The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อมูลภูมิปัญญาท้อถิ่น ตำบลบ้านนา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookrayong, 2020-06-01 01:08:49

ปราชญ์ชาวบ้าน กศน.ตำบลบ้านนา

ข้อมูลภูมิปัญญาท้อถิ่น ตำบลบ้านนา

Keywords: ปราชญ์บ้านนา





คำนำ

ภูมิปัญญาท้องถิ่นตาบลบ้านนา เล่มนี้ รวบรวมข้อมูลของปราชญ์ชาวบ้าน บุคคลท่ีมี
ความรู้ในด้านต่าง ๆ ในเขตตาบลทางเกวียน อาเภอแกลง จังหวัดระยอง เพ่ือให้นักเรียน นักศึกษา
ประชาชน ได้ใช้เป็นข้อมูลความรู้ในการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นที่รวบรวมนี้
มีหลายด้าน แล้วแต่งานท่ีแต่ละท่านปฏิบัติจนประสบผลสาเร็จ ซ่ึงสามารถสรุปให้เห็นได้อย่างชัดเจน
กศน.อาเภอแกลง โดย กศน.ตาบลบ้านนา อาเภอแกลง ได้เล็งเห็นความถึงสาคัญของผู้ท่ีมีความรู้
ความสามารถ ทาคุณประโยชน์ และปฏิบัติตนแบบเป็นแบบอย่างท่ีดีต่อคนในตาบลบ้านนา อาเภอแกลง
จงั หวัดระยอง จงึ ไดจ้ ัดทาภูมิปญั ญาท้องถนิ่ ตาบลบ้านนาขึ้น เพอื่ ยกยอ่ งและเผยแพรใ่ ห้ได้นาไปเป็นแบบอย่าง
ที่ดีในการดาเนนิ ชวี ติ ตอ่ ไป

กศน.ตาบลบา้ นนา



สำรบัญ

คำนำ......................................................................................................................................................... ก
สำรบญั ...................................................................................................................................................... ข
นำยโกมล นสิ ยั มนั่ ...................................................................................................................................... 1

๑. ภมู ิปัญญำด้ำน.................................................................................................................................... 1
๒. ข้อมลู พนื ้ ฐำนภมู ปิ ัญญำ ...................................................................................................................... 1
๓. จดุ เดน่ ของภมู ปิ ัญญำ.......................................................................................................................... 1
๔. ท่มี ำของภมู ปิ ัญญำ ............................................................................................................................. 1
๕. รำยละเอียดภมู ิปัญญำ ........................................................................................................................ 2
๖. รูปแบบและลกั ษณะกำรถำ่ ยทอด .......................................................................................................... 2
๗. กำรพฒั นำตอ่ ยอดภมู ิปัญญำให้เป็ นนวตั กรรม คณุ คำ่ (มลู คำ่ ) และควำมภำคภมู ใิ จ..................................... 2
๘. แหลง่ อ้ำงองิ : ผ้จู ดั เก็บข้อมลู (พร้อมเบอร์โทร/ LINE ID)......................................................................... 3
นำยกร่ำ สพุ รรณวงศ์ ................................................................................................................................... 3
1. ภมู ปิ ัญญำด้ำน .................................................................................................................................... 4
2. ข้อมลู พนื ้ ฐำนภมู ิปัญญำ....................................................................................................................... 4
3. จดุ เดน่ ของภมู ปิ ัญญำ .......................................................................................................................... 4
4. ท่ีมำของภมู ปิ ัญญำ.............................................................................................................................. 4
5. รำยละเอยี ดภมู ปิ ัญญำ......................................................................................................................... 5
6. รูปแบบและลกั ษณะกำรถำ่ ยทอด เผยแพร่ภมู ปิ ัญญำท้องถ่ิน...................................................................... 7
7. กำรพฒั นำตอ่ ยอดภมู ิปัญญำให้เป็ นนวตั กรรม คณุ คำ่ (มลู คำ่ ) และควำมภำคภมู ใิ จ ..................................... 7
8. แหลง่ อ้ำงองิ : ผ้จู ดั เก็บข้อมลู (พร้อมเบอร์โทร/ LINE ID).......................................................................... 7



พระสมหุ ์สงั เกตจุ นฺทสำโร............................................................................................................................... 9
๑. ภมู ปิ ัญญำด้ำน.................................................................................................................................. 10
๒. ข้อมลู พนื ้ ฐำนภมู ปิ ัญญำ .................................................................................................................... 10
๓. จดุ เดน่ ของภมู ปิ ัญญำ........................................................................................................................ 10
๔. ทม่ี ำของภมู ปิ ัญญำ ........................................................................................................................... 11
๕. รำยละเอียดภมู ิปัญญำ ...................................................................................................................... 11
๖. รูปแบบและลกั ษณะกำรถำ่ ยทอด เผยแพร่ภมู ปิ ัญญำท้องถิ่น ................................................................... 13
๗. กำรพฒั นำตอ่ ยอดภมู ิปัญญำให้เป็ นนวตั กรรม คณุ คำ่ (มลู คำ่ ) และควำมภำคภมู ใิ จ................................... 13
๘. แหลง่ อ้ำงองิ : ผ้จู ดั เก็บข้อมลู (พร้อมเบอร์โทร/ LINE ID)....................................................................... 13

1

นำยโกมล นสิ ัยมัน่

ตำบลบ้ำนนำ อำเภอแกลง จงั หวดั ระยอง

๑. ภมู ปิ ญั ญำด้ำน

ภูมิปัญญาด้าน...............การเกษตร..............ชือ่ ภมู ิปญั ญา...........ป๋ยุ ชวี ภาพจากปกล้วยนา้ ว้า............

๒. ข้อมูลพืน้ ฐำนภมู ปิ ัญญำ

๒.๑ กรณีรายบคุ คล
ช่อื .........นายโกมล..........นามสกุล.........นิสัยม่นั ....วนั เดอื นปเี กดิ ..........๐๒ ก.ย. ๒๔๘๘...............

ที่อยู่ปัจจบุ นั (ทีส่ ามารถติดต่อได้) เลขท.่ี .....๑๔๙.....หมู่ ๕ ...ถนน..............-..................ตาบล.......บา้ นนา.......
อาเภอ................แกลง.................จังหวดั ............ระยอง.......................รหัสไปรษณยี .์ .......๒๑๑๑๐.....................
พิกัดบา้ น.............................บา้ นอทู่ อง........................เบอร์โทรศัพท์.............๐๙๘-๓๑๙๘๖๒๘.........................
LINE ID.....................................-............................Facebook กลมุ่ ....................โกมล สวนซง่ิ .........................

๒.๒ กรณเี ปน็ กล่มุ ทางภมู ิปัญญา
ผู้ประสานงาน ช่ือ........................................นามสกุล...............................วันเดือนปีเกดิ .............

ท่อี ยูป่ จั จุบนั (ทสี่ ามารถติดต่อได้) เลขท.ี่ ............ถนน................................ตาบล.............................
อาเภอ................................................จงั หวดั .................................................รหสั ไปรษณยี ์............................
พกิ ัดบ้าน..................................................เบอรโ์ ทรศพั ท.์ ...................................................................................
LINE ID.................................................................Facebook กลุ่ม..................................................................

๓. จุดเด่นของภูมิปัญญำ

การทาปุย๋ หมักจากพชื สด คอื กล้วยน้าว้าสกุ จนงอม เพราะในกลว้ ยนา้ วา้ น้นั จะมกี รดอะมิโน ช่วยเพิม่
การเจรญิ เตบิ โตใหก้ บั พืชผักผลไล้

๔. ท่มี ำของภมู ิปัญญำ

เข้ารบั การอบรม แลกเปลี่ยนเรยี นรู้จากหน่วยงานต่าง ๆ ทงั้ กาครัฐและเอกชน และเครือรข่ายปราชญ์
ชาวบ้านรวมท้ังได้นาหลักปรัชญาชองเศรษฐกิจพอเพียงและการทาเกษรแบบผสมผสานหามแนวพระราะดาริ
รอหระบาหสมเด็จพระเข้าอยู่หัวมาปรับใช้พร้อมท้ังปรับสภาพพื้นที่ให้ความสมดุลในการทาเกษตรแบบใหม่
และเหมาะสมกับสภาพพื้นท่ีระหว่างปี พศ.๒๕๕๓ -ปัจจุบัน นายฉัน บุญเกิด ใต้คาเนินชีวิตตามหลักปรีชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงรวมท้ังไต้แลกเปลี่ยนเรียน ในลักษณะที่มีความลากหลายมากข้ึน ทาให้นายฉัน บุญเกิด
มีเหคนิคและวิธีการและองค์ความรู้ในการทาเกตรวจทั้งสามารถยแพร่ความรู้กาทาเกษตรแบบผสมผสาบและ
เกษตรหฤษฎีใหม่ให้กับคนในหมู่บ้านชุมขน ตาบลและอากอ รวมท้ังผู้ที่มีความสนใจจากทุกพ้ืนท่ีทาให้เป็นท่ีรู้
กันวนายฉนั บุญคิด เป็นผ้นู าในกทาเกษหรอื มภี มู ิปญั ญาชาวบ้าน

2

๕. รำยละเอียดภูมปิ ัญญำ

(ลักษณะภูมปิ ญั ญา/รูปแบบ/วธิ ีการ/เทคนคิ ทใี่ ช/้ ภาพถ่าย หรอื ภาพวาดประกอบ/พฒั นาการของผลติ ภณั ฑ์ หรือผลงาน/
กระบวนการสรา้ งภมู ิปัญญา/ลักษณะการใชป้ ระโยชนจ์ ากภูมปิ ญั ญาทีเ่ กิดข้ึน)

ใช้กล้วยสกุ งอมที่คดิ วา่ กนิ ไมไ่ ดแ้ ลว้ ประมาณ ๓ - ๔ หวี (มีความหวานแบบไมต่ ้องใช้กากนา้ ตาล) นา้ ตาลทม่ี ี
อยู่กลว้ ยงอมจะทา้ ให้นา้ หมักไมเ่ น่าไมจ่ า้ เป็นต้องใชก้ ากนา้ ตาล จากนันหั่นพรอ้ มเปลอื กเป็นชนิ เลก็ ๆ ใส่ลงในถงั เติม
นา้ พอทว่ มกล้วย แลว้ นา้ แป้งขา้ วหมากประมาณ ๒ ลกู บดผสมลงไป คนใหเ้ ข้ากัน ปิดฝาวางไวใ้ นทีร่ ่ม และเปิดคน วนั
ละ ๑ รอบ เพอ่ื เติมออกซิเจน ประมาณ ๗ วัน ก็มธี าตุอาหารตามท่พี ืชตอ้ งการแลว้ แตถ่ า้ อยากจะใหส้ ูงกวา่ นนั ก็หมกั
ทิงไว้ ๑-๒ เดือน
การน้ามาใช้ สา้ หรับฉีดพน่ ทางใบ ใช้ประมาณ ๔-๕ ชอ้ นโตะ๊ ตอ่ นา้ ๒๐ ลติ ร และฉดี พน่ เพ่ือเพม่ิ ธาตุอาหารใหก้ ับพชื
ตามปกติ ส่วนกรณที ีจ่ ะเตมิ ธาตอุ าหารให้กับดนิ ใช้ประมาณ ๑ ชอ้ นโต๊ะ ตอ่ นา้ ๑ ลติ ร ระวังอยา่ ใหโ้ ดนใบในขณะท่ี
ใช้ อาจจะทา้ ให้ใบไหมเ้ นอื่ งจากมีความเปน็ กรดสูง

๖. รูปแบบและลักษณะกำรถำ่ ยทอด
เผยแพรภ่ มู ิปัญญาท้องถิน่ (ท่ีสะท้อนความน่าเช่อื ถอื การยอมรบั ผา่ นบคุ คล/ชุมชน/องคก์ ร/รางวลั /

ใบประกาศ/การจดทะเบยี นลขิ สิทธ์ิ สือ่ ดจิ ิทัล/เอกสารเผยแพร่ คลิป VDO ฯลฯ)
-มกี ารฝกึ อบรมจากเทศบาล และชุมชน

๗. กำรพัฒนำต่อยอดภูมปิ ัญญำใหเ้ ป็นนวตั กรรม คุณคำ่ (มลู ค่ำ) และควำมภำคภมู ใิ จ
ทาใหผ้ ลไมใ้ นสวนออกตามฤดูกาลและมีปุ๋ยท่เี ปน็ มิตรกับสงิ่ แวดลอ้ มแทนปุ๋ยเคมี

3

๘. แหลง่ อ้ำงองิ : ผจู้ ัดเก็บข้อมูล (พรอ้ มเบอรโ์ ทร/ LINE ID)
ช่ือ........นางสาวอมุ าพร ......นามสกลุ .........เตมิ สุข..........วันทเี่ ก็บข้อมูล.....๑๖ มี.ค. ๒๕๖๓..........

หน่วยงาน/สถานศกึ ษา................กศน.ตาบลบา้ นนา อาเภอแกลง................จงั หวัด.......ระยอง....................
โทร...๐๙๕-๓๐๕๘๕๕๙....... LINE [email protected].............

หมายเหตุ : ให้แนบภาพถา่ ยบคุ คลและอปุ กรณ/์ เครื่องมือ/สิง่ ประดิษฐ์ (ชน้ิ งาน หรือผลงาน) มาด้วย

4

นำยกรำ่ สพุ รรณวงศ์

ตาบลบ้านนา อาเภอแกลง จงั หวดั ระยอง

1. ภูมปิ ญั ญำดำ้ น
ภมู ิปัญญาด้าน..........วัฒนธรรม (ศิลปะวัฒนธรรม)................ชื่อภูมปิ ญั ญา............โขนสด.........

2. ข้อมูลพ้นื ฐำนภมู ิปญั ญำ
2.1 กรณรี ายบคุ คล
ชอ่ื ..........นายก่า...........นามสกลุ ..........สุพรรณวงศ.์ .....วนั เดือนปเี กดิ ..........๐๑ ม.ค. ๒๔๘๗.......

ที่อยปู่ จั จบุ นั (ทีส่ ามารถตดิ ต่อได้) เลขท่ี......๑๓๐.....หมู่ ๕ ...ถนน..............-............ตาบล........บ้านนา............
อาเภอ................แกลง.................จังหวัด............ระยอง................รหัสไปรษณีย.์ .......๒๑๑๑๐............................
พิกดั บา้ น................................-......................................เบอรโ์ ทรศพั ท์...............๐๘๙-๒๒๘๔๐๖๔.....................
LINE ID.....................................-..................Facebook กลมุ่ ..........................-................................................

2.2 กรณีเปน็ กลมุ่ ทางภมู ปิ ญั ญา
ผู้ประสานงาน ชื่อ............................นามสกลุ ....................วันเดือนปเี กดิ ................................

ทีอ่ ยปู่ ัจจุบนั (ท่สี ามารถตดิ ต่อได้) เลขท.่ี ..........................ถนน................................ตาบล...................
อาเภอ......................................จังหวดั ...................................รหสั ไปรษณยี ์...................................................
พิกดั บ้าน.....................................................เบอร์โทรศัพท.์ ...................................................................................
LINE ID..............................................Facebook กลมุ่ .....................................................................................

3. จุดเดน่ ของภูมปิ ัญญำ
เป็นการแสดงท่ีปรับปรุงมาจากการแสดงโขนใหเ้ รยี บง่ายขนึ เป็นแบบชาวบ้าน ลดแบบแผนทงั ท่ารา้

การแตง่ กาย การขับร้อง คา้ พากย์ และเจรจา โดยประสมการแสดง ๓ ชนดิ คอื โขน หนงั ตะลุง และลิเก โดยผู้
แสดงเปน็ ผพู้ ูดเจรจาเองและไม่ต้องสวมหวั โขนคลมุ หน้า

4. ท่ีมำของภมู ปิ ัญญำ
เกิดจากบรรพบรุ ุษตั้งแต่ก่อนแสดงเพื่อ ความบนั เทิง ความให้เกรยี ติและการเคารพผา่ นการแสดงจึง

ถา่ ยมาใหล้ กู หลานใหร้ กั ษาศลิ ปะวฒั นธรรมการแสดงโขดสดนี้เอาไว้ให้คนรุ่นต่อ ๆ ไปได้รู้จกั

5

5. รำยละเอียดภมู ิปญั ญำ
(ลักษณะภูมิปญั ญา/รปู แบบ/วธิ ีการ/เทคนิคท่ีใช้/ภาพถา่ ย หรือภาพวาดประกอบ/พฒั นาการของ

ผลติ ภัณฑ์ หรือผลงาน/กระบวนการสรา้ งภมู ปิ ัญญา/ลกั ษณะการใช้ประโยชนจ์ ากภูมิปัญญาทีเ่ กิดขึ้น)
การไหวค้ รู นบั เปน็ วัฒนธรรมไทยแบบหน่ึงเป็นขนบธรรมเนยี มอันดงี ามในสว่ นท่เี กย่ี วกับ

กริ ยิ ามารยาทสัมมาคารวะ และมีส่วนทจ่ี ะโน้มน้าวจิตใจมนุษยใ์ ห้รักษาคุณความดี รักษาวิทยาการสบื เน่ืองไป
ด้วยดี ทังยังจูงใจใหเ้ ป็นผู้มีนิสัยอ่อนโยน ไม่แข็งกระด้าง

การไหว้ครูคือการแสดงออกถึงความเคารพกตเวทแี ดท่ ่านบุรพาจารย์และครูบาอาจารย์ ผซู้ งึ่ ได้
ประสทิ ธ์ิประสาทวชิ าใหศ้ ิษยใ์ นฐานะผูส้ บื ทอดมรดกทางวชิ าการ จึงพร้อมใจกนั ปวารณาตนรับการถา่ ยทอด
วชิ าความรู้ดว้ ยความวริ ิยะอตุ สาหะ มานะอดทนเพื่อไดน้ ้าเป็นความรตู้ ิดตัวนา้ ไปประกอบอาชีพเพื่อสรา้ งความ
เจรญิ รงุ่ เรอื งให้แก่ตนเองในภายภาคหนา้ โดยมจี ดุ มุ่งหมาย เพอื่

๑.เพ่อื เปน็ การอุทศิ สว่ นกุศล ด้วยการถวายเครือ่ งสกั การะ พลีกรรมแกป่ รมาจารยท์ งั หลาย ทัง
ปวงท่มี าประสิทธ์ปิ ระสาทความร้ใู หแ้ ก่ศิษย์

๒.เพ่อื ให้ผู้เรยี นได้เกิดความม่นั ใจในการเรยี นนาฏศลิ ปเ์ ปน็ อย่างดี เมือ่ ไดผ้ ่านพิธกี รรมมาแล้ว
๓.เพื่อเปน็ การขอขมาลาโทษ หากศษิ ย์ได้กระท้าสง่ิ ท่ีผดิ พลาดโดยร้เู ทา่ ไม่ถึงการณ์ ไม่ว่าจะเป็น
ดา้ นกายกรรม วจกี รรม หรือมโนกรรมก็ตาม
๔.เพอื่ เป็นส่ิงเตือนสติใหศ้ ิษย์ระลกึ ถึงครูอันเปน็ เคร่ืองเตือนใจทจี่ ะประพฤติแตใ่ นสิ่งที่ดีงามอยู่ใน
ศีลธรรม จรรยา ตงั ตนอยูใ่ นโอวาทคา้ สงั่ สอนของครบู าอาจารย์
การตัง้ เครื่องบูชาเครอ่ื งสังเวย
-ทส่ี า้ หรับครปู ัธยาย จดั เครื่องสังเวยของสุกและเปน็ เครอื่ งคู่ (คือสงิ่ ละ ๒ ที)่
-ทสี่ า้ หรับครูดนตรีอยู่ทางขวามอื จดั เคร่ืองสังเวยของสกุ เครือ่ งคู่
-ที่องค์พระพริ าพทางดา้ นซา้ ยมือ จดั เคร่ืองสงั เวยของดบิ เป็นเคร่ืองคู่
-ท่ีพระภมู จิ ัดเครื่องสังเวยของสกุ เครือ่ งเด่ยี ว
-ทตี่ รงหนา้ เคร่ืองปี่พาทย์วงที่ใช้บรรเลงในพธิ จี ดั เครื่องสงั เวยของสุกเคร่อื งเดยี่ ว

เคร่อื งแตง่ กายโขน
-เครอ่ื งแตง่ กายทใี่ ชใ้ นการประกอบการแสดงโขน แต่งกายแบบยนื เครอื่ ง พระ นาง ยักษ์ ลิง

นอกจากตัวละครอ่นื ๆ จะแตง่ กายตามลักษณะนันๆ เชน่ ฤาษี กา ชา้ ง ควาย ฯลฯ นอกจากนีผู้แสดงโขน
จะต้องสวมหนา้ กากทเ่ี รียกว่า “หัวโขน” ซ่ึงศิลปินไทยได้ก้าหนดลักษณะและสีไว้อย่างเป็นแบบแผน และ
กา้ หนดใหใ้ ช้เฉพาะกบั ตวั ละคร เช่น พระราม สีกายเขยี ว พระลกั ษณ์ สีกายเหลอื ง ทศกัณฐ์ สีกายเขยี ว เป็น
ตน้

-เครอื่ งแต่งกายของโขนนัน ไดเ้ ลยี นแบบอย่างเคร่อื งแตง่ กายของพระมหากษัตริย์ แบง่ ได้ ๓
ประเภทคือ ๓ ประเภทคือ

6

๑.ศริ าภรณ์ คอื เคร่ืองประดบั ศรี ษะ เช่น ชฎา มงกุฎ ป้นั จเุ หรจ็ หรอื แมน้ กระทังหัวโขนกจ็ ดั เป็น
เครือ่ งศิราภรณด์ ว้ ยเชน่ กนั

๒.ภษู าภรณ์ คือ เสอื ผ้า เครื่องนุง่ ห่ม เช่น ฉลององค์ (เสือ) สนับเพลา (กางเกง) ห้อยหน้า (ชาย
ไหว) หอ้ ยขา้ ง (ชายแครง) พระภูษา (ผ้านงุ่ ) รดั เอว ผ้าทิพย์ เจียระบาด สไป เป็นต้น

๓.ถนิมพมิ พาภรณ์คือ เครอื่ งประดับต่างๆ เชน่ ปัน้ เหน่ง (เข็มขดั ) สังวาล ตาบหน้า ตาบทศิ ตาบ
หลัง อินทรธนู ธ้ามรงค์ แหวนรอบ ปะวะหลา่้ ทองกร กรองคอ สะองิ พาหรุ ดั กา้ ไลเท้า เป็นตน้

แบ่งออกเป็น ๓ ฝ่าย คอื ฝา่ ยมนุษย์ เทวดา (พระ นาง) ฝา่ ยยกั ษ์ ฝ่ายลิง
เครื่องแต่งกายและเครอ่ื งประดับของตัวพระ

สวมเสอื แขนยาวปกั ดินและเลื่อม มีอนิ ทรธนูทีไ่ หล่ สว่ นล่างสวมสนับเพลาไว้ข้างใน นงุ่ ผา้ ยกจบี
โจงไวห้ างหงสท์ บั สนบั เพลา ด้านหนา้ มีชายไหว ชายแครงห้อยอยู่ ศรี ษะสวมชฎา สวมเคร่อื งประดับตา่ งๆ
เช่น กรองคอ ทับทรวง ตาบทิศ ป้ันเหน่ง ทองกร ก้าไลเท้า เปน็ ต้น แตเ่ ดิมตวั พระจะสวมหวั โขน แตภ่ ายหลัง
ไม่นยิ มเพยี งแต่แตง่ หนา้ และสวมชฎาแบบละครในเท่านนั
เครอ่ื งแต่งกายและเครื่องประดับของตวั นาง

สวมเสือแขนสันเป็นชันในแล้วหม่ สไบทับ ทิงชายไปด้านหลงั ยาวลงไปถึงนอ่ ง สว่ นล่างนงุ่ ผ้ายก
จีบหน้าศรี ษะสวมมงกฎุ รัดเกลา้ หรอื กระบงั หน้าตามแต่ฐานะของตัวละคร ตามตวั สวมเคร่อื งประดบั ต่างๆ
เช่น กรองคอ สงั วาล พาหรุ ัด เป็นต้น แตเ่ ดิมตัวนางท่เี ป็นตัวยักษ์ เชน่ นางส้ามนกั ขา นางกากนาสรู จะสวม
หัวโขน แต่ภายหลงั มีการแต่งหนา้ ไปตามลักษณะของตวั ละครนันๆ โดยไมส่ วมหัวโขนบ้าง
เครอื่ งแตง่ กายและเครอ่ื งประดบั ของตัวยักษ์

เครือ่ งแต่งกายสว่ นใหญ่คลา้ ยตวั พระจะแตกตา่ งกนั ที่การนงุ่ ผา้ คือ ตวั ยักษ์จะน่งุ ผ้าไม่มีหางหงส์
แตม่ ีผา้ ปิดกน้ ลงมาจากเอว สว่ นศีรษะสวมหัวโขนตามลกั ษณะของตวั ละคร ซึ่งมีอยปู่ ระมาณ ๑๐๐ ชนดิ
เครอ่ื งแตง่ กายและเครื่องประดับของตวั ลิง

ตัวลิง เครื่องแต่งกายส่วนใหญค่ ลา้ ยตวั ยกั ษแ์ ตม่ ีหางลิงหอ้ ยอยใู่ ต้ผา้ ปดิ กน้ อีกที สวมเสอื ตามสี
ประจ้าตัวในเรื่องรามเกยี รต์ิ ไมม่ ีอนิ ทรธนู ตัวเสอื ปกั ลายขดเปน็ วง สมมตุ ิวา่ เป็นขนตามตัวลิง สว่ นศีรษะสวม
หัวโขนตามลกั ษณะของตัวละคร ซึ่งมอี ยู่ประมาณ ๔๐ ชนดิ
ประเภทหวั โขน

เปน็ เครอ่ื งใช้สา้ หรบั ศรี ษะและปดิ บังส่วนหน้าทค่ี ลา้ ยกบั หน้ากาก แตห่ วั โขนจะมีลกั ษณะที่
แตกต่างออกไปตรงทส่ี ร้างหุ่นจา้ ลองรูปทรงใบหน้าและศีรษะทงั หมด โดยผู้แสดงสามารถสวมครอบศีรษะจะ
หอ่ หมุ้ สว่ นใบหนา้ และส่วนหวั มิดชดิ และเจาะช่องเป็นรูกลมทต่ี าของหนา้ กากใหต้ รงกับนยั นต์ าของผู้แสดง
เพ่อื ให้นักแสดงมองเห็นการแสดง ส้าหรับโขนสดผ้แู สดงเปน็ ผพู้ ูดเจรจาและไม่ต้องสวดหัวโขนคลุมหนา้
เพลงท่ีใช้ประกอบการแสดงโขน

เพลงหนา้ พาทย์ท่ใี ช้บรรเลงประกอบกริ ิยาอาการและบทบาทต่างๆ ของโขน
เพลงเข้าม่าน ใชป้ ระกอบการเดินเขา้ ฉากในระยะใกลๆ้ ของตวั เอก

7

เพลงเสมอ ใชป้ ระกอบการไปมาในระยะใกล้ๆ
เพลงเชิด ใช้ประกอบการไปมาในระยะไกลๆ และใช้ในการต่อสู้
เพลงตระนิมิต ใชป้ ระกอบการแปลงกายของตวั หนุ่ ที่เปน็ ตัวเอกๆ
เพลงชุบ ใชป้ ระกอบการเดนิ ของนางกา้ นัล เช่นเม่อื นางยสี่ ูนใชน้ างก้านัลให้ไปตามพราหมณป์ ่ี
พาทย์กท็ า้ เพลงชบุ
เพลงโลม ใชป้ ระกอบการโลมเล้าเกียวพาระหว่างตวั แสดงท่เี ป็นตวั เอก มักต่อด้วยเพลงตระนอน
เพลงตะนอน ใช้สา้ หรบั ตัวเอกเมื่อจะเขา้ นอน โดยมาบรรเลงต่อจากเพลงโลม
เพลงโอด ใช้ประกอบการเศร้าโศกเสียใจ
เชดิ ฉง่ิ ใชป้ ระกอบการเดินทาง การเหาะ เชน่ เบญจกายเหาะมายังเขาเหมติรนั
เชดิ กลอง ใชบ้ รรเลงต่อจากเพลงเชดิ ฉ่งิ
เพลงร่ัวตา่ งๆ ใชป้ ระกอบการแผลงอทิ ธฤิ ทธ์ิหรือแปลงตัวอย่างรวบรัด
เพลงกราวนอก ใช้ประกอบการยกทัพตรวจพล ของกระบวนทัพฝ่ายมนุษย์
เพลงกราวใน ใช้ประกอบการยกทัพตรวจพลของกระบวนทพั ฝ่ายยักษ์

6. รูปแบบและลกั ษณะกำรถำ่ ยทอด เผยแพร่ภูมิปัญญำท้องถ่ิน
(ที่สะท้อนความน่าเชือ่ ถือ การยอมรับผ่านบุคคล/ชุมชน/องคก์ ร/รางวัล/ใบประกาศ/การจดทะเบยี น

ลขิ สิทธ์ิ สอื่ ดจิ ทิ ลั /เอกสารเผยแพร่ คลปิ VDO ฯลฯ)
แสดงตามโอกาสในเทศกาลสาคญั เพ่ือให้ประชาชนรุ่นหลังได้เห็น เชน่ แสดงในการเทศกาลงานบญุ

กลางบ้านท เป็นตน้

7. กำรพัฒนำต่อยอดภูมิปัญญำใหเ้ ป็นนวตั กรรม คุณคำ่ (มลู ค่ำ) และควำมภำคภูมิใจ
ความภาคภมู ิใจให้คนรุ่นหลงั ไดส้ ืบตอ่ ศลิ ปวฒั นธรรมการแสดงโขนสดตอ่ ไป

8. แหลง่ อำ้ งอิง : ผู้จัดเกบ็ ขอ้ มูล (พรอ้ มเบอร์โทร/ LINE ID)
ชื่อ........นางสาวอมุ าพร ......นามสกุล.........เติมสขุ ..........วันทเ่ี ก็บข้อมลู .....๑๖ มี.ค. ๒๕๖๓..........

หน่วยงาน/สถานศกึ ษา................กศน.ตาบลบ้านนา อาเภอแกลง................จงั หวัด.......ระยอง....................
โทร...๐๙๕-๓๐๕๘๕๕๙....... LINE [email protected].............

หมายเหตุ : ใหแ้ นบภาพถ่ายบคุ คลและอุปกรณ/์ เคร่ืองมือ/สง่ิ ประดิษฐ์ (ชนิ้ งาน หรือผลงาน) มาดว้ ย

8

9

10

พระสมุหส์ ังเกตุจนทฺ สำโร

ตำบลบ้ำนนำ อำเภอแกลง จงั หวดั ระยอง

๑. ภมู ิปญั ญำดำ้ น
ภูมิปญั ญาด้าน.....................สมุนไพรพ้นื บา้ น...............ช่อื ภมู ปิ ญั ญา.............ยาคณู ธาตุ...............

๒. ข้อมูลพ้ืนฐำนภูมปิ ัญญำ
๒.๑ กรณีรายบคุ คล
ชือ่ ...พระสมหุ ์สงั เกตจุ นฺทสาโร.....นามสกุล........อุดม......วนั เดอื นปเี กดิ ..........๒๔ ต.ค ๒๔๙๗.......

ท่อี ยปู่ จั จุบนั (ที่สามารถติดต่อได้) เลขที่......๗๒/๒.....หมู่ ๘ ...ถนน..............-..................ตาบล.......บ้านนา.....
อาเภอ................แกลง.................จังหวัด............ระยอง.......................รหัสไปรษณีย.์ .......๒๑๑๑๐.....................
พกิ ัดบ้าน................................-......................................เบอร์โทรศพั ท.์ ..............๐๘๑-๓๘๕๘๑๑๕.....................
LINE ID.....................................-............................Facebook กลุ่ม..........................-..........................

๒.๒ กรณีเปน็ กล่มุ ทางภูมิปัญญา
ผปู้ ระสานงาน ชื่อ........................................นามสกลุ ...............................วันเดอื นปเี กิด..............

ที่อยู่ปจั จบุ นั (ทส่ี ามารถติดต่อได้) เลขที่.............ถนน................................ตาบล.............................
อาเภอ................................................จังหวดั .................................................รหสั ไปรษณีย.์ ...........................
พกิ ดั บา้ น..................................................เบอรโ์ ทรศัพท.์ ...................................................................................
LINE ID.................................................................Facebook กลมุ่ ..................................................................

๓. จดุ เด่นของภูมิปัญญำ
ยาประจา้ ธาตุเพ่ือปรงุ ใหค้ นกินปรบั ปรุงธาตใุ นร่างกายให้เป็นปกติ ธาตุในรา่ งกายแข็งแรง ระบบตา่ งๆ

ในร่างกายจะสมบรู ณ์ขึน พร้อมกบั ไดก้ ล่าวถึงตัวยาประจา้ ธาตุมี ๔ อยา่ งคือ
๑. ดอกดปี ลี ประจ้า ธาตุดนิ
๒. รากชะพลู ประจ้า ธาตนุ ้า
๓. เถาสะคา้ น ประจ้า ธาตุลม
๔. รากเจตมลู เพลิง ประจา้ ธาตไุ ฟ
๕. เหงา้ ขงิ แห้ง ประจา้ อากาศธาตุ

11

๔. ทม่ี ำของภมู ิปญั ญำ
การคูณธาตุนนั คูณเพือ่ ทา้ ยาธาตุ ทีใ่ ช้ในการรกั ษาโรคเรือรังต่าง ๆ ท่ีไม่ใช่โรคติดต่อ หรือโรคร้ายแรง

เป็นโรคท่ีจับต้นชนปลายไม่ถูก ชนิดท่ีเรียกว่า อาการ ๓๒ แปรปรวนไปหมด ทางแพทย์แผนโบราณก็ให้คูณ
ธาตุกินก่อน หรือให้กินควบคู่ไปกับยารักษาโรคอื่น ๆก็ ได้ มีคนป่วยบางคนท้องขึนเป็นประจ้า และบางคน
ท้องเสียไม่รู้จักหายเพียงกินยาคูณธาตุนีอย่างเดียวก็หายเป็นปกติได้ จึงนับได้ว่ามีประโยชน์

วิธียาคูณธาตุนี มีมายมายหลายวิธีด้วยกัน แต่ต้องใช้ตัวยามากเป็นการหมดเปลืองโดยไม่จ้าเป็น ท่ีจะกล่าวนี
เป็นวิธีง่ายๆและสะดวกทังตัวยาก็ไม่มากไม่น้อยเกินกว่าวิธีอื่น และราคาก็ไม่แพง เป็นการประหยัดไปในตัว

๕. รำยละเอียดภูมิปัญญำ
(ลักษณะภูมิปญั ญา/รปู แบบ/วธิ กี าร/เทคนิคท่ีใช้/ภาพถ่าย หรอื ภาพวาดประกอบ/พัฒนาการของผลิตภณั ฑ์
หรอื ผลงาน/กระบวนการสรา้ งภูมปิ ญั ญา/ลักษณะการใชป้ ระโยชน์จากภมู ิปัญญาท่เี กิดขน้ึ )
วิธีคณู ธาตุ
ท่านใหต้ งั อายปุ ปี ัจจบุ นั คือ ๕๐ ปี เอา ๕ ( กองธาตุ ๕ กอง ) คูณอายุ เท่ากบั ๕๐ คูณ ๕ ได้ ๒๕๐
หลังจากนนั กต็ ้องมาทราบวา่ ธาตุแต่ละธาตมุ ีกา้ ลังประจา้ ธาตดุ งั นี ดนิ ๒๐ , น้า ๑๒ , ลม ๖ , ไฟ ๔ , อากาศ
๑๐ ให้เอาก้าลงั ประจา้ ธาตดุ ิน ( ๒๐ ) บวกกบั ผลลัพท์อายุทีค่ ณู ด้วยกองธาตุ ( ๒๕๐ ) จะไดธ้ าตดุ ิน ๒๐ บวก
๒๕๐ ได้ ๒๗๐ สา้ หรบั ธาตนุ า้ ลม ไฟ อากาศ ใหเ้ อาผลลพั ท์จากธาตุดนิ ( ๒๗๐ ) บวกกับธาตุในแต่ละธาตุ
ธาตนุ ้า ๑๒ บวก ๒๗๐ ได้ ๒๘๒
ธาตลุ ม ๖ บวก 270 ได้ ๒๗๖
ธาตุไฟ ๔ บวก 270 ได้ ๒๗๔
อากาศธาตุ ๑๐ บวก ๒๗๐ ได้ ๒๘๐

ใหเ้ อา ๔ หารผลลพั ท์ที่ไดใ้ นแตล่ ะธาตุ
ธาตุดนิ ๒๗๐ หาร ๔ ได้ ๖๗ เศษ ๒
ธาตุน้า ๒๘๒ หาร ๔ ได้ ๗๐ เศษ ๒
ธาตุลม ๒๗๖ หาร ๔ ได้ ๖๙ เศษ ๐
ธาตไุ ฟ ๒๗๔ หาร ๔ ได้ ๖๘ เศษ ๒
อากาศธาตุ ๒๘๐ หาร ๔ ได้ ๗๐ เศษ ๐

12

แต่ละธาตใุ หเ้ อาเศษไว้ ตัดสว่ นทิงไป
ธาตุดิน ๒
ธาตุน้า ๒
ธาตุลม ๐
ธาตุไฟ ๒
อากาศธาตุ ๐

ธาตุทกุ ธาตุให้ตังเกณฑ์ไว้ต้องครบ ๘ สลึงของตัวยา เศษของธาตทุ ีไ่ ด้ถอื หน่วยเป็นสลึง ดังนนั เมอ่ื เติมธาตใุ ห้
ครบเกณฑ์ก็จะได้
ธาตุดิน ๒ เพิ่มอีก ๖ ไดค้ รบเกณฑ์ ๘
ธาตนุ า้ ๒ เพิ่มอีก ๖ ได้ครบเกณฑ์ ๘
ธาตลุ ม ๐ เพิม่ อีก ๘ ไดค้ รบเกณฑ์ ๘
ธาตไุ ฟ ๒ เพม่ิ อีก ๖ ไดค้ รบเกณฑ์ ๘
อากาศธาตุ ๐ เพม่ิ อกี ๘ ไดค้ รบเกณฑ์ ๘

จะไดต้ วั ยาท่จี ะน้าไปกินดังน้ี
ธาตุดนิ . ดอกดปี ลี ๖ สลึง
ธาตุนา้ รากชะพลู ๖ สลงึ
ธาตุลม เถาสะคา้ น ๘ สลึง
ธาตไุ ฟ รากเจตมูลเพลิง ๖ สลงึ
อากาศธาตุ เหงา้ ขงิ แหง้ ๘ สลงึ

วิธที า้
เอายาทัง ๕ รวมกันต้ม ครังแรกใส่นา้ ทว่ มยาเคย่ี วให้เหลือคร่งึ หนึง่ แลว้ เทเอานา้ ขึน
ใสน่ า้ เท่าครังแรก ต้มเคี่ยวต่อครงั ท่ี ๒ ใหน้ า้ เหลอื ครึง่ หนงึ่ แล้วรนิ นา้ รวมกับทีต่ ม้ ครังแรก
ครังทส่ี าม ตม้ ให้งวดเกือบแห้ง แลว้ กร็ นิ น้ามารวมตม้ กบั ครังท่ี หนง่ึ และสอง เอากากยาทิง แลว้ เอาน้ามากิน
หรือถา้ กินรว่ มกบั ยาอ่นื กเ็ อาไปดองรวมกนั

13

วธิ กี นิ
กินเพยี งวนั ละ ๑ ครงั เท่านนั เช่น ตอนบ่าย ๓ โมงหรือสามทมุ่ หรอื จะเอาเวลาไหนก็ได้ แตต่ อ้ งกนิ เวลา
เดียวกนั ทกุ วนั ครังละ ๒-๓ ชอ้ นโตะ๊ หรือหน่ึงถว้ ยชาในการรักษา
ในการรกั ษาโรคเรอื รงั ต่าง ๆ ท่ีมใิ ชโ่ รคติดต่อหรอื โรครา้ ยแรงตา่ ง ๆ หารคูณธาตเุ ป็นการปรับปรุงกองธาตุให้
เสมอกนั ไม่ต้องเตมิ ตัวยาอะไรอีกทังสนิ คูณธาตุได้อยา่ งไรจา้ นวน ๕ อยา่ งกเ็ อาเทา่ นัน ถา้ ธาตกุ ้าเริบหย่อน
พกิ าร ใช้ตวั ยา ๕ อยา่ งกพ็ อ.

๖. รูปแบบและลกั ษณะกำรถ่ำยทอด เผยแพร่ภูมิปัญญำท้องถ่นิ
(ท่ีสะท้อนความนา่ เชือ่ ถือ การยอมรับผ่านบคุ คล/ชุมชน/องค์กร/รางวัล/ใบประกาศ/การจดทะเบียนลิขสทิ ธิ์
สือ่ ดิจทิ ลั /เอกสารเผยแพร่ คลิป VDO ฯลฯ)

เข้าไปนมสั การหลวงพ่อทา่ นให้ดดู วงอาการวเิ คราะหต์ ามวนั เดอื นปเี กิด และคานวณยาคูณธาตุมาให้

๗. กำรพฒั นำต่อยอดภมู ปิ ัญญำให้เป็นนวตั กรรม คณุ คำ่ (มลู ค่ำ) และควำมภำคภมู ิใจ
เปน็ ยาสมุนไพรท่ีราคาไม่แพงชาวบา้ นจับต้องได้ และมีสรรพคณุ ของสมุนไพรตามธรรมชาติ

๘. แหล่งอำ้ งอิง : ผูจ้ ัดเก็บขอ้ มูล (พร้อมเบอรโ์ ทร/ LINE ID)
ช่ือ........นางสาวอมุ าพร ......นามสกลุ .........เติมสขุ ..........วนั ที่เกบ็ ข้อมลู .....๑๖ ม.ี ค. ๒๕๖๓..........

หนว่ ยงาน/สถานศึกษา................กศน.ตาบลบ้านนา อาเภอแกลง................จังหวดั .......ระยอง....................
โทร...๐๙๕-๓๐๕๘๕๕๙....... LINE [email protected].............

หมายเหตุ : ให้แนบภาพถ่ายบคุ คลและอปุ กรณ/์ เคร่ืองมือ/ส่ิงประดิษฐ์ (ชิน้ งาน หรือผลงาน) มาดว้ ย

14

15

16


Click to View FlipBook Version