คั ญ ข อ ง ตั ว ผู ใ ห สั ม ภ า ษ ณ
เพอื่ กระตนุ ใหไดขอมลู ท่ีเปน จรงิ
บอกประโยชนจ ากการเกบ็ ขอมูลและ
ผลกระทบที่จะเกดิ ข้นึ เพอื่ จะไดขอ มลู
ทถ่ี กู ตองและครบถวน
พยายามใหผ ใู หส มั ภาษณบ อกขอ มลู
มากทสี่ ุดโดยใชภาษาสุภาพ ไมถามนาํ
แตพ ยายามใหไดคาํ ตอบตามประเด็น
ที่ตองการ
ขัน้ บันทึกผลการสมั ภาษณ

ขณะสัมภาษณอาจบันทกึ ไดไมครบถวน จงึ ตอ งทบทวนผลการสมั ภาษณอ กี ครั้ง
หลกั ปฏิบัตใิ นการทบทวนผลการสัมภาษณ มดี งั น้ี

 ควรบันทึกผลทนั ทรี ะหวา งการสัมภาษณ หรอื หลงั จากสัมภาษณ
ผา นไปไดไมนาน เพราะจะไดไมหลงลืม หรอื ไดขอ มูลท่ีคลาดเคลื่อนไปจากความเปน จริง

 ควรบนั ทึกผลตามจรงิ เทา นนั้ และตองไมเ พิ่มความคิดเห็นของ
ผูสมั ภาษณเ ขา ไป

16

 ขนั้ สนิ้ สุดการสัมภาษณ
ดูความถกู ตอ งของขอ มลู
ขอบคุณผใู หส มั ภาษณท ช่ี วยใหขอมลู ท่ีเปนประโยชน

ตวั อยาง การเก็บรวบรวมขอมูลโดยการสาํ รวจ

การสาํ รวจเปน การออกไปเกบ็ ขอ มูลจาก
สถานท่จี รงิ เชน ถา ตองการรขู อ มลู เกี่ยวกับ
แมลงท่ีทาํ ลายตนขา วในนา ก็ตองสํารวจทีละพ้ืนที่ แลว
นําขอมู ไปทลี ะพ้ืนท่ี แลวนาํ ขอ มูลท่ีไดมาปรับปรงุ
วิธีการกําจดั แมลงที่ทําลายตน ขาว

ขณะสาํ รวจกต็ อ งบนั ทกึ ขอมูลไวใ หช ัดเจน เพราะขอมูลทีไ่ ดม าจากนาขา วแตละแปลง
ตองรวบรวมไวเพ่ือวเิ คราะหวิธใี นการกําจดั และทําลายแมลงทีเ่ ปนศตั รตู นขา ว

17

ตวั อยา ง การเก็บขอ มูลโดยการสอบถาม
การเก็บรวบรวมขอมูลโดยการสอบถาม เปนการเก็บขอมูลจากประชากร หรือกลุม

ตวั อยางทีศ่ กึ ษาโดยใชแ บบสอบถาม ซึง่ หมายความวา เรามีแบบสอบถามใหคนที่เราตองการรู
ขอมลู ตอบกลบั มา การเก็บขอ มูลอยางนี้ ทําได 4 วธิ ี ดงั นี้

 สงแบบสอบถามทางไปรษณีย
และกําหนดระยะเวลาสงแบบสอบถาม
ท่ีตอบแลว กลบั คนื ใชว ิธีน้ีถา ผูต อบ
อยหู างไกล คน หาหรือติดตามไมส ะดวก

 สงแบบสอบถามใหกับมอื ผตู อบ และ
กาํ หนดวธิ ีการรวบรวมเพื่อสง คนื หรอื
ใหเ วลาผตู อบแลว สงคนื ทางไปรษณีย

 ฝากผนู ําทอ งถนิ่ ไปแจกจา ยใหถงึ มอื
ผูตอบแบบสอบถามแลวรวบรวมสง คนื
หรอื ใหเ วลาผตู อบแลว สงคืนทางไปรษณยี 

18

 ขอความรวมมือเจาหนา ทใี่ นพื้นที่
แจกแบบสอบถามและรวบรวมสงกลบั คนื
หรือหนว ยงานเจาของแบบสอบถาม
ไปเก็บแบบสอบถามจากเจาหนาท่ีในพ้ืนท่ี
ซึ่งรวบรวมไวแ ลว

 ตัวอยาง การรวบรวมขอ มลู ทผ่ี อู ่นื รวบรวมไวแ ลว

การเก็บรวบรวมขอมูลท่ีผูอื่นรวบรวมไวแลว เปนการรวบรวมขอมูลที่เสียคาใชจาย
นอย เพราะคนอื่นลงทุนท้ังสมอง เวลาและเงินแลว เชน อยากรูขอมูลเก่ียวกับสมุนไพรก็หา
ขอมูล โดยการอานหนงั สือทีเ่ กย่ี วกับสมนุ ไพรท่ีมีผูเขียนไวห รอื รวบรวมไวแ ลว นอกจากนี้ยังหา
อา นไดจ ากวารสาร นิตยสารและแหลงขอมูลท่ีมีผูนิยมใชคนหาขอมูลมากท่ีสุด คือ การคนหา
จากอินเทอรเนต็ เพราะสะดวก รวดเรว็ มีขอมลู ทห่ี ลากหลายและเสียคาใชจ า ยไมมาก

ขอ ควรระวงั : ขอ มลู จากอนิ เทอรเนต็
อาจมผี ิดพลาดบา งควรตรวจสอบกับ
แหลงขอมูลอืน่ ๆ ดวย

19

2. การวิเคราะหขอ มูลตนเอง ชุมชน สังคม
ความหมายของการวิเคราะห
“การวิเคราะห” หมายถึง เปนการศึกษา คนควา แยกแยะเพื่อหาสวนยอยของ

เหตุการณเร่ืองราวหรือเน้ือหาตางๆ ดวยความละเอียดและรอบคอบในเร่ืองตาง ๆท่ีเกิดข้ึนอยาง
ละเอียดรอบครอบอยางมีเหตุผลหาจุดเดน จุดดอยใหตรงตามความตองการที่จะนําผลการ
วิเคราะหไปใช โดยขึ้นกับลักษณะของขอมูลและตองอาศัยสถิติตาง ๆ เพ่ือการจัดหมวดหมู
ขอมลู และการแปลความหมายของผลการวิเคราะห

“การวิเคราะหขอมูล” หมายถึง การจัดการขอมูลดวยวิธีตาง ๆ เชน การคํานวณ
การนาํ เสนอขอ มลู เปนตน เพือ่ ใหไ ดผ ลลัพธตามวัตถุประสงคท จ่ี ะนําไปใชใหตรงตามความเปน
จรงิ ตรงตามความตอ งการ จากน้นั จึงจะนําไปใชได

หลกั เกณฑในการเลือกหวั ขอ เพ่ือการวเิ คราะหขอมลู ดังนี้
1. ความสําคัญของปญ หา
ปญ หาบางเรือ่ งทเ่ี กิดข้ึนอาจเปน ขอมูลสว นนอ ยเทานั้น ไมไดมีความสําคัญมากพอทจ่ี ะ
นํามาวเิ คราะห
2. ความเปนไปได
ขอมลู บางเร่ืองท่เี กบ็ รวบรวมมาไดอ าจเปน แคความคิดท่ีเลื่อนลอย จะคิดหาหนทาง
อยา งไรกเ็ ปนไปไมไ ด
3. ความนาสนใจและทันตอเหตุการณ
ขอ มูลบางเรอ่ื งไมไดเปนทส่ี นใจของผูคนท่วั ไป อาจนาสนใจเฉพาะสาํ หรับคนบางกลุม
นอกจากนีข้ อ มลู บางเร่ืองกไ็ มค วรเลือกมาวเิ คราะห เพราะชา เกนิ ไปและไมท นั ใชง านแลว
4. ความนาสนใจของผูวเิ คราะห
ผูท จ่ี ะทาํ การวิเคราะหอาจไมส นใจขอมูลบางเร่ืองที่เก็บรวบรวมมา เปนธรรมดาทีว่ าใคร
กต็ ามไมสนใจเรือ่ งใด ยอ มไมคอ ยมีความรลู กึ ซึ้งในเร่ืองนัน้ จึงไมนาจะเลอื กหวั ขอ
นั้น ๆ มาวเิ คราะห
5. ความสามารถที่จะทาํ ใหบ รรลผุ ล
ขอ มูลทีเ่ ก็บรวบรวมมา อาจเปน เรอ่ื งท่ีวิเคราะหอ อกมาแลว มองไมเ ห็นความสําเร็จ
ซง่ึ คาดวาจะเกิดขึ้น อาจเปนปญหาหรอื เปนเร่อื งท่ียากเกินกวาจะแกไขใหสําเรจ็ ได

20

3. การนาํ ขอมูลไปใชในการจัดทาํ แผนพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สงั คม
การนําขอมูลไปใชซ่ึงไดจากการวิเคราะหเพ่ือวางแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม

โดยการวางแผนพัฒนาตนเอง ชุมชนและสังคม จําเปนตองใชขอมูลจากการวิเคราะห มาชวยใน
การจดั ลาํ ดับความจําเปนวา เรื่องใดควรเลอื กมาพัฒนากอนและเร่ืองใดควรรอไวพัฒนาภายหลัง
ได รวมทั้งตองดคู วามเปนไปไดท ่ีจะพฒั นา

แผนพฒั นาตนเองกาํ หนดไดจากเหตแุ ละผล
ในการพัฒนา มีการกําหนดเปาหมายที่จะพัฒนา
และมองภาพในอนาคตวาจะไดรับความสําเร็จได
อยา งไร หลงั จากน้ันจงึ คดิ หาวธิ กี ารพัฒนารวมไป
ถึ งป จจั ยหรื อส่ิ งต าง ๆท่ี ช ว ยให ปร ะส บ
ความสําเร็จ

ซ่ึงผลจากการนาํ แผนพัฒนาตนเอง ชุมชน สงั คม ท่ปี ระสบผลความสําเรจ็ และทีม่ ปี ญหา
อุปสรรคจะตองนําไปสูการเผยแพรท้ังในระดับครอบครัว ชุมชน และสังคม ใหไดรับการ
ปรับปรุงและพัฒนาตอ ไป

4. วิธีการเผยแพรขอ มูล
การเผยแพรขอ มลู ดานตาง ๆ แบงออกเปน 2 ประเภท
1. การเผยแพรข อ มลู ภายในชมุ ชน
เผยแพรขอมูลเร่ืองราวจากการพัฒนาตนเอง ไปสูครอบครัว ชุมชน และสังคม

โดยพบปะพูดคุย การนําเสนองาน การประชุม การแลกเปลี่ยนเรียนรู และการศึกษาดูงานรวมกัน
เปนตน

2. การเผยแพรขอ มลู ภายนอกชมุ ชน
เผยแพรขอมลู ผานสอื่ ตาง ๆ เชน เอกสารส่ิงพมิ พ วทิ ยุ โทรทัศน อินเตอรเ นต็
และสอ่ื มวลชนตาง ๆ เปน ตน

21

บทท่ี 4
การมสี วนรวมในการวางแผนพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม

เน้อื หาประกอบดว ย
1.วธิ ีการมสี ว นรว มในการวางแผนพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สังคม
2. กิจกรรมของการมีสว นรว มในการวางแผนพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สังคม
3.เทคนิคในการวางแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน สงั คมโดยการมสี ว นรวมของประชาชน

1. วิธีการมีสว นรว มในการวางแผนพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม
การมีสว นรว ม หมายถงึ การที่บคุ คลหรือกลุมเขา มามสี วนรวมเกย่ี วของ รวมมือ

รวมรับผดิ ชอบในกิจกรรมการพัฒนาที่เปน ประโยชนตอ ชมุ ชน สงั คม ดังนี้
1.1 การรวมคิด หมายถึง การมีสวนรวมในการประชุม ปรกึ ษาหารือ ในการ

วางโครงการ การดําเนินงาน การตดิ ตามผล การตรวจสอบ การดแู ลรกั ษา เพอื่ ใหก ิจกรรม
โครงการสาํ เรจ็ ตามวัตถุประสงค

1.2 การรว มตัดสนิ ใจ หมายถงึ เม่ือการประชุมแลว ตอมาจะตอ งเลือกตดั สินใจกิจกรรม
หรอื แนวทางท่ีเห็นวาดีที่สดุ หรอื เหมาะสมทีส่ ดุ

1.3 การรว มปฏิบัติ หมายถึง การเขา รวมการดําเนินงานตามแผนงานโครงการ เชน
รวมออกแรง รวมบรจิ าคทรัพย รวมปฏบิ ัติ รวมพัฒนาชมุ ชน เปนตน

1.4 รวมตดิ ตามและประเมินผล หมายถงึ การมีสว นรว มในการตรวจเยย่ี มดแู ลรกั ษา
ผลประโยชนท่ีเกิดข้ึน จากแผนงานโครงการ

1.5 รวมรบั ผลประโยชน หมายถงึ การชน่ื ชมยินดแี ละใหก าํ ลงั ใจกบั ผลสาํ เร็จของการ
ดาํ เนินงานรว มกนั

22

2. กจิ กรรมของการมสี วนรวมในการวางแผนพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สงั คม
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการวางแผนพฒั นาตนเองสชู มุ ชน และสงั คม
ลองนึกดูวา ทานเคยคิดวางแผนพัฒนาตนเองอยางไรแลวเลาใหเพื่อนสนิทฟง

หลังจากเลาไปแลวยอนกลับมาตอบตัวทานเองวา เร่ิมทําตามแผนหรือยังและดําเนินการตาม
แผนไปเพยี งใด

กจิ กรรมนีช้ ว ยกระตุนใหม กี ารพฒั นาตนเองอยูเสมอ ไมล า หลงั สามารถกาวไป
ขา งหนา อยางม่นั คงและตอเนื่องตลอดเวลา

ควรมองภาพอนาคตไดวา การวางแผนพฒั นาตนเอง จะเปนรากฐานท่ดี ีทจ่ี ะ
นําไปสูก ารวางแผนพฒั นาชมุ ชนและการวางแผนพฒั นาสังคมในทสี่ ุด

กจิ กรรมท่ี 2 กจิ กรรมการมสี ว นรว มวเิ คราะหแ ละวางแผนพฒั นาตนเอง ชุมชน
สังคม

ชวนเพอื่ น 2 คน มารวมพูดคุยและทบทวนเรื่องการใชขอมูลจากการวิเคราะห
เพ่ือวางแผนพัฒนาตนเอง ชุมชนและสังคม วาตองทําอยางไรบาง ไดขอสรุปรวมกันแลว
เลือกผูแทน 1 คน พูดสรุปใหฟงอีกครั้ง สวนอีก 2 คน ถามีแนวคิดเพิ่มเติมขอใหพูดไดอยาง
อสิ ระ

กิจกรรมน้ีชวยใหทุกคนในกลุมไดฝกคิด ฝกการมีสวนรวม รูจักการแสดงออก
และใจกวา ง ยอมรบั ความคิดเหน็ ของสมาชิกในกลุม

กจิ กรรมที่ 3 กจิ กรรมแบง ปน ประสบการณ
รวมกลุมเพ่ือน 6 คน เลือกเพ่ือนคนหน่ึงเปนตัวแทนกลุมท่ีจะเปนผูกําหนดแผน

พัฒนาตนเอง ตัดสินใจวาจะเลือกพัฒนาเร่ืองใดกอน คาดวาจะมีปญหาอะไรเกิดขึ้นบาง
และควรทําอยางไรใหประสบผลสําเร็จ เม่ือชวยกันคิดจนไดผลสรุป ใหเลือกผูที่จะสรุปเร่ืองราว
เลา ใหสมาชิกในกลุมฟง หากขาดตกบกพรอ งตรงไหนใหเ พื่อนในกลุมชวยเพมิ่ เตมิ

กิจกรรมน้ี ชว ยใหส มาชิกกลุมไดฝก คดิ อยางเปนระบบ รูจักแบงปน
ประสบการณใ หแ กก ัน ฝกความกลาคดิ กลาแสดงออก และการยอมรบั เหตุและผลของสมาชิก
ในกลมุ

23

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมทบทวนแผนพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม
ใชเวลาเพื่อคิดดูวา ตัวทานเองมีสวนรวมผลักดันแผนพัฒนาตนเอง ชุมชนและ

สังคมใหเปนท่ียอมรับภายในชุมชนและสังคมของทานเพียงใด จากนั้นรวมกลุมเพื่อน 6 คน
ชวยกันคิดทบทวนวา ในชุมชนท่ีทานอาศัยอยูนั้น ผูคนใหความรวมมือในการผลักดันใหเกิด
การพฒั นาเรอื่ งใดในชมุ ชนบา ง ขออาสาสมัครภายในกลมุ 1 คน เลา เรือ่ งราวท่ีสรุปไดภายในกลุม
อกี คร้งั หน่ึง

กจิ กรรมที่ 5 กิจกรรมการมสี ว นรว ม รว มคดิ สกู ารพึ่งพาตนเอง
ชวนเพ่ือนมาพูดคุยเก่ียวกับหลักการพัฒนาชุมชนในเรื่องความคิดริเร่ิม

เร่ืองการมีสวนรวมของประชาชนและเร่ืองการพ่ึงพาตนเอง พยายามพูดขยายความใหได
รายละเอยี ดตามทเี่ ขา ใจมากท่ีสดุ

เรอ่ื งบางเรอื่ งถา เขา ใจสภาพทเี่ ปนอยูอยางถองแท อาจอธิบายรายละเอียดตาง ๆ
ไดเ องตามความเขาใจและถาตองการรูเ พมิ่ เติมก็อาจพดู คุยแลกเปล่ยี นประสบการณกับผูสูงอายุ
ในทอ งถนิ่ ทม่ี ีประสบการณก ารมสี ว นรวมในการพัฒนาทองถ่นิ และชมุ ชนในดานตา ง ๆ หรืออาจ
พูดคุยกบั เจา หนา ท่ซี ึ่งทําหนา ท่ีพัฒนาชุมชนกจ็ ะไดรายละเอยี ดตา ง ๆ เพิม่ เตมิ เปนอยา งดี

กิจกรรมท่ี 6 กิจกรรมทบทวนหลกั การสรา งการมสี วนรวม นาํ สูคนท่ีมคี ณุ ภาพ
ชวนเพ่ือน 3 คน มารวมกลุมเพื่อทบทวนเร่ืองหลักการสรางการมีสวนรวม

ของประชาชนในพื้นที่ เม่ือชวยกันสรุปแลว หาอาสาสมัครเปนผูแทนเพื่อเลาเรื่องราวใหเพื่อน
กลุมอ่นื ฟง

กิจกรรมนเี้ ปน การฝก การมีสวนรว มของสมาชกิ กลุม รวมกันทบทวน รวมกันทํา
ความเขา ใจ รว มกนั อธบิ ายใหแ กก นั และรวมกนั สรปุ ยอ

เมื่อทุกคนไดฝกการทํางานรวมกัน แตละคนจะไดรับโอกาสในการพัฒนา
ความคิด ความมีเหตุมีผล พรอมท่ีจะรับรูขอมูลตาง ๆ ที่เปนประโยชนตอตนเอง ชุมชน และสังคม
ไดรับการพัฒนาใหคิดดีและมีจิตใจดี เปนคนที่มีคุณภาพ ซ่ึงคุณลักษณะเหลาน้ีเปนรากฐานของ
สงั คมประชาธิปไตยและเปน กลไกสําคัญในการพฒั นาประเทศชาติ

24

3.เทคนคิ ในการวางแผนพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม โดยการมีสวนรว มของประชาชน
แผนพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คมจะเปน ท่ียอมรบั ไดถาทุกคนมีสวนรวมผลักดันใหเกิดขึ้น

ซึ่งคาํ วา “การมีสวนรวม” เปนคําทย่ี ิ่งใหญทจี่ ะชว ยใหเร่ืองยากกลายเปนเร่ืองงาย ประโยชนของ
แผนพฒั นาตนเอง มดี ังนี้

1. รูขอดีและขอบกพรองของตนเองหรอื รูจดุ เดน จดุ ดอยของตนเอง
2. แผนพฒั นาตนเองเกิดขึ้นจากความตองการและความพรอมของตนเอง
3. มแี นวทางปฏบิ ตั ิทชี่ ัดเจน
4. มีเปาหมายในการพัฒนาตนเอง
5. มีการพัฒนาตนเองอยางเปนระบบ
เมอื่ ผคู นยอมรบั และเขา ใจถึงประโยชนข องแผนพฒั นาตนเองกจ็ ะนําไปสกู ารผลกั ดันให
มกี ารใชแ ผนเหลาน้ี และนาํ ไปสกู ารจัดทําแผนพัฒนาชมุ ชนซึ่งแผนพฒั นาชุมชนมักเนนท่ีการ
สรา งรายไดใหกบั ชมุ ชน การยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของผคู น หากมีแนวทางการพฒั นาและแกไ ข
ปญหาทเี่ กดิ ขึ้นในชมุ ชน โดยผานกระบวนการคิด การตดั สินใจโดยชุมชนเอง ตา งคนตางรว มกนั
คนหา และรวมกันเรียนรู โดยมกี ารสํารวจและวิเคราะหข อ มลู ภายในชมุ ชน จัดทําแนวทาง
พฒั นาชุมชนใหสอดคลอ งกับความพรอมของชมุ ชนอยา งชดั เจนกจ็ ะเกดิ ประโยชนตอ ชมุ ชนและ
สงั คมไดในท่ีสดุ ซ่ึงประโยชนดงั กลา วนน้ั สวนหนึ่งเปนผลมาจากการใชเ ทคนิคการมีสวนรวม
นั่นเอง

เทคนิคการวางแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคมโดยการมีสว นรวม แบง เปน 5 ระดบั คือ
1. การใหขอ มูลขา วสาร เปน การเปดโอกาสใหประชาชนเขามามสี วนรว ม
2. การรบั ฟง ความคิดเห็น โดยการสํารวจความคิดเห็น การรับฟงความคิดเห็น

จากการจัดเวทสี าธารณะ และการแสดงความคิดเหน็ ผา นเวบ็ ไซต เปน ตน
3. ความเกี่ยวของ โดยเปดโอกาสใหประชาชนรวมปฏิบัติงานชุมชน

รว มเสนอแนะแนวทางเพือ่ การตดั สินใจ
4. ความรวมมือ โดยเปดโอกาสใหประชาชนไดมีความรวมมือเปนผูแทนหรือ

เปนกรรมการในคณะกรรมการของชมุ ชน

25

5. การเสรมิ อํานาจใหประชาชน โดยใหประชาชนเปน ผตู ดั สินใจ เชน ใหมีการ
ลงประชามติเรื่องท่ีเปน ประเด็นสาธารณะตา ง ๆ ในชมุ ชน รวมทั้งเรื่องโครงการกองทุนหมูบาน
ท่ใี หอ ํานาจประชาชนในพื้นท่ีเปนผตู ดั สินใจท้ังหมด

26

บทท่ี 5
การวางแผนไปประยุกตใชในชีวิตประจาํ วัน

เนอ้ื หาประกอบดวย
1. แนวทางการพฒั นาชุมชน สงั คมไปประยกุ ตใชกับตนเอง ชุมชน และสงั คม
2. ประโยชนทไี่ ดจ ากการวางแผน
3. วธิ กี ารนําผลที่ไดจ ากการวางแผนไปประยกุ ตใ ชใ นชวี ิตประจาํ วนั

1. แนวทางการพฒั นาชุมชน สงั คมไปประยกุ ตใชกับตนเอง ชุมชน และสังคม
โดยใชแนวคดิ พื้นฐานของการพฒั นาชุมชน สงั คม เปนสง่ิ สําคัญท่ีจะนําไปใช มดี งั นี้
1.1 การมีสว นรว มของประชาชนเปนหัวใจของการพฒั นาชุมชน สังคม โดยยึดหลักของ

การมสี ว นรวมใหประชาชนมสี ว นรวมในการคดิ ตดั สินใจ วางแผน การปฏิบัติการ รวมบํารุงรักษา
ตดิ ตามประเมินผลและรวมรับผลประโยชน

1.2 การชวยเหลอื ตนเอง เปน แนวทางในการพฒั นาท่ียึดเปนหลักการสําคัญประการหนึ่ง
คอื ตอ งพฒั นาใหประชาชนพ่ึงตนเองไดมากขึ้น โดยมีชุมชน สังคม ใหการชวยเหลือสนับสนุน
ในสวนท่ีเกนิ ขีดความสามารถของประชาชน ตามโอกาสที่เหมาะสม

1.3 ความคิดริเร่ิมของประชาชน สงเสริมใหประชาชนยึดหลักการความคิดริเร่ิมใชวิถี
แหงประชาธิปไตย กระตุนใหประชาชนเกิดความคิด และแสดงออกซ่ึงความคิดเห็นอันเปน
ประโยชนตอชมุ ชน สงั คม

1.4 ความตองการของชุมชน สงเสริมใหประชาชน ชุมชน สังคม รวมคิด และ
ตัดสนิ ใจบนพ้ืนฐานความตองการของชมุ ชน สังคม เพือ่ ใหเ กิดความคิดจะชวยกันทํางานและดูแล
รกั ษาตอไป

1.5 การศึกษาและเรียนรูตลอดชีวิต เปนกระบวนการใหการศึกษาและเรียนรูแก
ประชาชน เพอื่ นําไปสูก ารพฒั นาคนในการดาํ รงชวี ิตในชุมชน สังคม อยางตอ เนอ่ื ง

โดยสรุปจากแนวคิดพื้นฐานของการพัฒนาชุมชน สังคม สามารถนําไปประยุกต
ในการพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม ใหม ีประสิทธภิ าพได

27

2. ประโยชนท่ีไดจากการวางแผน
ประโยชนห รือขอดขี องการวางแผน มีดงั น้ี
2.1 สามารถบอกใหทราบถึงขอ ดี จุดเดน จดุ ดอย ปญหาและโอกาสท่เี กิด

ขึ้นกบั ตนเอง ชมุ ชน สงั คม
2.2 สามารถปรบั ปรุง แกไขกระบวนการตัดสินใจภายในครอบครัว ชุมชน สังคม ให

ดขี น้ึ
2.3 สามารถชีใ้ หเ หน็ ทศิ ทางในการพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สงั คม ในอนาคตได
2.4 สามารถชว ยใหแตล ะบุคคลหรือสังคม ชมุ ชน ปรับเขา ไดก ับส่ิงแวดลอมที่

เปลีย่ นแปลง
2.5 สามารถชวยผูน าํ ใหม คี วามม่ันใจในการพัฒนาประชาชนในชมุ ชนตนเองให

อยอู ยางปลอดภยั และมคี วามสขุ

กลา วโดยสรปุ การวางแผนมีประโยชนอยางยิ่งตอตนเอง ชุมชน สังคม เพราะเปนส่ิงท่ี
บอกใหเห็นถึงทิศทางการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคมในอนาคต เพ่ือใหทุกฝายทราบรวมกัน
และเปนเครื่องมือท่ีใชเปนแนวทางในการประสานงานในชุมชนและระหวางชุมชน ชวยให
ประชาชนสามารถปรบั ตัวเขา กับสภาพแวดลอมของชุมชน และสังคมที่เปล่ียนไปได ตลอดจน
ชวยใหผูนํา มีแนวคดิ กวา งและไกล การวางแผนท่ีดีเปนส่ิงสําคัญท่ีจะชี้ถึงการบรรลุเปาหมาย
อยา งคมุ คาตอ การลงทุน และมีประสิทธิภาพ นําไปสูการยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนให
ดีข้นึ

3.วิธกี ารนาํ ผลที่ไดจ ากการวางแผนไปประยกุ ตใชใ นชวี ติ ประจําวนั
แผนพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม เปนแผนที่คนใดคนหนงึ่ หรอื กลุมคนหลายคนกาํ หนด

ข้นึ มา เพอื่ เปนแนวทางปฏิบัตใิ นการเสริมสรางและเพิ่มพูนลักษณะทีจ่ าํ เปน ใหเ กิด
ประสทิ ธภิ าพและเพม่ิ คุณภาพ จนไปสูจุดหมายทีต่ อ งการสงผลใหเ กิดการเปลี่ยนแปลง ดงั นี้

3.1 การนาํ ผลจากการวเิ คราะหขอมลู ชมุ ชนไปใชในชวี ิตประจําวันไดในดานตาง ๆ
กอ ใหเกดิ การเปลยี่ นแปลง ไดแ ก

- การมฐี านขอ มลู ชมุ ชน
- การรูจ กั วเิ คราะหตนเอง
- มกี ารจัดทาํ แผนชุมชน

28

3.2 การนาํ ผลจากการมสี วนรว มของชุมชนไปใชในชีวติ ประจาํ วันไดใ นดา นตา ง ๆ
กอใหเ กิดการเปลีย่ นแปลง ไดแก

- การมีสวนรว มในชุมชน สังคมมากขึ้น
- มีทักษะการอนรุ กั ษท รพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอม
- มีการพฒั นาอาชีพและรูจ กั การตลาดเบ้อื งตน
- รจู กั รใู ช รรู ักษา ทรพั ยากรหมบู า นท่ถี ูกวธิ ี
3.3 การนาํ ผลจากการวางแผนการบริหารจดั การไปใชในชีวิตประจําวันไดในดา นตาง ๆ
กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงไดแ ก
- มีการบริหารจัดการในตนเอง ชุมชน สงั คมทเี่ หมาะสม
- ลดปญหาการขดั แยง ในครอบครวั ชมุ ชน สงั คม
- สามารถตรวจสอบการทํางานของตนเอง ชุมชน สงั คมได

โดยสรุป วิธกี ารนําผลทีไ่ ดจากการวางแผนไปประยกุ ตใ ชใ นชีวิตประจาํ วัน สงผลใหเ กดิ
การเปล่ยี นแปลงตอตนเอง ชมุ ชน สงั คม ในทางท่ดี ีและเหมาะสม

29

กจิ กรรมทา ยเลม

คําช้แี จง จงตอบคําถาม ตอไปนี้
1. ใหนักศึกษายกตัวอยา งประโยชนทไี่ ดรับจากการพฒั นาตนเอง ชุมชน และสงั คม
ประโยชนจ ากการพัฒนาตนเอง
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
ประโยชนจ ากการพัฒนาชุมชน และสงั คม
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
2. ใหนักศกึ ษาอธิบายประโยชนข องขอมลู การพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคมในดานตาง ๆ
ดานภมู ศิ าสตร
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
ดา นประวัตศิ าสตร
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
ดา นศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
ดานหนา ทพี่ ลเมอื ง
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................

30

ดานทรัพยากรส่งิ แวดลอ ม
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................

3. ใหน ักศกึ ษาเลอื กวธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอมูลในการพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สังคม
( อยางนอ ย 3 วธิ ี )
1) .....................................................................................................................................
2) .....................................................................................................................................
3) .....................................................................................................................................
4) .....................................................................................................................................
5) .....................................................................................................................................

4. ใหนักศกึ ษายกตวั อยา งการมีสว นรวมในการจดั กิจกรรมของชุมชนตนเอง
(อยา งนอย 3 วิธี )

1) .....................................................................................................................................
2) .....................................................................................................................................
3) .....................................................................................................................................
4) .....................................................................................................................................
5) .....................................................................................................................................

5. ใหนกั ศึกษาอธบิ ายถึงวิธกี ารพัฒนาตนเองท่ีนํามาประยุกตใชใ นชวี ิตประจาํ วนั
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................

31

บรรณานกุ รม

การพฒั นาตนเองของครสู คู วามเปน เลศิ .
http://202.143.146.195/km/index.php?option=com_

Content & task = view & id = 983& Itemid = 57. คนเมอ่ื 2 มีนาคม 2553.
การมีสว นรว มของประชาชน.www.moph.go.th/opdc/data. คน เมื่อ 2 มนี าคม 2553.
การวางแผนพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม.
www.nonthaburi.go.th/Strategy/KPI_tem51_6M/2.1.doc. คนเมอื่ 2 มีนาคม 2553.
เทคนคิ การวิเคราะหขอ มลู .
http://xdhool.ofec.go.th/noonkuschool/multimedia/rabobsarasontes.

Php. คนเมอื่ 5 มีนาคม 2553.
ประชาชนกบั การมสี ว นรว มในการพฒั นาสงั คม.http://dnfe5.nfe.go.th/ilp/soc2/so31-2-
4.htm. คนเม่ือ5 มีนาคม 2553.
ระดบั การมสี วนรว มของประชาชน.www.portal.in.th/clinictech/news/384/. คน เม่ือ 5 มนี าคม
2553.
วิธกี ารเกบ็ ขอมูล.www.moac.go.th/bulider/gsilkkm/images/05Analysis.doc. คนเมอ่ื 12 มีนาคม
2553.
วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล.http://webwerv.kmit.. Ac.th/&7065545/unit%201%20-
%203.html. คนเม่ือ12 มีนาคม 2553.
วธิ ีการจดั เกบ็ ขอมลู .http ://202.129.1.133/createweb/00000//00000-504.html.

คน เมื่อ 12 มนี าคม 2553.
สํานักงานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั . ผงั การออกขอ สอบ สาระ

การพัฒนาสงั คม หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551. กรงุ เทพฯ : กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2554.
หลักการพฒั นาชมุ ชน. www.nesdf.go.th/Portals/0/news/plan/p4/m3_8.doc. คนเมอ่ื
12 มีนาคม 2553.
หลักเกณฑก ารเลอื กหวั ขอ ในการวเิ คราะห.www.moac.go.th/builder/qsilkkm/images/04
Collect.doc.คนเมอ่ื 12 มนี าคม 2553.

32

สาํ นักงานสง เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั . หนังสอื เรียนสาระการ
พฒั นาสงั คม รายวิชา การพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม ระดบั ประถมศึกษา (ฉบับปรบั ปรงุ
2554). กรุงเทพฯ : สาํ นกั งาน กศน. กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน, 2555. (เอกสารอัด
สําเนา)

33

คณะผูจัดทาํ

ทีป่ รกึ ษา เลขาธกิ าร กศน.
นายสรุ พงษ จาํ จด รองเลขาธกิ าร กศน.
นายประเสริฐ หอมดี ผอู ํานวยการกลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบ
นางตรีนุช สขุ สเุ ดช และการศกึ ษาตามอัธยาศยั
ผูอํานวยการ สถาบนั กศน.ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ
นายวเิ ชียรโชติ โสอบุ ล

ผูสรปุ เนอ้ื หา ขาราชการบํานาญ สถาบัน กศน.
นางคมขํา แกวนวม ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื
ศกึ ษานเิ ทศกเชย่ี วชาญ สาํ นกั งาน กศน.จงั หวดั สรุ ินทร
นางสาวสุภาพร ลาภจติ ร ครู กศน.ตาํ บล อําเภอกแู กว จงั หวัดอุดรธานี
นางจารุวรรณ โยธะบุรี

ผตู รวจและบรรณาธกิ าร ครชู าํ นาญการพเิ ศษ สถาบัน กศน.
นางลัดดา คัมภีระ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
ครชู าํ นาญการพเิ ศษ สถาบัน กศน.
นางสาวฉนั ทลักษณ ศรผี า ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื

ผอู อกแบบปก กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบ
นายศภุ โชค ศรีรัตนศิลป และการศกึ ษาตามอัธยาศยั

34


Click to View FlipBook Version