The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สค11001 สังคมศึกษา

ระดับประถมศึกษษ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookrayong, 2020-06-15 23:25:00

สค11001 สังคมศึกษา

สค11001 สังคมศึกษา

ระดับประถมศึกษษ

Keywords: ประถม

เอกสารสรุปเนอื้ หาทตี่ องรู

รายวิชาสังคมศึกษา
ระดับประถมศึกษา
รหัส สค11001

หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551

สาํ นกั งานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
สาํ นกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
กระทรวงศึกษาธิการ

หา มจาํ หนา ย

หนงั สือเรียนนจี้ ดั พมิ พด ว ยเงินงบประมาณแผน ดนิ เพอื่ การศกึ ษาตลอดชีวิตสาํ หรับประชาชน
ลิขสิทธิเ์ ปนของสํานักงาน กศน.สาํ นกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร



สารบัญ ข

คาํ นาํ หนา
สารบัญ
บทที่ 1 ภูมศิ าสตรท างกายภาพประเทศไทย 1
กจิ กรรมทายบทที่ 1 9
บทท่ี 2 ประวัติศาสตรชาติไทย 10
กจิ กรรมทา ยบทท่ี 2 17
บทที่ 3 เศรษฐศาสตร 19
กิจกรรมทายบทท่ี 3 26
บทที่ 4 การเมอื งการปกครอง 28
กจิ กรรมทา ยบทท่ี 4 32
แบบทดสอบ 34
คณะทาํ งาน 36

1

บทที่ 1
ภูมศิ าสตรทางกายภาพประเทศไทย

ลักษณะภมู ิประเทศประเทศไทย

ประเทศไทยมีพื้นที่ประมาณ 513,115 ตารางกิโลเมตร มีพื้นท่ีใหญเปนอันดับที่ 3
ของเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต

ทศิ เหนือ จรดประเทศสหภาพเมียนมาร(พมา )และสาธารณรัฐประชาธปิ ไตย
ประชาชนลาว
ทศิ ตะวนั ออก จรดประเทศสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว กมั พชู า
ทิศตะวันตก จรดประเทศสหภาพเมยี นมาร( พมา )
ทิศใต จรดประเทศมาเลเซยี
การแบงภาคภูมศิ าสตรข องประเทศไทยแบงตามลกั ษณะภมู ศิ าสตรได 5 ภาค ไดแก
ภาคเหนือประกอบดวยจังหวัดตาง ๆ 9 จังหวัด ไดแก จังหวัดเชียงใหม เชียงราย
แมฮองสอน ลาํ พนู ลําปาง แพร นาน อุตรดิตถ และพะเยา มีพื้นท่ี 93,690 ตารางกิโลเมตร
ลักษณะภูมิประเทศเปนเทอื กเขาสูงและทีร่ าบหบุ เขา ยอดเขาท่สี งู ที่สุดในประเทศไทย คือ
ดอยอนิ ทนนท
ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื มพี ื้นที่ 170,000 ตารางกิโลเมตร ประกอบดว ยจงั หวดั
ตา ง ๆ 19 จังหวดั ไดแก จงั หวัดหนองคาย เลย อดุ รธานี นครพนม สกลนคร กาฬสินธุ
ขอนแกน มหาสารคาม รอยเอ็ด ชัยภูมิ ยโสธร อุบลราชธานี ศรีสะเกษ บุรีรัมย นครราชสีมา
สรุ ินทร มกุ ดาหาร อาํ นาจเจริญ และหนองบัวลําภู ภมู ิประเทศทั่วไปเปน แองคลา ยจาน
ลาดเอยี งไปทางตะวันออกเฉียงใต มีขอบเปนภูเขาสูงทางตะวันตกและทางใต แหลงทองเท่ียว
คือ ภูกระดึง ภหู ลวง ในจังหวัดเลย แมน ้าํ ท่สี ําคัญของภาคน้ีไดแก แมน า้ํ ชี และแมน้าํ มลู
ภาคกลาง มีพ้ืนที่ 91,795 ตารางกิโลเมตร ประกอบดวยจังหวัดตาง ๆ 22 จังหวัด
ไดแ ก จังหวัดสุโขทัย พิจิตร พิษณุโลก กําแพงเพชร เพชรบูรณ นครสวรรค อุทัยธานี ชัยนาท
สิงหบุรี ลพบุรี อางทอง สระบุรี สุพรรณบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี นครปฐม
กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม และนครนายก ลักษณะภูมิ
ประเทศเปนท่ีราบลุมแมน้ํากวางใหญ ไดแก ท่ีราบลุมแมน้ําเจาพระยาและทาจีน มีเทือกเขา
เปน ขอบเขตของภาคทัง้ ดา นตะวันตกและตะวนั ออก
ภาคตะวันออก มีพื้นที่ 34,380 ตารางกิโลเมตร เปนภาคท่ีมีพื้นท่ีเล็กท่ีสุดในบรรดา
ภาคท้งั 5 ของไทย ประกอบดวย 7 จงั หวัด ไดแ ก จังหวัดปราจนี บุรี ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ระยอง
จันทบุรี ตราด และสระแกว ลักษณะภูมิประเทศของภาคตะวันออก มีลักษณะ เขตเทือกเขา
เขตที่ราบลมุ แมน ้าํ เขตท่รี าบชายฝง ทะเล

2

ภาคตะวันตก มีพ้ืนท่ีประมาณ 53,679 ตารางกิโลเมตร ประกอบดวย 5 จังหวัด
ไดแ ก จังหวัดตาก กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ ลักษณะภูมิประเทศสวน
ใหญเปน ภเู ขา สลับกบั หุบเขาที่คอนขางช้นื

ภาคใตมพี น้ื ที่ 70,715 ตารางกิโลเมตร ประกอบดวยจังหวดั ตาง ๆ 14 จังหวัด ไดแก
จังหวัดชุมพร พัทลุง สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช สงขลา ปตตานี ยะลา นราธิวาส ระนอง
พังงา กระบ่ี ภูเก็ต ตรัง และสตูล เปนดินแดนสว นหนึ่งของคาบสมุทรมลายู จึงขนาบดวยทะเล
ทัง้ สองดา น ไดแ ก อาวไทย มหาสมุทรแปซิฟก ทะเลอันดามัน และมหาสมุทรอินเดีย ลักษณะ
ภูมิประเทศเปนเขตเทือกเขา ประกอบดวย แนวเทือกเขา 3 แนว ไดแก เทือกเขาภูเก็ต
เทอื กเขานครศรธี รรมราช และเทือกเขาสันกาลาคีรีสวนใหญจะวางตัวในแนวเหนือ-ใต มีความ
อดุ มสมบูรณของปา ไมแ ละแรธาตุ

ลักษณะทางภูมศิ าสตรของประเทศไทย

ลักษณะ ทาํ เล ที่ตั้งของประเทศไทย
ประเทศไทยตง้ั อยูในคาบสมทุ รอินโดจีน ทางทิศตะวันออกเฉียงใตของทวีปเอเชีย ที่ต้ัง

ของประเทศไทยอยูแถบศูนยสตู ร จึงเปนบริเวณที่ไดรับพลังงานความรอนจากดวงอาทิตยมาก
เปน ประเทศที่อยูในเขตรอน และมอี ณุ หภูมิของอากาศเฉลีย่ สูงตลอดทงั้ ป

ลกั ษณะภมู ิอากาศ ประเทศไทย
ประเทศไทยตงั้ อยูใกลเสนศูนยสูตรในซีกโลกตอนเหนือ ทําใหภูมิอากาศมีลักษณะเปน

แบบรอ นชืน้ หรือภูมิอากาศแบบทุงหญาสะวันนาโดยไดรบั อทิ ธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต
และตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

มรสุมตะวนั ตกเฉียงใต พดั ปกคลุมประเทศไทย ระหวา งกลางเดอื นพฤษภาคม
ถึงกลางเดือนตลุ าคม มีเมฆมากและฝนตกชกุ ทัว่ ไป โดยเฉพาะอยางยิ่งตามบริเวณชายฝงทะเล
และเทอื กเขาดานรบั ลมจะมีฝนมากกวาบรเิ วณอนื่

มรสมุ ตะวันออกเฉยี งเหนอื ประมาณกลางเดือนตลุ าคมจะมีมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
พัดปกคลุมประเทศไทยจนถึง กลางเดือนกุมภาพันธ จึงพัดพาเอามวลอากาศเย็นและแหง
เขามาปกคลมุ ประเทศไทย ทําใหทองฟาโปรง อากาศหนาวเย็นและแหงแลงทั่วไป โดยเฉพาะ
ภาคเหนอื และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สวนภาคใตจะมีฝนชุกโดยเฉพาะภาคใตฝงตะวันออก
เนอ่ื งจากมรสมุ น้ีนําความชมุ ชน้ื จากอาวไทยเขามาปกคลมุ

3

ส่ิงแวดลอมทางธรรมชาติมอี ิทธพิ ลตอ การดาํ เนินชีวิตของทอ งถิน่
เนอื่ งจากลกั ษณะภมู ิประเทศและลักษณะภูมิอากาศของแตละภาคมีความแตกตางกัน

ดังน้นั จึงทาํ ใหก ารดาํ เนินชวี ติ ของประชากรในทองถน่ิ แตกตางกัน สรุปไดด ังนี้

ภาค ลักษณะภูมปิ ระเทศ การประกอบอาชพี ประเพณีและการ
เหนอื
และภูมอิ ากาศ และความเปน อยู นับถอื ศาสนา
ภาค
กลาง เปนท่ีราบหบุ เขา ภเู ขาและ เพาะปลกู ผกั พน้ื เมอื ง สงกรานต การแห

เทือกเขาสงู เสี่ยงตอการเกิด หนาวและอาชพี การ ครวั ทาน ปอยสาง

แผน ดินไหว ดินถลม นํา้ ทว ม ภยั ทอ งเทยี่ ว ลอง นบั ถอื ศาสนา

แลง ไฟปา ดินมีความอุดม พุทธ

สมบูรณ อากาศหนาวเย็นเปน

เวลานาน

ลกั ษณะภูมิประเทศ การประกอบอาชีพ ประเพณีและการ

และภูมอิ ากาศ และความเปนอยู นับถือศาสนา

เปน ทีร่ าบลุมและมีความอุดม ทาํ นาทําสวนผลไม แขงเรอื พชื มงคล

สมบูรณ ตอนบนของภาคมี เลีย้ งสัตว ทําประมง ว่ิงควาย การลงแขก

อากาศหนาวในฤดหู นาวและรอน นํา้ เค็มและนาํ้ จืด เก่ียวขา ว นับถือ

ในฤดูรอน ตอนลา งของภาคฤดู รับจา งในโรงงาน มี ศาสนาพทุ ธ

รอ นและหนาวไมแ ตกตางกนั มี ประชากรหนาแนน

ฝนตกชกุ มากกวา ตอนบน กวาภาคอ่นื

ตะวนั ออก เปนทร่ี าบสงู พื้นท่ีเปนดินปน ทําไร เลีย้ งสัตว แหเทียนพรรษา บญุ
เฉยี งเหนอื
ทราย อากาศแหงแลง ประชากรคอ นขา ง บัง้ ไฟ คลอ งชา ง นบั
ตะวนั ออก
ตะวันตก ยากจนและโยกยา ย ถือศาสนาพุทธ
ใต
ไปอยทู อี่ ่ืนมาก

คลายภาคกลาง

คลา ยภาคกลาง

เปนที่ราบชายฝงทะเล อากาศ ทําสวนยางพารา บญุ เดือนสบิ ชิงเปรต

รอ นช้ืน ฝนตกตลอดท้ังป ปาลม นาํ้ มนั วงิ่ ควาย นบั ถือศาสนา

เหมอื งแร ประมง พุทธและอสิ ลาม

นํ้าเค็มและอาชพี

การทอ งเท่ียว

4

ทรพั ยากรธรรมชาติ และวธิ กี ารอนรุ กั ษทรพั ยากรธรรมชาติ

ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งตาง ๆ ท่เี กิดขึน้ เองตามธรรมชาติ และมนุษยสามารถ

นํามาใชใหเ กิดประโยชนต อ การดาํ รงชวี ติ เราสามารถแบง ทรัพยากรออกเปน 3 ประเภท คอื
1. ประเภททีใ่ ชแลวหมดไป ไดแ ก แรธาตุ นา้ํ มนั กา ซ ธาตุอาหารพืชในดิน
2. ประเภททใี่ ชไ มหมดแตเ สื่อมคณุ ภาพ ไดแ ก ดิน น้าํ อากาศ
3.ประเภทท่ีใชแลวหมดไปแตสามารถหาทดแทนข้ึนมาได ไดแก ปาไม สัตวปา

ทรพั ยากรธรรมชาตใิ นชมุ ชน
1. ทรัพยากรดิน ประเทศไทยไดช่ือวาเปนเมืองเกษตรกรรม เปนแหลงอูขาว อูน้ํา

ท่ีสําคัญของโลก ทรัพยากรดิน จึงมีความสําคัญตอประเทศเปนอยางย่ิง ลักษณะของดินใน
ประเทศไทยสรปุ ไดด ังนี้

1.1 ดินเหนียว พบในบริเวณราบลุมแมน้ําสายตาง ๆ ซึ่งมีนํ้าทวมถึง เนื้อดิน
ละเอยี ด เหมาะจะทํานาขาวและทําไรป อกระเจา

1.2 ดนิ รวน พบในพืน้ ที่ลานตะพักลําน้ําของแมนาํ้ สายตาง ๆ ซึ่งเปนพ้ืนที่ท่ีอยูหาง
จากสองฝงแมนํ้าออกไป เปนลักษณะที่ราบขั้นบันได และนํ้าทวมไมถึง เน้ือดินเปน
สวนประกอบของดินเหนยี วและดินทราย ใชปลูกพชื ไร ออย ขา วโพด มนั สาํ ปะหลัง ฯลฯ

1.3 ดนิ อนิ ทรียวตั ถุ เปน ดนิ ท่ีเกดิ จากการยอยสลายของพชื และซากสัตวท่ีเนาเปอย
ทับถมเปนช้ัน ๆ พบท่ีท่ีเคยเปนปาชายเลนมากอน (ในปจจุบัน คือปาพรุ) แตมักจะมีธาตุ
กาํ มะถนั ปนอยมู าก

1.4 ดินทราย เปน ดนิ ทมี่ อี งคป ระกอบของเน้ือทรายมากท่ีสุด มีความอุดมสมบูรณ
คอนขา งต่ํา พบมากในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ในบริเวณชายฝงแมน้ําและเชิงเขา ในภาคอื่น
ๆ จะพบในพ้นื ท่ชี ายฝงทะเล ใชทาํ สวนมะพรา ว และปลกู ปา เพ่ือพัฒนาคณุ ภาพของดิน

2. ทรัพยากรนํ้าประเทศไทยมีปริมาณฝนอยูในเกณฑปานกลาง เฉล่ียประมาณปละ
1,675 มลิ ลิเมตร จดั ไดว า เปนประเทศท่ีมีความอุดมสมบูรณของทรัพยากรน้ํามากพอสมควร
ภาคกลาง มีความอุดมสมบูรณของทรัพยากรนํ้ามากท่ีสุด เพราะมีแมน้ําสายใหญ มีความยาว
และใหน ํ้าตลอดปห ลายสาย ไดแก แมน้ําเจาพระยา ทาจีน และแมกลอง ตลอดจนแหลงนํ้าใต
ดินก็นับวามีความอุดมสมบูรณมากกวาภาคอื่น ๆ ในปจจุบัน มีการนํานํ้ามาใชกันมาก
โดยเฉพาะภาคกลาง กรุงเทพฯ และปริมณฑล เพราะมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจอยาง
กวางขวาง เชน โรงงานอุตสาหกรรม ในขณะท่ีการผลิตนํ้าประปาของรัฐยังกระจายไมทั่วถึงดี
พอดังนั้น เมื่อมีการขุดเจาะนํานํ้าบาดาลมาใชกันเพ่ิมมากขึ้นทําใหเกิดปญหาแผนดินทรุด

5

เน่อื งจากแหลงนํา้ ใตด ินมักอยูใ นชองวา งหรือรอยแตกของช้ันหินใตดินทั้งส้ิน เมื่อนําน้ํามาใชกัน
มาก ๆ จงึ เกิดเปน โพรงใตด ินและเกดิ การทรดุ ตวั ลงในทส่ี ดุ

3. ทรัพยากรปาไมในปจจุบัน ประเทศไทยมีพื้นที่ปาไมเหลืออยูเพียงรอยละ 25
ของพืน้ ทีป่ ระเทศ หรอื ประมาณ 131,485 ตารางกโิ ลเมตร (พ.ศ. 2547)

ลักษณะของปาไมในประเทศไทย แบงเปน 2 ประเภทใหญ ๆ ตามสภาพภูมิประเทศ
ดงั น้ี

3.1ปาไมไมผลัดใบเปนปาไมที่ขึ้นในเขตอากาศรอนชื้น แบบมรสุมเขตรอน มีฝน
ตกชุกเกือบตลอดป มคี วามช้ืนสูง ทาํ ใหม ีใบเขยี วชอุมตลอดปเหมือนไมผลัดเปล่ียนใบ โดยมาก
จะพบในพนื้ ทีภ่ าคใตและภาคตะวันออกปา ไมผลดั ใบ แบงออกเปน 5 ชนิดยอย ๆ ไดแก ปาดง
ดบิ ปา ดิบเขา และปาชายเลน

3.1.1 ปา ดงดิบ มตี น ไมข้ึนหนาทบึ ทัง้ ไมย ืนตน ใหญแ ละไมยืนตนเลก็
3.1.2 ปา ดบิ เขา พบในพ้นื ท่สี งู ตั้งแต 1,000 เมตรข้ึนไปเกือบทุกภาค เปนปา
ท่ใี หกําเนิดตน นํา้ ลาํ ธาร
3.1.3 ปา สนเขา พบในพืน้ ทีส่ ูงตั้งแต 700 เมตรขึ้นไปเกือบทุกภาคเชนกัน
มไี มสนนานาชนดิ
3.1.4 ปาพรุ เปนปา ท่พี บบรเิ วณชายฝงทะเลของภาคใต มีทั้ง ไมยืนตน ไมพุม
ไมเล้อื ย และพชื ลม ลุก
3.1.5 ปาชายเลน เปนปาที่ขึ้นบริเวณชายทะเลท่ีเปนโคลนเลนโดยเฉพาะ
บรเิ วณปากแมน ้ํามีความสําคัญตอระบบนิเวศวิทยา หรือแหลงที่อยูอาศัยและแหลงเพาะพันธุ
ของสัตวน ้ํา ไมทีส่ าํ คญั คือ ไมโกงกาง ลาํ พู จาก เปนตน
3.2 ปาไมผลัดใบ พบในเขตภูมิอากาศแบบทุงหญาเมืองรอนที่มีฝนตกปละ 4
เดอื นในฤดแู ลง ไมประเภทนี้จะผลดั ใบพรอ มกนั เกอื บหมดท้ังตน พบในพ้ืนที่ราบและพื้นท่ีสูงไม
เกนิ 1,000 เมตร แบง ออกเปน 2 ชนดิ ไดแก
3.2.1 ปาเบญจพรรณพบในเกือบทุกภาคของประเทศ ไมสําคัญที่มีคาทาง
เศรษฐกจิ ไดแก ไมส กั ไมประดู ไมแดง ไมย าง ฯลฯ
3.2.2 ปาแดง ปาโคก หรือ ปาแพะ เปนปาโปรงพบมากในบริเวณท่ีราบหรือ
เนนิ เขาเต้ีย ๆ ซ่ึงเปนพน้ื ทส่ี แี ดง โดยเฉพาะในพื้นท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไมที่มีคุณคาทาง
เศรษฐกจิ คือ ไมเ ตง็ รงั ไมพ ะยอม ฯลฯ
4. ทรัพยากรแรธาตุประเทศไทยมีแหลงแรธาตุอุดมสมบูรณกระจายอยูท่ัวไป
โดยเฉพาะบรเิ วณเขตเทือกเขาสงู ในภาคเหนอื ภาคตะวันตก และภาคใต ในท่ีน้ี จําแนกแรธาตุ
ไดเปน 3 ชนิด ดังนี้
4.1 แรโลหะ ไดแก ดีบุก ทังสเตน ตะก่ัว สังกะสี ทองแดง เหล็ก พลวง และ
แมงกานสี

6

4.2 แรอ โลหะ ไดแก ยปิ ซัม หนิ ปนู ดินมารล (ดินสอพอง) และรัตนชาติ
4.3 แรเ ชอื้ เพลิง ไดแ ก นาํ้ มันดบิ กาซธรรมชาติ และถานหิน (ลกิ ไนต)
5. ทรัพยากรสัตวปาสัตวปาอาศัยอยูในปา ตามโพรงไม ซอกหิน ถํ้า สัตวเหลานี้ตอง
พ่งึ พาหากินดวยตนเอง ปรับตวั ใหเขากับสงิ่ แวดลอ ม เชน เสอื ชาง กวาง หมี แรด ลิง คาง เปน
ตน ปจจุบันสัตวปาถูกคุกคามมากขึ้นทําใหสัตวปาบางชนิดสูญพันธไป ประเทศไทยไดมี
พระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปาข้ึนเมื่อวันท่ี 26 ธันวาคม 2530 ดังน้ันรัฐบาล
จึงกาํ หนดใหวนั ท่ี 26 ธนั วาคม ของทกุ ปเ ปน “วนั คุมครองสตั วป า แหง ชาติ”

ทรพั ยากรธรรมชาติของประเทศไทย
ภาคเหนือ เปนตน กําเนิดของแมน า้ํ สายหลักของประเทศ ประกอบดวยลุมแมนํ้าสําคัญ

9 ลุมนาํ้ คือ ลมุ นาํ้ สาละวัน โขงตอนบน กก ปง วัง ยม นา น สะแกกรงั และปาสัก และเปนตน
กาํ เนิดของแมนาํ้ เจา พระยา มีเข่ือน อางเก็บนาํ้ พรนุ ํ้าจดื จาํ นวนมาก ทรัพยากรปาไมสวนใหญ
เปนปาไมเบญจพรรณ เชน สัก ตะแบก แดง และประดู แรธาตุที่พบ ไดแก ดีบุก แรซีไรท
แมงกานีส ฟลอู อไรด

ภาคกลาง ที่ราบขนาดใหญข องภาคกลางจะมีดนิ ท่ีเกิดจากการทับถมของตะกอนที่นํ้า
พัดมารวมกัน มีแมน้ําลําคลองมาก จึงเปนภาคที่อุดมสมบูรณที่สุดของประเทศ เชน แมนํ้า
เจาพระยา แมน ํ้าทาจนี มเี ข่ือนตาง ๆ ปาไมจะมีเหลือนอยมาก ท่ีพบเปนปาเบญจพรรณและ
ปา ดงดิบ มแี รธ าตไุ มมากนัก แรท ี่พบ ไดแ ก ดีบุก เหลก็ แมงกานสี ยปิ ซัม หินออน เปน ตน

ภาคตะวันออก ดินสว นใหญเ ปนดินปนทราย ระบายนา้ํ ไดดี มีฝนตกชุกยาวนานแตยังมี
การขาดแคลนนาํ้ จืดในเมืองอุตสาหกรรม ปาไมเปนปาดงดิบ ปาดิบเขา ปาสนเขา ปาชายเลน
และปา เบญจพรรณ แรท่พี บ ไดแ ก แรเ หล็ก พลวง รัตนชาติ และเชือ้ เพลิง

ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื บรเิ วณฝง แมน ้ํา ลักษณะของดินเกิดจากการทับถมของดิน
ตะกอน เพาะปลกู ขา วและพืชไรได แตสวนใหญมักเปนดินปนทราย คุณภาพต่ํา ขาดแคลนน้ํา
มากกวาภาค อื่น ๆ แหลงนํ้าสําคัญ ไดแก แมน้ํามูล-ชี และน้ําบาดาล แรที่มีมากท่ีสุด ไดแก
แรเกลือหิน มีปา ไมน อ ยท่ีสดุ เม่อื เทยี บกับภาคอ่ืน ลกั ษณะปาเปนปา แดงซึ่งเปน ไมผลดั ใบ

ภาคใต ดนิ สว นใหญเปน ดินปนทราย ไมเ หมาะกับการเพาะปลูก บางท่ีเปนท่ีราบลุมตํ่า
(พรุ) มนี ํา้ ทว ม สว นที่ราบลุมแมน ํ้าใชปลกู ขาว สวนผลไม สว นดินทเ่ี ปนดนิ เหนียวปลูกยางพารา
และปาลมนํ้ามัน มีฝนตกชุกทั้งป ใชน้ําจากบอบาดาลและเขื่อนตาง ๆ ปาไมเปนปาดิบช้ืน
ตามเทือกเขาและปา ชายเลน ไมสําคัญคือ ไมเบญจพรรณ และไมจากปาชายเลน แรธาตุที่พบ
มาก ไดแก แรดีบุก (ทํารายไดมากท่ีสุด) แรพลวง ทังสเตน ทองคํา ฟลูออไรด ยิปซัม ดินขาว
ถานหิน นาํ้ มันปโตรเลียมและกา ซธรรมชาติ

7

การอนรุ กั ษทรพั ยากรธรรมชาติ
เนื่องจากมีการทําลายทรพั ยากรธรรมชาตจิ าการกระทําของมนุษยและการกระทํานั้นมี
ความรวดเร็วและรุนแรงเกินกวาระบบธรรมชาติจะฟนฟูดวยตัวเอง ดังน้ันจึงควรคํานึงถึงสิ่ง
ตอไปนี้
1. ตอ งมคี วามรใู นการท่จี ะรกั ษาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละคาํ นึงถึงเร่ืองความสูญเปลาใน
การนําทรัพยากรธรรมชาตไิ ปใช
2. รักษาทรัพยากรธรรมชาติทีจ่ าํ เปนและหายากดวยความระมัดระวงั ตระหนักเสมอวา
การใชทรัพยากรมากเกนิ ไปจะเปนการไมปลอดภัยตอ สภาพแวดลอ ม
3. รักษาทรัพยากรท่ีทดแทนไดใหมีสภาพเพิ่มพูนเทากับอัตราที่ตองการใชเปนอยาง
นอย
4. ปรับปรุงวิธีการใหม ๆในการผลิตและใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ คนควาสิ่ง
ใหม ๆทดแทนการใชท รพั ยากรจากแหลงธรรมชาตใิ หเ พยี งพอตอความตองการใชของประชากร
5. ใหการศกึ ษาแกประชาชนเพื่อเขา ใจถึงความสําคัญในการรักษาสมดุลธรรมชาติซ่ึงมี
ผลตอ การทําใหสิ่งแวดลอมอยูในสภาพทดี่ ี
การอนุรกั ษทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ มสามารถกระทําไดหลายวธิ ี
ทัง้ ทางตรงและทางออ ม ดังน้ี
1. การใชอยางประหยัด
2. การนํากลับมาใชซ ํา้ อีก
3. การบรู ณะซอ มแซม
4. การบาํ บัดและการฟน ฟู
5. การใชส ง่ิ อ่ืนทดแทน
6. การเฝา ระวงั ดูแลและปองกนั

ศักยภาพของประเทศไทย

ศกั ยภาพของประเทศไทย
ศักยภาพ หมายถึง อํานาจหรือคุณสมบัติท่ีมีแฝงอยูในส่ิงตาง ๆ อาจทําใหการพัฒนา

หรือใหปรากฏเห็นเปนสิ่งที่ประจักษได กระทรวงศึกษาธิการไดมีนโยบายในการจัดการศึกษา
เพื่อความเปน อยูท่ีดี สรางความมงั่ คง่ั ทางเศรษฐกจิ และความมัน่ คงทางสังคมใหก ับประเทศ
โดยการนาํ ศกั ยภาพของประเทศไทยใน 5 ดา นมาใชประโยชน ไดแก

1. ดานทรัพยากรธรรมชาติ ประเทศไทยเปนประเทศท่ีมีทรัพยากรธรรมชาติอยูอยาง
มากมาย ซ่ึงเปนส่ิงท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติและมนุษยสามารถนําไปใชประโยชนเพ่ือการ
ดาํ รงชีวติ

8

2. ดานภูมิอากาศ ประเทศไทยต้ังอยูในเขตรอน อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 27 องศา
เซลเซยี ส ลกั ษณะภมู อิ ากาศแบงได 3 ฤดู คอื

2.1 ฤดูฝนเรม่ิ ต้งั แตปลายเดือนพฤษภาคมถึงปลายเดอื นตลุ าคม
2.2 ฤดูหนาวเรม่ิ ต้งั แตเดอื นตุลาคมถงึ เดอื นกุมภาพันธ
2.3 ฤดูรอนเรม่ิ ตั้งแตกลางเดอื นกมุ ภาพนั ธถ ึงกลางเดอื นพฤษภาคม
3. ดานภูมิประเทศและทําเลท่ีต้ัง ประเทศไทย มีพื้นที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร
(ประมาณ 321 ลานไร) มีลักษณะคลายขวาน โดยภาคใตเปนดามขวาน ความยาวจากเหนือ
สุด อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย ถึงใตสุด อําเภอเบตง จังหวัดยะลา มีความยาว 1,650
กโิ ลเมตร บรเิ วณแผน ดนิ สว นท่ีแคบที่สุดของประเทศไทยต้ังอยูระหวางแนวชายแดนกัมพูชากับ
พื้นที่บา นโขดทราย อําเภอคลองใหญ จังหวัดตราด มีระยะทางเพียง 450 เมตร
4.ดา นศิลปวัฒนธรรมและประเพณปี ระเทศไทยเปน ประเทศท่ปี ระชากรมีความเอื้อเฟอ
เผื่อแผ มีจิตใจโอบออม อารี มีความสามัคคีทุกเชื้อชาติมีศิลปวัฒนธรรมและประเพณีเปน
เอกลักษณของชาตทิ ่ีสืบทอดมายาวนาน
ศลิ ปะ เชน ภาพฝาผนังตามวัดวาอาราม พระราชวงั ลเิ ก โขน ดนตรไี ทย ฯลฯ
วัฒนธรรม เชน การแตง กาย ภาษาไทย สมุนไพรไทย อาหารไทย การไหว
การเคารพผอู าวุโส ฯลฯ
ประเพณี เชน ประเพณีสงกรานต ลอยกระทง แหเ ทียนเขา พรรษา ฯลฯ
5. ดานทรพั ยากรมนษุ ย คนไทยนับเปน ทรพั ยากรทีม่ คี าที่สุดของประเทศ มศี กั ยภาพ
ที่แตกตาง มีความเช่ียวชาญในทุกสาขาอาชีพ มีความคิดสรางสรรค ตลอดจนภูมิปญญาตาง
ประกอบกบั บุคลกิ ลกั ษณะนิสัย สุภาพ ออนนอม ถอ มตน ยิม้ แยมแจม ใส ปรบั ตวั เขา กับผูอืน่
ไดดี

กระบวนการวเิ คราะหศกั ยภาพชมุ ชน ทองถน่ิ
การวิเคราะหศักยภาพชุมชน ทองถิ่น สามารถทาํ ได ดงั นี้
1. สํารวจ รวบรวมขอมลู ชุมชนโดยขอ มูลที่สาํ รวจ ไดแก ดานประชากร(จํานวน ระดับ

การศึกษา) ดานเศรษฐกิจ (อาชีพ รายรับ รายจาย) ดานประเพณีและวัฒนธรรม (ความเชื่อ
ศาสนา ประเพณี) ดานการเมืองการปกครอง (โครงสรางการปกครอง) ดานสังคม (โรงเรียน
สถานอี นามยั ) ดานระบบนิเวศและสง่ิ แวดลอม (ทรัพยากรธรรมชาติในทองถนิ่ ) เปน ตน
ใชวิธีการสํารวจขอมูล โดย การสังเกต การสัมภาษณการใชแบบสอบถามการสนทนากลุม
การศึกษาจากเอกสารเปนตน

2. วเิ คราะหศกั ยภาพชมุ ชน ทอ งถน่ิ เมอ่ื ดาํ เนินการสํารวจขอมูลแลว นําขอมูลท่ีไดจาก
การสํารวจมาชวยกันวิเคราะหโดยนําขอมูลท่ีไดมาจัดหมวดหมู เรียงลําดับ(เชิงคุณภาพ)
คํานวณคาตัวเลข (เชิงปริมาณ) ตีความ สรุปและนําเสนอในรูปแบบตาง ๆ ที่สามารถสื่อ

9

ความหมายไดแ ละท่ีสําคัญในการวิเคราะหข อมูลชุมชนคือ ประชาชนในชุมชนตองมีสวนรวมใน
การวเิ คราะห ใหข อคิดเหน็ แลกเปลี่ยนเรยี นรรู ว มกัน

***************************

กจิ กรรมทายบทที่ 1

1. ภาคใดมีอาณาเขตตดิ ตอกบั ประเทศมาเลเซยี

ก. ภาคใต ข. ภาคกลาง

ค. ภาคเหนือ ง. ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื

2. ลกั ษณะภมู ิประเทศเปน ทร่ี าบลมุ แมน้ํา เปนลักษณะภมู ปิ ระเทศของภาคใด

ก. ภาคเหนอื ข. ภาคกลาง

ค. ภาคตะวันตก ง. ภาคตะวนั ออก

3. ขอใดไมใ ชฤดูกาลของประเทศไทย

ก. ฤดฝู น ข. ฤดูรอน

ค. ฤดหู นาว ง. ฤดใู บไมรว ง

4. ปาไมชนิดใดชอบขึ้นอยูตามชายขอบของแมน้ํา หรอื ทะเล

ก. ปาดงดบิ ข. ปา สนเขา

ค. ปาชายเลน ง. ปาเบญจพรรณ

5. ขอ ใดตอ ไปนีไ้ มใชว ธิ ีการอนรุ กั ษดิน

ก. การใชปยุ อนิ ทรยี  ข. การปลกู พืชคลุมดิน

ค. การทาํ ไรเล่อื นลอย ง. การปลกู พชื ตระกลู ถ่ัว

6. หากในทองถ่ินของนกั ศกึ ษามีอากาศหนาว นักศึกษาคิดวาควรจะปลกู พชื ชนิดใดมากท่ีสดุ

ก. มะมว ง ข. ทุเรยี น

ค. มะพราว ง. สตรอวเ บอรรี

เฉลยกิจกรรมทายบท

1. ก 2. ข 3. ง
4. ค 5. ค 6. ง

10

บทท่ี 2
ประวัติศาสตรชาตไิ ทย

ความหมายและความสาํ คญั ของประวตั ศิ าสตร

ประวัตศิ าสตร หมายถึง เร่ืองราวหรือประสบการณในอดีตท่ีเกิดขึ้นจากการกระทํา
ของมนุษย ท้ังเร่ืองราวท่ีเกี่ยวกับแนวคิด พฤติกรรม สิ่งประดิษฐ มีวิวัฒนาการท่ีมา ซึ่งมีนัก
ประวตั ิศาสตร ไดศกึ ษาคน ควาใหรูเ ร่อื งราวทเี่ กดิ ข้นึ ตามวิธีการของประวตั ิศาสตร

ประวัติศาสตรมีความสําคัญ ดงั น้ี
1. ชว ยใหม นุษยรจู กั ตัวเอง
2. ชวยใหเกดิ ความเขา ใจในมรดก วัฒนธรรมของมนษุ ยชาติ
3. ชวยเสรมิ สรา งใหเ กดิ ความระมดั ระวงั ความคิดรเิ ริม่
4. สรา งสรรค ฝก ฝนความอดทน ความสุขุมรอบคอบ
5. เปนเหตกุ ารณในอดีตท่มี นษุ ยสามารถนาํ มาเปน บทเรยี นใหแ กป จจุบนั
6. สอนใหคนรูจักคิดเปน ไมหลงเชื่อส่ิงใดงาย ๆ โดยมิไดไตรตรองพิจารณาใหถ่ีถวน
เสยี กอน
ประวัติศาสตรของชาติยอมทําใหเกิดความภาคภูมิใจในบรรพบุรุษในตระกูล และใน
ความเปน ชาติประเทศซง่ึ กอ ใหเกดิ ความรกั ชาติและชวยกันรักษาชาติบานเมืองใหคงอยูทั้งกาว
ไปสูค วามเจริญ

ขอ มูลหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร

หลักฐานทางประวัตศิ าสตรม ีการจัดแบงเปน หลายลักษณะดังนี้
1. หลกั ฐานตามแหลงขอมลู เชน เอกสาร เทปบันทึกการสมั ภาษณ วรรณกรรม
2. หลักฐานตามลักษณะการบันทึกขอมูล เชน การจารึก พงศาวดาร บันทึกสวนตัว
จดหมายเหตุ สารานุกรม เงินตรา โบราณสถาน โบราณวัตถุ และอื่น ๆ
3. หลักฐานตามยุคสมัย เชน โครงกระดกู เปน ตน
4. หลักฐานตามเจตนารมณของผูเกีย่ วของในเหตุการณ ทั้งที่เจตนาและไมเจตนาท่ีจะ
บนั ทึกเร่อื งราว

11

วธิ ีการทางประวัตศิ าสตร

การศึกษาประวัติศาสตรมีความเกี่ยวของสัมพันธกับหลักฐานทางประวัติศาสตร
กาลเวลาและนักประวัติศาสตร ดังน้ันจําเปนตองมีวิธีการในการรวบรวมคนควาหาขอมูลเพ่ือ
นาํ มาวเิ คราะหหาเหตุผลและขอ สรปุ ซงึ่ จะเปนขอ เท็จจรงิ ทางประวตั ศิ าสตรท ่ีใกลเคียงกับความ
เปน จริงมากทส่ี ุดโดยวิธีการทางประวัติศาสตรประกอบดวยขน้ั ตอน ดังนี้

ข้ันตอนที่ 1 การตั้งประเด็นท่ีจะศึกษา โดยตั้งประเด็นคําถามวา ศึกษาเร่ืองอะไรใน
ชวงเวลาใดทาํ ไมจงึ ตองศึกษา

ข้ันตอนท่ี 2 สืบคนและรวบรวมขอมูลเพ่ือมิใหขอเท็จจริงทางประวัติศาสตรถูก
บดิ เบอื น

ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะหและตีความขอมูลทางประวัติศาสตรโดยการนําขอมูลที่ได
สบื คนรวบรวม คดั เลอื ก และประเมินไวแ ลวนํามาพจิ ารณาในรายละเอยี ดทุกดา น

ข้ันตอนที่ 4 การคัดเลือกและประเมินขอมูลนักประวัติศาสตรจะตองนําขอมูลที่ได
รวบรวมไวมาคัดเลือกและประเมินเพื่อคนหาความเกี่ยวของสัมพันธระหวางขอมูลกับ
ขอ เทจ็ จรงิ ทางประวัติศาสตรท่ีตอ งการทราบ

ขน้ั ตอนที่ 5 การเรยี บเรยี งรายงานขอเท็จจริงทางประวัติศาสตรที่ไดรับอันเปนผลมา
จากการวเิ คราะหแ ละการตีความขอมลู หรอื อธิบายขอสงสัย เพื่อนําเสนอขอมูลในลักษณะท่ี
เปนการตอบตลอดจนความรู ความคิดใหมที่ไดจากการศึกษาคนควาในรูปแบบการรายงาน
อยา งมีเหตุผล

ประวตั ิความเปน มาของชนชาติไทย

สมัยกอ นสุโขทัยเปนราชธานี
มีขอ สันนิษฐานเกย่ี วกบั ถิน่ เดิมของคนไทยดังนี้
1. ถน่ิ เดิมของคนไทยอยูบรเิ วณเทอื กเขาอลั ไต ซ่ึงปจ จบุ นั อยใู นประเทศมองโกเลยี
2. ถน่ิ เดิมของคนไทยอยทู างตอนใตข องจีน ทางเหนือของภาคพ้ืนเอเชียตะวันออกเฉียง

ใตตลอดจนรฐั อสั สมั ของอนิ เดยี
3. ถิ่นเดิมของคนไทยอาศัยอยูกระจัดกระจายกันไปตั้งแตมณฑลกวางตุงเรื่อยไปทาง

ตะวันตก ในมณฑลกวางสี ยูนาน กุยโจวเสฉวน ตลอดจนรฐั อัสสัมของอินเดีย
4. ถ่นิ เดิมของคนไทยอยูในบริเวณมณฑลเสฉวน (ดินแดนทิเบตติดตอกับจีน)ประมาณ

3,500-5,000 ป กอนพทุ ธศักราช
อาณาจักรลงุ ตง้ั อยูท างตอนเหนอื บริเวณตน แมน ํา้ เหลอื ง (ฮวงโห)
อาณาจกั รปาอยบู ริเวณทางเหนอื ของมณฑลเสฉวน

12

อาณาจักรเง้ียว ตั้งอยูตอนกลางของลุมแมนํ้าแยงซีเกียง ทั้งสามอาณาจักรรวมกัน
เรียกวา อา ยลาว เม่ือถูกจีนรกุ รานก็อพยพลงมาตั้งเปนอาณาจักรเพงาย ระหวาง พ.ศ. 400-
621 เมื่อถูกจีนรุกรานจึงหนีลงมาทางใตและไดตั้งเปนอาณาจักรนานเจา ประมาณ พ.ศ.
1193-1828

สมัยสุโขทัยเปนราชธานี(พ.ศ. 1780 - 1981)
อาณาจักรสุโขทัยหรือรัฐสุโขทัย เปนอาณาจักรหรือรัฐในอดีตรัฐหนึ่ง ต้ังอยูบนท่ีราบ

ลุมแมนํ้ายม เปนชุมชนโบราณมาตั้งแตยุคเหล็กตอนปลาย จนกระทั่งสถาปนาข้ึนราวพุทธ
ศตวรรษท่ี 18 ในฐานะสถานกี ารคา ของรัฐละโว หลงั จากนน้ั ราวป 1800 พอขุนบางกลางหาว
และพอขุนผาเมือง ไดรวมกันกระทําการยึดอํานาจจากขอมสบาดโขลญลําพง ซ่ึงทําการเปน
ผลสําเร็จและไดสถาปนาเอกราชใหสุโขทัยเปนรัฐอิสระโดยมีพอขุนบางกลางหาวเปนปฐม
กษัตริยแหงราชวงศพระรวง ทรงพระนามวาพอขุนศรีอินทราทิตย มีการปกครองแบบพอ
ปกครองลกู มีความเจริญรุงเรืองตามลําดับและเพ่ิมถึงขีดสุดในสมัยพอขุนรามคําแหงมหาราช
กอนจะคอย ๆ ตกต่ํา และประสบปญหาทั้งจากปญหาภายนอกและภายใน จนตอมาถูกรวม
เปนสว นหน่งึ ของอาณาจกั รอยธุ ยาไปในที่สดุ

อาณาจักรกรงุ ศรีอยธุ ยา (พ.ศ. 1893-2310)
พระเจาอูทองทรงสถาปนาอยุธยาข้ึน เมื่อวันศุกรที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 1893 (ค.ศ.1351)

รูปแบบการปกครองเปน แบบสมบรู ณาญาสทิ ธิราชย กรงุ ศรีอยุธยาเปนราชธานไี ด 417 ป
มีกษัตริยปกครองทั้งหมด 33 พระองคจาก 5 ราชวงศ ไดแกราชวงศอูทอง ราชวงศ

สพุ รรณบรุ ี ราชวงศสุโขทยั ราชวงศป ราสาททอง และราชวงศบ านพลูหลวง
การเสยี เอกราช
ครง้ั ที่ 1 พ.ศ.2112 ในสมัยสมเด็จพระมหนิ ทราธิราช ตกเปนเมืองข้ึนของพมา 15 ป

พระนเรศวรมหาราชทรงกอบกูเอกราชใน พ.ศ.2117
คร้งั ที่ 2 เมอื่ วนั ท่ี 7 เมษายน 2310 สมัยพระเจา เอกทัศน ผูกอบกูเอกราช คอื

พระเจา ตากสินมหาราช

อาณาจักรกรุงธนบุรี (พ.ศ.2310 –พ.ศ. 2325)
อาณาจักรธนบรุ ี เปน อาณาจักรของคนไทยชว งสัน้ ๆ ระยะเวลา 15 ป

มีพระมหากษตั ริยปกครองเพียงพระองคเดียว คือ สมเด็จพระเจากรุงธนบุรี (สมเด็จพระเจา
ตากสินมหาราช) มีการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย หลักฐานสวนใหญกลาววา เกิด
เหตุจลาจลในปลายรัชกาลของสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช คือ พระยาสรรคไดตั้งตัวเปน
กบฏ ไดบุกมาแลวบังคับใหพระองคผนวช ขณะน้นั สมเดจ็ เจาพระยามหากษัตริยศึกทรงทําศึก

13

อยูที่กัมพูชา ทรงทราบขาวจึงไดเสด็จกลับมายังกรุงธนบุรี ไดปราบปรามจลาจลและมีการ
สาํ เร็จโทษสมเดจ็ พระเจา กรงุ ธนบุรี

สมัยกรงุ รัตนโกสนิ ทร( พ.ศ. 2325 – ปจ จุบนั )
ราชอาณาจกั รรตั นโกสนิ ทร เปน ราชอาณาจกั รทส่ี ่ีในยุคประวัตศิ าสตรของไทย

เร่ิมต้ังแตการยายเมืองหลวงจากฝงกรุงธนบุรี มายังกรุงเทพมหานคร ซึ่งต้ังอยูทางตะวันออก
ของแมน้ําเจาพระยาพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ปฐมกษัตริยแหงราชวงศจักรี
เสดจ็ ขึน้ ครองราชยส มบัติ เม่อื วันที่ 6 เมษายนพ.ศ. 2325 พระมหากษตั ริยของราชวงศจ กั รี
มีดังนี้

- พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟาจฬุ าโลกมหาราช (รัชกาลท่ี 1)
- พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลานภาลัย (รัชกาลที่ 2)
- พระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกลาเจาอยหู วั (รชั กาลท่ี 3)
- พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจา อยหู ัว (รัชกาลท่ี 4)
- พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจา อยหู วั (รัชกาลที่ 5)
- พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา เจา อยหู วั (รชั กาลที่ 6)
- พระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจาอยูหัว (รชั กาลที่ 7)
- พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหัวอานนั ทมหดิ ล (รัชกาลที่ 8)
- พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั ภมู ิพลอดุลยเดช (รชั กาลที่ 9)

ประวตั แิ ละผลงานของบรรพบรุ ษุ ไทยทม่ี สี ว นปกปอ ง
และสรา งความเจรญิ ใหแ กช าติบา นเมอื ง

พอขนุ รามคาํ แหงมหาราช (สมัยสโุ ขทัย)
พอขุนรามคาํ แหงมหาราช (พญารว ง) เปน พระมหากษัตริยพระองคที่ 3 ในราชวงศพระ

รวงแหงราชอาณาจักรสุโขทัย เสวยราชยประมาณ พ.ศ. 1822 ถึงประมาณ พ.ศ. 1841
พระองคทรงเปนกษัตริยพระองคแรกของไทยที่ไดรับการยกยองเปน "มหาราช" ดวยทรง
บําเพ็ญพระราชกรณียกิจอันทรงคุณประโยชนแกแผนดิน ทรงรวบรวมอาณาจักรไทยจนเปน
ปกแผนกวางขวาง ท้ังยังไดทรงประดิษฐตัวอักษรไทยข้ึน ทําใหชาติไทยไดสะสมความรูทาง
ศลิ ปะ วัฒนธรรม และวชิ าการตา ง ๆ สบื ทอดกันมากวา เจ็ดรอยป

14

พระนเรศวรมหาราช (สมัยอยธุ ยา)
สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช (สมเดจ็ พระสรรเพชญท ี่ 2) มีพระนามเดิมวา พระนเรศวร

หรอื "พระองคด าํ " เปนพระราชโอรสในสมเด็จพระมหาธรรมราชาและพระวิสุทธิกษัตริย เสด็จ
พระราชสมภพเม่ือ พ.ศ. 2098 เสด็จขึ้นครองราชยเม่ือวันที่ 29 กรกฎาคมพ.ศ. 2133
สิริรวมการครองราชยสมบัติ 15 ป เสดจ็ สวรรคตเมื่อวันที่ 25 เมษายนพ.ศ. 2148 รวมพระ
ชนมพรรษา 50 พรรษาทรงกอบกูเอกราชจากการเสียกรุงคร้ังท่ีหน่ึงจากพมา และทําใหไทย
วา งเวน จากการทาํ สงครามกับพมา 160 ป

สมเด็จพระนารายณมหาราช(สมัยอยุธยา)
เปน พระราชโอรสในสมเดจ็ พระเจาปราสาททองกับพระนางศิริราชกัลยาขึ้นครองราชย

เมื่อวนั ท่ี 15 ตลุ าคม 2199 ขณะอายุ 25 พรรษาไดสรางเมืองลพบรุ ีขึน้ เปน ราชธานแี หงท่ี 2
เปนพระมหากษัตริยท่ีมีพระปรีชาสามารถดานการตางประเทศและศิลปะวรรณคดีอยางสูง
สมยั นนั้ ไดช่ือวา “ยคุ ทองของวรรณคดีไทย”วรรณคดีทีส่ ําคัญไดแก สมุทรโฆษคําฉันท
โคลงพาลีสอนนอง และหนังสอื จินดามณีซึง่ เปน แบบเรยี นเลม แรกของไทย

พระเจา ตากสนิ มหาราช(สมยั กรุงธนบุร)ี
สมเดจ็ พระเจากรุงธนบุรี หรอื สมเด็จพระเจา ตากสินมหาราช หรือ สมเด็จพระบรมราชา

ที่ 4มีพระนามเดิมวา สิน พระราชบิดาเปนชาวจีน ช่ือนายไหฮอง หรือหยง แซแต เปนนาย
อากรบอ นเบ้ีย พระราชมารดาช่ือ นางนกเอี้ยง เปน สมเด็จพระเจากรุงธนบุรีเปนมหากษัตริย
พระองคเ ดยี วในสมยั อาณาจกั รธนบรุ ี พระราชกรณียกิจที่สําคญั ในรชั สมยั ของพระองค คอื

การกอบกูเ อกราชจากพมาภายหลังการเสยี กรุงศรอี ยธุ ยาครง้ั ทส่ี อง

พระบาทสมเด็จ พระพทุ ธยอดฟาจุฬาโลก (สมยั รตั นโกสนิ ทร)
พระมหากษัตริยไทยพระองคแรกในราชวงศจักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 20

มีนาคม พทุ ธศักราช 2279 พระนามเดมิ วา ทองดวง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก
มหาราชปราบดาภิเษกขึ้นครองราชยเปนปฐมกษัตริยแหงกรุงรัตนโกสินทร เม่ือวันท่ี 6
เมษายนพ.ศ. 2325ขณะมีพระชนมายุได 46 พรรษา และทรงยา ยราชธานีจากฝงธนบุรีมาอยู
ฝงพระนคร และโปรดเกลา ฯ ใหส รา งพระบรมมหาราชวงั และวัดพระศรีรัตนศาสดาราม พรอม
ทั้งอญั เชญิ พระแกว มรกตจากกรุงธนบรุ ีมาประดิษฐานอยใู นวัดแหง นี้

15

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจฬุ าลงกรณ พระจุลจอมเกลาเจา อยูหวั (สมยั
รัตนโกสนิ ทร)

เปน รัชกาลที่ 5 แหงราชวงศจักรี เปนพระราชโอรสองค ที่ 9 ในพระบาทสมเด็จ
พระจอมเกลา เจาอยหู วั และสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี พระองคเปนพระมหากษัตริย
ท่ีนําความเจริญมาสูประเทศไทยในทุกดานไดรับสมัญญาวา "ปยมหาราช" แปลวา มหาราชผู
ทรงเปน ทีร่ ัก

พระราชกรณียกิจท่ีสําคัญของรัชกาลที่ 5 ไดแก การปองกันการเปนอาณานิคมของ
จักรวรรดิฝร่ังเศส และจักรวรรดิอังกฤษ ไดมีการประกาศออกมาใหมีการนับถือศาสนา
โดยอิสระในประเทศ โดยบุคคลศาสนาคริสตแ ละศาสนาอสิ ลามสามารถปฏิบัติศาสนกิจไดอยาง
อิสระ มกี ารนาํ ระบบจากทางยโุ รปมาใชในประเทศไทย ไดแก ระบบการใชธนบัตรและเหรียญ
บาท ใชระบบเขตการปกครองใหม เชน มณฑลเทศาภิบาลจังหวดั และอําเภอ และไดมกี ารสราง
รถไฟ สายแรก คอื กรงุ เทพฯ ถึง เมืองนครราชสีมา การกอต้ังการประปา การไฟฟา ไปรษณีย
โทรเลข โทรศพั ท การสื่อสาร การรถไฟ สวนการคมนาคม ใหมีการขุดคลองหลายแหง พระราช
กรณยี กจิ ดา นสังคม ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหมีการเลิกทาสและไพรใ นประเทศไทย
ทรงยกเลิกระบบไพร โดยใหไพรเสียเงินแทนการถูกเกณฑ นับเปนการเกิดระบบทหารอาชีพ
ในประเทศไทย นอกจากน้ี พระองคยังทรงดําเนินการเลิกทาสแบบคอยเปนคอยไป เริ่มจาก
ออกกฎหมายใหลูกทาสอายุครบ 20 ปเปนอิสระ จนกระท่ังออกพระราชบัญญัติเลิกทาส ร.ศ.
124 (พ.ศ. 2448) ซง่ึ ปลอ ยทาสทุกคนใหเ ปน อิสระและหา มมีการซอ้ื ขายทาส

พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช(สมยั รตั นโกสนิ ทร)
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชทรงเสด็จพระราชสมภพ เม่ือวันท่ี 5

ธันวาคม พ.ศ. 2470 ณ โรงพยาบาลเมานทออเบอรน รัฐแมสซาชเู ซตสประเทศสหรัฐอเมรกิ า
ตั้งแตพุทธศักราช 2502 เปนตนมา พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พรอมดวยสมเด็จ

พระนางเจาสิริกิต์ิพระบรมราชินีนาถ ไดเสด็จพระราชดําเนินไปทรงกระชับสัมพันธไมตรีกับ
ประเทศตาง ๆ ทั้งในยุโรป อเมริกา ออสเตรเลีย และ เอเชีย และไดเสด็จพระราชดําเนินไป
ทรงเย่ียมราษฎรในภูมิภาคตาง ๆ ทุกภาค ทรงประจักษในปญหาของราษฎรในชนบท
ทดี่ าํ รงชีวติ ดว ยความยากจน ลาํ เคญ็ และดอ ยโอกาส ไดทรงพระวริ ยิ ะอุตสาหะหาทางแกปญหา
ตลอดมาตราบจนปจจุบัน อาจกลาวไดวา ทุกหนทุกแหงบนผืนแผนดินไทยท่ีรอยพระบาทได
ประทับลง ไดทรงขจัดทุกขยาก นําความผาสุกและทรงยกฐานะความเปนอยูของราษฎร ใหดี
ขึ้นดว ยพระบุญญาธกิ ารและพระปรีชาสามารถปราดเปรอื่ ง พรอ มดวยสายพระเนตรอนั ยาวไกล
ทรงอุทิศพระองคเพ่ือประโยชนสุขของราษฎร และเพื่อความเจริญพัฒนาของประเทศชาติ
ตลอดระยะเวลาโดยมไิ ดท รงคาํ นึงประโยชนสขุ สวนพระองคเลย

16

ประวตั ศิ าสตรชุมชน

การศึกษาประวัติศาสตรชุมชน หมายถึง การศึกษาเรื่องราวความเปนมาของชุมชนใน
ดา นตาง ๆทง้ั ทางเศรษฐกจิ วฒั นธรรมสงั คมและการเมืองจะชวยใหเขา ใจถึงปรากฏการณตาง ๆ
ท่ีเกิดข้ึนในชุมชนเกิดความรูสึกรวมกับชุมชนตลอดจนลดอคติสวนตัวบางอยางท่ีเขาไปตัดสิน
เรือ่ งราวหรือปรากฏการณที่เกิดขน้ึ ในชมุ ชน

เหตกุ ารณสาํ คญั ทางประวัตศิ าสตรท ท่ี าํ ใหม ีการเปลย่ี นแปลงแตละยุคสมยั ใน
ประเทศไทย

1. การเลิกทาส การมไี ฟฟา รถไฟ ในสมัยรัชกาลท่ี 5
2. การเปล่ียนแปลงการปกครองในสมัยรัชกาลท่ี 7 จากสมบูรณาญาสิทธิราชยเปน
ประชาธิปไตย
3. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหมของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว
รชั กาลท่ี 9

********************************

17

กจิ กรรมทายบทท่ี 2

1. ใหนกั ศกึ ษาบอกความหมายของคําวาประวัตศิ าสตร
แนวตอบ หมายถึง เร่ืองราวหรือประสบการณในอดีตที่เกิดข้ึนจากการกระทําของมนุษย

เก่ียวกับแนวคิด พฤติกรรม สิ่งประดิษฐ มีวิวัฒนาการที่มา ซ่ึงมีนักประวัติศาสตรไดศึกษา
คนควา ใหรูเร่ืองราวทเี่ กิดขึน้ ตามวธิ ีการทางประวัตศิ าสตร

2. วิธีการรวบรวมคนควาหาขอมูลเพื่อนํามาวิเคราะหหาเหตุผลและขอสรุปซึ่งจะเปน
ขอ เทจ็ จริงทางประวตั ิศาสตรม กี ข่ี น้ั ตอน อะไรบา งจงอธบิ าย

แนวตอบ 5 ขั้นตอน ประกอบดวย
ข้ันตอนที่ 1 การตั้งประเด็นท่ีจะศึกษา โดยต้ังประเด็นคําถามวา ศึกษาเรื่องอะไร
ในชวงเวลาใดทาํ ไมจึงตองศึกษา
ขัน้ ตอนท่ี 2 สบื คน และรวบรวมขอมลู เพอ่ื มใิ หข อเท็จจรงิ ทางประวัติศาสตรถ กู บิดเบอื น
ขัน้ ตอนที่ 3 การวเิ คราะหแ ละตีความขอมลู ทางประวัติศาสตรโดยการนําขอมูลท่ีไดสืบคน
รวบรวม คดั เลือก และประเมินไวแ ลว นํามาพจิ ารณาในรายละเอยี ดทกุ ดาน
ข้ันตอนท่ี 4 การคัดเลือกและประเมินขอมูลโดยนําขอมูลท่ีไดรวบรวมไวมาคัดเลือกและ
ประเมินเพ่ือคนหาความเก่ียวของสัมพันธระหวางขอมูลกับขอเท็จจริงทางประวัติศาสตร
ท่ตี องการทราบ
ข้ันตอนที่ 5 การเรยี บเรียงรายงานขอ เทจ็ จริงทางประวัติศาสตรท่ีไดร ับ เพ่อื นําเสนอขอมูล
ความรู ความคดิ ใหมท่ีไดจ ากการศกึ ษาคน ควาในรูปแบบการรายงานอยา งมีเหตุผล

3. ความเปนมาของชนชาตไิ ทยจากอดีตจนถงึ ปจ จบุ ันมที ้งั หมดกี่สมัย อะไรบา ง
แนวตอบ 5 สมยั ไดแ ก สมัยกอ นสโุ ขทัย สมัยสโุ ขทยั สมัยอยธุ ยา สมยั ธนบุรี
สมัยรัตนโกสินทร

4. ใหนักศึกษาบอกประวัติบุคคลสาํ คญั ของไทยท่ีมคี ุณประโยชนแกประเทศไทยอยางนอย
1 คน

แนวตอบ พระบาทสมเด็จพระเจาอยหู ัว รชั กาลที่ 9

5. พระมหากษตั รยิ พ ระองคใดทีโ่ ปรดใหมีการเลกิ ทาส
แนวตอบ รชั กาลที่ 5

18

6. การเปลีย่ นแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยเปนประชาธิปไตยเกิดขึ้น
ในสมยั ใด

แนวตอบ รชั กาลที่ 7

7. ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เกิดข้นึ ในรชั กาลใด
แนวตอบ รัชกาลที่ 9

19

บทท่ี 3
เศรษฐศาสตร

ความหมายและความสําคญั ของเศรษฐศาสตร

เศรษฐศาสตร หมายถึง การศึกษาเก่ียวกับการเลือกใชวิธีการตาง ๆ ในการนําเอา
ทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีอยูมาใชในการผลิตสินคาและบริการใหมีประสิทธิภาพมากที่สุด
เพ่ือสนองความตอ งการและหาวิธกี ารกระจายสินคา และการบริการไปสูประชาชนอยางรวดเร็ว

เศรษฐศาสตร มคี วามสําคัญตอมนุษยทุกสถานภาพ เชน ผูผลิต ผูบริโภค และเจาของ
กจิ การผูบ รโิ ภคท่ีมีความรูทางเศรษฐศาสตร จะชวยใหรูขอมูลและเขาใจสภาวะเศรษฐกิจของ
ประเทศ สามารถปรับตัวและวางแผนทางเศรษฐกิจของครอบครัวไดอยางเหมาะสมและเกิด
ประโยชนสวนผูผลิต การมีขอมูลจะชวยในการวิเคราะห วางแผนการผลิต การบริการ ใหมี
คณุ ภาพและไดมาตรฐานและสามารถพฒั นาสินคา ใหเ ปนที่ตองการของผูบริโภคมากขนึ้

เศรษฐศาสตรในครอบครัวและชมุ ชน

เศรษฐศาสตรเปนศาสตรที่เก่ียวของกับมนุษยและสังคม มนุษยเปนสวนหนึ่งของ
ครอบครัวและครอบครัวเปนสวนหน่ึงของสังคม การที่สังคมจะพัฒนาไดน้ัน ตองอาศัย
ครอบครัวและมนษุ ยซง่ึ เปน สมาชกิ ของครอบครวั การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตรจะชวยใหตนเอง
และครอบครัวรูจักใชทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดใหเกิดประโยชนสูงสุด รูจักตัดสินใจในการ
เลือกซื้อสิ่งของและบริการที่มีความจําเปนตอการดํารงชีวิต รูจักวิธีการออมและการลงทุนใน
ลักษณะตาง ๆ รภู าวะเศรษฐกจิ ของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติ สามารถปรับตัว
เองใหเขากับภาวะเศรษฐกิจท่ีเปลี่ยนแปลงและใชความรูทางเศรษฐศาสตรเปนแนวทางในการ
ประกอบอาชพี อยางมปี ระสทิ ธภิ าพ

กิจกรรมทางเศรษฐกิจ

กิจกรรมทางเศรษฐกิจ หมายถึง การกระทําตาง ๆ ของมนุษยเพื่อใหเกิดประโยชนทาง
เศรษฐกิจคือนํามาบาํ บดั ความตอ งการของมนุษยได

กิจกรรมทางเศรษฐกจิ ไดแ ก การผลติ การแลกเปลีย่ น การบริโภค และการกระจาย
รายได จําเปนตองมีผูดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เพ่ือปฏิบัติภารกิจใหเปนไปตามวัตถุ
ประสงค และสามารถสนองความตองการของผูบริโภคไดสูงสุด ผูดําเนินกิจกรรมทาง
เศรษฐกจิ เรยี กวา “หนวยเศรษฐกจิ ” กิจกรรมทางเศรษฐกิจประกอบดวย

20

1.การผลิต หมายถึงการสรางสินคาและบริการเพ่ือสนองความตองการของมนุษย
โดยใหเกิดประโยชนใ นทางเศรษฐกิจ

ปจจยั ในการผลิตสนิ คาและบริการ ประกอบดวย
ทด่ี ิน หมายถงึ ที่ดนิ และทรพั ยากรท่ีอยใู นดินและเหนอื พื้นดิน คา ตอบแทน คอื
คา เชา
แรงงาน หมายถึง แรงงานท่ีเกิดจากกําลังกายและสติปญญาของมนุษย
คา ตอบแทน คือ คา จาง หรือเงินเดือน
ทุน หมายถึง ส่ิงท่ีมนุษยสรางขึ้นเพื่อใชรวมกับแรงงาน เชน เคร่ืองจักร
คา ตอบแทน คอื ดอกเบ้ยี
ผูประกอบการ หมายถึง ผูที่นําเอาปจจัยการผลิต มาผลิตเปนสินคาและบริการ
คาตอบแทน คอื กําไร
2. การแลกเปล่ียน หมายถึง การนําสินคาและบริการไปแลกเปลี่ยนกับสินคาและ
บริการอนื่ หรือแลกเปล่ียนกบั สอื่ กลาง จงึ แบง ออกเปน
2.1 การแลกเปลยี่ นสนิ คา ตอ สินคา
2.2 การแลกเปล่ียนสนิ คา ตอ เงนิ ตราหรอื ใชส ่ือกลาง
2.3 การแลกเปลีย่ นแบบใชสินเชื่อ เชน เชค็ ตัว๋ แลกเงิน ดรา ฟท
3. การบริโภค หมายถึง การใชประโยชนจากสินคาและบริการ แบงออกเปน 2
ลกั ษณะคือ
3.1 การบรโิ ภคสนิ คาคงทน ไดแ ก สินคาทเ่ี กบ็ ไวใ ชไดน านเปนป เชน ปากกา นาฬิกา
กระเปา
3.2 การบริโภคสินคาไมคงทน ไดแก สินคาท่ีใชแลวหมดสิ้นไปภายใน 1 ป เชน
อาหาร นาํ้ มัน เชื้อเพลงิ กระดาษ
ผูบริโภคท่ีมีรายไดต่ํา ความสามารถในการบริโภคจะถูกจํากัดลง และถามีรายไดสูง
ความสามารถในการบริโภคจะสูงขน้ึ
4. การกระจายรายได หมายถึง การจาํ หนา ย จายแจกสนิ คา และบริการ แบง เปน
4.1 การกระจายสินคาและบริการ ไปสูผ ูบรโิ ภค
4.2 การกระจายรายได เปน การกระจายผลตอบแทนไปสูปจ จยั การผลิต
ตลาด หมายถงึ สถานทที่ ี่เปนแหลงชุมชนของผูคาเพ่ือจําหนายสินคาประเภทตาง ๆ
ลักษณะของตลาดแบงออกเปน 2 ประเภท ไดแ ก

1. ตลาดแขงขันสมบูรณหรือตลาดเสรี หมายถึง ตลาดท่ีมีการแขงขันสูง มีผูซื้อ
และผูข ายจาํ นวนมาก ราคาสินคาเปนไปตามกลไกตลาด

2.ตลาดแขง ขันไมส มบูรณ แบง ออกเปน 3 ประเภท ดังน้ี
2.1 ตลาดผูกขาดหมายถงึ ตลาดท่มี ีผูผลติ หรอื ผูข ายเพียงรายเดียว

21

2.2 ตลาดผูขายนอยราย หมายถึง ตลาดท่ีมีผูผลิตหรือผูขายจํานวนนอย เชน
ผผู ลติ รถยนต โทรศัพทมอื ถือ เปน ตน

2.3 ตลาดก่ึงแขงขันก่ึงผูกขาด หมายถึง ตลาดที่มีผูขายจํานวนมากแตมี
สดั สว นในตลาดนอย

ตัวอยางผลกระทบท่ีเกิดจากการผลิต การบริโภค การแลกเปลี่ยนและการกระจาย
รายได เชน ภาคใตมแี รด บี ุกจํานวนมาก ทาํ ใหเกดิ โรงงานถลุงแรและสรางอาชีพใหก บั คน
ในชุมชน หรอื ในชว งเทศกาลวาเลนไทน ดอกกหุ ลาบมีราคาแพงกวา ปกติ เปนตน

คณุ ธรรมของผผู ลติ และผบู รโิ ภค

ความหมายของผผู ลติ และผูบรโิ ภค
ผูผ ลิต หมายถงึ ผูผลติ สนิ คาและบริการ โดยการนําปจจยั การผลิตมาแปรรูปเปนสินคา

เชน นําขาวสาลีมาทําเปนขนมปง หรือสรางบริการในรูปแบบตาง ๆ เชน การบริการขนสง
ความบนั เทงิ

ผบู ริโภคหมายถงึ ผใู ชป ระโยชนจ ากสินคา และบรกิ ารซ่ึงอาจจะเปนการบริโภคโดยตรง
เชน การดื่ม การรับประทาน การใชส นิ คา หรือการบริโภคทางออม เชน การใชนํ้ามันในการขับ
รถยนต

ความสมั พันธของผูผ ลิตและผูบ ริโภคสินคา และบริการ
ในระบบเศรษฐกิจ บุคคลหนึ่ง ๆ อาจทําหนาที่เปนผูบริโภค หรือผูผลิต หรือเจาของ

ปจจัยการผลิตอยางใดอยางหน่ึงหรือเปนท้ังสามประการก็ได แตในฐานะของผูบริโภคก็ตอง
ตัดสินใจวาควรจะบริโภคสินคาและบริการเพื่อตอบสนองความตองการใหมากที่สุด ในฐานะ
ผผู ลติ ก็ตอ งผลติ สนิ คาและบรกิ ารตามความตองการของผูบริโภคดวยตนทุนการผลิตท่ีต่ําที่สุด
เพ่ือใหส ามารถขายสนิ คา และบริการในราคาทต่ี ่าํ กวาคูแขง รายอ่ืน ๆ การผลิตสินคาและบริการ
บางครัง้ ผผู ลิตตองเสี่ยงตอการขาดทุน ถาตนทุนการผลิตสูงกวารายรับท่ีไดจากการขายสินคา
และบริการ ดงั นน้ั ผผู ลิตก็ตอ งมีรปู แบบการดําเนินการท่ีดีเพื่อหลีกเลี่ยงจากการขาดทุนและได
กําไรคุมกบั ความเหนอ่ื ยยากในฐานะทเี่ ปนเจา ของปจจัยการผลิต ก็ตอ งนาํ ปจ จัยการผลติ
ซ่งึ ไดแก ท่ีดิน ทุน แรงงานและการประกอบการไปเสนอขายหรือใหบริการแกผูผลิตเพ่ือนําไป
ผลิตสนิ คาและบรกิ ารตา ง ๆ ผลตอบแทนแกเจาของปจ จัยการผลติ คอื คาเชา คาจาง ดอกเบ้ีย
และกาํ ไรและนําผลตอบแทนเหลานน้ั ไปหาซื้อสนิ คาและบริการเพอื่ การอุปโภคและบริโภคและ
บางครัง้ เจา ของปจ จยั การผลติ อาจทาํ หนาท่ีเปนผูผลิตสินคาเองโดยนําปจจัยการผลิตที่มีอยูไป
ใชใ นการผลติ สนิ คา และบริการตางๆ

22

คุณธรรมของผูผลติ
ผูผ ลติ สนิ คา และบริการควรมีคุณธรรมพื้นฐานในการดําเนินการเพื่อสรางความเชื่อม่ัน
ใหกบั ผบู ริโภคและผลประโยชนข องผูผ ลิตในระยะยาว ดงั น้ี
1. ผูผลิตตองไมทําในส่ิงท่ีไมถูกตองเชน การทําใหผูบริโภคไดรับอันตรายจากการใช
สนิ คาและบริการ
2. ผผู ลติ ตอ งพฒั นาคณุ ภาพสนิ คา อยูเ สมอและใหไดม าตรฐาน
3. ผูผลิตตอ งรักษาความซอ่ื สัตยต อ ผบู ริโภค ผลิตสนิ คาทไ่ี ดม าตรฐานเดยี วกนั
4. การรกั ษาสภาพแวดลอม ผผู ลติ ตอ งถอื เปน หนาท่แี ละความรบั ผดิ ชอบ
คณุ ธรรมของผูบ รโิ ภค
ในการเลือกบริโภคสินคาและบริการตางๆ ผูบริโภคควรปฏิบัติโดยคํานึงถึงหลักการ
ดงั นี้
1. ความจําเปน หมายถงึ การบรโิ ภค อุปโภคในสิ่งท่ีจําเปน เชน ปจจัยสี่ ประกอบดวย
เสอ้ื ผา ยารกั ษาโรค อาหาร ท่ีอยูอาศัย ในปริมาณที่เพยี งพอตอ การดาํ รงชวี ิตประจําวนั
2. ความมีประโยชนและความปลอดภัย หมายถึง การบริโภค อุปโภคในสิ่งที่กอใหเกิด
ประโยชน
3. ความประหยดั หมายถงึ การบริโภค อุปโภคโดยการใชจ ายใหเหมาะสมกับฐานะทาง
เศรษฐกจิ ของตนเองหรือมีความพอเพยี ง

ทรัพยากรธรรมชาติ สงิ่ แวดลอ มในทอ งถน่ิ และชมุ ชน

ความหมายทรัพยากร
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร หมายถึง สิ่งตาง ๆ ท่ีมนุษยนํามาใชประโยชนในทาง

เศรษฐกจิ เพอื่ ตอบสนองความตองการของมนษุ ย ทรัพยากรแบงออกได 2 ประเภท คือ
1. ทรัพยากรมนุษยหมายถึง บุคคลหรือมนุษย ในฐานะท่ีเปนแรงงานหรือ

ผูประกอบการซึ่งเปนสว นหน่งึ ของกระบวนการผลติ และการพฒั นาประเทศในดานตา งๆ
2. ทรัพยากรทีไ่ มใ ชม นษุ ย ประกอบดวย
2.1 ทรัพยากรท่ีมนุษยส รา งขึน้ เชน เครอื่ งจกั ร บาน รถยนต
2.2 ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถงึ ส่ิงตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ แบงได 3

ประเภท ดงั นี้
2.2.1 ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่ีใชแลว ไมหมดเชน อากาศ น้าํ
2.2.2 ทรัพยากรท่ีทดแทนหรือรกั ษาไวได เชน ปา ไมท งุ หญา
2.2.3 ทรัพยากรธรรมชาติที่ใชแลว หมดไป เชน แรธาตุ น้าํ มัน

23

ลักษณะอาชพี ของครอบครัว ชมุ ชน ประเทศ
ความหมายของอาชีพ
อาชีพ หมายถึง งานหรือกิจกรรมใด ๆ ที่กอ ใหเ กดิ ผลผลิตที่สามารถประเมินคาเปนเงิน

หรอื รายไดและกิจกรรมน้ันตอ งสจุ ริตเปนท่ยี อมรับของสงั คม
ความสําคัญของอาชีพ
1. ทําใหช ีวติ ดํารงอยูไดเม่อื มีอาชีพก็มรี ายได สามารถจบั จา ย ใชสอย ในชวี ติ ประจาํ วนั ได
2. ทําใหเกิดความนาเช่ือถือในสงั คม
3. สรา งความเชื่อมั่นใหก บั ผทู ี่จะอยูรวมกนั
4. สรางครอบครวั ไดโดยปกตสิ ขุ
5. ทําใหกิจกรรมสังคมมีการเคลื่อนไหว ในสังคมมีหลากหลายอาชีพ ก็จะทําใหเกิด

กิจกรรมตาง ๆ
6. ทําใหเศรษฐกิจ และสังคมเกิดการเปลี่ยนแปลงในทางบวก เปนการพัฒนา มีการ

ประกอบอาชีพ ก็ทาํ ใหเ ศรษฐกจิ ของสงั คมเคล่ือนไหว
ประเภทของอาชีพ
1. แบงตามลักษณะอาชพี
1.1 อาชีพอิสระ หมายถึง อาชีพท่ีผูประกอบการดําเนินการดวยตนเอง อาจเปน

ผูผ ลติ สนิ คา หรือผูบริการเอง
1.2 อาชพี รบั จา ง หมายถงึ อาชพี ท่ผี ูป ระกอบการไมไ ดเ ปน เจาของ แตไดรับจางจาก

นายจา งเปนชว งระยะเวลา
2. แบง ตามลักษณะรายไดแ ละความมั่นคง
2.1 อาชีพหลกั หมายถงึ อาชพี ทผ่ี ูประกอบการใชเ วลาสว นใหญใ นการประกอบการ
2.2 อาชีพรองหรืออาชพี เสริม หมายถึง อาชพี ทผี่ ปู ระกอบการใชเ วลานอกงานหลกั
3. แบงตามสาขาประกอบการ
3.1 อาชพี ดา นอตุ สาหกรรม เชน ชา งยนต ชา งไฟฟา
3.2 อาชพี ดานเกษตรกรรมเชน เลยี้ งสตั ว ทํานา
3.3 อาชีพดานคหกรรมเชน ทาํ อาหาร ตัดเย็บเสื้อผา
3.4 อาชพี ดา นพาณิชยกรรมเชน คาขาย บัญชี
3.5 อาชพี ดา นอื่น ๆเชน ดานกฬี า ดานความบันเทงิ
ปจจยั ท่ีมอี ิทธพิ ลตอ การเปล่ยี นแปลงอาชพี
1. ความเจริญกา วหนาทางเทคโนโลยี
2. ความเปลี่ยนแปลงทางทรัพยากร
3. ความเปลย่ี นแปลงทางดา นการเมอื ง
4. ความเปล่ยี นแปลงทางสงั คม

24

แหลง ทนุ ในหมูบา นและชมุ ชน

แหลงทุนในหมูบา นและชุมชน ไดแก
1. สถาบันการเงิน หมายถึง องคกรท่ีดําเนินการเกี่ยวกับธุรกิจ การเงินและการให
สินเชือ่ เปนตวั กลางในการเชื่อมโยงผูออมเงินกับผูตองการกูเงินไดแก ธนาคารพาณิชยมีหนาที่
บรกิ ารรับฝากเงินสาํ หรับผมู เี งนิ ออมโดยผูออมเงนิ จะไดรับดอกเบี้ยตอบแทนบริการสินเช่ือและ
บริการอ่ืน เชน ชว ยเหลอื ดานการคาและการชําระเงินระหวา งประเทศ
2. สหกรณ หมายถึง การรวมกลุมกันของคณะบุคคลเพื่อดําเนินกิจการตาง ๆ โดยมี
วัตถุประสงคชวยเหลือซึ่งกันและกันระหวางสมาชิกและไดจดทะเบียนเปนสหกรณตาม
กฎหมาย

ประโยชนของการจดั ตง้ั สหกรณ
1. สมาชกิ ของสหกรณสามารถซือ้ สินคา ไดใ นราคาที่ถกู ลง
2. การรวมตัวกนั ทําใหเ กิดการชว ยเหลอื ซึง่ กนั และกันในหมสู มาชิก
3. สมาชิกไดรับประโยชนจ ากเงินปนผล
4. สงเสริมใหเ กดิ ความสามคั คขี ้ึนในชุมชน
5. เปน แหลงเงนิ กูของสมาชิก
6. ทาํ ใหเ กดิ การเรยี นรูการดาํ เนินธรุ กจิ ในรปู แบบหน่ึงซึ่งสามารถนําไปปรับใชใ นการ
ทําธรุ กจิ รูปแบบอ่นื ได

3. กองทนุ หมบู า นและชมุ ชนเมือง
กองทุนหมูบานและชุมชนเมือง คือ แหลงเงินทุนหมุนเวียนสําหรับการลงทุน
เพือ่ พฒั นาอาชีพ สรางงาน สรางรายได และบรรเทาเหตุจําเปนเรงดวนของชุมชนเพื่อกระตุน
เศรษฐกจิ ในระดับรากหญา และเสริมสรางภูมิคุมกันทางเศรษฐกิจและสังคมของประชาชนท่ัว
ประเทศ โดยรัฐบาลจัดต้ังกองทุนหมูบาน และชุมชนเมือง กองทุนละ 1 ลานบาท พรอม
เสริมสรางและพัฒนาหมูบานและชุมชนเมืองใหมีขีดความสามารถ ในการจัดระบบบริหาร
จดั การเงินกองทนุ หมุนเวยี น ในหมูบา นและชุมชนเมืองกนั เอง
วัตถุประสงค
1. เปน แหลงเงินทุนหมุนเวียนในหมูบาน และชุมชนเมืองสําหรับการลงทุนเพ่ือการ
พัฒนาอาชีพ สรา งงาน สรางรายไดหรือเพมิ่ รายได การลดรายจา ย การบรรเทาเหตุฉุกเฉินและ
ความจาํ เปนเรง ดว น และสาํ หรบั การนาํ ไปสกู ารสรางกองทุนสวสั ดิภาพทด่ี ีแกประชาชน
ในหมบู า นหรือชุมชน
2. สงเสริมและพัฒนาหมูบานและชุมชนเมืองใหมีขีดความสามารถในการจัดระบบ
และบริหารจัดการเงนิ ทนุ ของตนเอง

25

3. เสริมสรา งกระบวนการพึง่ พาตนเองของหมบู า นและชุมชนเมอื งในการเรยี นรู
การสรา งและพัฒนาความคดิ รเิ ร่ิม และสงเสรมิ เศรษฐกจิ พอเพียงในหมบู านและชุมชนเมอื ง

4. กระตุนเศรษฐกิจ ในระดับฐานรากของประเทศรวมท้ังเสริมสรางภูมิคุมกันทาง
เศรษฐกจิ และสังคมของประเทศในอนาคต

5. เสริมสรางศักยภาพและความเขมแข็งทั้งทางดานเศรษฐกิจและสังคมของ
ประชาชน

หลกั การของเศรษฐกิจพอเพียง

1. การพ่ึงตนเอง มงุ เนนการผลติ พชื ผลใหเพยี งพอกับความตองการบริโภคในครวั เรอื น
2. การรวมกลุมของชาวบาน มุงเนนใหชาวบานรวมกลุมกันดําเนินกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจ
3. ความเอื้ออาทรและความสามัคคี เศรษฐกิจพอเพียงตั้งอยูบนพ้ืนฐานของการ
ทสี่ มาชกิ ของชมุ ชนมีความเอื้ออาทร ชว ยเหลือและสามัคคี
การปฏิบตั ติ นตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
เพื่อที่จะสามารถดํารงชีวิตไดอยางพออยูพอกิน เราควรท่ีจะปฏิบัติตนตามแนว
เศรษฐกิจพอเพียง ดงั น้ี
1. จะตองยดึ หลักพออยู พอกิน พอใช
2. มคี วามประหยดั โดยพยายามตัดทอนรายจา ยและลดความฟุม เฟอ ย
3. ประกอบอาชีพดวยความถกู ตอ งและสุจรติ
4. ไมค วรแกง แยงและแขงขันในการประกอบอาชพี อยา งรุนแรง
5. รูจักแสวงหาความรเู พิ่มเติมและพฒั นาตนเองใหมีความรคู วามสามารถมากขนึ้
6. ใชค วามรู ความสามารถมาพฒั นาภูมปิ ญ ญาทองถิ่น เพอ่ื เพิม่ พูนรายได
7. ชวยเหลอื เก้อื กลู ซ่งึ กนั และกนั มีความสามคั คีในครอบครวั และชมุ ชน
แนวพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียง เปนทางเลือกใหมของประชาชนชาวไทยท่ีจะ
สามารถดํารงชวี ิตแบบพออยูพอกินและสามารถพึ่งพาตนเองได เศรษฐกิจพอเพียง
มีความสําคัญตอการพัฒนาประเทศอันจะนําไปสูสังคมท่ีมีคุณภาพท้ังทางดานเศรษฐกิจและ
สังคม ดังนั้นประชาชนชาวไทยทกุ คนควรนําไปปฏิบัติอยา งจริงจัง

************************

26

กิจกรรมทา ยบทที่ 3

1. ขอ ความใดใหความหมายของวิชาเศรษฐศาสตรถูกตอ งทส่ี ุด

ก. วิชาทเ่ี กี่ยวกับเศรษฐกิจและการเมือง

ข. วิชาทเ่ี กยี่ วกับการซ้อื ขายสินคา และบรกิ าร

ค. วชิ าท่เี กย่ี วกับการจัดสรรทรพั ยากรใหเ กิดประโยชนอยางคมุ คา

ง. วชิ าท่เี กย่ี วกับการสนองตอบตอความตอ งการของสมาชกิ ในสงั คม

2. นกั ศึกษาควรเลอื กซอื้ สินคา เพราะเหตผุ ลใดมากท่สี ุด

ก. ความจาํ เปน ข. ความหรหู รา ค. ความทันสมยั ง. ความสวยงาม

3. ขอ ใดไมใ ชห ลักการบรโิ ภคท่ีดี

ก. สุดาซือ้ อาหารมารับประทานพออิ่ม

ข. ปราณีซอื้ เส้ือกนั หนาวตวั ใหมใ นฤดหู นาวนี้

ค. มณีวัลยซอ้ื โทรศัพทเ คล่ือนท่ีรุน ใหมทโี่ ฆษณาวามคี วามทนั สมัยสูง

ง. กรรณกิ ารนาํ ขาวท่ีเหลือมาทาํ เปน ขาวตังไวรับประทานเปนอาหารวา ง

4. ขอใดไมใชท ุนตามความหมายของทรัพยากรทางเศรษฐศาสตร

ก. เงินตรา ข. โรงงาน

ค. เครอ่ื งจกั ร ง. อปุ กรณก ารผลติ

5. กานดาชอบรับประทานอาหารประเภทฟาสตฟดู และดมื่ นํา้ อัดลมเปนประจาํ แสดงวา

กานดาไมป ฏิบตั ิตามหลักการบรโิ ภคในเร่ืองใด

ก. คณุ ภาพของอาหาร ข. คา นยิ มในการบรโิ ภค

ค. รสนยิ มและความจําเปน ง. ความมีประโยชนและความปลอดภัย

6. สินคา ในขอใดเปนสนิ คา ฟุมเฟอ ย

ก. ผกั ผลไม ขาว ข. น้ําปลา พรกิ ไทย นาํ้ มนั พชื

ค. นม อาหารกระปอ ง เน้ือหมู ง. กระเปา รองเทา โทรศพั ทเ คล่อื นที่

7. เพราะเหตใุ ดในชว งเทศกาลวาเลนไทน ดอกกุหลาบจงึ มรี าคาแพงกวาปกติ

ก. เปนดอกไมห ายาก ข. ชาวสวนลดการปลกู ลง

ค. ความตองการสนิ คาสูง ง. เจริญเตบิ โตไดด ีในชว งฤดูรอ น

8. กอ นซอ้ื นมกลองทุกคร้งั แกวตาจะดูวนั เดือนปท่ีผลิตและวนั หมดอายเุ สมอ การกระทําน้ี

แสดงวา แกวตาใหค วามสําคญั กบั เร่ืองใด

ก. ความคมุ คา ข. ความเชือ่ ม่นั

ค. ความทันสมัย ง. ความปลอดภยั

27

9. ทรพั ยากรท่ีมนษุ ยสรางขึ้น ไดแกท รพั ยากรในขอ ใด

ก. ปา ไม ข. แรธาตุ ค. อากาศ ง. เครื่องจักร

10. สถาบนั การเงนิ ใดเปนแหลง เงนิ ทนุ ในชุมชน

ก. กองทนุ หมบู า น ข. ธนาคารออมสนิ

ค. ธนาคารแหง ประเทศไทย ง. ธนาคารเพอ่ื การเกษตรและสหกรณ

เฉลยกิจกรรมทา ยบทท่ี 3

1. ค 2. ก
3. ค 4. ก
5. ง 6. ง
7. ค 8. ง
9. ง 10. ก

28

บทท่ี 4
การเมืองการปกครอง

ความหมาย ความสําคัญของการเมืองการปกครอง

การเมือง ( Politics)หมายถึง กระบวนการและวิธีการ ท่ีจะนําไปสูการตัดสินใจของ
กลุมคน กิจกรรมทางการเมืองสามารถเกิดขึ้นไดท่ัวไปในทุกกลุมคนที่มีปฏิสัมพันธกัน ซ่ึงรวม
ไปถึงในแวดวงธุรกิจแวดวงวิชาการ และในวงการศาสนาการเมอื งจะมคี วามสําคญั ดงั น้ี

1. เปน วิถีชวี ิตแบบหน่ึงของคนในรัฐ
2. คนในรัฐไมสามารถหนผี ลกระทบทางการเมอื งได
3. กิจกรรมทางการเมืองนาํ ไปสกู ารใชอ ํานาจเพอื่ ออกกฎหมายพัฒนาประเทศและ
แกปญ หาของประเทศ
อํานาจอธิปไตย (Sovereignty) หมายถึง อํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ เปน
เครื่องช้ีถึงความเปนประชาธิปไตยและความเปนเอกราชของชาติอํานาจอธิปไตยยอมมีความ
แตกตา งกันไปในแตล ะระบอบการปกครอง เชน ในระบอบประชาธิปไตย อาํ นาจอธปิ ไตย
เปนของประชาชน กลาวคือ ประชาชนคือผูมีอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ ในระบอบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย อํานาจอธิปไตยเปนของพระมหากษัตริย กลาวคือ กษัตริยเปนผูมี
อาํ นาจสูงสุดในการปกครองประเทศ เปนตน
อน่ึง อํานาจอธิปไตยนี้ นับเปนองคประกอบสําคัญที่สุดของความเปนรัฐ เพราะการจะ
เปนรัฐไดนั้น นอกจากตองประกอบดวย อาณาเขต ประชากร และรัฐบาลแลว ยอมตองมี
อํานาจอธิปไตยดวย กลาวคือ ประเทศน้ันตองเปนประเทศท่ีสามารถมีอํานาจสูงสุด (อํานาจ
อธิปไตย) ในการปกครองตนเอง จงึ จะสามารถเรียกวา "รัฐ" ได

โครงสรา งการบริหารราชการแผน ดนิ

สําหรับ ป ระ เทศ ไทย พ ระ ราชบัญ ญัติระ เบียบ บ ริหารราชก ารแผน ดิน
พ.ศ. 2534 บญั ญัติใหการบรหิ ารราชการแผนดินแบงออกเปน 3 สวน ไดแก บริหารราชการ
สวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถ่ิน โดยทั้ง 3 สวนนี้ ลวนอยูในการควบคุมดูแลของ
คณะรัฐมนตรี ซึ่งหนาท่ีรับผิดชอบบริหารราชการแผนดิน อันครอบคลุมไปถึงการกําหนด
นโยบายเพ่ือใหข าราชการนาํ ไปปฏิบตั ิ การอาํ นวยความสะดวกและการใหบริการสาธารณะแก
ประชาชนตามกฎหมาย นโยบาย และคําสง่ั ของคณะรัฐมนตรซี งึ่ เปน ผูบงั คับบญั ชา

29

การบริหารราชการสวนกลาง หมายถึง การบริหารที่ใชหลักการรวมอํานาจ โดยให
อาํ นาจการบงั คับบัญชาและการวนิ ิจฉัยสั่งการสงู สุดอยูใ นสว นกลาง คอื กรงุ เทพมหานครอนั เปน
เมืองหลวงและศูนยกลางการบริหารราชการแผน ดนิ ของรฐั แบงสวนราชการออกเปน

1. สํานักนายกรัฐมนตรีมีอํานาจหนาท่ีเก่ียวกับราชการท่ัวไปของนายกรัฐมนตรีและ
คณะรฐั มนตรี

2. กระทรวงหรือทบวง ซึ่งมีฐานะเทียบเทากระทรวงมีหนาที่กําหนดนโยบาย และ
วางแผนการดาํ เนินงานของกระทรวง รวมทั้งกาํ กับ เรงรดั ตดิ ตาม การดาํ เนินงานตามแผนและ
นโยบายทว่ี างไว

3. ทบวง ซึ่งสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวงเปนสวนราชการที่มีสภาพและ
ปรมิ าณงานไมเหมาะสมที่จะจัดต้งั เปนกระทรวงได

4. กรม หรอื สวนราชการท่ีเรียกช่ืออยางอ่ืนและมีฐานะเปนกรม ซ่ึงสังกัดหรือไมสังกัด
สํานกั นายกรฐั มนตรี กระทรวง หรอื ทบวง สํานักนายกรัฐมนตรี สวนราชการดังกลาวน้ีมีฐานะ
เปนนติ บิ คุ คลจําแนกได 3 ประเภท คอื

4.1 สํานักงานรฐั มนตรี มีหนาท่ีเก่ียวของกับราชการทางการเมืองของกระทรวงข้ึน
ตรงตอ รัฐมนตรวี า การกระทรวง

4.2 สํานักงานปลัดกระทรวง มีหนาท่ีเก่ียวของกับราชการประจําทั่วไปของ
กระทรวง กํากับเรง รัดตดิ ตามผลการปฏิบตั ิราชการของสวนราชการในกระทรวงอยูภายใตการ
ควบคมุ ดแู ลของปลัดกระทรวง

4.3 กรม มีหนาที่เกี่ยวกับราชการสวนใดสวนหน่ึงของกระทรวง อยูภายใตการ
ควบคมุ ดแู ลของอธบิ ดหี รอื ตาํ แหนงที่เรียกชื่อเปน อยา งอ่ืน

การบริหารราชการสวนภูมิภาค หมายถึง การบริหารที่ใชหลักการแบงอํานาจ โดย
ราชการสวนกลางเปนเจาของอํานาจ แลวแบงอํานาจการบังคับบัญชาและการวินิจฉัยส่ังการ
ใหแกภูมิภาคนําไปปฏิบัติใหเกิดประโยชนสูงสุดแกประชาชน และการปฏิบัติของภูมิภาคนั้น
จะตองใหเหมาะสมสอดคลองกับสภาพแวดลอมและขนบธรรมเนียมประเพณีของแตละพื้นท่ี
ทั้งนี้จะตองไมขัดตอนโยบายของสวนกลางหรือของคณะรัฐมนตรี หรือตัวบทกฎหมายของ
ประเทศ การบริหารราชการสวนภมู ิภาค มี 2 ระดบั คือจงั หวดั และอาํ เภอ

การบริหารราชการสวนทองถ่ิน หมายถึง การบริหารที่ใชหลักการกระจายอํานาจ
ทส่ี ว นกลางไดมอบอํานาจระดับหนึ่งใหประชาชนในทองถิ่นไปดําเนินการปกครองตนเองอยาง
อสิ ระ โดยตองไมขัดตอกฎหมายของประเทศหรือความสงบเรียบรอยของประชาชน กิจกรรม
ท่ีทําไดสวนใหญจะเปนเร่ืองการพัฒนา มีอิสระในการตัดสินใจในการแกปญหาหรือการ
สนับสนุนกิจกรรมของทองถ่ิน ออกขอบังคับหรือระเบียบตาง ๆ มาบังคับในเขตการปกครอง
ของตนไดโ ดยไมขดั ตอกฎหมาย การบรหิ ารราชการสวนทอ งถิ่น ในปจ จุบันมี 4 รปู แบบดังนี้

30

1. องคการบริหารสวนจังหวัดมีโครงสรางท่ีประกอบดวย สภาองคการบริหารสวน
จงั หวดั และนายกองคการบริหารสวนจังหวดั ท่มี าจากการเลอื กตงั้ ของประชาชน

2. เทศบาลมี 3 ประเภท คือ เทศบาลตําบล เทศบาลเมือง และเทศบาลนคร
มีโครงสรางท่ีประกอบดวย สภาเทศบาล และนายกเทศมนตรีท่ีมาจากการเลือกต้ังของ
ประชาชน

3. องคก ารบรหิ ารสว นตําบล มีโครงสรางที่ประกอบดว ย สภาองคก ารบรหิ ารสว นตําบล
และนายกองคก ารบรหิ ารสวนตําบลทมี่ าจากการเลอื กตง้ั ของประชาชนในแตล ะหมบู า น

4. ราชการบรหิ ารสว นทองถ่นิ อืน่ ตามท่กี ฎหมายกาํ หนด ไดแ ก
4.1 กรุงเทพมหานคร มีหนาที่จัดบริการสาธารณะใหแกประชาชนในเขตพ้ืนท่ี

กรุงเทพมหานคร มีสํานักงานใหญเรียกวา ศาลาวาการกรุงเทพมหานคร มีโครงสราง
ท่ีประกอบดวย สภากรุงเทพมหานคร และผูวาราชการกรุงเทพมหานคร มาจากการเลือกต้ัง
ของประชาชน มวี าระในการดาํ รงตําแหนง 4 ป

4.2 เมอื งพทั ยามีโครงสรา งทป่ี ระกอบดวยสภาเมืองพัทยา และนายกเมืองพัทยามา
จากการเลอื กตงั้ ของประชาชน แตก ารกํากับดูแลเมอื งพทั ยาน้ันใหผวู า ราชการจังหวัดชลบุรีเปน
ผูมีอํานาจหนาท่ีกํากับดูแลการปฏิบัติราชการของเมืองพัทยา โดยมีอํานาจส่ังสอบสวน
ขอ เทจ็ จริงหรือสั่งใหนายกเมืองพัทยาชี้แจงแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการของ
เมอื งพทั ยา

ความสมั พนั ธร ะหวา งอาํ นาจนิตบิ ญั ญตั ิ อํานาจบรหิ าร อาํ นาจตลุ าการ

อํานาจนิติบัญญัติ อํานาจบริหาร และอํานาจตุลาการ เปนลักษณะการใชอํานาจ
อธิปไตยโดยแยกอยูใ น 3 สถาบันหลัก ซึ่งสถาบันทั้งสามดังกลาวตางมีอํานาจเปนอิสระตอกัน
แตมีความสมั พันธซ ่ึงกนั และกนั สามารถตรวจสอบและถวงดุลการใชอํานาจของอีกฝายได ดังน้ี

1. อาํ นาจนติ ิบญั ญตั ิ เปนอาํ นาจในการตรากฎหมายใชบังคับแกพลเมืองของประเทศ
โดย ผใู ชอาํ นาจหรอื ปฏบิ ัตหิ นา ทน่ี ้ีโดยตรงคือ รัฐสภา พระมหากษัตริยจะใชอํานาจนิติบัญญัติ
ผา นทางรัฐสภา โดยทรงลงพระปรมาภิไธยในรา งพระราชบัญญตั ิทผี่ านการพิจารณาจากรัฐสภา
แลวเปน ผลใหกฎหมายฉบับน้ีมีผลบงั คบั ใชโดยสมบูรณ

2. อํานาจบริหาร เปนอํานาจในการบังคับใชกฎหมาย บริหารและจัดการปกครอง
บานเมืองใหเปนระเบียบเรียบรอย ผูใชอํานาจหรือปฏิบัติหนาที่นี้โดยตรงคือ รัฐบาลหรือ
คณะรัฐมนตรี

3. อาํ นาจตุลาการ เปนอํานาจในการพจิ ารณาพพิ ากษาคดีใหเ ปนไปตามกฎหมาย ผูใช
อาํ นาจหรือปฏิบตั ิหนาท่ีน้ีโดยตรงคือ ศาล พระมหากษัตริยจะทรงใชอํานาจตุลาการผานทาง
ศาล เชน ทรงลงพระปรมาภไิ ธยแตง ตั้งประธานศาลฎีกาและผูพิพากษาใหปฏบิ ตั หิ นา ท่ี เปนตน

31

การมสี วนรว มทางการเมอื ง การปกครองในระดบั ทอ งถิน่ และระดบั ประเทศ

ในสงั คมประชาธิปไตย ถือวาอาํ นาจอธิปไตยซึ่งเปน อาํ นาจสงู สดุ ในการปกครองรัฐ
เปน ของประชาชน ประชาชนจงึ มีบทบาทในการมสี ว นรว มทางการเมอื งการปกครองรัฐ
เพ่ือประโยชนแ กปวงชน สนองความตองการของปวงชน ฉะนั้น การมีสวนรวมทางการเมืองการ
ปกครองจึงเปน หัวใจของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย

การมีสว นรวมทางการเมืองการปกครอง หมายถึง การท่ีประชาชนในฐานะเปนเจาของ
ประเทศมีสวนในการกําหนดนโยบายหรือกาํ หนดการตดั สนิ ใจของรัฐบาลในการดําเนินงานของ
รัฐเพ่ือประโยชนของประชาชน

การมีสว นรว มทางการเมอื งการปกครองของไทยมหี ลายรปู แบบ ดังนี้
1. การปฏบิ ตั ิตนเปนพลเมืองดี อาจทาํ ไดโดย

1.1 ชว ยรักษาและพฒั นาชุมชนของตนเอง
1.2 เคารพและปฏิบตั ิตามขนบธรรมเนียมประเพณี วฒั นธรรม ขอบังคับของชมุ ชน
1.3 เสียสละประโยชนส วนตนเพ่ือประโยชนส วนรวม
1.4 รว มมอื กับทางราชการในการดูแลและรกั ษาสภาพแวดลอม เปนตน
2. การมีสวนรว มทางการเมืองโดยตรง โดย
2.1 การแสดงความคิดเหน็ ของประชาชนผา นสอื่ ตางๆ
2.2 การสมคั รเปน สมาชกิ พรรคการเมือง
2.3 การสมัครรับเลอื กตั้งเปนสมาชิกสภาทองถิ่น หรอื สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎร
2.4 การชุมนุมโดยสงบ
2.5 การเลอื กตงั้ ซ่งึ เปน สทิ ธิและหนา ท่ีของประชาชนชาวไทย เปนตน

******************************

32

กจิ กรรมทายบทท่ี 4

1. การเมอื งมคี วามสําคญั อยา งไร
แนวตอบ - เปน วิถีชวี ิตแบบหนง่ึ ของคนในรัฐ
- คนในรฐั ไมสามารถหนผี ลกระทบทางการเมืองได
- กิจกรรมทางการเมืองนาํ ไปสกู ารใชอ าํ นาจเพื่อออกกฎหมายพัฒนาประเทศ
และแกปญ หาของประเทศ

2. ใหน กั ศกึ ษาบอกประโยชนของการใชอาํ นาจอธปิ ไตยมาพอสงั เขป
แนวตอบ - สามารถมีสิทธมิ ีเสยี งในการพฒั นาประเทศไดห ลายวธิ ี เชน การใชส ทิ ธิ

เลอื กต้งั การตรวจสอบอาํ นาจรฐั สิทธใิ นการแสดงความคิดเห็น เปน ตน

3. ใหน กั ศกึ ษาจาํ แนกหนว ยงานตอ ไปนว้ี า อยใู นการบรหิ ารราชการสว นกลาง สว นภูมภิ าค

หรอื สว นทอ งถิน่

แนวตอบ - กรงุ เทพมหานคร การบรหิ ารราชการสว นทอ งถน่ิ

- สาํ นักนายกรัฐมนตรี การบรหิ ารราชการสว นกลาง

- กระทรวง การบริหารราชการสว นกลาง

- จงั หวดั การบริหารราชการสวนภูมภิ าค

- องคก ารบริหารสวนจังหวดั การบรหิ ารราชการสว นทอ งถนิ่

4. อํานาจนติ บิ ญั ญตั ิ อาํ นาจบรหิ าร อาํ นาจตลุ าการมีความสมั พันธก นั อยางไร
แนวตอบ มคี วามสัมพนั ธในดานการถว งดลุ อาํ นาจซง่ึ กนั และกนั

5. อาํ นาจนติ บิ ญั ญตั ิ อํานาจบรหิ าร อํานาจตุลาการ
ใหนักศกึ ษาเลอื กขอความขา งบนมาเตมิ ใหสอดคลอ งกบั ชอ งวา ง
แนวตอบ อาํ นาจบรหิ าร คอื อํานาจในการบังคบั ใชกฎหมาย
อํานาจนิตบิ ญั ญัติ คือ อาํ นาจในการตรากฎหมายใชบังคบั แกพลเมือง
ของประเทศ
อํานาจตลุ าการ คอื อาํ นาจในการพจิ ารณาพพิ ากษาคดใี หเ ปนไป
ตามกฎหมาย

33

6. ในระบอบประชาธปิ ไตยเราสามารถมสี ว นรวมทางการเมอื งไดอ ยา งไรบาง
แนวตอบ - การแสดงความคิดเห็นของประชาชนผา นส่อื ตา งๆ
- การสมคั รเปนสมาชกิ พรรคการเมอื ง
- การสมคั รรบั เลอื กตัง้ เปนสมาชิกสภาทองถนิ่ หรือสมาชกิ สภาผแู ทนราษฎร
- การเลือกตง้ั เปนตน

34

แบบทดสอบ
รายวิชาสงั คมศกึ ษา (สค11001)

1.ประเทศไทยมลี ักษณะรปู รา งคลา ยกบั สิ่งใด

ก. ขวาน ข. ขวดนาํ้

ค. กรรไกร ง. มีดโบราณ

2. หากทานตอ งการศกึ ษาลักษณะทางภูมศิ าสตรที่เหมาะสมตอการปลูกขาว ทานควรไปยัง

ภาคใด

ก. ภาคเหนือ ข. ภาคกลาง

ค. ภาคตะวันตก ง. ภาคตะวนั ออก

3. ถาในชุมชนทองถนิ่ ของทานมีทะเล หาดทราย เกาะแกง ท่ีสวยงาม ทา นคดิ วา ควรประกอบ

อาชพี เก่ยี วกับอะไร

ก. เกษตรกรรม ข. ธุรกิจประกันภัย

ค. รบั เหมากอ สรา ง ง. ธรุ กจิ การทอ งเท่ียว

4. ถา ตองการสืบคนความเปนมาของทองถ่ิน ควรทาํ สิ่งใดเปนข้ันตอนแรก

ก. วเิ คราะหขอมูล ข. รวบรวมขอ มูล

ค. ตัง้ ประเดน็ ทีจ่ ะศึกษา ง. หาความสัมพนั ธระหวา งขอมูลกับขอ เท็จจริง

5. พระมหากษัตริยท่ีมพี ระปรีชาสามารถดา นศิลปะวรรณคดีอยางสงู จนในสมยั น้ันไดชอ่ื วา เปน

“ยคุ ทองของวรรณคดีไทย”หมายถึงใคร

ก. พอขนุ รามคําแหงมหาราช ข. สมเดจ็ พระเจาตากสินมหาราช

ค. สมเด็จพระนารายณมหาราช ง. พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาเจา อยูห ัว

6. ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎใี หมเ กดิ ขน้ึ ในรัชกาลใด

ก. พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจา อยูห ัว

ข. พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา เจาอยหู วั

ค. พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา เจาอยูหัว

ง. พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราช

7. ขอความทเี่ กี่ยวกบั เศรษฐศาสตรข อใดถูกตองท่ีสดุ

ก. วชิ าทม่ี ีความสําคญั ในการดาํ เนนิ ชีวิต

ข. วิชาทเ่ี ก่ียวของกับเศรษฐกิจตางประเทศ

ค. วิชาที่เก่ยี วกบั การผลิตและจําหนายสินคา

ง. วิชาทีเ่ กย่ี วกบั การใชทรัพยากรใหมีประสิทธิภาพมากทส่ี ุด

35

8. รถยนตเปนสินคาทมี่ ผี ขู ายนอยราย ผขู ายควรนาํ ไปจําหนายในตลาดประเภทใด

ก. ตลาดผกู ขาด ข. ตลาดผขู ายนอ ยราย

ค. ตลาดแขงขันสมบูรณ ง. ตลาดกึ่งแขง ขันกึง่ ผกู ขาด

9. สถาบนั ใดมีอาํ นาจในการตราพระราชบญั ญตั ิ

ก. ศาล ข. รัฐบาล

ค. รฐั สภา ง. นายกรัฐมนตรี

10. พระมหากษตั ริยทรงแตง ตั้งตุลาการศาลรฐั ธรรมนูญตามคาํ แนะนําของใคร

ก. วฒุ ิสภา ข. รัฐสภา

ค. สภาผแู ทนราษฎร ง. นายกรฐั มนตรี

เฉลยกิจกรรมทายบทที่ 4

1. ก 2. ข 3. ง 4. ค 5. ค
6. ง 7. ง 8. ข 9. ค 10. ก

36

คณะทาํ งาน

ทีป่ รกึ ษา จําจด เลขาธกิ าร กศน.
นายสุรพงษ หอมดี รองเลขาธิการ กศน.
นายประเสริฐ ผอู ํานวยการกลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบ
นางตรีนุช สุขสุเดช และการศึกษาตามอัธยาศยั

นายอรัญ คงนวลใย ผอู ํานวยการ สถาบนั กศน.ภาคใต

ผูสรปุ เนอื้ หา ครู กศน.อาํ เภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
นางสาวกาญจนา สงิ หาด ครู กศน.อําเภอสิงหนคร จังหวดั สงขลา
นางสุทธิพร ศสธิ ร ครู กศน.อาํ เภอระโนด จงั หวัดสงขลา
นางลักษมณ ไทยรัตน ครู กศน.อาํ เภอระโนด จงั หวัดสงขลา
นางเพียงจนั ทร สันหนู ครู กศน.อําเภอสะเดา จังหวดั สงขลา
นางสาววันเพ็ญ ชว ยนกุ ูล ครู กศน.อาํ เภอสะเดา จงั หวัดสงขลา
นางสาวจิตประภา ทองแกมแกว

ผตู รวจและบรรณาธกิ าร ครู สถาบนั กศน.ภาคใต
นางจฑุ าทพิ ย ถาวรประสิทธิ์ ครู สถาบัน กศน.ภาคใต
นางสายชล จกั รเจรญิ ครู สถาบนั กศน.ภาคใต
นางสาวณัฐภสั สร แดงมณี

ผพู มิ พต น ฉบบั เจา หนาที่ สถาบัน กศน.ภาคใต
นางสาวก่งิ กาญจน ประสมสุข

ผูออกแบบปก กลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบ
นายศภุ โชค ศรีรัตนศิลป และการศึกษาตามอธั ยาศัย

37


Click to View FlipBook Version