The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการนิเทศ กศน.อำเภอเมืองระยอง 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookrayong, 2021-01-08 01:59:07

รายงานการนิเทศ กศน.อำเภอเมืองระยอง ปี 2563

รายงานการนิเทศ กศน.อำเภอเมืองระยอง 2563

รายงานนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.อาเภอเมืองระยอง
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอเมอื งระยอง
สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั

รายงานนเิ ทศการจดั กจิ กรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปงี บประมาณ 2563

คานา

รายงานนิเทศการจัดกิจกรรมศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองระยอง
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จัดทาขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลผลการจัดกิจกรรมการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน การจัด
กิจกรรมวิชาชีพ และ การศึกษาตามอัธยาศย ซึ่งได้จากการนิเทศในรอบปีงบประมาณ 2563 ระหว่างเดือน
ตุลาคม 2562 ถึงเดือนกันยายน 2563 สาหรับใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาคุณภาพการจัดกิจกรรม และผู้ที่
สนใจ ไดใ้ ช้ประโยชนใ์ นการศกึ ษาและวางแผนการจดั กิจกรรมในสว่ นที่เกยี่ วข้องต่อไป

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอเมืองระยอง หวังเป็นอย่างย่ิงวา่ เอกสารรายงาน
นเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 น้ี จะเปน็ ประโยชน์ต่อผู้ท่ีได้ศึกษาและนาไปปฏบิ ัติต่อไป

กศน.อาเภอเมืองระยอง
พฤศจิกายน 2563

รายงานนเิ ทศการจัดกิจกรรม กศน.อาเภอเมืองระยอง ปงี บประมาณ 2563

สารบญั

กรอบความคิดการนิเทศงาน กศน. หนา้
บทสรุปสาหรบั ผบู้ ริหาร 1
3

1. กจิ กรรมตามนโยบายเรง่ ด่วน

๑.1 Good Teacher (การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา) 4

1.2 Good Place – Best Check in (พฒั นาแหลง่ เรียนรู้) 8
การยกระดับ กศน.ตาบล ๕๘ แหง่ เปน็ กศน.ตาบล ๕ ดี พรเี ม่ยี ม 11

1.3 Good Activities (พฒั นาหลักสูตรและสงิ่ แวดล้อม)

การพัฒนาการจัดการศกึ ษาออนไลน์ กศน. 15
1.4 Good Partnerships (การเสรมิ สร้างความร่วมมือกับภาคเี ครือขา่ ย) 18
1.5 Good Innovation (การพฒั นานวัตกรรมทางการศึกษา)

1.6. โครงการจดั และสง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษาตลอดชวี ิตเพื่อคงพฒั นาการทางกายจติ 21

และสมองของผู้สงู อายุ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 “หลักสตู รการจดั กิจกรรม กศน.

ป้องกันซมึ เศร้าคงสมรรถนะทางกาย ใจ และสมองของผู้สงู อายุ”

2. ภารกจิ จัดกิจกรรมต่อเน่อื ง 23
2.๑ การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน 27
1) หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
2) การส่งเสริมการร้หู นงั สอื ไทย 29
๒.2 การศึกษาต่อเนื่อง 33
1) ศูนยฝ์ กึ อาชีพชุมชน 36
2) การศึกษาเพ่ือพัฒนาสงั คมและชมุ ชน 39
3) โครงการศูนยด์ ิจทิ ลั ชุมชน 42
4) โครงการภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารดา้ นอาชพี
5) การจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่

๓. การศกึ ษาตามอธั ยาศยั 46
3.1 ห้องสมดุ ประชาชน 49
3.1 บา้ นหนงั สอื ชุมชน 51
3.3 หอ้ งสมุดเคล่ือนท่ีสาหรบั ชาวตลาด

4. ภารกิจจัดกิจกรรมต่อเนอ่ื งอืน่ ๆ 53
4.1 การพัฒนาระบบการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา 55
4.2 การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมในสถานศกึ ษา 56
4.3 พระบรมราโชบายด้านการศกึ ษาของในหลวงรชั กาลท่ี 10

รายงานนเิ ทศการจัดกจิ กรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

1

กรอบความคดิ การนเิ ทศงาน กศน.

คณะกรรมการนเิ ทศเพื่อขับเคล่ือนการดาเนินงานตามนโยบาย จุดเน้น สานักงาน กศน. จังหวัดระยอง
ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ไดใ้ ชแ้ นวคิดเชิงระบบ (System Concept, System Approach) เป็นแนวทางในการ
นเิ ทศกจิ กรรมของสานักงาน กศน.จงั หวัดระยอง โดยพจิ ารณาจากองคป์ ระกอบของระบบ ดงั น้ี

๑. ปัจจัยนาเข้า (Input) หมายถึง ปัจจัยต่างๆ ที่เป็นทรัพยากรของระบบ เช่น แผนงาน/โครงการ
งบประมาณ บุคลากร ของแตล่ ะงาน/โครงการ

๒. กระบวนการ (Process) หมายถึง กระบวนการดาเนินงานของโครงการ การบริหารจัดการ
การนเิ ทศ ตดิ ตามผล เพือ่ ให้โครงการบรรลุผลสาเร็จตามวตั ถปุ ระสงค์ เป้าหมายและตัวชี้วัดของโครงการ

๓. ผลผลิต (Output) หรือ (Product) และผลลัพธ์ (Outcome) ของโครงการ ในส่วนท่ีเป็นผู้สาเร็จ
การศกึ ษา อัตราความพงึ พอใจ ในส่วนท่ีเปน็ ผลลัพธ์ คือ ผลที่สืบเน่อื งจากผู้เขา้ รว่ มโครงการ หรือ
ผู้เข้ารับการศึกษา นาไปใช้หรือพัฒนาให้ก้าวหน้า เช่น อัตราการมีงานทางาน การนาความรู้ไปพัฒนา
ต่อยอด เปน็ ต้น

ผจู้ ดั ทาเอกสาร ได้ร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) เพื่อสะท้อนปัจจัยความสาเร็จ ปัญหา
อปุ สรรค นาสูข่ อ้ เสนอแนะเพ่อื การพัฒนาตลอดจนการวิเคราะหผ์ ลการปฏบิ ตั ิงานดเี ด่น
(Best Practice) เพ่ือใช้เป็นแนวทางหรือวิธีการต้นแบบของการพัฒนา สาหรับรายงานนิเทศการจัดกิจกรรม
กศน.ระยอง ครึ่งปีแรก ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ น้ี คณะผู้จัดทาได้ร่วมสรุปผลการนิเทศตามกรอบแนวคิด
เชงิ ระบบดงั กล่าว มีรายละเอยี ดดงั น้ี

การนเิ ทศและการนิเทศการศึกษา
เป็นกระบวนการในการช่วยเหลือ แนะนาครูให้สามารถจัดและปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้
อย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้หลักการประชาธิปไตย ให้เกียรติ และเคารพซึ่งกันและกันระหว่างผู้นิเทศและผู้รับ
การนิเทศ นอกจากนี้ได้รวมถึง นโยบาย จุดประสงค์หลักสูตร ส่ือ วัสดุอุปกรณ์ วิธีสอนของครู ประโยชน์ที่เกิดกับ
ผ้เู รยี น และส่ิงแวดล้อม (ขวัญและกาลังใจเป็นสิ่งสาคัญที่ทาให้บุคคลตั้งใจทางาน ถ้าการนิเทศไม่มีการสร้างขวัญ
และกาลังใจก็ยอ่ มสาเร็จได้ยาก)
ความจาเป็นและความสาคัญในการนิเทศ
1. สภาพสังคมเปล่ียนแปลงไปทุกขณะ การศึกษาจาเป็นต้องเปลี่ยนแปลงให้สอดคล้องกับการ
เปลี่ยนแปลงของสังคมด้วย การนิเทศการศึกษาจะช่วยทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงขึ้นในองค์กรที่เกี่ยวข้องกับ
การศกึ ษา
2. ความรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ เพิ่มขึ้นโดยไม่หยุดยั้ง แม้แต่แนวคิดในเร่ืองการจัดกระบวนการเรียนรู้
ก็เกิดขน้ึ ใหมอ่ ยู่ตลอดเวลา การนเิ ทศการศึกษาจะช่วยทาใหค้ รูมคี วามรู้ทันสมัยอยเู่ สมอ
3. การแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ เพื่อให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้พัฒนาขึ้น จาเป็นต้องได้รับ
การชแี้ นะหรอื การนเิ ทศการศึกษาจากผู้ชานาญการโดยเฉพาะ จึงจะทาให้แกไ้ ขปัญหาไดส้ าเรจ็ ลุล่วง

รายงานนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

2
4. การศึกษาของประเทศ เพ่ือให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ จะต้องมีการควบคุมดูแลด้วย
ระบบการนิเทศการศกึ ษา
5. การศึกษาเป็นกิจกรรมที่ซับซ้อน จาเป็นท่ีจะต้องมีการนิเทศ เพ่ือเป็นการให้บริการแก่ครูท่ีมี
ความสามารถต่างๆ กนั
6. การนิเทศการศึกษาเป็นงานท่ีมีความจาเป็นต่อความเจริญงอกงามของครู แม้ว่าครูจะได้รับการ
ฝึกฝนมาอย่างดีแล้วกต็ าม แต่ครกู จ็ ะต้องปรบั ปรงุ ฝกึ ฝนตนเองอยูเ่ สมอ ในขณะทท่ี างานในสถานการณจ์ รงิ
7. การนิเทศการศกึ ษา มคี วามจาเป็นตอ่ การช่วยเหลือครูในการเตรยี มการจดั กิจกรรม
8. การนิเทศการศึกษามีความจาเป็นต่อการทาให้ครูเป็นบุคคลท่ีทันสมัยอยู่เสมอ เนื่องจาก
มกี ารเปลีย่ นแปลงทางสงั คมทีม่ อี ย่เู สมอ

รายงานนเิ ทศการจัดกิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

3

บทสรุปสาหรับผูบ้ ริหาร

ความเป็นมา
นโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 256๓ ด้านการกากับ นิเทศ ติดตาม
ประเมิน และรายงานผลการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยมุ่งเน้นการสร้างกลไกการ
กากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดาเนินงานเช่ือมโยงกับหน่วยงาน สถานศึกษา และภาคีเครือข่าย
ท้ังระบบ ให้หน่วยงานและสถานศึกษาที่เก่ียวข้องทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกากับ ติดตามและรายงานผลการ
นานโยบายสู่การปฏิบัติ ให้สามารถตอบสนองการดาเนินงานตามนโยบายได้อย่างมีประสิทธิภาพ และการพัฒนางาน
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
ท้ังในด้านการพัฒนารูปแบบการนิเทศและการรายงานผลผลการนิเทศมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ได้ใช้
แนวทาง “การนิเทศเชิงบูรณาการ” ระหว่างผู้นิเทศ สานักงาน กศน.จังหวัด และผู้เก่ียวข้องขับเคลื่อนการนิเทศ
ติดตามการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา เพื่อให้สามารถนาผลการนิเทศ
มาพัฒนาและปรับปรุงงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้บรรลุตามนโยบายและจุดเน้นการ
ดาเนินงานของสานักงาน กศน.
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองระยอง ได้ดาเนินการแต่งตั้งคณะนิเทศใน
การประสานงาน ขับเคลื่อนและสรุปรายงานผลการนิเทศการดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศยั ตามนโยบายและจุดเนน้ สานักงาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 256๓

สภาพปญั หาทพี่ บ
1. เจา้ หนา้ ท/่ี บุคลากรยงั ไม่มีความชานาญหรือเชี่ยวขาญการนิเทศในแตล่ ะกิจกรรมที่ดาเนินการจดั
2. การนิเทศกย็ ังไมเ่ ปน็ ระบบ เนอ่ื งจากผู้ไดร้ ับมอบหมายให้ไปนิเทศมหี น้าที่ต้องปฏิบตั หิ ลายอยา่ ง
3. ผู้รบั การนิเทศไมย่ อมรบั คาแนะนาจากเพอื่ นรว่ มงานด้วยกัน จงึ ทาใหไ้ มม่ ีความมั่นใจท่ีจะให้คาแนะนา
เน่ืองจากไมแ่ น่ใจวา่ ส่งิ ทแ่ี นะนาไปนั้นจะถูกต้องหรอื งานทีป่ ฏิบัตอิ ยู่ทาไดด้ ีกวา่ ผอู้ ่นื
4. บุคลากรยังขาดความรู้ความเข้าใจในการเลือกวิธีนิเทศให้เหมาะสมกับกิจกรรม ระยะเวลา และ
ผู้เข้ารว่ มกิจกรรม

รายงานนเิ ทศการจัดกิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

4

1. กจิ กรรมตามนโยบายเร่งดว่ น

๑.1 Good Teacher (การพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา)

สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้กาหนดยุทธศาสตร์
เพื่อสนับสนุนขับเคล่ือนการปฏิรูปการศึกษา ด้วยการกาหนดให้ กศน. ตาบล เป็นหน่วยจัดกิจกรรมการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือส่งเสริมให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ และการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้แก่
ประชาชน โดยมี ครู กศน. ตาบล เป็นผู้ประสานงาน และจัดกิจกรรมการเรียนรู้กับชุมชน ภายใต้การกากับ ดูแล
ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยระดับอาเภอ / เขต การดาเนินการส่งเสริมให้เกิดสังคม
แห่งการเรียนรู้ และการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้แก่ประชาชนน้ัน ในปีงบประมาณ ๒๕๖๓ สานักงาน กศน. ได้ให้
ความสาคัญต่อการการพัฒนาครูและบุคลากรทาง การศึกษาให้มีสมรรถนะในการปฏิบัติงาน โดยกาหนดพันธกิจ
ข้อ ๕ พัฒนาบุคลากรและระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพเพ่ือมุ่งจัดการศึกษา และการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ
โดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาล และระบุเป้าประสงค์ในข้อ ๙ บุคลากรของหน่วยงาน และสถานศึกษา ได้รับการพัฒนา
เพือ่ เพ่มิ สมรรถนะในการปฏิบตั ิงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ัง
การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เป็นนโยบายหนึ่งที่สาคัญ ท่ีสานักงาน กศน.จังหวัดระยอง ต้อง
ตระหนัก แลว้ จึงทาการวเิ คราะหน์ โยบายและบทบาทหนา้ ที่ ท่จี ะตอ้ งพจิ ารณาคัดเลือกเร่ืองท่ีจะพัฒนาก่อน-หลัง
แลว้ แตแ่ ต่ละโครงการและกจิ กรรม ตลอดจนระยะเวลาที่ดาเนินการ จากความสาคัญ และนโยบายจุดเน้นในการ
ดาเนินงานปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ของสานักงาน กศน. ดังกล่าว สานักงาน กศน.จังหวัดระยอง ได้ดาเนินการ
นเิ ทศ มผี ลการนิเทศสรปุ ไดด้ ังนี้

1. สภาพท่ีพบ
๑. กรอบแผนงาน / โครงการตามนโยบายจดุ เน้น ปี ๒๕๖๓ สานกั งาน กศน.
๒. การศึกษาข้ันพื้นฐาน
๒.๑ การจัดการผู้เรียนไม่จบพรอ้ มร่นุ
๒.๒ แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์
๒.๓ แนวทางการเพ่ิมจานวนผเู้ รยี นการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
๒.๔ การตรวจสอบร่องรอยตาม SAR
๓. การศึกษาต่อเน่อื ง
๓.๑ การกาหนดผลผลติ / ผลลัพธ์ การจัดการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง
๓.๒ แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์
๓.๓ การตรวจสอบรอ่ งรอยตาม SAR
๔. การศกึ ษาตามอธั ยาศัย
๔.๑ แนวทางการจดั การศึกษาตามอัธยาศยั
๔.๒ แนวทางการจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ น
๔.๓ แนวทางการจดั กจิ กรรม “ครอบครัวรกั การอา่ น”
๔.๔ การตรวจสอบร่องรอยตาม SAR

รายงานนเิ ทศการจัดกิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

5

๒. ขอ้ นิเทศตอ่ ผูร้ ับการนเิ ทศ
๑. มีการดาเนนิ งานตามแผนงาน โครงการท่ีกาหนด ซงึ่ กจิ กรรมที่จัดดาเนินการ มีความสอดคล้อง

และเป็นไปตามความต้องการของชุมชนและกลุ่มเป้าหมาย มีการกาหนดให้ระบุประเภทของกิจกรรมตามแผน
กิจกรรมและแผนงบประมาณท่สี านกั งาน กศน. กาหนด จึงมีผลให้การวางแผนในการดาเนินงานเชิงพื้นที่ต้องปรับ
ไปตามแผนทส่ี านกั งาน กศน. กาหนด

๒. การดาเนนิ งานทั้งการจัดการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน การจดั การศกึ ษาต่อเน่ือง และการจัดการศึกษา
ตามอธั ยาศยั ยังขาดทกั ษะในการผลติ ส่ือและการใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนรู้ให้ทันการสภาพสังคมท่ีมีการ
เปลยี่ นแปลง ส่วนใหญ่มเี พียงการดาเนินงานโดยการใชอ้ ินเตอร์เน็ตเพื่อการแสวงหาความรู้

3. ครู กศน. ตาบล มกี ารประสานงานรว่ มกบั บคุ ลากรของหน่วยงานในพ้ืนทใี่ ห้มามีสว่ นร่วม และ
สนับสนนุ การจดั การศึกษาของ กศน. ตาบลมากขน้ึ

4. ครู กศน. ตาบล ได้รับการพัฒนาทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 หลายเรื่อง ได้แก่ การนา
เทคโนโลยีไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประวัติศาสตร์ชาติไทย STEM Education Digital Literacy
หลักสูตรการค้าออนไลน์ (E-Commerce) เร่ือง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการออกแบบผลิตภัณฑ์ การเขียนผัง
การออกข้อสอบและการสร้างข้อสอบการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ การจัดทาฐานข้อมูลระบบออนไลน์
Google Drive การเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศด้วยระบบออนไลน์ด้วย Google Site การพัฒนาสื่อการเรียนรู้
ดว้ ยระบบออนไลน์โดยใช้ E–Book การจัดการเรียนการสอน Online Google Classroom และ Class Start ฯลฯ

ในการน้ี สานักงาน กศน.จงั หวดั ระยอง กาหนดแนวทางการพฒั นาบคุ ลากร กศน. ดงั น้ี
๑. สนับสนุนให้สถานศึกษาพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา ด้วยกระบวนการ PLC
ในการแลกเปลีย่ นเรยี นรใู้ ห้มากขึ้น
๒. สนับสนุนให้สถานศึกษากาหนดและวางระบบการดาเนินงานให้สนองตอบต่อเป้าหมายการ
พัฒนาองค์การ และบุคลากรของสานกั งาน กศน.จังหวัด ทีก่ าหนด
๓. พัฒนาการจัดทาฐานข้อมูลเชิงระบบออนไลน์โดยใช้ Google Drive เพื่อให้ครูและบุคลากร
ทางการศึกษาทุกคน มีการจัดเก็บข้อมูล สารสนเทศของตนเอง รวมท้ัง เพื่อการเผยแพร่สู่บุคคลอื่น เพ่ือให้เกิด
การใชข้ อ้ มลู รว่ มกนั
๔. พัฒนาการเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศสู่สาธารณะ ด้วยระบบออนไลน์ Google Site เพื่อให้ครู
และบุคลากรทางการศึกษาทุกคนเผยแพร่การดาเนินงาน และผลการดาเนินงานของตนเองสู่สาธารณชน รวมทั้ง
เพอ่ื ใหเ้ กิดการใชข้ ้อมลู ร่วมกัน
๕. พัฒนาสื่อการเรียนรู้ด้วยระบบออนไลน์โดยใช้ E – Book ท้ังเนื้อหาความรู้การศึกษาพื้นฐาน
การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย รวมท้ังพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้ เพ่ือมุ่งพัฒนาสู่การศึกษา
ตลอดชีวิต ซ่ึงการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นรูปแบบหนึ่งท่ีสามารถจัดและส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับประชาชนได้
หลากหลายเน้ือหาและรูปแบบ ทาให้การจัดการศึกษาเป็นไปอย่างท่ัวถึงและสอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ ใน
ศตวรรษที่ ๒๑
กจิ กรรมท่ไี ดด้ าเนนิ การมีดังนี้

๑. ครูและบุคลากรทางการศึกษา สามารถจัดทาฐานข้อมูลระบบออนไลน์ โดยใช้
Google Drive ได้ทุกคน

๒. ครูและบุคลากรทางการศึกษา สามารถจัดทา Google Site เพื่อการเผยแพร่
การดาเนนิ งาน และผลการดาเนินงานของตนเองสู่สาธารณชนได้ทกุ คน

รายงานนเิ ทศการจัดกิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

6

๓. บรรณารักษ์และเจ้าหน้าท่ีห้องสมุดประชาชนทุกแห่ง เป็นแกนนาในการจัดทา E–Book
ทัง้ เนือ้ หาความรู้การศึกษาพ้ืนฐาน การศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือพัฒนาการศึกษาเรียนรู้
ส่กู ารศกึ ษาตลอดชีวิต

๔. ครู กศน.ตาบลของจังหวัดระยอง เตรียมการและจัดการเรียนรู้การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
และการศกึ ษาตอ่ เนือ่ งรูปแบบออนไลน์ครบทุกตาบล รวมท้ังจัดการศึกษาตามอัธยาศัยด้วย Google Classroom
และรปู แบบอ่นื ๆ ขน้ึ อยูก่ ับความถนัดและความพร้อมของแต่ละตาบล

สานักงาน กศน.จังหวัดระยอง ได้จัดอบรมและประชุมเพ่ือพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ดังน้ี

1. โครงการประชุมเชงิ ปฏิบัตกิ ารการจัดทาแผนปฏบิ ตั ิการ กศน.ตาบลและ กศน.
อาเภอประจา ปีงบประมาณ (ระหว่างวันที่ ๒๓ – ๒๕ ตุลาคม ๒๕๖๒ ณ บรุคไซต์ วัลเลย์ รีสอร์ท อาเอเมือง
ระยอง จังหวัดระยอง)

2. โครงการอบรมขยายผลโครงการจิตอาสาพระราชทาน ๙๐๔ วปร. (วนั ท่ี ๑๗ ตลุ าคม ๒๕๖๒
ณ โรงแรมโกลเดน้ ซติ ้ี จัหวัดระยอง)

3. โครงการประชุมบรรณารักษส์ ญั จร (ณ ห้องสมดุ ประชาชนทุกแห่ง)
4. โครงการประชมุ ชี้แจงนโยบาย จดุ เน้นการดาเนินงานของสานักงาน กศน.ปีงบประมาณ ๒๕๖๓
(วนั ท่ี ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ณ หอ้ งประชมุ สุนทรภู่ สานักงาน กศน.จังหวดั ระยอง)
5. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร “เพ่ิมศักยภาพการเรียนการสอนไร้ขีดจากัด ด้วย
Google Classroom (รุ่นที่ ๑ ระหว่างวันท่ี ๑๖ – ๑๗ ธนั วาคม ๒๕๖๒ และ รุน่ ท่ี ๒ ระหว่างวนั ที่ ๑๘ – ๑๙
ธันวาคม ๒๕๖๒)
6. โครงการพฒั นาบุคลากรด้านคุณธรรมจรยิ ธรรม สู่ ครู กศน. wow wow ประจาปี ๒๕๖๓
(วันท่ี ๑๓ มกราคม ๒๕๖๓ ณ หอ้ งประชุมสุนทรภู่ สานกั งาน กศน.จังหวัดระยอง)
7. โครงการ กศน.เกมส์ ๒๕๖๓ ระดับภาคตะวนั ออก (ระหวา่ วนั ท่ี ๑๘ – ๑๙ มกราคม ๒๕๖๓
ณ มหาวทิ ยาลัยการกีฬาแห่งชาติ วทิ ยาเขตกรงุ เทพ ตาบลบงึ น้ารกั ษ์ อาเภอธัญบรุ ี จังหวดั ปทุมธานี)
8. ประชุมติดตามงานตามนโยบายของรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
(นางกนกวรรณ วิลาวัลย์) โดยจดั ในวนั ท่ี ๑๗ มกราคม ๒๕๖๓ ณ กศน.อาเภอบ้านค่าย
9. โครงการประชุมปฏิบัติการจัดทาและบรรณาธิการต้นฉบับข้อสอบรายวิชาเลือก
(ระหวา่ งวนั ท่ี ๓ – ๕ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๓ ห้องประชุม มณีแดง จังหวดั จนั ทบรุ ี)
10. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลกั สตู รการคา้ ออนไลน์ เรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการ
ออกแบบบรรจุภัณฑ์ เพ่ือสร้างเครือข่ายดิจิทัลชุมชนระดับตาบล (ระหว่างวันที่ ๒๖ – ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
ห้องประชุมสุนทรภู่ สานกั งาน กศน.จงั หวัดระยอง)

๓. ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จ
๓.๑ ผบู้ รหิ ารมวี สิ ยั ทศั น์ท่ตี ้องการใหม้ ีการพฒั นาบุคลากรอยา่ งต่อเนือ่ ง
๓.2 บุคลากรเปน็ ผู้ใฝร่ ู้และพัฒนาตนเองอย่เู สมอ และยงั ไดร้ บั การสง่ เสรมิ และสนับสนุนจาก

ผบู้ ริหาร

รายงานนเิ ทศการจัดกิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

7
๓.3 ครู กศน. สามารถจดั ทาฐานขอ้ มูลระบบออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom ได้
3.4 ครู กศน. และเจา้ หนา้ ที่ สามารถจัดทา E–Book การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน การศกึ ษาต่อเน่ือง
และการศึกษาตามอธั ยาศยั เพือ่ พัฒนาการเรยี นรู้ตลอดชีวิต
๔. ปญั หาอุปสรรค

-
๕. ข้อเสนอแนะเพ่อื การพัฒนา

ให้สานักงาน กศน.จังหวัดระยอง ส่งเสริมและสนับสนนุ ใหบ้ ุคลากรทุกคนพฒั นาความรู้ทางด้าน
เทคโนโลยีอยา่ งต่อเนอ่ื ง

๕.2 ขอ้ เสนอแนะต่อสานักงาน กศน. จัดอบรมคณะผู้นิเทศภายในสถานศกึ ษาระดับภาค
6. ภาพกิจกรรม

รายงานนเิ ทศการจัดกิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

8

1.2 Good Place - Best Check in (พฒั นาแหลง่ เรียนร้)ู

การยกระดบั กศน.ตาบล เป็น กศน.ตาบล ๕ ดี พรีเม่ียม

การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) ได้ให้ความสาคัญเรื่องการศึกษาและการ
เรียนรู้ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาและการเรียนรู้ของคนไทย เพิ่มโอกาสทาง
การศึกษาและการเรียนรู้อย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคมในการ
บริหารจัดการเพ่ือให้คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิต ท้ังการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตาม
อัธยาศัยอย่างมคี ุณภาพ ใหบ้ รรลุวิสัยทศั น์ที่กาหนดไว้ “คนไทยได้เรียนร้ตู ลอดชีวติ อย่างมีคุณภาพ”

กระทรวงศึกษาธกิ าร จึงได้มีนโยบายให้มีการจัดต้ัง กศน.ตาบลขึ้นเพ่ือให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ระดับตาบล
เป็นแหล่งเรยี นรู้ สาหรบั ประชาชนเพอ่ื ประชาชนไดใ้ ชใ้ นการแสวงหาความรเู้ พือ่ ให้เกิดสังคมแหง่ การเรียนรู้

หลกั การทางาน กศน. ตาบล ยดึ ชมุ ชนเป็นฐานในการทางานและการเรียนรู้ โดยใช้ต้นทุนของชุมชน เช่น
อาคาร สถานที่ แหล่งวิทยาการ ภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรมประเพณี มีการประสานเครือข่ายในชุมชนร่วมจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ โดยส่งเสริม สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนในชุมชน/สังคม เข้ามามีส่วนร่วมเป็นภาคีเครือข่ายใน
การดาเนินการจัดกิจกรรม กศน. ตาบล ท้ังในฐานะผใู้ หบ้ รกิ าร ผรู้ ับบริการ มสี ว่ นร่วมเป็นเจ้าของ ร่วมคิด ร่วมทา
ร่วมแก้ปัญหา บูรณาการกระบวนการเรียนรู้ และจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของผู้เรียน
และชุมมชน มีคณะกรรมการ กศน. ตาบล ท่ีเป็นคนในชุมชนให้การส่งเสริมสนับสนุน ติดตามดูแลและร่วม
ประเมนิ ผลการดาเนินงาน กศน. ตาบล

1. สภาพท่ีพบ
๑.๑ กศน.ตาบล บางแห่งสถานที่เป็นเอกเทศ บางแห่งไม่เป็นเอกเทศ จึงส่งผลให้การจัด

กระบวนการเรยี นรู้ใน กศน.ตาบล บรรยากาศจะแตกตา่ งกันไปตามบรบิ ทของสถานท่ีน้ันๆ
๑.๒ ครู กศน.ตาบล มีการประสานงานภาคีเครือข่าย หน่วยงานภาครัฐ เอกชน สถานประกอบการ

หน่วยงานปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน รพ.สต. วดั แหลง่ เรียนรู้ตา่ งๆ ในการจัดกจิ กรรม และขอรับการสนบั สนนุ งบประมาณ
วสั ดุ/อุปกรณ์ และสถานท่ีจากภาคีเครือขา่ ย

๑.2 ครู กศน. ตาบล ครู กศน.ตาบล เข้ารับการอบรมเพ่ือการพัฒนาความรู้ตามท่ีสถานศึกษา
และสานักงาน กศน.จังหวัดระยองกาหนดอย่างต่อเน่ือง และมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน และกาหนด
แนวทางการพัฒนาการดาเนินงานการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา
ไดแ้ ก่ การทา QR Code และการออกแบบ STEM Education

1.3 ครู กศน.ตาบลมีข้อมูลเพื่อใช้ในการบริหารจัดการ (DMIS) มีการวิเคราะห์ข้อมูลในการจัดทา
แผนปฏิบตั ิการที่สอดคลอ้ งกับสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน รวมท้ังนโยบาย จุดเน้นการดาเนินงาน
สถานศึกษาในสังกัดสานักงาน กศน.จังหวัดระยอง มีการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้รายสัปดาห์ มีบันทึกการ
เรียนรู้และมีระบบการช่วยเหลือผู้เรียน ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้สามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ผู้รว่ มกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นของบา้ นหนังสอื ชมุ ชน กศน.ตาบล รวมทั้งกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเคล่ือนที่ และ
มีอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน นอกจากนี้ยังได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย ครูมีการดาเนินงานตามนโยบาย
เร่งด่วนหรืองานอ่ืนๆ ท่ีได้รับมอบหมายครบถ้วน

รายงานนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

9

1.4 ครมู คี ณุ ธรรม จริยธรรม ในการปฏิบตั ิตนเป็นแบบอย่างท่ีดี มีการปฏบิ ตั ิตนตามระเบียบ
วินัยของข้าราชการครู มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ และการดารงชีวิตอย่างเหมาะสมตามแนวทางหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง มีทักษะ เทคนิค การจดั การเรยี นการสอนและเข้าถงึ ความต้องการของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ

1.5 กศน.ตาบล มสี ภาพแวดลอ้ มทค่ี วามสนใจและเอ้อื ต่อการเรยี นรู้ (Good Place-Best Check In)
สถานท่ตี ัง้ กศน.ตาบล ม่นั คง เปน็ สดั สว่ น และปลอดภยั มีการปรับภมู ิทัศน์อยู่เสมอ และมกี ารนาเทคโนโลยีมาใร
การจัดกระบวนการและเป็นจุดเช็คอิน (Check in) สาหรบั ผ้ใู ช้บริการ มีสิง่ อานวยความสะดวกตอ่ การเรยี นร้ขู อง
ตนเองตามบริบทของพนื้ ที่

1.6 กิจกรรมการเรียนรู้ (Good Activities) การจัดกิจกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษา
ตอ่ เนอื่ ง และการศึกษาตามอัธยาศัย มีการใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมจัดกิจกรรม การเรียนรู้ระบบออนไลน์ได้โดดเด่น
เห็นผลในเชิงประจักษ์ มีการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
สอดคลอ้ งครอบคลมุ กบั สภาพปัญหาความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและชุมชน

1.7 ภาคีเครือข่ายส่งเสริมสนบั สนุนการจัดการเรียนการสอน (Good Partnerships) ภาคเี ครอื ข่าย
ในระดับพ้ืนที่ เช่น องคก์ ารบริหารส่วนตาบล โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบล อาสาสมัคร กศน.ตาบล อาสาสมคั ร
ส่งเสริมการอา่ น และอ่นื ๆ รว่ มส่งเสรมิ สนับสนนุ การจดั การเรียนรตู้ ลอดชวี ิตของ กศน.ตาบล อยา่ งต่อเน่ือง และ
การทา MOU รว่ มกนั ระหวา่ งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

๑.8 มีนวัตกรรมท่ีเป็นประโยชน์ และสามารถนาไปใช้ได้จริง (Good Innovation) ครูมีการนา
เทคโนโลยมี าประยุกต์ใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือให้ชุมชนเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตได้อย่างทั่วถึง
และมคี ณุ ภาพ

๑.9 กศน.ตาบลบา้ นแลง อาเภอเมืองระยอง จังหวดั ระยอง เข้ารับการประเมนิ กศน.ตาบล ตาบล
ตน้ แบบ ๕ ดี พรีเมียม ปงี บประมาณ 256๓ ผลการประเมินคือได้รบั รางวลั ชมเชยลาดับที่ 5

๒. ข้อนิเทศต่อผรู้ ับการนิเทศ
2.1 วัน/เวลาท่ีเปิดใหบ้ ริการทุกวัน เวลา 08.30 - 16.30 น. ถ้าครู กศน.ตาบล ไม่ได้มาปฏิบัติ

หนา้ ท่ี ณ กศน.ตาบล จะลงแจ้งในบอร์ดประชาสัมพันธ์ (ตารางปฏิบัติงาน) ให้ผู้ใช้บริการทราบและมีอาสาสมัคร
หมุนเวียนมาใหบ้ รกิ าร

2.2 ครู กศน.ตาบล แตล่ ะตาบล 15 แหง่ มคี ณะกรรมการ กศน. ตาบล และอาสาสมัคร กศน. ตาบล
2.3 มใี หบ้ รกิ าร Internet /คอมพวิ เตอร์ โดยไมเ่ สยี ค่าใช้จ่าย และสามารถใช้บริการไดท้ กุ วนั
2.4 มีการจัดกิจกรรมการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การพัฒนาอาชีพ และการศึกษาตามอัธยาศัย ได้แก่
ส่งเสริมการอ่านสาหรับนักศึกษาเพ่ือฝึกฝนให้นักศึกษาอ่านออกเขียนได้และอ่านคล่อง จับใจความได้ดี รวมทั้ง
วเิ คราะห์ความหมายจากเน้ีอหาทอ่ี า่ นได้ดี
2.5 มีการปรับปรงุ อาคารสถานทที่ งั้ ภายในและภายนอกให้มีความพร้อมในการให้บรกิ ารให้มีความ
สะอาด รม่ รืน่ สวยงาม ปลอดภยั เหมาะสมและมีบรรยากาศเอื้อต่อการสง่ เสรมิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

๓. ปจั จัยท่ีส่งผลต่อความสาเร็จ
3.1 มรี ะบบฐานข้อมแู ละสารสนเทศระดับชมุ ชน จดั ทาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ สามารถนามา

ใช้ในการบริหารจดั กจิ กรรม และเปน็ แหล่งเรยี นรใู้ นชุมชนการตลาดชมุ ชน
3.2 จดั ทาแผนพฒั นคณุ ภาพ กศน. ตาบล และแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี นาเสนอแผน ต่อคณะกรรมการ

กศน. ตาบล และภาคีเครือข่าย

รายงานนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

10

3.3 ครู กศน.ตาบลมีการประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย เพื่อจัดกิจกรรมบริการชุมชนรวบรวม
และเผยแพร่องค์ความรู้ของภาคีเครือข่าย ในการจัดการเรียนรู้ มีการพัฒนารูปแบบกิจกรรมให้หลากหลายและ
สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของกลมุ่ เป้าหมายในชุมชนเพื่อสร้างโอกาส การเรยี นรใู้ หก้ บั ประชาชน

3.4 ครู กศน.มีการพฒั นาระบบการสื่อสารโดยจัดทาเว็บไซด์ กศน.ตาบล เพ่อื การตดิ ต่อกับผ้เู รียน/
ผรู้ ับบรกิ าร สืบคน้ รวบรวมและการเผยแพร่ข้อมลู ทางอนิ เตอร์เนต็ และแหล่งข้อมูลอื่นๆ

3.5 กศน. ตาบล จัดกิจกรรมสอดคล้องกับสภาพปญั หาและความต้องการ ของกลุม่ เปา้ หมายและ
ชมุ ชน กิจกรรม/โปรแกรมหรือโครงการควรมีลกั ษณะท่ีบูรณาการระหว่างวถิ ชี วี ติ การทางานและการเรียนรู้

3.6 ภาคีเครือข่าย แสวงหา รวบรวมและจัดทาทาเนียบภาคีเครือข่ายในระดับตาบล สร้างความเข้าใจ
ให้แก่ภาคีเครือข่ายเก่ียวกับการดาเนินงาน กศน.ตาบล เสริมสร้างแรงจูงใจและความพร้อมในการเข้ามามีส่วนร่วม
ในการจัดกจิ กรรม กศน.ตาบล

๔. ปัญหาอุปสรรค
กศน.ตาบลบางแห่ง อาคารทใี่ ช้ในการจัดกิจกรรม กศน. ไมเ่ ป็นเอกเทศ ต้องใช้อาคารร่วมกบั ชุมชน

ซง่ึ เป็นอุปสรรคในการจัดกระบวนการเรียนร้แู ละการปรบั ปรุงตกแต่งอาคารสถานที่
๕. ข้อเสนอแนะเพื่อการพฒั นา
๕.๑. ให้มีการติดตาม ส่งเสริม และสนับสนุนให้ ครู กศน.ตาบล ในการจัดกระทาข้อมูล ให้เป็น

ปจั จบุ นั และตอ่ เน่ือง
5.2 ควรมีโครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาอย่างต่อเน่ืองและตรงตามความต้องการ

ของครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
๕.๓ ให้สานกั งาน กศน. สนับสนนุ สื่อการพัฒนา กศน.ตาบลต้นแบบ ๕ ดี พรเี ม่ียม

๗. ภาพกิจกรรม

รายงานนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

11

1.3 Good Activities (พฒั นาหลักสตู รและส่ิงแวดลอ้ ม)

การพัฒนาการจดั การศกึ ษาออนไลน์ กศน.

สานักงาน กศน. ได้กาหนดนโยบายและจุดเน้น ประจาปีงบประมาณ 2563 ข้อ ๓ ส่งเสริมและ
พัฒนาการนาเทคโนโลยีทางการศึกษาและเทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพ ในการจัดการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชนอย่างท่ัวถึงและ ข้อ ๔ พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรม การวัดและประเมินผล ทุกรูปแบบให้สอดคล้องกับบริบทในปัจจุบัน โดย
กาหนดการดาเนินงานไว้ในยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ รวมท้ัง
ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๓ ดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ ขอ้ ๓.๕ พฒั นานวัตกรรมทางการศึกษา
เพ่ือประโยชน์ต่อการจัดการศึกษา และกลุ่มเป้าหมาย โดยระบุแนวทางไว้ดังนี้ ๑) พัฒนาการจัดการศึกษา
ออนไลน์ กศน. ทั้งในรูปแบบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การจัดการศึกษาต่อเน่ือง(รวมถึงการพัฒนาช่องทางการค้า
ออนไลน์) และการศึกษาตามอธั ยาศัย ขอ้ ๒) สง่ เสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยีในการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ และ
การจัดการเรียนรู้การจัดการศึกษาออนไลน์ (Online learning) จัดเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาอีกรูปแบบหน่ึง
ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงวธิ ีเรยี นในรูปแบบเดิมๆ ให้เป็นการเรียนแบบใหม่ที่ใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยจัดทาการสอน
นอกจากน้ีความหมายอีกอย่างหนึ่ง หมายถึงการเรียนทางไกล การเรียนผ่านเว็บไซต์ โดยมุ่งเน้น การเรียนรู้ผ่าน
ทางอินเทอรเ์ น็ต ในรูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Google Apps for Education ซ่ึงเป็นนวัตกรรมทาง
การศึกษาท่ีช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลสาหรับการจัดการระบบการเรียนการสอน เพ่ือส่งเสริมการ
เรียนรู้แบบทางานร่วมกันได้ทุกที่ทุกเวลาและทุกรูปแบบของเทคโนโลยี ที่สามารถเช่ือมต่อระบบเครือข่าย
อนิ เทอร์เน็ตได้ ภายใต้การจัดเก็บ รวบรวม และบันทึกข้อมูลบนคลาวต์ (Cloud) ติดต่อสื่อสารกาหนดเวลาเรียน
และตารางนัดหมาย ทากิจกรรมกลุ่มได้ในเวลาเดียวกันบนแฟ้มเอกสารเดียวกัน ครูสามารถประยุกต์ใช้เพ่ิม
ประสิทธิภาพในการบริหารช้ันเรียน ผู้เรียนไม่จาเป็นต้องเดินทางไปเรียนเพ่ิมความสะดวกและเข้าถึงได้อย่าง
รวดเร็ว ทุกท่ีทุกเวลา เป็นการสร้างการศึกษาตลอดชีวิตให้กับประชาชนและกลุ่มเป้าหมายท่ีต้องการเรียนรู้
ดังนั้นการนานโยบายเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้เพ่ือการจัดการศึกษาออนไลน์ (Online Learning) ในการจัดการ
เรียนรกู้ ารใช้เทคโนโลยีรว่ มกนั เป็นการนาไปสูก่ ารจดั กิจกรรมบริการตามความต้องการของผู้เรียนผู้รับบริการใน
ยุคดิจิทัล ตลอดจนการจัดการศึกษา ในสถานการณ์ท่ีเกิดโรคไวรัสติดเชื้อ COVID-๑๙ ระบาด นาไปสู่การ
เปล่ียนแปลงของการพัฒนาด้านการศึกษาท่ีจะเกิดข้ึนกับ กศน.จัดให้ท่ัวถึงทุกที่ ทุกเวลาอย่างแท้จริง เป็นการ
สง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถเลือกเรียนตามความต้องการ ความสนใจ และความถนัดของ
ตนเอง รวมทั้งเป็นการช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและเกิดเครือข่ายการเรียนรู้ยุค
ดิจิทลั เพ่อื มงุ่ ใหผ้ เู้ รียนได้รบั การจดั การศกึ ษาอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ดังน้ันการ
เรียนการสอนแบบออนไลน์จะช่วยลดช่องว่างในการเรียนรู้เพราะเนื่องจากบริบทและสภาพแวดล้อมของแต่ละ
พ้ืนที่ไม่เหมือนกัน ส่วนเนื้อหาการเรียนนั้นประกอบด้วย ข้อความ รูปภาพ เสียง VDO และ Multimedia อื่นๆ
สง่ิ เหล่านจ้ี ะถูกส่งตรงไปยังผู้เรียนผ่านกลไกทางเทคโนโลยีในยุคดิจิทัล ท้ังผู้เรียน ผู้สอน และเพ่ือนร่วมชั้นทุกคน
สามารถติดต่อ ส่ือสาร ปรึกษา แลกเปล่ียนความคิดเห็นแบบเดียวกันกับการเรียนในชั้นเรียนท่ัวไป โดยการใช้
E-mail Chat Social Network และGoogle classroom เป็นตน้ ดว้ ยเหตุนี้การเรียนรแู้ บบออนไลน์ จงึ เหมาะ

รายงานนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

12

สาหรบั คนทตี่ อ้ งการเรียนได้ทกุ ท่ี ทกุ เวลา ซงึ่ อย่ทู ไี่ หนก็ได้ เรียนเวลาใดกไ็ ด้ ตามความสะดวกของผู้เรียน ผู้เรียน
สามารถเลอื กเรยี นวิชาต่างๆ ไดต้ ามความตอ้ งการจากเว็บไซต์ท่มี ี Links เช่ือมโยงต่อไปยังแหล่งความรู้อ่ืนๆ ทาให้
ขอบเขตการเรยี นรกู้ ว้างไกลออกไป เหมาะสาหรับผูเ้ รียนท่ีใฝร่ ู้และไมห่ ยดุ น่ิงตอ่ การเรยี น ช่วยลดช่องว่างระหว่าง
การเรียนรู้ในเมืองกับท้องถ่ิน เป็นการจัดการศึกษาท่ีมีความยืดหยุ่นสูง เพราะฉะน้ันผู้เรียนจะต้องมีความ
รบั ผดิ ชอบในการเรียนมากกว่าปกติ

1. สภาพท่พี บ
การเรียนรู้ด้านดิจิทัลให้กับประชาชน สาหรับปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ได้จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ

หลกั สตู รการค้าออนไลน์ เรือ่ ง การพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ และการออกแบบบรรจุภัณฑ์ เพ่ือสร้างเครือข่ายดิจิทัลชุมชน
ระดบั ตาบล ระหวา่ งวันที่ ๒๖-๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ ณ หอ้ งประชุมสนุ ทรภู่ สานักงาน กศน.จังหวัดระยอง โดย
มีกลุ่มเป้าหมาย ครู กศน.ตาบล และบุคลากรท่ีรับผิดชอบ กศน.ตาบล จานวน 58 คน เข้ารับการอบรม เพ่ือ
พฒั นาศักยภาพของบคุ ลากร ใหม้ คี วามรู้ ความเข้าใจ และฝึกปฏิบัติในการค้าออนไลน์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ และ
การออกแบบบรรจุภัณฑ์ และสามารถนาไปขยายผลให้แก่ประชาชนในพื้นที่ได้อย่างมีคุณภาพ และได้มอบหมาย
ให้จัดอบรมขยายผลให้กับประชาชนในพื้นที่เป้าหมาย ตาบลละ ๒ หลักสูตร ดังน้ี หลักสูตร Digital Literacy
การเขา้ ใจดจิ ทิ ัล และ หลกั สูตร E-commerce การค้าขายออนไลน์

การจัดอบรมขยายผลหลักสูตร Digital Literacy และ E- Commerce ในระดับตาบล ทาให้ได้รู้
เทคนิควิธกี ารการพฒั นาผลิตภณั ฑ์ และการออกแบบบรรจุภัณฑ์ โดยนาไปประชาสัมพนั ธ์ผ่านเพจ (page) ร้านค้า
ออนไลน์ และ เพจเฟสบุ๊ค (page facebook) เพ่ือใช้ในการค้าขายออนไลน์ ก่อให้เกิดการสร้างรายได้สู่ชุมชน
นอกจากน้ีสานกั งาน กศน.ประชมุ จัดทาคู่มือแนวทางการดาเนินการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ดังนี้ คู่มือ
แนวทางการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ในรูปแบบออนไลน์
คู่มือแนวทางกาจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเน่ืองรูปแบบออนไลน์ และคู่มือแนวทางการจัดกิจกรรมด้านการศึกษา
ตามอธั ยาศยั รปู แบบออนไลน์ ซง่ึ มีวตั ถปุ ระสงค์เพ่ือจัดกิจกรรมทุกรูแบบในลักษณะออนไลน์ ในช่วงสถานการณ์
เกิดโรคไวรสั ติดเช้ือ COVID-๑๙ ระบาด และในอนาคตสามารถใช้เป็นแนวทางเลือกของผู้รับบริการ เพื่ออานวย
ความสะดวกและใชบ้ รกิ ารได้สะดวกและรวดเร็ว

๒. ข้อนิเทศตอ่ ผู้รับการนิเทศ
๒.1 การพัฒนาการจัดการศึกษาออนไลน์ กศน. (Good activities) เป็นช่องทางการติดต่อสื่อสาร

การจัดการเรียนรูอ้ อนไลน์ เพอื่ บรกิ ารแกผ่ ้เู รียน ผู้รับบรกิ าร ส่ิงสาคัญที่สุดคอื ขอ้ มลู ความรู้ สื่อต่างๆ ผ่านเว็บไซต์
Facebook ซ่ึงมีการติดต่อสื่อสารได้ทั้งระดับจังหวัด อาเภอ ห้องสมุดประชาชน กศน. ตาบล และห้องเรียน
ออนไลน์ โดยให้มกี ารเคลือ่ นไหว ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ ด้วยการกาหนดให้มีผู้รับผิดชอบในการ
ดแู ลระบบ มีการเปลยี่ นแปลง ปรับปรุงข้อมูลเป็นระยะ และติดตามเพ่ือรวบรวมสถิติข้อมูลต่างๆ สาหรับนาไปใช้
ในการพฒั นา

๒.2 สถานศึกษามีการวางแผนจัดเตรียมความพร้อม และการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ทั้งการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย สาหรับการศึกษาข้ันพื้นฐานการรับสมัครออนไลน์
ต้ังแต่ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 มีการประชาสัมพันธ์ การออกแบบการเรียนรู้ และการจัดกิจกรรม
ออนไลน์อื่นๆ ใหบ้ รกิ ารแกน่ กั ศึกษา ตลอดจนมีความรู้ต่างๆ ผา่ นระบบออนไลน์ เพ่อื ให้ครู กศน. บรรณารกั ษ์
และเจา้ หน้าทท่ี เี่ กี่ยวขอ้ ง ได้เลือกใช้ และหมนุ เวียนแบ่งปนั การใช้สอื่ ในการจัดกจิ กรรมดังกล่าว ในการนี้

รายงานนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

13

สานักงาน กศน.จังหวัดระยองได้จัดทาคู่มือแนวทางการจัดกิจกรรมการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน คู่มือแนวทางการจัด
กจิ กรรมการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง และคู่มือแนวทางการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งรวมถึงสื่อการเรียนการสอน
พร้อมท้ังจัดทาคลปิ วดิ ที ัศน์รายวิชาช่องทางการขยายอาชีพ (อช ๓๑๐๐๑) รายวิชาบัวคับ ของสาระการประกอบ
อาชพี โดยจัดทาออกเปน็ ๑๘ ตอน ตอนละใช้เวลาประมาณไม่เกนิ ๓๐ นาที

๒.๓ กศน.อาเภอเมืองระยองมีการ พัฒนาหลักสตู ร จดั ทาหลกั สูตร และขออนุมตั ใิ ชห้ ลักสตู รการศึกษา
ออนไลนข์ องสถานศึกษา

๒.4 กศน.อาเภอมีการออกแบบการเรยี นรู้ ตลอดจนมีการจัดทาแผนการศึกษาออนไลน์จัดกระบวนการ
เรยี นรู้ และประเมินผลการจดั การเรียนรูต้ ามหลกั สูตรการศึกษาออนไลน์ที่กาหนด

๒.5 จดั ทารายงานผลการจัดการศึกษาออนไลน์

๓. ปจั จัยทส่ี ่งผลต่อความสาเรจ็
๓.๑ การกาหนดแนวทางเพื่อบุคลากรของสานักงาน กศน.จังหวัดระยองมีความชัดเจน ได้แก่

1) สานักงาน กศน.จังหวัดระยองเป็นองค์การดิจิทัล 2) บุคลากรมีความรู้ความสามารถ ในการใช้ดิจิทัลเพ่ือการ
บริหาร และจดั การเรียนรู้

๓.๒ กศน.อาเภอมีโครงสร้างพ้ืนฐาน ระบบข้อมูลผู้เรียน และแพลทฟอร์มในการจัดการศึกษาระบบ
ออนไลน์ของ กศน.ตาบล จัดกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ โดยได้รับการสนับสนุนจาก
สถานศกึ ษาซงึ่ มสี ื่อดจิ ิทลั เพือ่ สง่ เสริมการเรียนการสอนผา่ นระบบออนไลน์

๓.๓ ผูบ้ ริหารและบุคลากรเหน็ ความสาคญั ในการมีสว่ นรว่ ม การจัดทาและพฒั นาหลกั สูตร
๓.๔ กศน.อาเภอมีบุคลากรที่เป็นผู้มีความรู้ในการใช้ Application เพื่อการศึกษา ได้แก่ line facebook
kahoot QR Cod e และ Google form เป็นต้น สามารถนามาจัดกระบวนการเรียนรู้ บูรณาการผ่านออนไลน์
ให้กบั ผเู้ รียน และเป็นวทิ ยากรถ่ายทอดความรู้ให้กับบุคลากรผสู้ อนในสถานศึกษาได้
๓.๕ กศน.อาเภอมีการชี้แจงถึงความสาคัญ และความจาเป็นท่ีต้องมีการจัดการศึกษาออนไลน์ ด้วย
การใช้เทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยดี จิ ิทัล
๓.๖ บุคลากร กศน.อาเภอร่วมรับรู้สภาพปัญหา การร่วมคิด การกาหนดแนวทางการพัฒนาของ
คณะนิเทศและผู้มีส่วนเก่ียวขอ้ ง ทาให้มีมุมมองการพัฒนาทางด้านความคิดที่หลากหลาย เกิดความร่วมมือในการ
ดาเนินการพฒั นาอย่างเปน็ ระบบร่วมกัน
๓.๗ กศน.อาเภอมีการประชาสัมพันธ์ผ่านเว็บไซต์ของ กศน.อาเภอ กศน.ตาบล และการส่ือสาร
ออนไลนอ์ นื่ ๆ เพ่ือการประชาสัมพนั ธ์การจัดการศกึ ษาออนไลน์ ของ กศน.
๔. ปญั หาอุปสรรค
เนื่องจากเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID – ๑๙) จึงมี
ความจาเป็นต้องจัดการศึกษาออนไลน์ เพื่อป้องกันการติเชื้อ ทาให้การดาเนินงานไม่เป็นไปตามระบบเท่าที่ควร
และมแี ผนการดาเนนิ งาน ดงั นี้
๔.๑ บุคลากรมีความรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัลแตกต่างกัน นอกจากน้ีมีการจัดและส่งเสริมความรู้
เพอื่ พัฒนางานไดต้ ามท่กี าหนด
๔.๒ บุคลากรส่วนหน่ึงมีความรู้ในเรื่องการพัฒนาระบบซอฟท์แวร์ท่ีใช้ในการจัดกระบวนการเรียน
การสอนออนไลน์น้อย นอกจากนี้อปุ กรณท์ ่เี กยี่ วข้องมีไมเ่ พยี งพอและไม่ทนั สมยั

๔.๓ ผู้เรียนและผู้รับบริการบางคนไม่มีสมาร์ทโฟนรองรับระบบที่จัดการศึกษาออนไลน์ และ
ผูเ้ รียนบางคนไม่สามารถเข้าถงึ สอ่ื ได้เท่าท่ีควร และยังไม่ค่อยเข้าใจระบบการจดั การศกึ ษาออนไลน์เท่าที่ควร

รายงานนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

14
๕. ข้อเสนอแนะเพือ่ การพัฒนา

5.1 จดั ต้ังกลุม่ เพ่ือใหม้ ีการไดแ้ ลกเปลยี่ นความรู้ซึ่งกนั และกัน รวมทง้ั เปน็ ประโยชน์ในการติดตาม ซึ่ง
ควรมกี ารติดตามผลการนาความรู้ไปใชผ้ า่ นระบบออนไลน์

5.2 จัดให้มกี ารพฒั นาครูและผ้เู ก่ยี วขอ้ ง ดา้ นการพัฒนาทกั ษะดิจิทัลชุมชน
5.3 จดั สรรงบประมาณในการจัดการเรียนรู้ และงบประมาณเพ่ือการซ่อมบารุงเคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ี
ใหบ้ ริการในศนู ยด์ จิ ิทัลชุมชนอย่างตอ่ เน่ือง
๖. ภาพกจิ กรรม

รายงานนเิ ทศการจัดกิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

15

1.4 Good Partnerships (การเสรมิ สร้างความรว่ มมือกบั ภาคเี ครือขา่ ย)

ภาคเี ครอื ข่ายตามพระราชบญั ญตั ิส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. ๒๕๒๑
หมายถึง บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ
สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และองค์กรอ่ืนๆ ซึ่งภาคีเครือข่าย กศน. เป็นเครือข่ายทางสังคมที่เกิดจาก
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล องค์กรที่เกี่ยวข้องกันในทุกระดับ ซ่ึงมีเป้าหมาย ในการทางานร่วมกัน ท้ังการจัด
กิจกรรม การส่งเสริม และการสนับสนุนการเรียนรู้ รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับประชาชนท่ีเป็น
กลุ่มเป้าหมาย ตลอดจนสถานศึกษาอื่น ท่ีมิได้สังกัดสานักงาน กศน. แต่มี ส่วนร่วมหรือมีวัตถุประสงค์ในการ
ดาเนินงาน กศน.

สานักงาน กศน.ได้กาหนดนโยบาย จุดเน้นการดาเนินงานของสานักงาน กศน.ประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๓
ข้อ ๒ ส่งเสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือข่ายในการมีส่วนร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิต รวมทั้งการดาเนินการจัดกิจกรรมของศูนย์การเรียนและแหล่งเรียนรู้อ่ืนใน
รูปแบบต่างๆ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ ๓ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ข้อ ๓.๒
พัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ ซึ่งมีรายละเอียดแนวทางการขับเคลื่อน
สู่ กศน.WOW มีการจัดการศึกษาตลอดชีวิตให้เหมาะสมกับคนทุกช่วงวัย สาหรับการจัดการศึกษาตลอดชีวิตให้
เหมาะสมกับคนทุกชว่ งวยั ซงึ่ เปน็ ภารกจิ ของสานกั งาน กศน. ซง่ึ โครงสรา้ ง บุคลากร งบประมาณและทรัพยากรท่ี
มี ย่อมไม่สามารถดาเนินการไดด้ ้วยตนเองทั้งหมด มีความจาเป็นต้องแสวงหาภูมิปัญญาในท้องถิ่นมาเป็นวิทยากร
ในการจัดการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมในชุมชน และแสวงหาภาคีเครือข่ายด้วยการทางานแบบบูรณาการ เพ่ือยกระดับ
การจัดการศกึ ษาตลอดชวี ิต ตอบโจทย์ความต้องการที่แท้จริงของประชาชน เพื่อให้สามารถสร้างงาน สร้างอาชีพ
พัฒนาทักษะชีวิต การจัดการศึกษาตามอัธยาศัยและจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานได้อย่างมีคุณภาพ และท่ัวถึง การ
เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย (Good Partnerships) ด้วยการ “เช่ือมโยง หนุนเสริม ต่อยอด” เพ่ือ
การขยาย และพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่มอย่าง
กวา้ งขวางและมีคุณภาพ อาทิ กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่ม อสม. โดยใช้หลักการทางานแบบบูรณาการ ซ่ึงเป็นการทางาน
แบบสานพลังรว่ มกบั ทกุ ภาคสว่ นในชุมชน เพ่อื เชอ่ื มโยง หนนุ เสริมและตอ่ ยอด โดยต้องมี Change agent เป็นตัว
ท่ีสร้างการเปล่ียนแปลงและตัวกลางในการประสานความร่วมมือ ด้วยการ ๑) “เห็นปัญหา” ทาให้ทุกภาคีเห็น
สถานการณ์ด้วยชุดข้อมูลจริงที่เกิดข้ึนในเวลานั้น ท่ีเป็นปัญหา ในภาพรวมของชุมชนทุกปัญหา ซึ่งจะนาไปสู่การ
ออกแบบการจดั การเรียนรทู้ เี่ หมาะสมกับสถานการณน์ ัน้ ให้แก่ คนทุกช่วงวยั ที่ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น ภาคีเครือข่ายใน
ท้องถิ่นเข้ามาร่วมหนุนเสริมได้ ๒) กาหนดเป้าหมาย ประเด็นผลักดัน “เฉพาะ” “ร่วม” บางประเด็น ได้แก่ การ
เตรียมความพรอ้ ม คนร่นุ ใหมร่ องรบั “สงั คมสูงอายุ” (ใช้บทเรียนกระบวนการทางานจากการผลิตผู้ดูแลผู้สูงอายุ)
ปัญหาสภาพแวดล้อม ปัญหาเด็กในสถานสงเคราะห์ ๓) “หาแนวร่วม” จัดเวทีแลกเปล่ียนข้อมูลและความคิดเห็น
ระหว่างภาคเี ครือขา่ ย : เช่ือมโยง ข้อมูล งบประมาณ ความเชี่ยวชาญ ระเบียบ ทรัพยากร วัสดุ ครุภัณฑ์ สถานท่ี
ฯลฯ ท่ีแต่หน่วยงานมีเพื่อการจัดการ เรียนรู้ ๔) บูรณาการงานร่วมกัน และสร้างความภูมิใจร่วมกันเพื่อเช่ือมโยง
แผนงาน โครงการ กิจกรรม งบประมาณ ความเช่ียวชาญในการ “หนุนเสริม” การจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับ
ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ในพื้นที่ และ “ต่อยอด” เพื่อพัฒนากิจกรรม กศน. ให้มีคุณภาพและ
ประสิทธิภาพมากข้ึน การคมนาคมที่สะดวกและมีให้เลือกหลายเส้นทาง จึงมีความจาเป็นต้องจัดกิจกรรม กศน.
ใหส้ อดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย สภาพแวดล้อม ซึ่งจาเป็นต้องมีการเสริมสร้างความร่วมมือกับเครือข่ายเนื่องจาก
งบประมาณและจานวนบคุ ลากรท่จี ดั กิจกรรมบรกิ ารกลุ่มเปา้ หมายในพน้ื ที่มีจากดั

รายงานนเิ ทศการจัดกิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

16

1. สภาพที่พบ
1.1 ครู กศน.ตาบล มีการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลแหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถ่ิน จากการ

สัมภาษณ์ตามแบบสารวจแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถ่ิน จัดทาทาเนียบแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถ่ิน
ภายในตาบล กศน.ตาบลเป็นรูปเล่ม และกรอกข้อมูลในระบบ DMIS มีการแต่งต้ังคณะกรรมการ กศน.ตาบล
มีการใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนในการจัดกิจกรรม เชิญภูมิปัญญามาเป็นวิทยากรในการให้ความรู้ ด้วยการเป็น
วทิ ยากรในการจดั กิจกรรมท้งั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน การศึกษาตอ่ เนือ่ ง และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

1.2 กศน.อาเภอมอบหมายและกากับดูแลให้ครู กศน.ตาบลและบุคลากรของสถานศึกษาสารวจและ
จัดทาข้อมูลแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน และจัดทาข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับภาคีเครือข่ายท่ีจัดและ
สนับสนุนการจัดกิจกรรม จัดเก็บข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบเพ่ือสะดวกต่อการสืบค้น สถานศึกษาแต่งตั้ง
คณะกรรมการสถานศึกษา และมีการจัดประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาทุกปีงบประมาณอย่างต่อเน่ือง
เพอ่ื รายงานผลการดาเนินงาน รายงานการประเมินคุณภาพภายใน พร้อมทั้งขอความเห็นชอบพิจาณาหลักสูตร
และแผนปฏบิ ัติการประจาปีงบประมาณ

๒. ขอ้ นิเทศตอ่ ผู้รับการนเิ ทศ
๒.๑ มีการสารวจ คน้ หาแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้สอดคล้องกับการจัดกิจกรรมเพ่ิมเติมจากที่

มีอยู่เดิม และประสานงานการใช้ทรัพยากรร่วมกันให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้รับบริการ และปรับปรุงข้อมูล
สารสนเทศภาคเี ครอื ข่าย แหลง่ เรยี นรแู้ ละภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ ให้เป็นปจั จบุ นั

๒.๒ ให้มกี ารทบทวนและจัดทาข้อตกลงความรว่ มมือ (MOU) กบั ภาคเี ครือขา่ ยท่มี ีศักยภาพในการจดั
กจิ กรรม กศน.

๒.๓ สรา้ งขวญั และกาลังใจให้กบั ภูมิปัญญา และภาคีเครือขา่ ย
๓. ปจั จัยที่ส่งผลต่อความสาเรจ็

๓.๑ หน่วยงานภาคเี ครือข่ายในพ้นื ทใี่ หก้ ารสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง เป็นอย่างดี ท้ังในด้านงบประมาณ
อาคารสถานทแ่ี ละการจัดกจิ กรรม

๓.๒ ครู กศน.ตาบล มีความสามารถในการประสานสัมพันธ์งานกับภาคีเครอื ขา่ ย
๓.3 มีการประสานงานกับภาคีเครือข่ายในการใช้ทรัพยากรร่วมกัน ได้แก่ สถานที่ อาคาร และหรือ
บคุ ลากร ฯลฯ เพ่ือใชท้ รพั ยากรใหเ้ กิดประโยชน์สงู สดุ ในการจดั กิจกรรมบรกิ ารกลุ่มเปา้ หายในพื้นที่
๓.4 ทุกภาคสว่ นมเี ป้าหมายในการดาเนนิ งานทีช่ ัดเจน โดยยึดผ้เู รยี น/ผรู้ ับบรกิ ารเปน็ สาคญั

๔. ปัญหาอุปสรรค
๔.๑ ภาคีเครือข่ายยังขาดความรู้ความเข้าใจในการดาเนินงานของ กศน. แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญา

ท้องถิ่น ขาดการส่งเสรมิ สนับสนนุ จากหน่วยงานในการดาเนินการเผยแพร่องค์ความรู้ท่ีชัดเจนและการปฏิบัติงานท่ี
สอดคล้องกับกจิ กรรม

๔.2 การแพรร่ ะบาดของสถานการณ์โรคไวรสั ติดเชื้อ COVID – ๑๙ ทาให้การจัดกิจกรรมบางกิจกรรม
สะดดุ มีการเปลีย่ นแปลงรปู แบบกจิ กรรม ดว้ ยการออกแบบกิจกรรมรว่ มกนั กบั ผเู้ รียนหรอื ผู้รบั บริการ

รายงานนเิ ทศการจัดกิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

17
๕. ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพฒั นา

๕.๑. ทบทวนและจัดทาข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับภูมิปัญญา หน่วยงานภาคีเครือข่ายที่จัด
กิจกรรมร่วมกันอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

5.2 สร้างขวัญกาลังใจ เชิดชูเกียรติในการทางานร่วมกัน จัดประกวด และให้รางวัลกับภูมิปัญญา
และภาคีเครือข่าย ตลอดจนมีการส่งเสริมสนับสนุนให้มีจัดทาข้อตกลงความร่วมมือ(MOU) กับหน่วยงานภาคี
เครือข่ายอย่างต่อเนือ่ ง

๖. ภาพกจิ กรรม

ภาคเี ครือข่าย

รายงานนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

18

1.5 Good Innovation (การพฒั นานวัตกรรมทางการศึกษา)

นวัตกรรมหมายถึง ความคิด การปฏิบัติ และการกระทาใหม่ๆ ท่ีไม่เคยมีมาก่อน หรือการพัฒนา
ดัดแปลงมาจากของเดิมที่มีอยู่แล้วให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดีย่ิงข้ึน เมื่อนานวัตกรรมมาใช้ จะช่วยให้การทางาน
น้ันได้ผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม ส่วนนวัตกรรมการศึกษา (Education Innnovation)
หมายถึง นวัตกรรมที่จะช่วยให้การจัดการศึกษาและการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดีย่ิงขึ้น ผู้เรียนสามรถเกิด
การเรียนรู้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิผลสูงกว่าเดิม เกิดแรงจูงใจในการเรียนด้วยนวัตกรรมการศึกษา และ
ประหยัดเวลาในการเรียนได้อีกด้วย รวมท้ังมีการประยุกต์ใช้ส่ืออิเลคทรอนิกส์ เพ่ือให้ก้าวทันเทคโนโลยีที่
ทันสมัย ดังนั้นการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาจึงจัดทาเพื่อประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาบริการ
กลุม่ เปา้ หมาย ซึ่งองค์ประกอบของนวตั กรรมมดี งั น้ี ๑. เปน็ สงิ่ ใหม่ ๒. เน้นใช้ความรู้ความคิดสร้างสรรค์ ๓. เป็น
ประโยชน์ ต้องตอบได้ว่าส่ิงท่ีเราสร้างเป็นอย่างไร ๔. เป็นท่ียอมรับ และ๕. มีโอกาสในการพัฒนา สรุป
นวตั กรรมการศึกษา เป็นการนาเอาสิ่งทีค่ ิดและหรอื ประดิษฐใ์ หม่ๆ มาใช้ในระบบการจัดการศึกษา เพื่อมุ่งหวังให้
การจัดการศึกษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ส่งผลให้ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ได้รวดเร็วข้ึนตามไปด้วย ซ่ึงการ
ขับเคลื่อนการดาเนินงานตามนโยบาย จุดเน้นด้านท่ี 5 การพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเพ่ือประโยชน์ต่อการ
จัดการศกึ ษาและกลุ่ม เปา้ หมาย (Good Innovation) ของ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัย ได้กาหนดนโยบายละจุดเน้น ประจาปีบประมาณ พ.ศ. 2563 ในส่วนข้อ 3 ส่งเสริมและ
พัฒนาการนาเทคโนโลยีทางการศึกษาและเทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพ ในการจัดการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชนอย่างท่ัวถึง ข้อ 4 พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ สื่อและนวัตกรรม การวัดและประเมินผลทุกรูปแบบให้สอดคล้องกับบริบทในปัจจุบัน ข้อ 5 พัฒนา
บุคลากรและระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ เพื่อมุ่งจัดการศึกษา และการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ โดยยึด
หลกั ธรรมาภิบาล

1. สภาพท่ีพบ
1.1 กศน.อาเภอเมืองระยอง มีการบุคลากรการจัดอบรมให้ความรู้ด้านวิชาการและการใช้

เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม มุ่งหวังให้มีการใช้อย่างเป็นระบบ มีวิธีการในการปรับปรุงและคิดค้นพัฒนาวิธีการสอน
แบบใหม่ๆ ท่ีสามารถตอบสนองการเรียนรู้ในสถานการณ์ท่ีมีโรคไวรัสติดเชื้อ COVID-๑๙ ระบาด ให้สามารถ
ใชก้ ารเรียนการสอนท่ีเหมาะสมกับผู้เรียนเป็นรายบุคคล รายกลุ่มการสอนท่ียึดผู้เรียนเป็นสาคัญ/เป็นศูนย์กลาง
การเรียนแบบมีส่วนร่วม รวมท้ังการเรียนรู้แบบแก้ปัญหาการพัฒนาวิธีสอน จาเป็นต้องอาศัยวิธีการและ
เทคโนโลยใี หมๆ่ เขา้ มาจัดการและสนบั สนนุ การเรยี นการสอน โดยเลอื กใชว้ ิธเี รยี นไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

1.2 กศน.อาเภอได้ส่งบุคลากรเข้าร่วมอบรมพัฒนาระบบ ส่ือ นวัตกรรมเพ่ือการจัดการศึกษา
ออนไลน์ กับหน่วยงาน เพื่อสร้างห้องเรียนออนไลน์และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ของ google ตลอดจนเป็นการจัดทา
แบบสารวจ ใบความรู้ ใบงาน แบบฝึกหัด แบบทดสอบ คลิปวิดีโอ เพ่ือให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคน
มีการพัฒนานวัตกรรม จัดเกบ็ เผยแพร่ และใชน้ วตั กรรมการจัดการศึกษาออนไลน์รว่ มกนั

1.3 กศน.อาเภอ มีการพัฒนาสอ่ื การเรยี นรู้ E–Book ท้งั สาระความรู้การศึกษาพ้ืนฐาน การศึกษา
ต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อพัฒนาการศึกษาเรียนรู้สู่การศึกษาตลอดชีวิต ผ่านสังคมแห่งการเรียนรู้
รวมท้งั เพอื่ พฒั นารูปแบบการศึกษาตามอธั ยาศยั ให้สามารถส่งเสริมการเรยี นรูใ้ หแ้ กป่ ระชาชนได้หลากหลาย

รายงานนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

19

1.4 การดาเนินการเกี่ยวกับการพัฒนานวัตกรรมหลักสูตรด้านอาชีพ และการพัฒนาผลิตภัณฑ์
จาเป็นของผู้เรียน ชุมชน ในการเรียนรู้ ดาเนินการสารวจผลิตภัณฑ์/สินค้าดีเด่นของจังหวัด เพื่อเตรียมการการ
คัดเลือกผลิตภัณฑ์/สินค้าดีเด่นของประชาชน ด้วยการฝึกอาชีพจากโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ตามแนวทาง
การขับเคลื่อน “กศน.สู่ กศน. WOW” ในประเด็นข้อท่ี 5 การพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อประโยชน์ต่อ
การจัดการศึกษาและกลุ่มเป้าหมาย : Good Innovation เพื่อยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์/สินค้าดีเด่น และ
ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการบริหารจัดการ การประชาสัมพันธ์ เผยแพร่และจาหน่ายผลิตภัณฑ์ ส่งเสริม
ช่องทางจาหน่ายสินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ังดาเนินการตามนโยบายในการสารวจ ประสานงานจุด
จาหน่ายสินค้าในปั้มน้ามัน สถานประกอบการต่าง ๆ ตามแนวทางการดาเนินงานของศูนย์ฯ มีการพัฒนาและ
ส่งเสริมการยกระดับผลิตภัณฑ์ท่ีได้จากการพัฒนาต่อยอดการเรียนรู้ สร้างความรู้ เพิ่มช่องทางการจาหน่าย
ผลิตภัณฑ์ของประชาชน และส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ผ่านเว็บไซต์ให้กับกลุ่มเป้าหมาย
รวมทง้ั สถานศึกษามีการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบรกิ าร

๒. ข้อนิเทศต่อผรู้ ับการนเิ ทศ
๒.๑ เลือกใช้วธิ ีการจัดการศึกษาออนไลนใ์ หเ้ หมาะสมกับสถานการณท์ ่ีมีโรคไวรสั ติดเชื้อ COVID-๑๙

ระบาด และเป็นไปตามนโยบายของสานักงาน กศน.
๒.๒ มีการสอนออนไลน์ โดยใช้โปรแกรม Meet google โดยเข้าโปรแกรมดังกล่าวจากอีเมล์ dei

รวมท้ังนเิ ทศแบบอนไลน์
๒.๓ กศน.อาเภอส่งบุคลากรเข้ารับการอบรมด้านการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา เพื่อเพ่ิม

ศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน กิจกรรมต่างๆ โดยเผยแพร่ผ่านทางการส่ือสารประชาสัมพันธ์ และการ
เรียนรู้ท่หี ลากหลาย เชน่ เฟซบกุ๊ ไลน์ เวบ็ ไซต์ QR CODE และจดั ทาเป็นจดหมายข่าวเพื่อเผยแพร่การดาเนินงาน
อย่างต่อเน่ืองทั้งนี้คณะกรรมการนิเทศภายในของสถานศึกษา ควรวางแผน กาหนด การนิเทศติดตาม การ
นาเสนอผลงาน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในการนาความรู้ไปใช้ในการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา และการ
ปฏบิ ตั งิ านตามนโยบาย เพอื่ การรายงานผลตามนโยบาย รวมทัง้ นาข้อมลู ผลการดาเนนิ งานไปพฒั นาอยา่ งต่อเนื่อง

๒.๔ กศน.อาเภอศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการจัดตั้งศูนย์ให้คาปรึกษาและผลิตภัณฑ์ Brand กศน.
เพ่ือยกระดับผลิตภัณฑ์การบริหารจัดการผลิต การส่งออกและจาหน่าย ตลอดจนประสานงานการดาเนินงาน
ในทุกมิตนิ าBrand กศน.ไปปรบั ใชก้ ับผลติ ภัณฑ์ ในระดับตาบล

๒.๕ กศน.ตาบลจัดสร้างเพจ OOCC เพือ่ เชือ่ มโยงผลิตภณั ฑท์ ่ผี ลิตจากตาบล นาไปสู่การส่งเสริมการ
จาหน่ายผ่านส่ือออนไลน์

๓. ปจั จัยทส่ี ่งผลต่อความสาเร็จ
๓.๑ บุคลากรให้ความสาคัญ และความจาเป็นท่ีต้องมีการพัฒนาการบริหารและการจัดการด้วย

เทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัลการ ด้วยความส่วนร่วมของของสานักงาน กศน.จังหวัดและ
สถานศึกษาในการร่วมรับรู้สภาพปัญหา การร่วมคิด การร่วมกาหนดแนวทางการพัฒนา ทาให้มีมุมมองทาง
ความคิดในการพัฒนาท่ีหลากหลาย เกิดความร่วมมือในการดาเนินการพัฒนาอย่างเป็นระบบ มีเป้าหมายกา ร
ดาเนินงานชัดเจน รวมทั้งการให้ความสาคัญต่อวิธีการและแนวทางเพ่ือการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อ
ประโยชน์ตอ่ การจัดการศึกษาและกลุ่มเปา้ หมายระยอง

๓.๒ ผู้บริหารและบุคลากรมีความรู้ความสามารถที่จะคิดรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ท่ีเหมาะสมกับผู้เรียน และสถานการณ์ท่ีมีการเปล่ียนแปลง รวมท้ังมีการปรับตัวด้านการเรียนรู้ในการพัฒนา
นวัตกรรมสาหรบั จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

รายงานนเิ ทศการจัดกิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

20

๓.๓ สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุน ครู และบุคลากรในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และพัฒนา
นวตั กรรมเพอื่ การจัดการเรียนร้ใู หก้ ับผเู้ รยี น ผูร้ ับบรกิ าร

๓.๔ ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือให้มี
ประสทิ ธิภาพ และลดความซา้ ซอ้ นในการทางาน

๔. ปญั หาอุปสรรค
๔.๑ เนื่องจาก ครู กศน. ตอ้ งปฏิบตั งิ านในพ้ืนที่ มภี าระงานประจาและงานตามนโยบาย ตลอดจนงาน

ที่ได้รับมอบหมายอ่ืนๆ บางครัง้ อาจจะไมส่ ามารถทางานได้เต็มที่ ประสบการณ์และความสามารถด้านเทคโนโลยีน้อย
จงึ ทาให้เกดิ การเรยี นรไู้ ด้ช้า และสง่ ผลให้บางคนไม่สามารถสรา้ งนวตั กรรมใหม่ๆ ได้

4. กศน.ตาบลบางแห่งได้ดาเนินการประสานผู้ประกอบการ ซ่ึงยังไม่มีสถานท่ีจะให้จัดตั้งศูนย์
ให้คาปรึกษาและผลติ ภัณฑ์ Brand กศน. ผลิตภัณฑ์และสิ้นค้าที่ กศน. จาหน่ายยังไม่ได้รับรองมาตรฐานการผลิต
สินค้า เพ่ือยกระดับผลิตภัณฑ์การบริหารจัดการผลิต การส่งออกและจาหน่ายสินค้า เนื่องจากมีกลุ่มเป้าหมาย
ในการใชบ้ รกิ ารนอ้ ย

๕. ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพัฒนา
๕.๑. ควรมีการจัดทาคลิปส่ือแผนการเรียนออนไลน์และจัดการศึกษาออนไลน์ โดยครูมอบหมาย

ใหผ้ ู้เรียนมสี ว่ นร่วมในการออกแบบการเรียนรู้
๕.๒ ทาคู่มือการศึกษาออนไลน์ท้ังการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษาตาม

อัธยาศัย เพื่อให้ครู บุคลากรทางการศึกษามีแนวทางการดาเนินงานที่สามารถ นิเทศ ติดตาม ในการพัฒนาและ
แกป้ ัญหาในการดาเนนิ งานได้

๕.๓ ควรมีแนวทางการปฏิบัตงิ านทช่ี ัดเจนตามนโยบายของ กศน. ตาบล ซ่งึ เปน็ ผ้ปู ฏบิ ตั งิ านในพ้ืนที่
จะทาให้คุณภาพของงานมผี ลตอ่ การจัดการเรยี นร้ใู ห้กับประชาชนในพ้นื ท่ี ทงั้ ในด้านการสนบั สนนุ ครุภัณฑ์ วัสดุ
อุปกรณ์ท่ีทนั สมัยเพื่อการจัดทานวัตกรรมใหม่ๆ

6. ภาพกจิ กรรม

รายงานนเิ ทศการจัดกิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

21

1.6 โครงการจดั และสง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษาตลอดชีวติ เพอื่ คงพัฒนาการทางกาย จิต
และสมองของผสู้ งู อายุ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 “หลกั สตู ร การจดั กจิ กรรม กศน.
ป้องกันภาวะซมึ เศรา้ คงสมรรถนะทางกาย จติ และสมองของผูส้ งู อายุ”

๑. ความเปน็ มา
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ข้อ ๓.๘ ในการ เตรียม

ความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุท่ีเหมาะสมและมีคุณภาพ โดยส่งเสริมการจัดกิจกรรมให้กับประชาชน เพื่อสร้าง
ความตระหนักถึงการเตรียมพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) มีความเข้าใจในพัฒนาการของช่วงวัย
รวมท้ังเรียนรู้และมีส่วนร่วมในการดูแล รับผิดชอบผู้สูงอายุในครอบครัวและชุมชน เสริมสร้างพัฒนาการ
จัดบริการการศึกษาและการเรียนรู้สาหรับประชาชนในการเตรีย มความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุที่เหมาะสมและมี
คุณภาพ จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตสาหรับผู้สูงอายุภายใต้แนวคิด “Active Aging” การศึกษาเพ่ือ
พัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาทักษะชีวิตให้สามารถดูแลตนเองท้ังสุขภาพกายและสุขภาพจิต และรู้จักใช้
ประโยชน์จากเทคโนโลยี สร้างความตระหนักถึงคุณค่าและศักด์ิศรีของผู้สูงอายุ เปิดโอกาสให้มีการเผยแพร่ภูมิ
ปัญญาของผสู้ ูงอายุ และใหม้ ีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านต่างๆ ในชมุ ชน เชน่ ด้านอาชีพ กีฬา ศาสนา และวัฒนธรรม
ตลอดจนจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือรองรับสังคมผู้สูงอายุ โดยบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องใน
ทกุ ระดับ

สานักงาน กศน. ได้จัดสรรงบประมาณ เป็นค่าใช้จ่ายโครงการการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษา
ตลอดชีวิตเพื่อคงพัฒนาการทางกาย จิตและสมองของผู้สูงอายุ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ โดยให้
ดาเนินการจัดอบรมบุคลากร กศน. ระหว่าง มิถุนายน – สิงหาคม 2563 และให้นาความรู้ไปจัดกิจกรรมให้กับ
ผูส้ ูงอายุในพ้นื ที่ ตามเป้าหมายและงบประมาณท่ไี ดร้ ับกิจกรรม แบง่ ออกเป็น ๒ ประเภท ไดแ้ ก่

๑) การจัดกิจกรรม กศน. คงพฒั นาการทางกาย จติ และสมองของผ้สู ูงอายุ ตามที่ กศน.อาเภอ/
เขต ยืนยนั และเสนอแผนการจดั กจิ กรรมการศึกษาตลอดชีวติ ปอ้ งกนั ภาวะซึมเศรา้ และสง่ เสรมิ ภาวะพฤติพลงั
ตามแบบ ActiveAgeing_๖๓-๒

๒) การสนับสนุนผู้เข้ารับการอบรมแบบ Online “หลกั สตู รการจดั กจิ กรรม กศน.ป้องกันภาวะ
ซึมเศร้า คงสมรรถนะทางกาย จิตและสมองของผู้สงู อายุ” จาก ๒๑ จังหวดั ใหท้ ากจิ กรรมท่ีได้รับมอบหมายจาก
การเขา้ อบรม Online ตามที่วทิ ยากรกาหนด โดยกลุม่ เป้าหมายจากสถานศกึ ษา กศน.อาเภอละ ๒ คน หลงั จาก
เข้ารับการอบรมแล้วใหน้ าความรู้ไปใชใ้ นการจดั กจิ กรรมสาหรับผสู้ ูงอายุ

๒. สภาพทพี่ บ
กศน.ตาบล จัดโครงการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต เพื่อคงพัฒนาการทางกาย

และจติ สมองของผู้สงู อายุ จานวน 580 คน เพ่อื ผสู้ งู อายุ มีความรู้ เขา้ ใจ และตระหนกั ถึงโรคซึมเศร้าและการเฝ้า
ระวังตนเอง มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรม เพื่อส่งเสริมสุขภาพกาย จิตสมองของตนเองได้ ซ่ึงมีกิจกรรมเนื้อหา เช่น
เมื่อเวลาชีวิตเปลี่ยนผ่านมาไกล หัวใจต้องเผชิญความเปลี่ยนแปลง(สุขภาพจิตผู้สูงอายุ กิจกรรมโรคซึมเศร้าและ
การเฝ้าระวัง กิจกรรมปรับตัวปรับใจ ปรับภาษา เปลี่ยนความคิด และกิจกรรมตุ๊กตาการบูรปลุกพลังบวกสร้าง
ความสุขให้กับตัวเอง

๓. ปัจจัยทส่ี ่งผลต่อความสาเร็จ
3.1 ความชัดเจนจากนโยบายส่กู ารปฏิบตั ิ ต้งั แตก่ ารพัฒนาบุคลากร กศน. ให้เข้าใจโดยการ

ปฐมนเิ ทศสรา้ งความเขา้ ใจ การรบั รู้ สกู่ ารปฏิบตั ิ
3.2 วิทยากรมีความรู้ ความเช่ียวชาญในเนื้อหา และการถ่ายทอดความรู้ ทาให้บุคลากร กศน.

สามารถนาไปปรับประยกุ ต์ใช้ในการจัดกิจกรรมได้

รายงานนเิ ทศการจัดกิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

22

3.3 การทางานร่วมกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่ และได้รับการสนับสนุนด้านงบประมาณ
ทรัพยากรในชุมชน ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ประเพณีวัฒนธรรม และการมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมให้กับผู้สูงอายุ
ในการจัดกิจกรรม การพัฒนาบุคลากรให้มีองค์ความรู้ใหม่ๆ เช่น การจัดกิจกรรมฝึกอบรมผ่านสื่อ Online ให้กับ
บุคลากร กศน.เพ่ือนาความร้ไู ปใชใ้ นการจดั กิจกรรมได้อย่างเหมาะสม

๔. ปญั หาอุปสรรค
ผสู้ งู อายมุ ีความแตกต่างระหว่างบคุ คล ทั้งเร่ืองของสภาพร่างกาย ข้อจากัดในการเดินทาง

สมรรถภาพทางกาย จติ สมอง ทาให้การออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้องกับผู้สูงอายุไม่สามารถตอบสนองหรือ
บรรลุวัตถุประสงคข์ องกจิ กรรมน้นั เท่าที่ควร

๕. ข้อนิเทศต่อผู้รับการนเิ ทศ
5.1 ให้ครนู าส่ือเทคโนโลยีเพ่ือใช้ในการสื่อสาร มาใช้ในชวี ิตประจาวัน ใช้ประโยชน์ในด้านการ

หาข้อมลู ความรูต้ ่างๆ หรอื ค้นคว้าสงิ่ ที่ผ้สู ูงอายุช่นื ชอบเพื่อความบันเทิง ฝึกสมอง และตดิ ตอ่ ส่ือสารกับบคุ คลอนื่
มากขึ้น

5.2 ใหค้ รมู ีการตดิ ตามผลการจดั กิจกรรมสาหรบั ผ้สู งู อายุ สรุป และรายงานผลการจดั กจิ กรรม
เพอื่ สามารถนาไปใช้วางแผนการดาเนินงานในปีต่อไป ใหม้ ีความหลากหลาย สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความ
ต้องการของกลมุ่ เป้าหมายได้มากยงิ่ ข้ึน

๖. ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การพัฒนา
6.1 การประสานงานดา้ ยบคุ ลากร วสั ดอุ ุปกรณ์ และงบประมาณรว่ มกับภาคีเครอื ข้ายเพ่ือจดั

กจิ กรรมร่วมกับหนว่ ยงานและภาคเี ครือขา่ ยมากขน้ึ
6.2 มหี ลกั สตู รให้มีความหลากหลาย ทนั สมยั ทันเหตุการณ์ ตลอดจนประสานความร่วมมอื กบั ภาคี

เครอื ข่ายเพื่อใชป้ ระโยชนใ์ นทรัพยากรร่วมกนั ตลอดจนมีกิจกรรมท่ีกระตุน้ ให้ผสู้ งู อายมุ ีบทบาทในสังคมและ
ชมุ ชน ยกย่องชมเชย เช่น จิตอาสา บุคคลสาคัญในดา้ นศาสนาและประเพณี และอืน่ ๆ

3) ควรมีคู่มือการจัดกิจกรรมให้มีเนื้อหาหลักสูตรท่ีให้บุคลากร กศน. สามารถนาไปจัดกิจกรรม
ไดอ้ ย่างเหมาะสม

4) ควรกาหนดนโยบาย จุดเน้น แนวทางการดาเนินงาน ให้ชัดเจน ตั้งแต่ช่วงต้นปีงบประมาณ
เพอ่ื ใหส้ ถานศกึ ษาสามารถวางแผนการดาเนนิ งานไดต้ ลอดทง้ั ปี

7. ภาพกิจกรรม

รายงานนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

23

2. ภารกิจการจัดกจิ กรรมกรรมต่อเนอ่ื ง

2.1 การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน

1) การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551

สานักงาน กศน. ได้จัดให้มีหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ ไดพ้ ฒั นาขน้ึ ตามหลกั การและปรัชญาการศึกษานอกโรงเรียน นโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ รวมทั้งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.
๒๕๔๕ ตลอดจนพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปัญญา และมีศักยภาพในการประกอบอาชีพ
การศึกษาต่อ และสามารถดารงชีวิตอยู่ในครอบครัว ชุมชน และสังคมได้อย่างมีความสุข ทั้งนี้ สถานศึกษา
สามารถนามาตรฐานและสาระการเรียนรู้ไปพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการ
ของผู้เรียน ชุมชน สังคม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา โดยให้เป็นไปตาม
หลักการทีห่ ลกั สูตรฯ กาหนดไวด้ ังนี้

๑. เป็นหลักสูตรที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นด้านสาระการเรียนรู้ เวลาเรียน และการจัดการเรียนรู้
โดยเน้นการบรู ณาการเนือ้ หาให้สอดคลอ้ งกับวิถีชวี ติ ความแตกตา่ งของบุคคล ชุมชน และสงั คม

๒. ส่งเสริมให้มีการเทยี บโอนผลการเรยี นจากการศกึ ษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษา
ตามอัธยาศยั

๓. ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาและเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต โดยตระหนักว่าผู้เรียนมี
ความสาคัญ สามารถพัฒนาตนเองได้ตามธรรมชาตแิ ละเต็มตามศักยภาพ

๔. สง่ เสริมใหภ้ าคเี ครอื ข่ายมสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษา
จากการดาเนินการนิเทศการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ สรปุ ผลการนเิ ทศไดด้ งั น้ี

1. สภาพท่พี บ
1.1 ครูผู้สอนมีแผนการเรียนรู้รายภาค บันทึกหลังสอน และสมุดลงเวลาเรียนนักศึกษา มีการ

ปรับปรุงแผนการสอนและกระบวนการจัดการเรียนรู้ด้วยการนาข้อมูลของผู้เรียนมาออกแบบกิจกรรมเพ่ิมเติม
รวมถึงมกี ารนาขอ้ มลู จากการบันทกึ หลงั สอนไปใช้ในการพัฒนาผ้เู รียนให้มปี ระสทิ ธภิ าพย่งิ ขนึ้

1.2 ครูผู้สอนมีการจัดทาฐานข้อมูลผู้เรียนของตนเองและจัดทาแฟ้มผู้เรียนเป็นรายบุคคล แนะนา
เน้ือหาและช่องทางให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เพิ่มเติม มีการอภิปรายกลุ่มเก่ียวกับเหตุการณ์ชีวิตประจาวัน มีโครงการ
พัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนท่ีสอดคล้องกับแผนการเรียนรู้ มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ทาให้บรรยากาศ
ในการเรยี นการสอนไม่น่าเบื่อ และมีการประเมินระดับการรู้หนังสือผู้เรียนนักศึกษาใหม่และเก่า มีการจัดต้ังกลุ่ม
Line Facebook เพื่อการส่ือสาร การส่งงาน และการติดตามงาน มีการเยี่ยมบ้านนักศึกษา ครูผู้สอนมีการ
สรุปเนือ้ หาความรู้รว่ มกับผูเ้ รยี น เพ่ือนาความรทู้ ี่ไดไ้ ปใช้ประโยชน์ในการพฒั นาทักษะชวี ิตและอนื่ ๆ

รายงานนเิ ทศการจัดกิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

24

๒. ข้อนิเทศตอ่ ผรู้ ับการนเิ ทศ
2.1 ครผู ู้สอนและผู้เรียน สามารถตรวจสอบไดว้ า่ ผลการผู้เรียนมีการเรียนครบหรือไม่ มีผลการเรียน

เป็นอย่างไร การประเมินคุณธรรมเป็นอย่างไร ช่ัวโมงกิจกรรมพัฒนาคุณชีวิต (กพช.) รวมถึงข้อมูลอ่ืนๆ ท่ี
เก่ยี วขอ้ งกับผู้เรียนสามารถประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดารงชวี ิตประจาวัน

2.2 ผู้สอนรวบรวมข้อมูลอะไร ควรมีแนวทางพัฒนาอย่างไร ด้วยวิธีการใด มีเครื่องมือหรือวิธีการใน
การพฒั นาอะไร อยา่ งไร ควรบันทกึ และสรปุ ผลรวบรวมไว้เป็นขอ้ มลู ในการพัฒนาผ้เู รยี นตอ่ ไป

๒.3 กศน.ตาบลจัดกิจกรรมตามหลักการของ STEM Education สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ท่ี
ลงทะเบยี นในภาคเรยี นน้ี ผู้เรียนมีพัฒนาการด้านการคิดวเิ คราะห์ และการเรียนรูม้ ากขน้ึ

๒.4 ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมเรียนรู้ ท่ีผู้สอนจัดได้อย่างหลากหลาย และ
ตรงกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตร การให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นกับทุกกิจกรรม มี QR Code
เพ่ือให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เนื้อหาเป็นส่วนๆ และเรียนรู้ได้ทุกเวลา ครูควรจัดทาแผนการเรียนรู้โดยใช้ส่ือเทคโนโลยี
อย่างต่อเน่ือง และควรจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้มีการนาความรู้จากการเรียนรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์เชิงประจักษ์
มากยิ่งขน้ึ

๓. ปจั จยั ท่ีสง่ ผลตอ่ ความสาเร็จ
กศน.ตาบลมีหนังสือให้ยืมเรียนเพียงพอกับจานวนนักศึกษาท่ีลงทะเบียนเรียนในแต่ละภาคเรียน และ

ผู้สอนยังได้รับการพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยี มีการส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึง
เนื้อหาเพ่ือการเรียนรู้ได้ง่ายและรวดเร็ว สะดวกต่อการค้นคว้าและเข้าใจง่าย นอกจากน้ียังมีการนาสื่อในการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ การใช้ส่ือเพ่ือการวัดและประเมินผลด้วย Google form และ โปรแกรม Kahoot ทาให้
ผ้เู รียนมีการจดั ทาขอ้ สอบดว้ ยความสนุกสนาน ชวนให้ติดตามและตื่นเต้นทุกคร้ังที่รอดูคาเฉลย พร้อมทั้งกระตุ้น
ใหอ้ ยากทราบผลคะแนนทีท่ าได้

4. ภาคีเครอื ข่ายร่วมจดั
ภาคีเครอื ขา่ ยในเขตพนื้ ท่ีอาเภอเมืองระยองได้มีส่วนรว่ มใหก้ ารสนบั สนุนและสง่ เริมการจดั

กิจกรรมการเรียนการสอนของ กศน.อาเภอเมืองระยอง ได้แก่ วัด องค์การบริหารส่วนตาบล/จังหวัด เทศบาล
ตาบล/นคร โรงเรยี น โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบล อาเภอ และ จังหวดั ตลอดจนสถานประกอบและอื่นๆ

5. การใช้ประโยชนจ์ ากแหล่งเรียนรู้
5.1 การนานักศกึ ษาเขา้ ไปศึกษาหาความรจู้ ากแหลง่ เรียนรู้ในชมุ ชนท่ีหลากหลาย และการเชิญ

ปราชญ์ชาวบ้านปราชญช์ ุมชนทม่ี อี งคค์ วามรู้และภมู ปิ ญั ญามาใหค้ วามรกู้ ับผ้เู รียน
5.2 ครผู ูส้ อนควรมกี ารเยีย่ มบา้ นผเู้ รยี นเพือ่ ใหค้ าปรกึ ษาและแนะนาช่วยเหลอื ด้านการเรียน

และการศึกษาของผู้เรียนและพูดคุยกับผู้ปกครองเพื่อสอบถามปัญหาและให้ความช่วยเหลือในด้านการศึกษากับ
ผู้เรยี น

รายงานนเิ ทศการจัดกิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

25

6. การลดเวลาเรียนเพิ่มเวลาเรยี นรู้
จัดกระบวนการเรยี นรู้ท่ีหลากหลายใหก้ บั ผูเ้ รยี น ในรายวชิ าทมี่ คี วามยากงา่ ย การปรับความรู้

พ้นื ฐานการพบกลุ่ม.การศกึ ษาเรยี นร้ใู นรายวชิ าที่งา่ ย กรต.ด้วยตนเอง รวมท้งั การศึกษาเรยี นรู้จากแหล่งเรียนร้ใู น
ชุมชนและปราชญ์ชาวบ้านภมู ิปัญญาท้องถิ่น ตลอดจนคน้ ควา้ ด้วยตนเอง

7. การวัดผลประเมนิ ผล
การศกึ ษาจากส่ือ การศึกษาใบความรู้ จากทาแบบทาสอบจากใบงาน การสอบวัดผลประเมินผล

ระหวา่ งภาคและการสอบวดั ผลปลายภาค ความสนใจใฝ่เรยี นรู้ คุณธรรมจรยิ ธรรมของผู้เรยี น
8. ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแกไ้ ข
8.1 ผลการเรียนเฉล่ียของวิชาพื้นฐานอยู่ในระดับปานกลางต้องมีการดาเนินการจัดการเรียนรู้โดย

เนน้ ปรบั ความรพู้ ื้นฐานเพ่ือใหผ้ ้เู รียนมคี วามรูแ้ ละยกระดับผลการเรียนวชิ าพืน้ ฐานใหด้ ีข้นี
8.2 นกั ศึกษาขาดเรยี นเพราะสมัครแลว้ ไม่เคยมาพบกลุ่มเลยเปน็ จานวนมาก

9. ข้อเสนอแนะ
9.1 ครูผู้สอนควรมีการเย่ียมบ้านผู้เรียนเพ่ือให้คาปรึกษาและแนะนาช่วยเหลือด้านการเรียนและ

การศึกษาของผเู้ รยี นและพดู คยุ กบั ผู้ปกครองเพื่อสอบถามปัญหาและให้ความช่วยเหลอื ในดา้ นการศึกษากบั ผเู้ รียน
9.2 หาแนวทางการเรียนใหก้ ับนกั ศึกษาที่ไมม่ เี วลามาพบกลุ่ม

10. ภาพกจิ กรรม

การศึกษาขึน้ พื้นฐาน

รายงานนเิ ทศการจัดกิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

26

10. ภาพกจิ กรรม (ตอ่ )

ปฐมนิเทศนักศกึ ษา/กิจกรรมการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน

รายงานนเิ ทศการจัดกิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

27

2) การนเิ ทศกิจกรรมการส่งเสรมิ การร้หู นงั สือไทย

กศน. มีนโยบายสง่ เสรมิ การรู้ภาษาไทย เพ่ิมอัตราการรู้หนังสือ และยกระดับการรู้หนังสือของประชาชน
ใหป้ ระชาชนชาวไทยที่ไม่รู้ หรือลืมหนังสือได้เรียนรู้หนังสือไทย สามารถฟัง พูด อ่าน เขียนภาษาไทย คิดคานวณ
เบือ้ งตน้ และนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ ใช้เป็นทักษะพื้นฐานสาคัญที่ทาให้ประชาชนสามารถแสวงหาความรู้ได้
อย่างต่อเนื่อง เน้นการเรียนรู้ตามสภาพความต้องการและปัญหาของสังคมที่เกี่ยวข้องกับวิถีการดาเนินชีวิตของ
ผู้เรยี นดังนี้

1. ส่งเสริมการรู้ภาษาไทย ให้กับประชาชนในรูปแบบต่างๆ สามารถฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาไทย
เพื่อประโยชน์ในการใช้ชวี ติ ประจาวันได้

2. เรง่ จัดการศึกษาเพื่อเพ่ิมอัตราการรู้หนังสือ และคงสภาพการรู้หนังสือ ให้ประชาชนสามารถอ่านออก
เขียนได้ และคิดเลขเป็น โดยมีการวัดระดับการรู้หนังสือ การใช้สื่อ กระบวนการ และกิจกรรมพัฒนาทักษะใน
รปู แบบตา่ งๆ ท่ีเหมาะสม สอดคลอ้ งกบั สภาพพ้ืนทแ่ี ละกลุ่มเปา้ หมาย

3. ยกระดับการรหู้ นงั สอื ของประชาชน โดยจัดกจิ กรรมพัฒนาทกั ษะการรหู้ นงั สอื ในรปู แบบต่างๆ รวมทั้ง
พัฒนาใหป้ ระชาชนมที ักษะทจ่ี าเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ เพ่ือเป็นเครื่องมอื ในการเรยี นรูต้ ลอดชวี ิตของประชาชน

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองระยอง ส่งเสริม สนับสนุนการรู้หนังสือ
ให้แก่กลุ่มผู้ไม่รหู้ รอื ลมื หนงั สอื โดยใช้หลักสูตรการรู้หนังสือไทย ซ่ึงรายละเอียดในหลักสูตรประกอบด้วยหลักการ
จุดหมาย กลุ่มเป้าหมาย โครงสร้าง หลักสูตร การจัดกระบวนการเรียนรู้ ส่ือ และแหล่งการเรียนรู้ การวัดและ
ประเมนิ ผล การจบหลกั สตู ร และเอกสารหลักฐานการศกึ ษา

1. สภาพทพ่ี บ
1.1 จานวผู้เรียน 9 คน สามารถอ่านและเขียนภาษาไทยและคานวณเบ้ืองต้นได้ แต่ยังไม่มี

ผู้ผ่านการประเมินเพ่ือจะไปเรยี นในระดับท่ีสงู กว่านไี้ ด้ ต้องได้รบั การฝึกและเพ่ิมทักษะอยา่ งต่อเน่ืองต่อไป
1.2 มีการประชาสัมพันธ์ข้อมูลให้ชุมชนได้รับทราบอย่างต่อเนื่อง และมีการสารวจข้อมูล

ประชากรวัยแรงงาน ในพื้นที่อาเภอเมอื งระยอง
1.3 ครูผู้สอนมีความรู้ ความเข้าใจในการส่งเสริมการรู้หนังสือให้กับประชาชนให้อ่านออก

เขียนได้ พูด ฟัง ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากได้รับการพัฒ นาด้านการจัดการเรียนรู้จาก
สานักงาน กศน.จังหวัดระยอง มีการนาความรู้ที่ได้รับมาดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้กับ
ผู้เรียน มีการประเมินพื้นฐานการรู้หนังสือเดิมก่อนจัดการเรียนสอน ครูมีการนาสื่อ หนังสือ แบบเรียน แบบฝึกหัด
มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน มีการประเมินผู้เรียน ก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน โดยใช้
หนังสอื เรียนและแบบทดสอบของสานกั งาน กศน.จังหวดั ระยองทจี่ ดั ทาขนึ้

๒. ขอ้ นเิ ทศ
2.1 แนะนาให้ผเู้ รยี นหม่ันฝึกฝนโดยการทักษะต้องมีการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง และ ให้คนใกลช้ ิด

ชว่ ยสอน หรือเพ่อื นรว่ มชัน้ เรียนด้วยกันเพ่ือใหม้ ีทักษะในการอา่ น เขียน มากยงิ่ ขน้ึ
2.2 ใหม้ กี ารใช้ส่ือมาใช้ในการจดั การเรยี นการสอนเพ่ือให้เกิดทกั ษะทั้งการฟงั การดู การอา่ น

ออกเสยี งมากขน้ึ โดยใชส้ ่ือโซเชยี ล เช่น Youtube Line Facebook และ QR Code เปน็ ตน้
2.3 มีการติดตามผทู้ ผี่ ่านการประเมนิ ใหเ้ ขา้ ศึกษาต่อในระดับที่สงู ข้นึ

รายงานนเิ ทศการจัดกิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

28
๓. ปจั จัยท่ีส่งผลต่อความสาเรจ็

๓.1 ครูผ้สู อนมีความรู้ ความเข้าใจ มจี ติ วทิ ยา มคี วามเสยี สละทมุ่ เทใหก้ ับผเู้ รยี นอยูเ่ สมอ
๓.2 มีการนาสือ่ ที่หลากหลายมาใชก้ ับผู้เรียนที่เหมาะสมตามรายบุคคล
๓.3 ผูเ้ รียนมีความตง้ั ใจและพยายามทจี่ ะเรยี นรูต้ ่อเนื่อง
๓.4 บรรยากาศในการจดั การเรียนการสอนท่เี ออื้ ตอ่ การเรียนรู้
๔. ปัญหาอุปสรรค/แนวทางการแกไ้ ข
4.1 ความสามารถในการรับรูแ้ ตกต่างกัน เชน่ อายุ พ้นื ฐานความรเู้ ดมิ
4.2 สภาวะแวดล้อม เช่น ครอบครัวไมส่ นบั สนนุ ใหไ้ ดร้ บั การศกึ ษา
4.3 จัดเวลาเรียนให้ตรงตามความสะดวกของผู้เรยี น โดยใหค้ รอบครัวและมีจิตอาสาชว่ ยสอน
4.4 ครจู ัดหาส่ือการเรยี นการสอนใหเ้ หมาะสมกบั พืน้ ฐานความร้ขู องผู้เรยี น
๕. ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา
๕.๑. ควรมกี ารพัฒนาหลกั สูตรการจัดการเรยี นการสอนให้สอดคล้องกบั บรบิ ทของผเู้ รียน
๕.๒ ควรจัดอบรมเทคนิคการสอนผ้ไู ม่รูห้ นงั สือ
๕.๓ ควรสนับสนุนงบประมาณเป็นค่าสื่อ วัสดุ และอุปกรณ์ ให้กับผู้เรียนในการจัดการเรียน
การสอนใหม้ ากขนึ้
6. ภาพกจิ กรรม

รายงานนเิ ทศการจัดกิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

29

2.2 การศกึ ษาตอ่ เนื่อง
1) ศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชน

กศน.อาเภอเมืองระยอง ดาเนนิ การจัดกิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนสอดคล้องกับนโยบาย
และความต้องการของสังคม พัฒนาประชาชนให้มีทักษะและความเช่ียวชาญในอาชีพด้านต่าง ๆ การเรียนรู้จาก
สถานการณ์จริงและการเรียนรู้จากกิจกรรม จัดการศึกษาอาชีพเพื่อยกระดับทักษะอาชีพและทักษะชีวิต
ของประชาชนเพื่อเข้าสู่แรงงานที่มีคุณภาพ จัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาท่ีสอดคล้องกับศักยภาพของ
ชุมชนและความต้องการของตลาดให้ประชาชนสามารถนาไปประกอบอาชีพได้จริง การศึกษาอาชีพช่างพื้นฐาน
และการประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยจี ัดการเรียนการสอน เช่น การเรียนแบบออนไลน์ ผ่านเทคโนโลยี ในรูปแบบต่าง ๆ
เพื่อสร้างโอกาสในการสรา้ งรายได้ ตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานต่อไป

1. สภาพท่พี บ
๑.๑ จดั ทาหลกั สูตรทม่ี ีความเหมาะสม สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของชุมชน
- มีการจัดทาคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในการพิจารณาพิจารณาหลักสูตรท่ีจะ

ดาเนินการจดั
- เน้ือหาหลักสูตรในแบบสารวจตรงกับความต้องการของคณะกรรมการและวิทยากรผู้สอน

สอดคลอ้ งกับหลกั การและวตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้ รวมทงั้ มีการประเมนิ หลกั สูตรการจบหลักสูตร
- ร่วมกับวิทยากรในการวางแผนและจัดสรรเวลาการฝึกอบรบได้อย่างเหมาะสม โดยมีใบสมัคร

วทิ ยากร (เอกสาร กศ.ตน.2) และแบบหลกั สตู ร (เอกสาร กศ.ตน.15) ตามคู่มือ
- วัสดุ อปุ กรณ์ มเี พียงพอต่อผ้ลู งทะเบยี นฝึกอาชีพ และสถานท่ีเอ้ือตอ่ การเรยี นรู้
- รูปแบบกิจกรรม ได้แก่ กลุ่มสนใจ (หลักสูตร 1 – 30 ชั่วโมง) /ชั้นเรียน (หลักสูตร 31 –60

ช่วั โมง) โดยแบง่ เป็นภาคทฤษฎี และภาคปฏิบตั ิ
1.2 กศน.อาเภอเมืองระยอง มีการพัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียนรู้โดยนาข้อมูลความต้องการของ

กลมุ่ เป้าหมายไปดาเนินการจัดกจิ กรรมการศกึ ษาอาชีพตามโครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชน ท่ีสามารถนาไปประกอบ
อาชีพได้ ตามนโยบาย ทั้ง 5 กลุ่มอาชีพ ได้แก่ เกษตรกรรม อุตสาหกรรมพาณิชยกรรมและบริการ ความคิด
สร้างสรรค์ และอาชีพเฉพาะทาง นอกจากนี้สถานศึกษามีการจัดการเรียนรู้ ด้วยการศึกษาข้อมูลความต้องการ
ของกลมุ่ เปา้ หมาย โดยใช้หลกั สูตรเดิมที่มีอยู่ ประกอบด้วย ๔ ส่วน คือ ช่องทางการประกอบอาชีพ ทักษะการ
ประกอบอาชีพ การบริหารจัดการอาชีพ และโครงการประกอบอาชีพ โดยมีการใช้และพัฒนาหลักสูตรใน
หลากหลายรปู แบบ

1.3 กศน.อาเภอเมืองระยองนาหลักสูตรจากคลังหลักสูตร ของสานักงาน กศน.จังหวัดระยอง มา
ดาเนนิ การจัดทาแผนงานโครงการจัดการศกึ ษาศูนย์ฝึกอาชีพชมุ ชน มีการวิเคราะห์หลักสูตร จานวนชั่วโมงให้เป็น
มาตรฐานเดียวกัน มีการแต่งต้ังคณะกรรมการโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนเพ่ือดาเนินการและขอความเห็นชอบ
จากคณะกรรมการสถานศกึ ษา และอนุมตั ิหลกั สตู รโดยผู้อานวยการสถานศกึ ษา

1.4 วิทยากรมีความรู้ความสามารถตรงตามเน้ือหา มีการใช้สื่อการสอน และมีวัสดุเพียงพอ และ
โครงการ/กิจกรรมส่วนใหญ่มกี ารประเมนิ ความพงึ พอใจผ้เู ข้าร่วมกจิ กรรม

รายงานนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

30

1.5 การจัดการเรียนรู้ส่วนใหญ่เป็นบทบาทของวิทยากรท่ีมีความรู้ทักษะเฉพาะทางตามเน้ือหา

หลักสูตร แต่ขาดการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้โดยตรง แก้ปัญหาโดยมีครูเป็นผู้ช่วยเหลือ วิธีการสอน วิธีการ

วดั และประเมนิ ผลใหก้ บั วทิ ยากรในแตล่ ะหลกั สตู ร วทิ ยากรมคี วามรู้ ทักษะ สามารถถ่ายทอดความรู้ได้เป็นอย่าง

ดี ในการน้ียังไมม่ งี บประมาณพัฒนาวิทยากรผู้สอนอย่างเป็นระบบ สถานศึกษาได้มีการกากับ ติดตาม แล้วนาผล

ไปรายงานในระบบ DMIS ตามระบบของสานกั งาน กศน.

๒. ขอ้ นเิ ทศตอ่ ผ้รู ับการนเิ ทศ

๒.๑ กศน.ตาบลมีการจัดการเรียนรู้กับเกณฑ์คุณภาพท่ีกาหนดไว้ในแผนพัฒนาการศึกษาของ

สถานศึกษาท่ีกาหนดไว้ เพ่ือส่งเสริมให้การประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาเป็นไปอย่างเป็นระบบและ

สดงถึงคุณภาพการจัดการเรียนรู้

๒.๒ กศน.ตาบลมีการจัดระบบและควบคุมการติดตามผู้เรียนหลังจบหลักสูตรไปแล้วเพื่อติดตาม

ว่าผู้เรียนนาความรู้ไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ และคุณลักษณะท่ีกาหนดไว้ในแผนพัฒนาการศึกษาของ

สถานศกึ ษาหรอื ไม่ อย่างไร

สรปุ จากการนเิ ทศพบวา่

1. ผู้จบตามหลักสูตรท่ี กศน.อาเภอเมืองระยองได้ดาเนินการจัดข้ึนบางคนเป็นผู้ท่ีมีความรู้

สามารถออกแบบผลิตภณั ฑห์ รือพฒั นาตอ่ ยอดผลิตภณั ฑ์ และไปเปน็ วทิ ยากรผ้สู อนได้

2. ผู้จบการศึกษาสว่ นใหญ่จะนาความรูไ้ ปใช้ในชีวิตประจาวันมากกว่าจะนาไปประกอบอาชีพเพ่ือ

สร้างรายได้ เนื่องจากระยะเวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใช้ระยะเวลาน้อยและไม่ต่อเน่ือง บางหลักสูตร

จาเปน็ ตอ้ งใช้ทักษะและประสบการณ์มาก จึงไม่สามารถจัดเน้ือหาได้ครบองค์ประกอบของความรู้ท่ีจะนาไปใช้ใน

การประกอบอาชีพได้

3. ผลการจดั กจิ กรรมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ผลการดาเนนิ งาน จานวน ๒,650 คน

1) 1 อาเภอ 1 อาชพี จานวน 245 คน

2) พฒั นาอาชพี ไมเ่ กิน 30 ชม.(กลุ่มสนใจ) จานวน 1,718 คน

3) ช้นั เรยี นวิชาชพี 31 ชม.ขน้ึ ไป จานวน 687 คน

๓. ปัจจยั ท่สี ่งผลต่อความสาเรจ็

3.1 วิทยากรผ้สู อนมคี วามรคู้ วามสามารถ และไดร้ ับการแนะนาจากภาคีเครอื ข่าย เป็นภูมิปัญญา

ท้องถ่นิ /ปราชญช์ าวบา้ น เป็นบคุ คลที่ได้รับการยอมรับจากชุมชน ท้องถ่ิน และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง มีการจัดการ

เรียนรตู้ ามแผนท่ีกาหนด และบางแห่งเลอื กใช้เปน็ สถานทเี่ รียนเพราะอยู่ใกล้วัสดุและอปุ กรณใ์ นการฝกึ ปฏิบัติ

๓.2 การวดั และประเมินผล วทิ ยากรผู้สอนมีการประเมินผลผู้เรียนด้วยการใช้วิธีการสังเกตจากมี

ส่วนร่วมจากการฝึกปฏิบัติและจากผลสาเร็จของช้ินงานตามสภาพจริง โดยครู กศน.ตาบล มีส่วนร่วมในการ

ประเมินผลผู้เรียนด้วย รวมทั้งมีการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมในด้านหลักสูตร เน้ือหา

ระยะเวลา การสอนของวทิ ยากร ความรคู้ วามเขา้ ใจ และการนาไปใช้ พร้อมนาผลการประเมนิ การเรยี นบันทึก

ลงในแบบรายงานตามทส่ี ถานศึกษากาหนด ซึ่งเป็นเอกสารประกอบการเบิกจ่ายเงินงบประมาณด้วย และมีการ

มอบใบประกาศนียบัตรให้แก่ ผู้จบหลักสูตร มีเอกสารสรุปผล และการรายงานผลการดาเนินงาน หลังจากเสร็จ

สิน้ การจดั กิจกรรม

รายงานนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

31

๔. ปญั หาอุปสรรค
4.1 ผู้เรียนบางคนมีทักษะและพ้ืนฐานการเรียนรู้ท่ีแตกต่างกัน บางหลักสูตรอาจจะใช้ระยะ

เวลานานท่ีจะเขา้ ใจและไดช้ น้ิ งานตามทก่ี าหนด
4.2 วิทยากรบางคนมีความรู้ความสามารถในเน้ือหาวชิ าทสี่ อน แตย่ งั ขาดขาดเทคนิคการถา่ ยทอด

ความรใู้ นดา้ นทฤษฏี และปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ซ่ึง กศน.อาเภอเมืองระยอง ได้มีการแนะนาและประชาสัมพันธ์ให้
วทิ ยากรในแตล่ ะหลกั สูตรไดเ้ ข้าการอบรมเพ่ือพฒั นาศกั ยภาพการสอนให้แก่วทิ ยากรผู้สอน

๕. ข้อเสนอแนะเพอื่ การพัฒนา
๕.๑ ควรเพ่ิมคา่ วัสดุฝกึ รายหัวใหเ้ หมาะสมกบั หลักสูตรทีเ่ ปิดสอน
5.๒ ควรจดั หาช่องทางในการประชาสมั พนั ธ์ และการจาหน่ายผลติ ภณั ฑข์ องชมุ ชนหลังจากจบ

หลักสตู ร
5.3 ควรมีนโยบายหรือมงี บประมาณในการพฒั นาหรือผลิตวิทยากร ของ กศน.ให้มีคณุ ภาพ

ทั้งในดา้ นการเขียนแผนจัดกิจกรรม การสาธิตการสอน การใชส้ ือ่ เทคโนโลยี และการสง่ เสรมิ ด้านการตลาด

6. ภาพกจิ กรรม

การผูกผา้ ประดับ ชา่ งก่ออฐิ

โครงการพฒั นาทกั ษะทางด้านอาชีพให้กบั ผูส้ ูงอายุ หลกั สตู ร กระเปา๋ ผา้ ญี่ปุ่น
เพ่อื ใหผ้ สู้ ูงอายุไดร้ บั การเสริมสร้างคณุ ภาพชีวิตที่เหมาะสมกับวัยและความตอ้ งการ

และได้ฝึกทักษะอาชพี เสรมิ รายได้ เสริมสรา้ งคุณภาพชีวติ

รายงานนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

32

6. ภาพกิจกรรม (ต่อ)

กจิ กรรมคุณภาพชวี ิตผ้สู ูงอายุ : โครงการจัดและส่งเสรมิ การศกึ ษาตลอดชวี ติ
เพ่ือการพฒั นาทางกายและจิตของผสู้ งู อายุ “การทาตุ๊กกาการบูร”

รายงานนเิ ทศการจัดกิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

33

2) การศึกษาเพื่อพัฒนาสงั คมและชมุ ชน

๑. ความเป็นมา
การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน เป็นการศึกษาท่ีบูรณาการความรู้และทักษะจาก

การศึกษาที่ผู้เรียนมีความรู้อยู่หรือได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
รวมท้ังนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ต่อการพัฒนาสังคมและชุมชนอย่างยั่งยืน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงท่ีมีหลากหลายรูปแบบ และกิจกรรมรูปแบบอื่นๆ ที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและบริบทของชุมชน
แต่ละพ้ืนที่ เคารพ และยอมรับความแตกต่างทางด้านความคิด อุดมการณ์ โดยจัดกระบวนการกลุ่มเพ่ือ
แลกเปล่ียนเรยี นรรู้ ว่ มกนั เช่น สรา้ งกระบวนการจติ สาธารณะ การสร้างจิตสานึกความเป็นพลเมืองประชาธิปไตย
การเคารพสิทธิ และรับผิดชอบต่อหน้าท่ีความเป็นพลเมืองดี การบริหารจัดการน้า การอนุรักษ์พลังงาน
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ตลอดจนการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม การบาเพ็ญประโยชน์ในชุมชน
ช่วยเหลอื ซงึ่ กันและกัน เพอ่ื การพฒั นาชุมชนและสงั คมให้ยั่งยืน

๒. สภาพท่พี บ
กศน.อาเภอเมอื งระยองจัดโครงการจัดการศกึ ษาเพื่อพฒั นาสังคมและชมุ ชน กับกลุ่มเปา้ หมาย

และบริบทของประชาชนในตาบล เน้นกระบวนการเรียนรู้มีการแผนการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเน่ืองท่ีมี
เป้าหมายชัดเจน มีหลักสูตรและการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ของชุมชน สังคม
เพ่ือให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะและเจตคติท่ีดีตรงกับความต้องการของชุมชน การจัดการ
เรียนรู้ มีแผนการจัดการเรียนรู้ การจัดให้มีห้องเรียนออนไลน์/ออฟไลน์ จัดทาหลักสูตรออนไลน์/ออฟไลน์
กาหนดช่องทางการสมัครเรียน ผู้เรียนสมัครเรียนผ่านออนไลน์ และวิธีการเรียนออนไลน์ ผ่านเครือข่าย
อินเตอรเ์ นต็ ทส่ี ถานศึกษากาหนด ครทู าหน้าทเ่ี ป็น Admin ในการใช้แอพพลเิ คช่นั ต่างๆ การออกแบบเนื้อหา การ
จัดกิจกรรม และการประเมนิ ผลรว่ มกบั วทิ ยากรให้เหมาะสมกับรูปแบบการจัดการศึกษาจัดการศึกษาต่อเน่ือง ซึ่ง
เป็นการจดั กิจกรรมให้เหมาะสมกับสถานการณป์ ัจจุบันท่ีมีการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า-2019

๓. ปัจจัยท่ีสง่ ผลต่อความสาเร็จ
๓.๑ ครู กศน.สามารถประสานการจัดกระบวนการเรียนรรู้ ่วมกบั ชุมชนได้อย่างรวดเรว็ และมี

ประสิทธภิ าพ
๓.๒ กลุ่มเปา้ หมายมีความต้องการที่จะพฒั นาตนเอง และให้ความสาคญั ตลอดจนมีสว่ นร่วม

ในการออกแบบกิจกรรมต่างๆ
๓.๓ ภาคีเครือขา่ ยให้การสง่ เสรมิ สนับสนุนและมสี ่วนร่วมในการประสานงานการใชท้ รพั ยากร

ร่วมกันอยา่ งคุม้ คา่

๔. ปญั หาอุปสรรค
ด้วยสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ในชว่ งทม่ี ีการจัดกจิ กรรม จึง

ต้องมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดกิจกรรม การเว้นระยะห่าง การสวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลา การวัด
อณุ หภมู ิ และการลา้ งมือด้วยเจลแอลกอฮอล์ และต้องจัดการศึกษารูปแบบออนไลน์โดยการนาเทคโนโลยีมาใช้ใน
การจัดกิจกรรม ซึ่งผู้ปฏิบัติยังไม่มีประสบการณ์ในการดาเนินการดังกล่าว ทาให้การจัดกิจกรรมบางช่วงยังไม่
เปน็ ไปตามระยะเวลาท่กี าหนดไว้

รายงานนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

34

๕. ขอ้ นเิ ทศต่อผ้รู ับการนเิ ทศ
๕.๑ ครูประสานงานในการจัดกจิ กรรมพัฒนาสังคมและชุมชน เกี่ยวกับการฝึกอบรมประชาชน

ใหป้ ระชาชนรวมกลุ่มเรยี นรรู้ ่วมกัน การใช้เทคโนโลยที ่เี ปน็ มติ รตอ่ สงิ่ แวดล้อม การสรา้ งกระบวนการจิตสาธารณะ
ให้ความรูเ้ กย่ี วกบั การเสริมสรา้ งคณุ ภาพชีวติ ที่เป็นมติ รกบั สงิ่ แวดล้อม

๕.๒ สถานศึกษานาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการในการจัดทาหลักสูตรโครงการ
/กจิ กรรม เพ่ือใหป้ ระชาชนมีแนวทางในการสร้างความสมดุลในการดารงชีวิต และพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรม
ให้มีความหลากหลายรูปแบบออนไลน์ และออฟไลน์อย่างต่อเน่ือง เพ่ือรองรับสถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลง

๖. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
กศน.อาเภอเมืองระยองมีการกจิ กรรมท่ีสอดคล้องกบั สภาพชุมชน และมีการออกแบบกิจกรรม

เพ่อื สรา้ งองค์ความรู้ ให้ประชาชนมคี วามตระหนกั การรับรู้ การบรหิ ารจัดการ โดยมีวิธีการปฏิบัติให้เหมาะสมกับ
สถานการณ์ปัจจุบันที่กาลังเผชิญอยู่ ด้วยการส่งเสริมการรับรู้ตลอดจนการรับมือกับโรคใหม่ๆ และปัญหาอื่นๆ
ท่ีอาจเกิดขึ้น รวมถึงการสร้างวิถีชีวิตท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม การส่งเสริมและสนับสนุน การปลูกพืชผักปลอด
สารพษิ ในครวั เรอื และการรู้จักเลอื กบริโภคของกินที่ปลดภัยต่อชวี ติ และส่งิ แวดล้อม

7. ภาพกิจกรรม

โครงการสรา้ งเสริมสขุ ภาวะที่ดสี ชู่ ุมชน

โครงการพัฒนาสงั คมและชุมชนสร้างสรรคน์ ้าใจไทยชว่ ยผู้ไดร้ ับผลกระทบตากโควดิ -2019

โครงการสง่ เสรมิ การรักษากฎจราจร

รายงานนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

35

7. ภาพกจิ กรรม (ตอ่ )

1 อาเภอ 1 อาชีพ
การทากระเป๋า DIY ณ ศาลาเอนกประสงค์ ตาบลบา้ นแลง อาเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง

รายงานนเิ ทศการจัดกิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

36

3) โครงการศนู ย์ดจิ ทิ ลั ชมุ ชน

สานักงาน กศนจังหวัด. เป็นหน่วยงานท่ีทาหน้าท่ีจัดกิจกรรมด้านการศึกษาในพื้นที่ และได้รับ
มอบหมายให้ดาเนินการสร้างเครือข่ายศูนย์ดิจิทัลชุมชน อันเป็นความร่วมมือระหว่างสานักงาน กศน. กับ
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งสานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจดิจิทัลและสังคม โดยให้
ประชาชนจัดทาการคา้ ออนไลนเ์ พ่ือใหค้ ้าขายไดม้ ากขึน้ ขณะน้สี านกั งาน กศน.ไดจ้ ดั อบรมวิทยากรแกนนา ครู ก.
ซ่ึงเป็นบคุ ลากรจากสานกั งาน กศน.จังหวดั ทุกแห่ง เพอื่ ขยายผลใหก้ ับครู ข. และ ครู ค. ซึ่งเป็นบุคลากรในพื้นท่ี
ท่ีจะต้องทางานเชิงรุกในการขยายผลสู่ชุมชนโดยตรง โดยจัดอบรมประชาชนให้มีความรู้เท่าทันดิจิทัล ใช้
ประโยชน์ในการประกอบอาชีพ และการดารงชีวิต นอกจากนี้ศูนย์ดิจิทัลชุมชนจะเป็นช่องทางในการเพิ่มโอกาส
ทางการค้าขายของคนในชุมชนผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล ส่งเสริมให้เกิดพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในระดับชุมชน มีการ
จัดการอบรม จานวน 2 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตร Digital Literacy การเข้าใจดิจิทัล และหลักสูตร E-
commerce การคา้ ขายออนไลน์ สาหรบั หลักสตู ร Digital Literacy มีวัตถุประสงค์ให้ครูอธิบายทฤษฎีหลักการ
เข้าถึง การใช้ดิจิทัลสาหรับการปฏิบัติงาน และการใช้ในชีวิตประจาวันได้ มุ่งให้ผู้เรียนรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล คิด
วเิ คราะห์ และแยกแยะสอื่ ดิจิทลั เพอื่ การบรโิ ภคได้อย่างเหมาะสม เมื่อ ครู ข. และ ครู ค. ขยายผลสู่ชุมชน ทาให้
ประชาชนมีความรูค้ วามเข้าใจในดจิ ิทัลมากขึน้ และปรบั ใชใ้ นชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม ส่งผลให้เกิดการค้า
ขายออนไลนแ์ ละยกระดับคณุ ภาพชีวิตให้ดขี ึน้

1. สภาพที่พบ
ตามท่ีสานักงาน กศน.จังหวัดได้จัดการเรียนรู้ด้านดิจิทัลให้กับประชาชน สาหรับปีงบประมาณ

๒๕๖๓ อบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตรการค้าออนไลน์ เรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการออกแบบบรรจุภัณฑ์
เพื่อสร้างเครือข่ายดิจิทัลชุมชนระดับตาบล ระหว่างวันท่ี ๒๖-๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ ณ ห้องประชุมสุนทรภู่
สานักงาน กศน.จงั หวดั ระยอง โดยมกี ลมุ่ เปา้ หมาย ครู กศน.ตาบล และบุคลากรที่รับผิดชอบ กศน.ตาบล จานวน
58 คน เข้ารับการอบรม เพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ให้มีความรู้ ความเข้าใจ และฝึกปฏิบัติในการค้า
ออนไลน์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการออกแบบบรรจุภัณฑ์ และสามารถนาไปขยายผลให้แก่ประชาชนในพ้ืนที่
ได้อย่างมีคุณภาพและได้มอบหมายใหจ้ ัดอบรมขยายผลให้กับประชาชนในพ้ืนทเี่ ปา้ หมาย ตาบลละ ๒ หลักสตู ร
ดงั นี้

๑. หลักสตู ร Digital Literacy การเขา้ ใจดิจิทัล ให้เสร็จภายในเดอื นมีนาคม ๒๕๖๓ (ไตรมาส ๒)
ใหก้ ับประชาชน ๑๖ คน

๒. หลกั สตู ร E-commerce การคา้ ขายออนไลน์ ใหเ้ สรจ็ ภายใน ไตรมาส ๓ – ไตรมาส ๔
ใหก้ บั ประชาชน ๑๖ คน

การจัดอบรมขยายผลหลักสูตร Digital Literacy และ E- Commerce ในระดับตาบล ขณะนี้อยู่
ในระหวา่ งการจดั ทาแผนเพอื่ นาความรไู้ ปขยายผลต่อการจดั การเรยี นรู้ดา้ นดิจิทัลให้ประชาชน ท้ังน้ี ครู ค ได้ให้
ความรู้และส่งเสรมิ ใหป้ ระชาชนทเ่ี ข้ารว่ มโครงการ ได้รู้เทคนิควิธีการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการออกแบบบรรจุ
ภัณฑ์ โดยนาไปประชาสัมพันธ์ผ่านเพจ (page) ร้านค้าออนไลน์ และ เพจเฟสบุ๊ค (page facebook) เพ่ือใช้ใน
การคา้ ขายออนไลน์ กอ่ ให้เกิดการสร้างรายได้สูช่ มุ ชน

รายงานนเิ ทศการจัดกิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

37

๒. ขอ้ นเิ ทศต่อผ้รู บั การนเิ ทศ
2.1 ผู้เข้ารับการอบรมมีความกระตือรือร้นและให้ความร่วมมือด้วยดี ส่วนใหญ่มีพื้นฐานการค้า

ออนไลน์อย่บู า้ งในมมุ มองของผู้ซ้อื มสี ว่ นน้อยทีเ่ ปน็ ผูข้ ายสนิ คา้ ออนไลนโ์ ดยตรง
2.2 การรับรู้ของกลุ่มเป้าหมายไม่เท่ากัน จึงต้องแจ้งและกากับวิทยากรให้เน้นย้าเนื้อหามบ่อยๆ

เพื่อใหฝ้ กึ ปฏบิ ัติไดท้ นั ตามทว่ี ทิ ยากรบรรยาย
2.3 ให้มีช่องทางการศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม เช่น Youtube Website และแหล่งเรียนรู้อื่นๆ เพื่อให้มี

แหล่งเรยี นร้เู พม่ิ เติมมากขนึ้
2.4 ให้มีวิธีการและช่องทางการจัดจาหน่ายผ่านสื่อออนไลน์ เช่น กลุ่ม Line Facebook Website

เพ่อื ให้สามารถเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง และเปน็ การทบทวนความรู้ได้

๓. ปจั จยั ท่ีสง่ ผลต่อความสาเรจ็
3.1 เคร่อื งมือสื่อสารและระบบเครือขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ ควรมพี รอ้ มในระหวา่ งการอบรม
3.2 วิทยากรครู ค ควรวางแผนการขยายผลการเรียนรู้ให้กับประชาชนในระดับตาบล พร้อมทั้ง

ตรวจสอบระบบอินเทอร์เน็ตให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ และส่ือการ
สอนให้พร้อมกอ่ นการจดั การอบรม

3.3 ควรมีการติดตาม ให้คาแนะนาผู้เข้ารับการอบรมว่าสามารถนาความรู้ท่ีได้รับจากการอบรมไป
ขยายผล และต่อยอดเพ่มิ รายได้ให้แก่ตนเอง ชมุ ชน ไดห้ รือไม่

๔. ปญั หาอุปสรรค
เนอ่ื งจากเกิดสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID – ๑๙) จึงตอ้ ง

มีการปรบั และเปล่ยี นแปลงการอบรมให้เหมาะสมกบั สภาพปัจจบุ นั

๕. ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพัฒนา
๕.๑. กศน. ตาบล ควรประเมินผลการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และติดตามผลการนา

ความร้ไู ปใชข้ องกลุ่มเปา้ หมาย เพอื่ จะได้รับรูถ้ งึ ผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น รวมทั้งปัญหาอุปสรรค แล้วนาข้อมูล
มาปรับปรุงแกไ้ ขเพือ่ ใหก้ ารจดั การเรียนรู้มีประสิทธิภาพต่อไป

5.2 ครู กศน.ตาบล ควรวางแผนการขยายผลให้กับประชาชนในระดับตาบล รวมท้ังมีการตรวจสอบ
ระบบอินเทอร์เน็ตก่อนจัดการอบรมให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ติดขัดขณะจัด มีการจัดเตรียม
วัสดุอปุ กรณด์ ้านเทคโนโลยแี ละสอ่ื การสอนใหพ้ รอ้ มก่อนจดั อบรม

5.3 การใชเ้ คร่ืองมอื ส่อื สาร/โทรศพั ทม์ อื ถอื ควรเป็นของตนเอง เพ่ือให้การเรียนรู้เป็นไปอย่างราบร่ืน
และมปี ระสิทธิภาพ

5.4 ห้ ครู กศน.ตาบล ใช้ส่ือวัสดุอุปกรณ์ที่ทันสมัยประกอบการบรรยายให้ความรู้ จัดให้มีการปฏิบัติ
จริง รวมทงั้ ควรจดั ตง้ั กลุม่ เพอ่ื ใหม้ ีการไดแ้ ลกเปลีย่ นความรซู้ ่ึงกนั และกัน เพือ่ เปน็ ประโยชนใ์ นการติดตามต่อไป

5.6 ให้ ครู กศน.ตาบล บรหิ ารจัดการ ศูนย์ OOCC ใหม้ กี ารเคลอ่ื นไหวของสินค้าใหเ้ ปน็ ปจั จุบนั

รายงานนเิ ทศการจัดกิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

38
๕.7 ข้อเสนอแนะต่อสานักงาน กศน.

๑) มนี โยบายและทศิ ทางการดาเนนิ งานอยา่ งต่อเนือ่ ง เพอื่ ใหส้ อดคล้องกบั การพัฒนาความรู้ด้าน
เทคโนโลยแี ละสารสนเทศในยคุ ศตวรรษท่ี ๒๑ Thailand ๔.๐

๒) ควรจัดสรรงบประมาณในการจัดการเรียนรู้ และเพื่อการซ่อมบารุงเคร่ืองคอมพิวเตอร์
ทใ่ี หบ้ รกิ ารในศูนยด์ ิจิทัลชุมชนอย่างต่อเนื่อง

6. ภาพกิจกรรม

ดจิ ทิ ลั สู่ประชาชน

รายงานนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

39

4) โครงการภาษาตา่ งประเทศเพ่อื การสือ่ สารด้านอาชีพ

การดาเนินการสารวจความตอ้ งการเกีย่ วกบั การเรียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ เพื่อนาไป
ปรบั ใช้ในการประกอบอาชีพ ซง่ึ สอดคลอ้ งตามกฎบัตรอาเซียนมาตราท่ี ๓๔ ได้ระบุให้ใช้ภาษาทางานของอาเซียน
คือ ภาษาอังกฤษ (The working language of ASEAN shall be English) ซึ่งหมายความว่าประชาชนใน ๑๐
ประเทศอาเซียน จะต้อง ใช้ภาษาอังกฤษมากขึ้น นอกเหนือจากการใช้ภาษาประจาชาติหรือภาษาประจาท้องถิ่น
ของตนเอง ภาษาอังกฤษจึงมีความจาเป็นต่อการติดต่อส่อื สารในโลกแห่งข้อมูลข่าวสาร ซึ่งมีความเจริญ ก้าวหน้า
และพัฒนาอย่างรวดเร็ว มีผลให้การส่ือสารผ่านช่องทางสื่อต่าง ๆ สามารถทาได้อย่างสะดวก ซึ่งสานักงาน กศน.
จึงเห็นความสาคัญในการพัฒนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพให้แก่ประชาชน เพื่อพัฒนาศักยภาพของ
ประชาชนในการติดต่อส่ือสารด้วยภาษาอังกฤษ และมีความพร้อมในการพัฒนาขีดความสามารถทาง ด้านทักษะ
ภาษาอังกฤษในระดับที่สามารถติดต่อสื่อสารเพื่อการประกอบอาชีพได้ ประกอบกับเป็นนโยบายการขับเคล่ือน
การบูรณาการการศกึ ษาภาคตะวนั ออกและการพฒั นาการศกึ ษาในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern
Economic Corridor : EEC) สานักงาน กศน. เห็นความสาคัญจึงมอบนโยบายให้สานักงาน กศน.จังหวัดพัฒนา
ประชาชนด้วยการพัฒนาภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารด้านอาชีพ เป็นการพัฒนาศักยภาพของประชาชนในการ
ติดต่อสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ และมีความพร้อมในการพัฒนาขีดความสามารถทางด้านทักษะภาษาอังกฤษ
ในระดบั ทสี่ ามารถตดิ ต่อสื่อสารเพ่ือการประกอบอาชีพได้

1. สภาพท่พี บ
๑.๑ กศน.อาเภอมีการศกึ ษาขอ้ มลู กลุ่มเป้าหมาย เพ่ือการจัดการเรียนรู้และนาข้อมูลความต้องการ

ของกลุ่มเป้าหมาย มีการพัฒนาและจัดทาหลักสูตรเพื่อให้มีความสอดคล้องกับชีวิตประจาวัน ทันสมัย ทัน
เหตกุ ารณ์ และเป็นไปตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย

๑.๒ กศน.อาเภอมีการจดั การเรยี นรู้ มกี ารจดั ทาแผนการจดั การเรียนรู้ ตลอดจนวางแผนร่วมกัน
ในการจัดการเรียนรู้ร่วมกับวิทยากร ซึ่งเป็นผู้ท่ีมีความรู้ทางด้านการใช้และการสนทนาภาษาอังกฤษ เป็น
วิทยากรคนไทยที่มีประสบการณ์ในการสอนภาษาอังกฤษ รวมท้ังครูท่ีผ่านการอบรม English Boot Camp
เกีย่ วกับกระบวนการและวิธีการจัดการเรียนรู้สาหรับผู้ใหญ่ที่ต้องการเรียนรู้เพ่ือการนาไปใช้ได้จริง ซ่ึงเท่ากับเป็น
การพัฒนาวิทยากรให้มีความเข้าใจในกระบวนการจัดการเรียนรู้สาหรับผู้ใหญ่ ซ่ึงครู กศน.ตาบล จัดทาแผน
จัดการเรยี นรู้และพฒั นาหลักสตู ร เพ่ือเสนอขออนมุ ตั หิ ลักสูตรพร้อมกับแผนจัดการเรียนรู้ มุ่งให้ประชาชนมีความ
เข้าใจในกระบวนการจัดการเรียนรู้สาหรับผู้ใหญ่ ซ่ึงผู้ท่ีผ่านการอบรมตามโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
ด้านอาชีพ มีความรู้ในการส่ือสารภาษาอังกฤษ และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพได้บ้าง
จาเป็นต้องมกี ารฝึกฝนอยา่ งต่อเนือ่ งให้มที ักษะภาษาองั กฤษมากข้นึ สามารถนาไปใช้เก่ียวกบั อาชีพไดด้ ีตอ่ ไปได้

๑.๓ หลักสตู รได้รบั การพัฒนาตามความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมาย มีเนื้อหาที่สอดคล้องกับวิถีชีวิต
หลักสตู รท่ีได้รับการพัฒนาและเปิดสอน ได้แก่ หลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวและการบริการ หลักสูตร
ภาษาอังกฤษสาหรับอาชีพเกษตรกรรม หลักสูตรภาษาอังกฤษเพ่ือพนักงานขับรถรับจ้าง หลักสูตรภาษาอังกฤษ
เพื่อพนักงานอาชีพเสริมสวยหลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารออนไลน์ และหลักสูตรภาษาอังกฤษสาหรับ
ประชาชนทั่วไป

รายงานนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

40

1.4 หลักสูตรที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ มีการพัฒนาข้ึนใหม่ เพ่ือให้มีความทันสมัยทันเหตุการณ์
ตรงกบั ความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมายและแนวทางการพัฒนาประเทศ และสถานศกึ ษาใชห้ ลักสูตรเดมิ ท่มี อี ยู่
นามาใช้ในการจัดการเรยี นรู้

๑.๕ การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา มีการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียน
ทุกดา้ น โดยมคี ่าความพงึ พอใจส่วนใหญอ่ ยู่ในระดับมาก และเม่อื สนิ้ สุดการดาเนินงานจัดการเรียนรู้ ผู้รับผิดชอบ
มกี ารจัดทารายงานผลการจดั การศึกษาเมื่อสนิ้ สุดการจดั การศึกษาตามวงจรคุณภาพ (P D C A)

๑.6 วิทยากรมีการกาหนดใช้สื่อจริงเป็นหลักในการจัดการเรียนรู้ เช่น ผลิตภัณฑ์ ตัวอย่างสินค้า
และสื่อออนไลน์ youtube ตลอดจนวัสดุ อุปกรณ์ที่วิทยากรจัดหามา และมีการจัดทาส่ือการเรียนรู้เพิ่มเติมใน
ลกั ษณะคูม่ ือการอบรม

2. ขอ้ นเิ ทศ
2.๑ การศึกษาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้คือเป็นการฝึก

ทกั ษะภาษาองั กฤษ จึงเนน้ การฝกึ ปฏิบตั ใิ หไ้ ด้มากท่ีสุด
๒.2 การศึกษาภาษาองั กฤษเพือ่ การสอื่ สารดา้ นอาชีพ มกี ารจาลองสถานการณ์ให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะ

การส่ือสารภาษาอังกฤษกับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ เพื่อให้เกิดการคุ้นเคยต่อการส่ือสารด้วยภาษาอังกฤษกับ
นกั ทอ่ งเทย่ี วและมีความกลา้ ในการใชภ้ าษา

2.3 ครู กศน.ตาบล มีการประยุกต์ใช้สะเต็มศึกษาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยบรรจุไว้ใน
แผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

๓. ปัจจยั ทีส่ ง่ ผลตอ่ ความสาเรจ็
๓.1 หลักสูตรไดร้ ับการพฒั นาตามความตอ้ งการของกลุม่ เป้าหมาย มีเนือ้ หาที่สอดคล้องกับวิถชี วี ติ
๓.2 วิทยากรมศี ักยภาพในการจดั กระบวนการเรียนรเู้ นน้ การฝึกปฏบิ ตั ิในการส่อื สาร
๓.๓ ครูส่วนใหญ่สามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการ Backward Design ได้ดี ซ่ึง

กระบวนการ Backward Designเป็นการออกแบบการเรียนรู้ท่ีย้อนกลับ เริ่มต้นจากปลายทาง
ผลผลติ ที่ต้องการ ด้วยการนาการวดั ผลมาเป็นหลัก จากนั้นจงึ ออกแบบหลักสูตรและแผนการเรยี นการสอน

ข้ันตอนการออกแบบการเรียนร้แู บบ Backward Design มี ๓ ขนั้ ตอน คือ
ขัน้ ตอนท่ี ๑ ออกแบบหนว่ ยการเรยี นร้หู รือประเดน็ การเรียนรู้ หรือเปา้ หมายการเรียนรู้
ข้ันตอนท่ี ๒ การจัดทาผังการประเมินหรือวิเคราะห์ร่องรอยผลงานที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน

ซึ่งเปน็ หลกั ฐานการเรยี นรู้
ขน้ั ตอนท่ี ๓ การออกแบบการเรยี นรู้

รายงานนเิ ทศการจัดกิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

41

๔. ปัญหาอุปสรรค
๔.1 กลุ่มเป้าหมายมีทักษะและพื้นฐานความรู้ภาษาอังกฤษที่แตกต่างกัน ทาให้การเรียนรู้

ที่แตกต่างกัน วิทยากรจึงต้องมีการปรับและจัดกิจกรรมในการจัดการเรียนการสอน เพ่ือปรับความรู้พื้นฐานให้มี
ความเทา่ เทยี มกนั

๔.2 หลักสูตรกาหนดระยะเวลาการเรียนต่อเน่ืองหลายชั่วโมง และหลายวัน จึงมีทาผลให้
กลุ่มเป้าหมายบางส่วนไม่สามารถที่จะเรียนรู้ตามเน้ือหาที่กาหนดได้ เน่ืองจากความจาเป็นในการประกอบอาชีพ
จึงไม่สามารถทาให้ผู้เรียนสื่อสารกับชาวต่างชาติได้ดีข้ึน เพราะจานวนช่ัวโมงท่ีใช้ในการศึกษาและฝึกทักษะไม่
ต่อเนื่องและน้อยไป ประกอบกับผู้เข้ารับการอบรมมีพ้ืนฐานความรู้ต่างกัน ซึ่งบางคนต้องใช้เวลาศึกษามากกว่า
คนอ่นื ทาใหเ้ กิดการทอ้ ไมส่ นกุ กับการสอ่ื สารภาษาองั กฤษ

๔.3 ค่าตอบแทนวิทยากรน้อยเกินไป ไม่เหมาะสมกับความรู้ความสามารถ ทาให้การจัดหา
วิทยากรท่ีมีความรู้ความสามารถทางดา้ นภาษาองั กฤษมาสอน ทาไดย้ ากมาก

๕. ข้อเสนอแนะเพ่ือการพฒั นา
๕.๑. ควรพัฒนา ครู กศน. ให้มีความรู้ด้านภาษาอังกฤษ เพื่อนาความรู้ไปใช้ในการเสริมเติมเต็ม

ความรู้ให้แก่ผู้เรียนและประชาชน รวมท้ังสร้างช่องทางการสนทนาภาษาอังกฤษกับผู้เรียนผ่านสื่อออนไลน์
เพือ่ ฝกึ การสนทนาภาษาอังกฤษอยา่ งตอ่ เน่ือง

5.2 ควรส่งเสริมและสนับสนุนให้เจ้าหน้าที่ห้องสมุด มีการผลิตส่ือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพ่ือ
นาไปใช้ในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการขยายการเรียนรู้ภาษาอังกฤษสู่ชุมชน และมีส่ือ หรือการฉาย
ภาพยนตรภ์ าษาอังกฤษ (Sound track) ให้ผูร้ บั บริการไดเ้ รยี นรจู้ ากการดูหนงั ฟังเพลงในห้องสมุดประชาชนทุกแห่ง

5.3 สานักงาน กศน.จังหวัดและสถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรการสนทนาภาษาอังกฤษ แยก
หลักสูตรเป็นระดับการเรียนรู้จากความรู้พ้ืนฐานสู่การต่อยอดความรู้ในระดับสูงขึ้น ให้เหมาะสมกับสภาพพ้ืนที่

5.๔ ควรปรับอัตราค่าตอบแทนวทิ ยากรให้สูงขึน้
5.6 ควรพัฒนาสื่อเทคโนโลยีบทเรียนการศึกษาภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารด้านอาชีพเกี่ยวกับ
อาชีพต่างๆ ทต่ี อ้ งใชภ้ าษาอังกฤษในการสื่อสาร เพ่ือให้ผู้จบการเรียนรู้ตามหลักสูตรไปแล้ว สามารถใช้เป็นส่ือเพื่อ
ใชฝ้ กึ ทกั ษะการสอ่ื สารภาษาอังกฤษได้
๗. ภาพกจิ กรรม

ภาษาต่างประเทศเพ่ือการส่ือสารดา้ นอาชีพ

รายงานนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

42

5) การจัดการศกึ ษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่

๑. ความเป็นมา
การจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ตาม ยุทธศาสตร์ชาติ

๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) ในส่วนของยุทธศาสตร์ท่ี ๑ ด้านความม่ันคง ข้อ ๑.๑ พัฒนาและเสริมสร้างความ
จงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ พร้อมทั้งน้อมนาและเผยแพร่ศาสตร์พระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง รวมถึงแนวทางพระราชดาริต่างๆ ภารกิจต่อเนื่อง ข้อ ๑.๓ การศึกษาต่อเน่ือง ข้อย่อยที่ ๔) การจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในรูปแบบต่างๆ
ให้กับประชาชนเพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างม่ันคง ด้านการจัดการศึกษาและการเรียนรู้
ส่วนของการศึกษาต่อเน่ือง เรื่องการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงผ่าน
กระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิตในรูปแบบต่างๆ ให้กับประชาชน เพ่ือเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สามารถยืนหยัดอยู่ได้
อย่างม่ันคง และมีการบริหารจัดการความเส่ียงอย่างเหมาะสม ตามทิศทางการพัฒนาประเทศสู่ความสมดุลและ
ยงั่ ยนื โดยมุ่งหวังให้ประชาชนได้รบั การยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และความ
เป็นพลเมอื งดี อันนาไปสกู่ ารยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ และเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน เพื่อพัฒนาไปสู่ความ
มัน่ คงและย่งั ยืนทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม ประวัติศาสตร์ และสิง่ แวดล้อม โดยยทุ ธศาสตร์ นโยบายและ
จุดเน้นการดาเนินการเหล่านี้ นามาซ่ึงการลงนามความร่วมมือกับกองอานวยการรักษาความมั่นคงภายใน
ราชอาณาจกั ร(กอ.รมน.) จัดตง้ั ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจาตาบลใน
กศน.ตาบลทุกแห่ง ซ่ึงเป็นศูนย์การเรียนรู้รูปแบบหน่ึงใน ๔ ศูนย์การเรียนรู้ ตามบทบาทภารกิจภายใต้กรอบ
กิจกรรมการขับเคล่ือนการดาเนินงานศูนย์การเรียนรู้ มีภารกิจที่สาคัญคือ เป็นศูนย์กลางการจัดการเรียนรู้
รวบรวม ขยายผล เช่ือมโยง สร้างเครือข่ายและเผยแพร่องค์ความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และเกษตรทฤษฎีใหม่ ซ่ึงเป็นการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาทตามแนวพระราชดาริและหลักการทรงงานของ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลท่ี ๙) กิจกรรมการดาเนินงานต่างๆ ที่เกิดขึ้น มี
วัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดการพัฒนาสังคมและชุมชนอย่างต่อเน่ือง มีความเข้มแข็งและยั่งยืน โดยบูรณาการการ
ทางานและประสานความรว่ มมอื กบั ภาคเี ครือข่าย

๒. สภาพทพี่ บ
2.1 กศน.อาเภอมีการดาเนินงานตามกรอบการดาเนนิ งานศูนย์เรียนรู้ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

และเกษตรทฤษฎีใหม่ ตามท่ีสานักงาน กศน.กาหนด โดยจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ
เกษตรทฤษฎีใหม่ ณ กศน. ตาบล จานวน 15 แหง่ /ตาบล

2.2 การวางแผนและการจดั การเรียนรู้ สถานศึกษาทุกแห่งวางแผนกาหนดขอบข่ายเน้อื หาในการ
จดั กิจกรรมการเรียนรู้สรปุ ได้ดงั น้ี

1) ด้านการดารงชีวิต ได้แก่ การเรียนรู้เกี่ยวกับศาสตร์พระราชา การดาเนินชีวิตตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการทรงงาน และพระบรมราโชบาย ของรชั กาลที่ 10

2) ด้านการประกอบอาชีพ มุ่งเน้นงานอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ การทาปุ๋ยหมัก การทาปุ๋ยน้า
ชีวภาพ การปลูกผักเกษตรอินทรีย์ การปลูกพืชสมุนไพร การปลูกผักสวนครัว การเล้ียงเป็ดไข่ และการเพาะเห็ด
ฯลฯ รวมท้งั เกษตรทฤษฎีใหม่

3) ดา้ นสงั คมและชมุ ชน ได้แก่ หลักการเกษตรอนิ ทรยี ์ การทอ่ งเท่ยี ววิถชี ุมชน

รายงานนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

43

4) ด้านการจัดทาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ครู กศน.ตาบลพร้อมจัดทาแผนการจัดการ
เรียนรู้ตามหลักสูตร เพ่ือจัดการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับความต้องการของประชาชนและตลาดผลผลิต โดย
สถานศึกษามกี ารประชุม อบรม และพฒั นาเทคนิคการถ่ายทอดความรใู้ ห้แก่วิทยากรตามเนื้อหาของหลกั สูตร

๕) ด้านการประสานงานภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้าน/ครู มีการวางแผน ร่วมกับชุมชนดาเนินการ
จัดกิจกรรมของศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจาตาบล และบันทึกข้อมูล
แผนการดาเนนิ งานและผลการดาเนินงานในระบบฐานข้อมลู เพ่ือการบรหิ ารจดั การ (DMIS6๓)

6) เน้ือหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เน้ือหามีความสอดคล้องกับสภาพบริบทในแต่ละพ้ืนท่ี โดย
สถานศึกษาส่วนใหญ่ใช้หลักสูตรท่ีสถานศึกษานามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ สถานศึกษาบางแห่ง มีการนาหลักสูตร
ของสานักงาน กศน. มาบูรณาการการจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนและบริบทของแต่ละ
พื้นท่ี และมสี ถานศกึ ษาสว่ นน้อยที่ดาเนินการพัฒนาหลักสตู รขนึ้ ใหม่

๗) การดาเนินการจัดการเรียนรู้ กศน.อาเภอมีการดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตาม
ขอบข่ายเน้ือหา การทาบัญชีครวั เรอื น การทาป๋ยุ หมัก การทาปุ๋ยน้าชีวภาพ การปลูกผักเกษตรอินทรีย์ การปลูกพืช
สมุนไพร การปลูกผักสวนครัว การปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้ การเพาะเห็ด หลักการนิเวศเกษตรทฤษฎีใหม่
ศาสตร์พระราชาและการดาเนินชวี ิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นต้น โดยแต่ละศูนย์เรียนรู้ปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้มีความสอดคล้องกับสภาพบริบท
ในแตล่ ะพืน้ ที่

๘) ด้านการจัดทาระบบฐานข้อมูล ผู้จัดกิจกรรมมีการวางแผน ประสานงานภูมิปัญญาและ
ปราชญ์ชาวบ้าน ร่วมกับชุมชนเพ่ือจัดกิจกรรมของศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่
ประจาตาบล และบันทึกข้อมูลแผนการดาเนินงานและผลการดาเนินงานในระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ
(DMIS63)

9) ด้านการประชาสัมพันธ์ กศน.อาเภอมีการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างการรับรู้แก่ประชาชน
ก่อนการดาเนินการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองและสม่าเสมอ ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย เก่ียวกับการจัดการ
เรียนรู้เรือ่ งปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่

๓. ปจั จัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จ
๓.๑ บุคลากร กศน.อาเภอทุกคนและทุกฝ่ายทง้ั ในและนอกสถานศึกษามีส่วนรว่ มในการดาเนินงาน
๓.๒ บคุ ลากรมคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเป็นอย่างดี สามารถ

ถา่ ยทอดองค์ความรู้ให้ประชาชนไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
๓.๓ ประชาชนในพน้ื ท่อี าเภอเมืองระยองมจี ติ สานึกที่ดแี ละเห็นความสาคญั ของปรัชญาเศรษฐกจิ

พอเพยี ง
๓.๔ วิทยากรมีองค์ความรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และสามารถถา่ ยทอดความรู้

นาไปส่กู ารปฏบิ ตั ิจรงิ เป็นแบบอยา่ งในการดาเนนิ ชวี ิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
๓.๕ เป็นการบูรณาการการทางานร่วมกันของหน่วยงานต่าง ๆ เช่น กองอานวยการรักษาความ

มน่ั คงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) ภูมิปัญญาและปราชญ์ชุมชนเพ่ือความมั่นคง เกษตรและพัฒนาชุมชน เป็นต้น
และสอดคลอ้ งกับนโยบายไทยนิยมยั่งยนื

๓.๖ มีข้อมูลสารสนเทศ ทาเนียบภูมิปัญญา แหล่งเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎี
ใหม่ สาหรับให้บริการประชาชนสืบค้น เรียนรู้ และฝึกปฏิบัติจริง เพ่ือให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว สามารถ
นาความรูท้ ไ่ี ดร้ ับไปเพิ่มรายไดโ้ ดยลดรายจา่ ย ลดต้นทนุ ในการผลิต สามารถพึง่ พาตนเองได้อย่างย่งั ยนื

๓.๗ ประชากรส่วนใหญ่ในเขตพื้นที่บางจังหวัด ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญ
ทส่ี ่งผลสู่ความสาเรจ็ ของการเรียนรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่

รายงานนเิ ทศการจัดกิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

44

๔. ปญั หาอุปสรรค
๔.๑ ภมู ิปญั ญาและองค์ความรู้ท่ีเก่ยี วขอ้ งกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎี

ใหมท่ ่เี กิดข้นึ ในชุมชน ยงั ขาดการจดั การความรูอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ
๔.๒ ครบู างคนขาดความตระหนักในการขบั เคล่ือน และนอ้ มนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ ไปใชใ้ นวิถชี ีวติ เนอื่ งจากมีภารกจิ จาเป็นตอ้ งประกอบอาชพี
๔.๓ สว่ นใหญข่ าดการติดตามผลการนาไปใช้ หลงั จากการอบรม

๕. ขอ้ นิเทศตอ่ ผู้รบั การนิเทศ
จากการนเิ ทศกิจกรรมการจดั การศึกษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่

ของสานักงาน กศน.ในภาคตะวันออก จากสภาพการดาเนินงานดังกลา่ ว ไดน้ าเสนอข้อนเิ ทศ ดงั นี้
๕.1 แนะนาสถานศึกษา ควรมีการจัดทาแผนกลยุทธ์ของสถานศึกษาด้านการดาเนินงานของ

ศูนยเ์ รียนรู้ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ เพราะจะทาให้ผู้จัดกิจกรรมของสถานศึกษาทราบ
เป้าหมายการดาเนินงาน มีแนวทางในการจัดทากรอบการจัดกิจกรรม เพื่อจัดทาแผนการดาเนินงานในระดับ
ตาบลตอ่ ไป

๕.2 การดาเนินงานการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่
ควรมีการวางแผนเช่ือมโยงงานสู่พ้ืนที่ที่ต้องการขับเคลื่อนโครงการไทยนิยมย่ังยืนด้วย โดยเฉพาะการขยายผล
หลักสูตรการค้าออนไลน์ ONIE Online Commerce Center (OOCC) ซ่ึงเป็นประเด็นหลักประเด็นหนึ่ง

๕.3 การดาเนินงานการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่
ควรมีการพัฒนาหลักสูตร โดยเพิ่มเติมเน้ือหาเกี่ยวกับดิจิทัล เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้และเข้าถึง
เ ท ค โ น โ ล ยี ดิ จิ ทั ล เ พื่ อ ก า ร เ รี ย น รู้ ถึ ง ช่ อ ง ท า ง ก า ร จ า ห น่ า ย ผ ล ผ ลิ ต ห รื อ ก า ร บ ริ ก า ร ด้ ว ย

๕.๔ การดาเนินงานควรมุ่งเน้นให้เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ คือ ควรมีการประเมินผลการเรียนรู้
เพื่อการแสดงข้อมูลผลผลิต (Output) ที่เกิดจากกการจัดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และควรมีการ
ติดตามผลอยา่ งเป็นระบบ เพ่อื แสดงข้อมลู ผลลัพธ์ (Outcome) ทเี่ กิดจากการนาความรู้ไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์

๕.๕ ด้วยสถานการณ์เกิดโรคไวรัสตดิ เชือ้ COVID-๑๙ ทาใหก้ ารจดั กจิ กรรมต้องมีการปรับเปลีย่ น
ไปตามสภาพ เน้นการเรียนรู้แบบออนไลน์ รปู แบบนิเทศกน็ ิเทศแบบทางไกล

๖. ข้อเสนอแนะเพ่อื การพัฒนา
๖.๑. ขอ้ เสนอแนะต่อสถานศกึ ษา
๑) ควรวางระบบและกากับให้ครู กศน.ตาบล ประเมนิ ผลการเรียนร้ตู ามวตั ถุประสงค์ของ

หลักสูตร และติดตามผลการนาความรูไ้ ปใช้ของกลุม่ เปา้ หมายเมอ่ื ผา่ นการอบรมแลว้ ๑ เดือน เพ่ือจะไดร้ ับผลเชงิ
ประจักษ์ รวมถึงปัญหาอปุ สรรค เพื่อนาข้อมลู จากการตดิ ตามมาปรบั ปรุงแก้ไขให้การจดั กิจกรรมจดั อยา่ งมี
ประสิทธภิ าพย่ิงขน้ึ ต่อไป

๒) ควรพัฒนากลุ่มจิตอาสา เพ่ือแนะนาข้อมูลศูนย์เรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ในชุมชนให้กับผู้ที่เข้า
มาศึกษาเรียนรู้

๓) สถานศึกษาควรพฒั นาหลักสูตรการอบรมท่เี น้นกระบวนการมีสว่ นรว่ ม
๖.๒ ข้อเสนอแนะต่อสานกั งาน กศน.จงั หวัด

จดั ให้มเี วทแี ลกเปลย่ี นเรียนรขู้ องผู้ท่ีประสบผลสาเร็จดา้ นเศรษฐกิจพอเพยี ง พร้อมมีการมอบใบ
ประกาศเกียรติคุณ โลร่ างวลั สาหรบั ผูท้ มี่ ีผลงานดีเด่นระดับจงั หวัด และมีการนเิ ทศตดิ ตามผลการดาเนนิ งาน
อยา่ งต่อเน่อื ง

รายงานนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

45
๖.๓ ข้อเสนอแนะต่อสานกั งาน กศน.

๑) จดั ใหม้ เี วทีแลกเปลี่ยนเรียนรขู้ องผ้ทู ่ปี ระสบผลสาเร็จด้านเศรษฐกจิ พอเพยี ง พร้อมมีการมอบ
ใบประกาศเกียรตคิ ุณ โล่รางวัล สาหรับผู้ท่ีมีผลงานดเี ดน่ ระดบั ประเทศ

๒) ควรจัดให้มีการอบรมเพ่ือสร้างความรู้ความเขา้ ใจให้กับครู เกี่ยวกับการดาเนินการการจดั การ
ความรู้ (Knowledge Management) เพือ่ ให้ครูนาความรู้ท่ีได้ไปปฏิบัติจรงิ

๓) ควรสนับสนนุ งบประมาณเก่ยี วกับการจัดอบรมประชาชน ค่าตอบแทนวทิ ยากรและค่าวสั ดุ
ฝกึ อบรมให้เพ่ิมขนึ้

7. ภาพกิจกรรม

โครงการเศรษฐกจิ พอเพียง

รายงานนเิ ทศการจดั กิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563

46

3. การศึกษาตามอัธยาศัย

3.1 หอ้ งสมุดประชาชนจงั หวดั ระยอง

การศึกษาตามอัธยาศัยเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ในวิถีชีวิติประจาวันของบุคคล ซึ่งบุคคลสามารถเลือก
ที่จะเรียนรู้ได้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิตตามความสนใจ ความต้องการ โอกาส ความพร้อม และศักยภาพในการ
เรยี นรขู้ องแตล่ ะบุคคล โดยมีเป้าหมายเพื่อผู้รับบริการได้รับความรู้ ทักษะพ้ืนฐานในการแสวงหาความรู้ท่ีจะเอ้ือ
ต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต การได้เรียนรู้สาระท่ีสอดคล้องกับความสนใจความจาเป็นในการยกระดับคุณภาพชีวิต
ท้ังในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ผู้รับบริการ สามารถนาความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์และ
เทียบโอนผลการเรียนระหว่างการศึกษาในระบบและการศึกษานอกระบบ โดยสถานศึกษาในสังกัดสานักงาน
กศน. มกี ารดาเนนิ งานในหอ้ งสมุดประชาชน หอ้ งสมุดเคลอื่ นที่สาหรบั ชาวตลาด และบ้านหนังสือชุมชน ซ่ึงมีการ
จัดกิจกรรม เพื่อสนองนโยบายและจุดเน้นการดาเนินของสานักงาน กศน. สถานศึกษาจึงได้สารวจความต้องการ
ของผู้รับบริการแล้วมีการจัดทาฐานระบบข้อมูล เพื่อนาไปสู่การวางแผนการจัดกิจกรรมลักษณะกระจาย เข้าถึง
ชมุ ชน การนารถห้องสมดุ เคลื่อนท่พี รอ้ มอุปกรณ์ (รถโมบาย) และการใช้เทคโนโลยี สาหรับระบบฐานข้อมูล ได้แก่
ทะเบียนหนังสือ วารสารและสื่ออเิ ลคทรอกนิกส์ สมาชิก ผู้ใช้บรกิ าร รวมทั้งหนงั สอื ไดด้ าเนินการจัดทาฐานข้อมูล
ด้วยโปรแกรม PLS และระบบเชื่อมโยงฐานข้อมูล (Learning Resource Linkage System) ห้องสมุดประชาชน
จังหวดั ระยองมีความพร้อมในด้านการบริการหนังสือท่ัวไป และหนังสือออนไลน์ เช่น หนังสือเสียง หนังสือ อิเลก
ทรอนิกส์ และอ่านหนังสือผ่าน Google forms นอกจากน้ีมีการใช้แบบทดสอบออนไลน์ ตามวันสาคัญต่างๆ
ของกิจกรรมห้องสมุดประชาชน ตลอดจนบ้านหนังสือชุมชนทุกแห่ง มีการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารผ่าน
ช่องทาง Social media เช่น Facebook Line QR Code แหล่งความรู้ต่างๆ นอกจากนี้รถห้องสมุดเคล่ือนที่
พร้อมอุปกรณ์ (รถโมบาย) เป็นรูปแบบการจัดกิจกรรมหน่ึงท่ีให้บริการในพื้นที่ของ กศน.ตาบลและชุมชนอย่าง
น้อยตาบลละ ๑ ครั้ง ตามนโยบายของสานักงาน กศน.จังหวัดระยอง โดยให้ครู กศน.ตาบล หรือครู ศรช. (กรณี
ไม่มีครู กศน.ตาบล) เป็นผู้จัดทาแผนเสนอมาที่สานักงาน กศน.จังหวัดระยอง กิจกรรมท่ีจัด เช่น บริการหนังสือ
อ่านเล่น กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน การทาพวงกุญแจแฟนซี การทาพวงมโหตร การพับดอกกุหลาบจากใบเตย
ตอบปัญหาชิงรางวลั เกมส์ดารว์ นิ ช่ี(ปริศนาทายภาพ) สมุดทามือเล่มเล็ก(small book) และเกมส์บงิ โก เป็นต้น

1. สภาพท่พี บ
1.1 จานวนสมาชิกปัจจบุ ัน จานวน 2,756 คน / จานวนผูใ้ ช้บรกิ าร จานวน 2,864 คน

๑.2 บรรณารักษ์มีการจัดทาระบบสารสนเทศ เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลนาไปสู่การจัดหาหนังสือเพื่อ
บริการได้ตรงกบั ความตอ้ งการของประชาชน มกี ารประชาสมั พันธ์ในการจดั กจิ กรรมอยู่เสมอ ได้รับรู้ข่าวสารอย่าง
ต่อเนื่อง

๑.2 มีการประสานงานร่วมกับครู กศน.ตาบล ในการจัดกิจกรรมในตาบล สามารถนาข้อมูลไปใช้

ในการผลติ และจดั หาสอ่ื จัดกจิ กรรมส่งเสริมการอา่ น

รายงานนเิ ทศการจัดกิจกรรม กศน.อาเภอเมอื งระยอง ปีงบประมาณ 2563


Click to View FlipBook Version