1. ขอ้ มูลพน้ื ฐานสถานศกึ ษา
1.1 ขอ้ มลู เกีย่ วกับสถานศึกษา
ช่อื สถานศกึ ษา วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาอุบลราชธานี
1.2 ท่ีตัง้ และขนาด
วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี ตั้งอยู่เลขที่ ๔๑๐ ถนนพรหมราช ตําบลในเมือง
อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี รหัสไปรษณีย์ ๓๔๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๔๕-๒๕๔-๙๘๕ โทรสาร
๐๔๕-๒๔๕-๒๙๔ วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาอบุ ลราชธานี มีพนื้ ทใี่ นการจดั การศกึ ษา ทัง้ หมด ๒ แปลง คือ
แปลงที่ ๑ ต้ังอยู่เลขท่ี ๔๑๐ ถนนพรหมราช ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี มีเน้ือที่ ๙
ไร่ ๓ งาน ๙๙ ตารางวา ใชเ้ ปน็ พ้นื ทีใ่ นการจัดการเรยี นการสอนอยใู่ นขณะน้ี
แปลงท่ี ๒ ต้ังอยู่เลขท่ี ๓๓ ถนนแจ้งสนิท ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี อยู่ห่างจาก
แปลงท่ี ๑ ประมาณ ๒.๕ กิโลเมตร มีเน้ือท่ี ๙ ไร่ ๒ งาน ๒๔ ตารางวา ใช้เป็นพ้ืนท่ีพักอาศัยของครู
นกั การภารโรง
2. ข้อมลู คา่ นยิ ม วัฒนธรรมท้องถนิ่
2.1 สภาพชมุ ชน เศรษฐกจิ และสังคมของสถานศกึ ษา
จังหวัดอุบลราชธานี ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ
อย่หู า่ งจากกรงุ เทพมหานคร ประมาณ ๖๓๐ กิโลเมตร มีเน้ือที่ประมาณ ๑๕,๗๔๔,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร หรือ
ประมาณ ๑๐.๐๖๙ ลา้ นไร่ คดิ เปน็ ร้อยละ ๙.๑๖ ของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื
แนวพรมแดนติดต่อกับประเทศเพ่ือนบ้านประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และประเทศ
กัมพูชา รวมความยาวประมาณ ๔๒๘ กิโลเมตร อาชีพท่ีสําคัญของชาวอุบลราชธานี คือเกษตรกรรม แบ่งการ
ปกครองเปน็ ๒๕ อาํ เภอ
สภาพเศรษฐกจิ
เศรษฐกิจจังหวัดอุบลราชธานี สดใส ขยายตัวร้อยละ 5.0 เป็นไปในทิศทางเดียวกับเศรษฐกิจภาค
และประเทศ จากการบริโภคภาคเอกชนขยายตัวถึงร้อยละ 5.4 โดยเฉพาะในการซื้อสินค้ากลุ่มรถยนต์
สะท้อนรายได้ของประชาชนระดับกลางที่เพ่ิมข้ึน รวมทั้ง ผลของการกระตุ้นการบริโภคจากนโยบายภาครัฐ
(ประชารัฐสวัสดิการ) และรายได้เกษตรกรท่ีเพิ่มข้ึนจากราคาสินค้าเกษตรปรับตัวดีขึ้น อย่างไรก็ตามการเบิก
จา่ ยเงิน ของแผน่ ดนิ ยังน้อยกว่าเปา้ หมายที่กาํ หนด ส่งผลใหเ้ ศรษฐกิจจงั หวัดขยายตวั ได้นอ้ ยกวา่ ทค่ี วร
ตามแนวโนม้ ของเศรษฐกจิ ภมู ภิ าคเศรษฐกจิ กลุม่ จังหวัดภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนลา่ ง 2 ขยายตัว
ร้อยละ 5.2 จากการบริโภคภาคเอกชนขยายตัวได้ในระดับท่ีดี โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการบริโภคของ
ประชาชนในพ้ืนที่ ได้แก่รายได้เกษตรกรท่ีเพิ่มขึ้นตามระดับราคาสินค้าเกษตร และแนวโน้มจํานวน
นกั ท่องเทยี่ วทเ่ี พ่ิมข้นึ
สภาพสงั คม
จังหวัดอุบลราชธานี เป็นศูนย์กลางการศึกษาของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ซ่ึงนอกจากจะ
ให้บริการด้าน การศึกษา ในจังหวัดแล้ว ยังให้บริการแก่ ผู้อยู่ในจังหวัดใกล้เคียงด้วย มีการจัดการศึกษาต้ังแต่
ระดับกอ่ นประถมศึกษา จนถงึ ระดับอดุ มศึกษา มหี น่วยงาน ทที่ าํ หนา้ ท่ี ใหก้ ารศึกษาหลายหน่วยงาน มีการจัด
การศกึ ษาทุกระดบั ในจังหวดั อุบลราชธานี ดงั น้ี
1. ระดับประถมศึกษา มีโรงเรียนในสังกัดสถานศึกษารัฐ ท้ังส้ิน 1,094 โรงเรียน จํานวน
คร-ู อาจารย์ทั้งส้ิน 11,613 คน และ มีนักเรียน 249,888 คน นอกจากนี้ยังมีสถานศึกษาของเอกชน ระดับ
ประถมศกึ ษา อีกจํานวน 36 โรงเรยี น มคี รู-อาจารย์ จํานวน 375 และ มนี ักเรียน จํานวน 7,453 คน
2. ระดับมัธยมศึกษา มีโรงเรียนในสังกัดสถานศึกษารัฐ ทั้งส้ิน 74 โรงเรียน มี ครู-อาจารย์ รวม
3,085 คน และมนี ักเรยี น จํานวน 67,562 คน
3. ระดับอาชีวศึกษา มีสถานศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ จํานวน 8 แห่ง มีจํานวน ครู-อาจารย์
ท้งั สนิ้ 426 คน และมนี กั เรยี น จาํ นวน 11,767 คน
4. ระดับอดุ มศกึ ษา มสี ถานศึกษา ทใี่ หบ้ รกิ ารการศกึ ษาในระดับอุดมศกึ ษา แกน่ ักศึกษาในจงั หวัด
อุบลราชธานี และจงั หวัดใกลเ้ คยี ง จํานวน 3 แห่ง ประกอบด้วย สถาบันราชภฏั มหาวทิ ยาลัยอุบลราชธานี
และวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชธานี (เอกชน) โดยสถาบนั การศกึ ษา ท้ัง 3 แห่ง นี้ เปดิ สอนในระดับปริญญาตรี
และปริญญาโท
3. วเิ คราะหบ์ รบิ ทสถานศกึ ษา จดุ เดน่ จดุ ดอ้ ย และ 4 ประเด็น ดงั นี้
3.1 กลยทุ ธ์ในการขบั เคลือ่ น Future Skill ของสถานศกึ ษา
กลยุทธ์การพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษาของสถานศึกษา
๑. การจัดการศกึ ษาวชิ าชพี
๑.๑ การบรหิ ารจัดการสถานศึกษา
๑.๒ การพฒั นาผู้เรยี น
๑.๓ การพัฒนาหลักสตู รและการจดั การเรยี นการสอน
๑.๔ การพฒั นาครู และบุคลากร
๒. การวิจยั
๒.๑ การวิจัยและพัฒนาผลงานโครงการทางวิชาชีพสง่ิ ประดิษฐ์ นวัตกรรมและผลงานวิจัย
๓. การบริการและสร้างสมั พนั ธ์กับชุมชน
๓.๑ การบริการทางวชิ าการ วิชาชพี แกช่ ุมชนและสังคม
๓.๒ การสรา้ งเครือขา่ ยความร่วมมือในการจัดการศึกษา
๔. การทํานบุ าํ รุงดา้ นศิลปวัฒนธรรมและสงิ่ แวดลอ้ ม
๔.๑ การทํานุบํารุงด้านศลิ ปวฒั นธรรม
๔.๒ การอนุรกั ษส์ ่ิงแวดลอ้ ม
3.2 การสรา้ งความเข้มแข็งของระบบความรว่ มมือกบั สถานประกอบการ
การสรา้ งความเชื่อมัน่ ใหแ้ กผ่ ้มู ีส่วนเกี่ยวขอ้ งและสถานประกอบการ
ผู้บริหาร มีภาวะผู้นําท่ีดี สามารถบริหารจัดการ โดยการให้มีส่วนร่วมโดยการให้มีส่วนร่วมของ
ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา ผู้เรียน ชุมชน สถานประกอบการ หน่วยงานที่เก่ียวข้องทั้ง
ภาครัฐและเอกชน มีส่วนร่วมในการดําเนินงานอย่างเป็นระบบ ดําเนินงานเป็นไปตามนโยบาย แผนงาน และ
จัดการงบประมาณได้ทันตามกําหนดเวลา เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้เรียน มีการตรวจสอบการปฏิบัติงานเป็น
ระยะ มีการรายงานผลท้ังลายลักษณ์อักษรและนําเสนอในท่ีประชุม มีผลงานเป็นท่ียอมรับท้ังในระดับชุมชน
องคก์ ร สถาบนั ประเทศ และระดับชาติ
3.3 ระบบการบรหิ ารการจดั การ สู่คณุ ภาพ
ด้านการบรหิ ารจดั การ
รายงานผลสัมฤทธิ์ในการพฒั นาการจัดการอาชีวศกึ ษา ด้านการบริหารจดั การ ตามรายการ
ประเมินคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศกึ ษา ดงั น้ี
1) ผลสมั ฤทธิ์
1.1) การบรหิ ารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพอื่ การบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษา
1.1.1) เชิงปริมาณ : วิทยาลยั อาชวี ศึกษาอุบลราชธานี มีระบบเครอื ข่ายอินเทอรเ์ นต็
ความเร็ว
สูงสาํ หรบั บรหิ ารจดั การภายในสถานศกึ ษาครบทกุ ฝา่ ยทมี่ ี
ประสิทธิภาพ
โดยมีการจัดลาํ ดบั ความสําคัญและความปลอดภัยในการเขา้ ถงึ ข้อมลู
ดงั นค้ี ือ
1. โปรแกรม ศธ.02 งานทะเบียนและงานวัดผลการศกึ ษา
2. โปรแกรมระบบงานพัสดุ
3. โปรแกรมระบบเงนิ เดือนสว่ นราชการ
4. โปรแกรมระบบพิมพ์ใบเสรจ็
5. โปรแกรมระบบสารสนเทศห้องสมุด
6. การแบง่ ระดบั การเขา้ ถงึ ข้อมูลอินเตอรเ์ นต็ ของระบบพิสูจน์
ตวั ตน Au then Gateway log System
7. ระบบสารสนเทศงานแผนและงบประมาณ
มีการสาํ รองข้อมลู ในระบบสารสนเทศของวทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษา
อบุ ลราชธานี ดังนี้
1. การสาํ รองขอ้ มลู โปรแกรม ศธ.02
2. การสาํ รองข้อมลู โปรแกรมออกใบเสรจ็ งานการเงนิ
3. การสาํ รองขอ้ มลู โปรแกรมระบบพสั ดุ
4. การสํารองขอ้ มลู ระบบพิสูจน์ตวั ตน Au then Gateway log
System
5. การสาํ รองข้อมลู โปรแกรมบรกิ ารจดั การห้องสมดุ Happy
Library
6. การสาํ รองขอ้ มลู เวบ็ ไซตว์ ทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาอุบลราชธานี
7. การสํารองข้อมลู ระบบบรกิ ารจัดการอาชีวศึกษา RMS2012
มรี ะบบสารสนเทศเชือ่ มโยงการบรหิ ารจดั การภายในสถานศึกษา ดงั นี้
1. สารสนเทศงานทะเบยี น นักเรียน นักศึกษา
2. สารสนเทศงานวัดผลและประเมนิ ผล
3. สารสนเทศงานพฒั นาหลักสตู รการเรยี นการสอน iStudent
4. สารสนเทศงานปกครอง
5. สารสนเทศงานบริหารจดั การนกั เรยี น นกั ศึกษา
6. สารสนเทศห้องสมุด
7. สารสนเทศงานแนะแนวและการจดั หางาน
8. สารสนเทศงานการเงิน โปรแกรมระบบเงนิ เดือนสว่ นราชการ
9. สารสนเทศงานแผนและงบประมาณ
10.สารสนเทศงานพัสดุ
11. ส า ร ส น เ ท ศ ง า น บ ริ ห า ร ก า ร เ งิ น ก า ร ค ลั ง ภ า ค รั ฐ แ บ บ
อิเล็กทรอนิกส์
12.เว็บไซตว์ ทิ ยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี
13.ระบบ EDR เพ่อื ใช้ในการจัดการเรยี นการสอน
1.1.2) เชิงคุณภาพ : วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี มีผลการประเมินและข้อมูลการ
บริหาร จัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
สถานศึกษา ร้อยละ 100
1.1.3) ผลสะท้อน : วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี มีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการ
บริหารจัดการสถานศกึ ษาทหี่ ลากหลาย ทันสมยั และเปน็ ปจั จุบัน
1.2) อาคารสถานที่ ห้องเรยี น หอ้ งปฏิบัตกิ าร โรงฝึกงานหรอื งานฟารม์
1.2.1) เชงิ ปรมิ าณ : วิทยาลยั อาชีวศึกษาอบุ ลราชธานี มหี อ้ งเรียน หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร
หรือโรงฝกึ งานท่ไี ดร้ ับการ พฒั นาให้ เออ้ื ต่อการจัดการเรยี นรู้ ดงั น้ี
1. อาคารเรยี น 11 หลัง
2. อาคารปฏบิ ัตกิ าร 1 หลัง
3. หอ้ งเรยี น ห้องปฏบิ ตั ิการทใ่ี ชใ้ นการจดั การเรียนการสอน 95
ห้อง
4. ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการที่มีระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงใน
การจดั การเรียนการสอน 95 ห้อง
5. หอ้ งเรยี น ห้องปฏิบตั ิการท่ีได้รบั การพฒั นาใหเ้ อ้ือต่อการ
จดั การเรียนรู้ 95 หอ้ ง
1.2.2) เชงิ คุณภาพ : วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาอบุ ลราชธานี มผี ลการประเมนิ และขอ้ มลู อาคาร
สถานท่ี ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงานหรืองานฟาร์ม ร้อยละ
100
1.2.3) ผลสะทอ้ น : องค์กร หน่วยงานภายนอก หรือผูม้ สี ว่ นเก่ยี วขอ้ งเข้ามาใช้บริการ
อาคารสถานท่ี หอ้ งเรียน หอ้ งปฏิบัตกิ าร โรงฝึกงานหรอื งานฟารม์
1.3) ระบบสาธารณปู โภคพ้ืนฐาน
1.3.1) เชิงปริมาณ : วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี มีระบบสาธารณูปโภคพ้ืนฐาน ได้แก่
ระบบไฟฟ้า ระบบประปา การคมนาคมภายในสถานศึกษา ระบบการ
สื่อสารภายใน และ ระบบรักษาความปลอดภัยได้รับการบํารุงรักษาและ
พฒั นาอยา่ งต่อเน่ือง
1.3.2) เชิงคณุ ภาพ : วิทยาลยั อาชีวศึกษาอบุ ลราชธานี มผี ลการประเมนิ และข้อมลู ระบบ
สาธารณปู โภคพื้นฐาน ร้อยละ 100
1.3.3) ผลสะทอ้ น : วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาอุบลราชธานี มคี วามพงึ พอใจของผู้ใช้บริการใน
ระบบ สาธารณปู โภคพื้นฐาน มคี า่ เฉลีย่ 4.82
1.4) แหลง่ เรยี นร้แู ละศนู ย์วทิ ยบรกิ าร
1.4.1) เชงิ ปริมาณ : วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาอุบลราชธานี มผี ู้เรียนท่ีใช้บรกิ ารแหล่งเรียนรู้และ
ศนู ย์วิทยบริการ จํานวน 63,114 คน
1.4.2) เชิงคุณภาพ : วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี มีผลการประเมินและข้อมูลแหล่ง
เรยี นรแู้ ละศนู ยว์ ิทยบรกิ าร รอ้ ยละ 100
1.4.3) ผลสะท้อน : วิทยาลยั อาชีวศึกษาอุบลราชธานี มีความพงึ พอของผู้ใชบ้ รกิ ารทมี่ ตี ่อ
แหลง่ เรยี นรแู้ ละศนู ยว์ ิทยบริการ มคี ่าเฉล่ีย 4.35
1.5) ระบบอนิ เทอรเ์ นต็ ความเรว็ สูงเพื่อการใช้งานด้านสารสนเทศภายในสถานศกึ ษา
1.5.1) เชิงปริมาณ : วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี มีความเร็วของสัญญาณอินเทอร์เน็ต
และครอบคลมุ พนื้ ทใ่ี ชง้ าน และสถานศกึ ษา 1024 Mbps
1.5.2) เชิงคณุ ภาพ : วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาอบุ ลราชธานี มผี ลการประเมนิ และข้อมูลระบบ
อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพ่ือการใช้ งานด้านสารสนเทศภายใน
สถานศึกษา รอ้ ยละ 100
1.5.3) ผลสะท้อน : วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาอุบลราชธานี มีความพึงพอใจของผู้ใชบ้ ริการทม่ี ตี อ่
ระบบอินเทอร์เน็ตความเรว็ สงู เพอ่ื การใชง้ านดา้ นสารสนเทศภายในสถานศึกษา มคี ่าเฉลี่ย
4.85
3.4 การขบั เคล่อื นระบบงานวชิ าการ
หลกั การบริหารงานวชิ าการ
ในการบริหารงานวิชาการจะต้องมีหลักการและวิธีการดําเนินงาน เพ่ือให้เกิดความคล่องตัว
ในการบรหิ าร ดงั นั้นในหลกั การเบ้ืองตน้ ของการบรหิ ารจึงตอ้ งมขี ้อความชัดเจนในเร่ืองต่างๆ ดังน้ี
1. ยึดหลักให้สถานศึกษาจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาให้เป็นไปตามกรอบหลักสูตรของสํานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษาและสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชนและสังคมอย่าง
แทจ้ ริง โดยมคี รู ผ้บู รหิ าร ผปู้ กครอง และชมุ ชนมีสว่ นรว่ ม
2. มุ่งสง่ เสริมสถานศึกษาใหจ้ ัดกระบวนการเรยี นรู้ โดยถือว่าผเู้ รียนมคี วามสาํ คญั ทีส่ ดุ
3. มุ่งส่งเสริมให้ชุมชนและสังคมมีส่วนร่วมในการกําหนดหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้ รวมทั้งเป็น
เครือข่ายและแหลง่ การเรียนรู้
4. มุ่งจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐาน โดยจัดให้มีดัชนีช้ีวัดคุณภาพการจัดหลักสูตรและ
กระบวนการเรียนรู้ และสามารถตรวจสอบคุณภาพการจัดการศึกษาได้ทุกช่วงช้ันท้ังระดับเขตพื้นที่
การศกึ ษาและสถานศกึ ษา
5. มุ่งส่งเสริมให้มีการร่วมมือเป็นเครือข่าย เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพและคุณภาพในการจัดและพัฒนา
คุณภาพการศึกษา
ขอ้ มูลพืน้ ฐานของสถานศกึ ษาฝึกประสบการณ์ วทิ ยาลัยเทคนิคกันทรารมย์
๑) ข้อมูลทว่ั ไป
วิทยาลัยเทคนิคกันทรารมย์ (Kanthararom Technical College) ตั้งอยู่เลขท่ี 70 หมู่ท่ี6
ถ.ประชารงั สฤษด์ิ ต.ดูน อาํ เภอกันทรารมย์ จังหวัดศรสี ะเกษ
หมายเลขโทรศพั ท์ 045-651641 หมายเลขโทรสาร 044-651641
E-mail Address : [email protected] Website : http://www.krtc.ac.th
2.1.2 ประวัตขิ องสถานศึกษาโดยสังเขป
เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๒ วิทยาลัยเทคนิคศรีสะเกษ ได้จัดต้ังศูนย์การเรียนรู้อําเภอกันทรารมย์ โดยจัดการ
เรียนการสอน 4 สาขาวิชา ดังนี้๑. สาขาวิชาช่างยนต์๒. สาขาวิชาไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์๓. สาขาวิชา
การบัญชี๔. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจพ.ศ. ๒๕๕๕ ได้รับการประกาศจัดตั้ง ให้เป็น วิทยาลัยเทคโนโลยี
และการจัดการกันทรารมย์พ.ศ. ๒๕๕๙ ได้เปล่ียนชื่อเป็น วิทยาลัยเทคนิคกันทรารมย์ มีเนื้อที่ 70 ไร่ 2
งาน 75ตารางวา มีอาคาร 7หลัง ห้องเรียน 95 ห้อง มีผู้บริหาร4 คน ข้าราชการครู 7 คน พนักงาน
ราชการ 2 คน ลูกจ้างชั่วคราว 57 คน นกั เรยี น นักศึกษาปีการศกึ ษา 2564 จํานวน 1347 คน
วิสัยทัศน์ เป็นสถานศึกษาของชุมชนท้องถ่ิน ด้านอาชีวศึกษาในระดับช่างฝีมือ และเทคนิคท่ีได้
มาตรฐานสากล โดยนอ้ มนาํ หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
อตั ลักษณ์ ทกั ษะดี มีสมั มาคารวะ
เอกลักษณ์ บรกิ ารชุมชน
2.ข้อมลู คา่ นิยมและวัฒนธรรมทอ้ งถิน่
คาํ ขวญั : กนั ทรารมย์อุดมพริกหอมกระเทียม ยอดเยี่ยมกลองตุ้มปลาชมุ มลู ชี หมอ้ ดนิ ดีโพนทราย มีฝาย
หัวนา งามสงา่ พระมงคลมิง่ เมอื ง
อาํ เภอกันทรารมย์มีอาณาเขตติดตอ่ กับเขตการปกครองขา้ งเคยี งดังตอ่ ไปน้ี
ทิศเหนือ ตดิ ตอ่ กับอาํ เภอเขอื่ งใน (จังหวัดอบุ ลราชธานี)
ทิศตะวันออก ติดต่อกับอําเภอเมืองอุบลราชธานี อําเภอวารินชําราบ และอําเภอสําโรง (จังหวัด
อบุ ลราชธาน)ี
ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ กบั อาํ เภอโนนคูณและอําเภอนาํ้ เกลีย้ ง
ทิศตะวันตก ตดิ ต่อกับอําเภอเมืองศรสี ะเกษและอําเภอยางชมุ นอ้ ย
อําเภอกันทรารมย์แบ่งพน้ื ทกี่ ารปกครองย่อยออกเป็น 16 ตาํ บล 175 หมู่บา้ น ได้แก่
1.ตาํ บลดูน(Dun) มี 14 หมู่บ้าน 9.ตาํ บลเมืองน้อย(Mueang Noi) 10 หมูบ่ ้าน
2.ตาํ บลโนนสัง(Non Sang) มี 14 หมบู่ ้าน 10.ตาํ บลอปี าด(I Pat) 5 หม่บู ้าน
3.ตําบลหนองหัวชา้ ง(Nong Hua Chang) 11.ตาํ บลบัวน้อย(Bua Noi) 11 หมูบ่ ้าน
มี 12 หมบู่ า้ น
4.ตําบลยาง(Yang) 12 หม่บู ้าน 12.ตาํ บลหนองบัว(Nong Bua) 7 หมบู่ ้าน
5.ตาํ บลหนองแวง(Nong Waeng) 11 หมบู่ า้ น 13.ตําบลดู่(Du) 8 หมู่บ้าน
6.ตําบลหนองแก้ว(Nong Kaeo) 7 หมู่บา้ น 14.ตําบลผักแพว(Phak Phaeo) 18 หมบู่ ้าน
7.ตาํ บลทาม(Tham) 11 หมบู่ า้ น 15.ตําบลจาน(Chan) 15 หมบู่ ้าน
8.ตําบลละทาย(Lathai) 9 หม่บู า้ น 16.คาํ เนยี ม(Kham Niam) 10 หมบู่ ้าน
เปา้ ประสงค์ของสถานศึกษา
1.ผู้เรียนมีสมรรถนะวิชาชีพตามมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพและมีสมรรถนะตรงกับความต้องการของ
ตลาดแรงงาน
2.หลกั สตู รวชิ าชีพมกี ารพัฒนาเพิม่ ขึ้นตามบริบทของชมุ ชนในทอ้ งถ่ินและความตอ้ งการของตลาดแรงงาน
3.เพิ่มโอกาสทางการศึกษาด้านวิชาการและวิชาชีพ ให้กับผู้เรียนทุกคน ทุกกลุ่ม ทุกพ้ืนที่และทุกระดับ
การศกึ ษาอยา่ งมีคณุ ภาพ
4.ระบบฐานข้อมูลรายบุคคลของนักเรียน นักศึกษาในสถานศึกษาที่ถูกต้อง เป็นปัจจุบันเพื่อการวาง
แผนการบริหารจัดการศึกษา ติดตามและประเมินผล
5.สถานศึกษามีกฏระเบียบทเ่ี ออื้ ต่อการบริหารจัดการสถานศกึ ษา ภายใต้หลักธรรมาภบิ าล
6.วิทยาลัยเทคนิคกันทรารมย์ได้พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในโดยกําหนดมาตรฐานของ
สถานศึกษาท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการอาชีวศกึ ษา 2561
7.พัฒนาระบบความร่วมมือกับหน่วยงาน สถานประกอบการ หรือองค์กรอื่นๆเพ่ือเพิ่มศักยภาพในการ
พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะวิชาชีพท่ีสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน มีความเชี่ยวชาญ
เฉพาะทางมมี าตรฐานสสู่ ากล
8.สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการบริหารจัดการอาชีวศึกษาสอดคล้องกับภาระกิจของสถานศึกษาและ
ตอบสนองความต้องการของประชาชนและพนื้ ที่
9.การวิจัย ส่ิงประดิษฐ์ นวัตกรรม เทคโนโลยีและองค์ความรู้ในสาขาวิชาชีพเพ่ือเพิ่มมูลค่าสมรรถนะ
วิชาชพี และทักษะฝีมือในตลาดแรงงาน
10.ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รบั การพัฒนาใหม้ ีศักยภาพในการสอนและการปฏบิ ตั อิ ยา่ งมืออาชีพ
ยทุ ธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ท1ี่ ปลูกฝังและสร้างเสริมความเป็นพลเมืองที่ดีในด้านคุณธรรม จริยธรรมให้กับผู้เรียนทุกช่วง
วัย
ยุทธศาสตร์ท่ี2 พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษาและเพิ่มปริมาณผู้เรียนให้สอดคล้องกับ
ความต้องการของตลาดแรงงานในประเทศและตา่ งประเทศ
ยุทธศาสตร์ท่ี3 พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ด้วยวิธีท่ีหลากหลายและสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่าง
หน่วยงาน สถานประกอบการและสถานศึกษาทัง้ ภายในประเทศและตา่ งประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่4 พัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้เพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษาด้านอาชีวศึกษาให้ครอบคลุม
ผเู้ รยี นทกุ กลุ่มเปา้ หมาย
ยุทธศาสตร์ท่ี5 จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรท่ีหลากหลายเพ่ือสร้างจิตสํานึก ปลูกฝังทัศนคติ ค่านิยม
วฒั นธรรมของผู้เรียนอาชีวศึกษาใหม้ คี ณุ ภาพชีวติ ท่ีดี และดาํ รงตนตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
ยทุ ธศาสตรท์ ี่6 ยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการสถานศึกษาใหม้ ปี ระสิทธภิ าพตามหลักธรรมาภบิ าล
กลยทุ ธ์
กลยุทธ์ที่1 ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ในระบบปกติและระบบทวิภาคีโดยบูรณาการเทคโนโลยี นวัตกรรม
เพ่ือม่งุ พัฒนาสมรรถนะผู้เรียนอาชีวศึกษา
กลยุทธ์ท่ี2 พัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะท่ีตรงกับความต้องการของตลาดแรงงานและความเป็นเลิศ
เฉพาะทาง
กลยุทธท์ ี3่ ยกระดบั คุณภาพหอ้ งเรียน หอ้ งปฏบิ ัติการ แหล่งเรียนรู้และสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษา
ใหส้ นับสนนุ ต่อการจดั การเรยี นการสอน ดา้ นวิชาชีพอย่างตอ่ เนือ่ ง
กลยุทธ์ที่4 พัฒนาศูนย์กําลังคนอาชีวศึกษาของสถานศึกษาที่ทันสมัยมีคุณภาพ สามารถเชื่อมดยง
เครือขา่ ยเพอื่ แลกเปลี่ยนข้อมลู กบั หน่วยงานอนื่ ๆได้
กลยทุ ธท์ ่ี5 พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษาโดยยดึ หลักธรรมาภบิ าล
กลยุทธ์ที่6 พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโดยการกําหนดมาตรฐานของสถานศึกษา
ในการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษา
กลยุทธ์ท่ี7 ส่งเสริม พัฒนาความร่วมมือกับหน่วยงาน สถานประกอบการในการเพิ่มศักยภาพของผู้เรียน
ใหม้ สี มรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ สมรรถนะหลักและสมรรถนะทวั่ ไป
กลยุทธ์ที่8 พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ การประชาสัมพันธ์ การแนะแนวกับหน่วยงานภาครัฐและ
เอกชนทั้งในประเทศและต่างประเทศ พัฒนาเครือข่ายผู้ปกครองด้วยวิธีการท่ีหลากหลายเพ่ือเพ่ิมปริมาณ
ผู้เรียนและขบั เคลอ่ื นวิสัยทัศน์ พันธกิจของสถานศกึ ษา
กลยุทธ์ท่ี9 สนับสนุนให้ครูและผู้เรียนมีความรู้ ทักษะและเจตคติต่อการสร้างงานวิจัย นวัตกรรมและ
สิ่งประดษิ ฐ์ทหี่ ลากหลายสามารถนาํ ไปใชใ้ นการพัฒนาการเรียนรู้ พัฒนาอาชีพลฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ได้
กลยุทธ์ที่10 ส่งเสริมและสร้างแรงจูงใจท่ีดีแก่ครู บุคลากรทางการศึกษาและผู้เรียนเพื่อสร้างขวัญและ
กาํ ลังใจในการพฒั นาสถานศึกษาอยา่ งเป็นระบบและพัฒนาศักยภาพการปฏิบตั ิงานสคู่ วามเปน็ มืออาชพี
บริบทสถานศกึ ษาวิทยาลยั เทคนิคกันทรารมย์ จุดเดน่ จดุ ดอ้ ย และ4 ประเด็น ดงั นี้
1.กลยุทธก์ ารขบั เคลอื่ น Future Skills ของสถานศึกษา
1.1 วิทยาลัยเทคนิคกันทรารมย์มีการเรียนการสอนที่มุ่งพัฒนาสมรรถนะให้ผู้เรียนเกิด พหุทักษะ (Multi
Skills) ท่ีหลากหลาย เช่นนักเรียนทุกคนทุกหลักสูตรจะได้เรียนวิชาการขับรถยนต์ซึ่งเป็นวิชาเลือกเสรีมี
ทักษะการสื่อสาร (Communication) มีวินัย มีความยืดหยุ่น สามารถทํางานร่วมกันเป็นทีมและมีทักษะ
ในการแก้ปญั หา
1.2 วิทยาลัยเทคนิคกันทรารมย์ส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนให้รู้ทักษะการใช้ Digital Listeracyอย่าง
หลากหลายมีจุดบริการเครือข่ายอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงภายในสถานศึกษาเพ่ือให้ครูและนักเรียน
นักศึกษาได้ใชใ้ นการจดั การเรียนการสอนและการศึกษาคน้ ควา้
1.3 วทิ ยาลัยเทคนคิ กันทรารมยส์ ่งเสรมิ พฒั นาผเู้ รียนRe-Skills , Up-Skills
เช่นการจัดการเรียนการสอนหลกั สูตรระยะสน้ั
2.การสร้างความเข้มแขง็ ของระบบความร่วมมอื กบั สถานประกอบการ
2.1 วิทยาลัยเทคนิคกันทรารมย์มีการจัดทําบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ(MOU) กับสถาน
ประกอบการเชน่ บรษิ ัทคโู บต้าจาํ กดั บรษิ ัทนิปปอนเพน้ ท์ จาํ กดั เปน็ ต้นมกี ารสง่ เสรมิ การ
ระดมทุนและทรัพยากรทางการศึกษาเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาเช่น งบประมาณ ทุนการศึกษา วัสดุ
อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ปรากฎผลพัฒนาตามวัตถุประสงค์ของการระดมทรัพยากรอย่างเป็นรูปธรรม วิทยาลัยได้รับ
มอบวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์จากสถานประกอบการเพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอน เช่น เครื่องปร้ินเตอร์
Brother DCP-L5600DN จํานวน 2 เคร่ือง 2.รถจักรยานยนต์ QBIX จํานวน 1 คัน 3.รถจักรยานยนต์
Jupiter จํานวน 1 คัน 4.รถแทรคเตอร์ รุ่น B2740 จํานวน 1 คัน 5.บริษัทฮอนด้า ออโต้โมบิล(ประเทศ
ไทย จํากัด)มอบ คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค จํานวน 16 เครื่อง คอมพิวเตอร์ออลอินวัน จํานวน 17 เคร่ือง จอ
ทัชสกรนี จํานวน 2 จอ Hub จาํ นวน 1 ตัว
3.ระบบการบรหิ ารจัดการสู่คณุ ภาพ
3.1 วิทยาลัยเทคนิคกันทรารมย์ให้ครู บุคลากรทางการศึกษามีส่วนร่วมในการกําหนดมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา จัดทําแผนพัฒนาสถานศึกษาและแผนปฏิบัติราชการประจําปี และได้รับความ
เห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษามีส่วนร่วมในการดําเนินงาน
โครงการของสถานศึกษาใช้หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี หรือหลักธรรมาภิบาล(Good
Governance)ในการบรหิ ารจัดการ
3.2 วิทยาลยั เทคนคิ กนั ทรารมยใ์ ชม้ กี ารนําวงจรคุณภาพ PDCAในการบริหารจัดการมีการจัดทําคู่มือการ
บริหารจัดการสถานศึกษาตามระเบียบธรรมาภิบาล ส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนจัดตั้งองค์การนักวิชาชีพใน
อนาคตแห่งประเทศไทย สร้างเครือข่ายผู้ปกครอง ดําเนินการตามระบบช่วยเหลือนักเรียนสร้างโอกาส
ความเสมอภาค ลดความเหล่ือมลํ้า
4.การขับเคลือ่ นระบบงานวิชาการ
4.1 วิทยาลัยเทคนิคกันทรารมย์มีการส่งเสริมให้ครูพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะและจัดทําแผนการ
จัดการเรียนรทู้ ุกรายวิชา จัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้โดยการคิดเป็น ปฏิบัติจริง มีทักษะวิชาชีพและมี
แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ จัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อ
การเรยี นรู้ ชมุ ชนมีสว่ นรว่ มในกจิ กรรมตา่ งๆ มแี หลง่ เรียนรู้ในชมุ ชนอย่างเป็นรปู ธรรม
4.2 วทิ ยาลยั เทคนิคกันทรารมยม์ กี ารพัฒนาหลักสตู รรว่ มกับสถานประกอบการในสาขาวชิ างานตัวถังและ
สี ในสาขาวชิ าช่างยนต์
4.3 วิทยาลัยเทคนิคกันทรารมย์มีการเรียนการสอนหลักสูตรทวิภาคีได้ดําเนินการตามประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ เรื่องมาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ได้จัดทําแนวทางการปฏิบัติการ
จัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีเพื่อให้สถานศึกษาและสถานประกอบการนําไปใช้เป็นแนวทางในการจัดการ
อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ประกอบด้วย5 ข้ันตอน ได้แก่ ข้ันท่ี1 ขั้นเตรียมความพร้อมในการจัด
อาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี ขน้ั ที่2 ขั้นวางแผนในการจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ขั้นที่ 3 ขั้นจัดการเรียน
การสอนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ข้ันที่ 4 ข้ันติดตามตรวจสอบคุณภาพจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา
ระบบทวิภาคี ขั้นที่5 ข้ันสรุปรายงานผลการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี การจัดการ
เรียนการสอนระบบทวิภาคีของวิทยาลัยเทคนิคกันทรารมย์มีการจัดการเรียน การสอนในระดับ ปวส.
จํานวน 7 สาขาวิชา ได้แก่ ช่างยนต์ ช่างอิเล็กทรอนิกส์ ช่างไฟฟ้ากําลัง ช่างกลโรงงาน การบัญชี
คอมพวิ เตอร์ธุรกจิ และการจัดการค้าปลกี การจัดการศึกษา
ระบบทวิภาคีทําให้นักเรียน นักศึกษามีความรู้ ทักษะ และเจตคติท่ีดีต่ออาชีพนักศึกษามีรายได้จากการ
ฝึกงานเหมือนเป็นพนักงานของสถานประกอบการนั้นๆ ฝึกปรับตนเองให้เข้ากับกฎระเบียบของสถาน
ประกอบการ เมื่อสําเร็จการศึกษาสามารถเข้าทํางานได้ทันทีและทํางานได้อย่างมีความสุข และ
สถานศกึ ษาลดภาระในการจดั หาวัสดฝุ กึ ในการเรียนภาคปฏิบัติ
4.4 วิทยาลัยเทคนิคกันทรารมย์ได้ส่งเสริมครูผู้สอน พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็น
สําคัญ จึงต้องพัฒนาครูให้เป็นผู้ชํานาญการด้านวิชาชีพเพ่ือที่จะสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ผู้เรียนได้
อยา่ งเต็มที่
4.5 วทิ ยาลยั เทคนิคกันทรารมย์มีระบบเครอื ขา่ ยอนิ เตอร์เนตททีม่ ีประสิทธิภาพเหมาะสมกับการใช้งาน มี
การจัดทําเว็บไซต์การบริหารจัดการงานบริหารท่ัวไป งานบุคลากร งานการเงิน งานการบัญชี งานพัสดุ
งานอาคารสถานที่ งานทะเบียน งานประชาสัมพันธ์ มีผู้รับผิดชอบดูแล และบริหารจัดการข้อมูล การ
เข้าถึงข้อมูล ระบบความปลอดภัยในการจัดเก็บ และใช้ข้อมูล และมีการปรับปรุงระบบเครือข่าย
อินเตอร์เน็ตอย่างต่อเน่ือ มีการสร้างPlat from digital ในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ในช่วงกร
แพรร่ ะบาดของไวรัสโคโรนา่ 2019 หรือ Covid 19 เช่น Google Classroom ,Google From เปน็ ต้น
4.6 วิทยาลัยเทคนคิ กันทรารมยใ์ ชร้ ะบบ RMS และ ศธ 02 ในการขบั เคล่อื นงานวิชาการ
4.7 วิทยาลัยเทคนิคกันทรารมย์ส่งเสริมสนับสนุนผู้เรียนให้มีสมรรถนะในการเป็นผู้ประกอบการ หรือ
ประกอบอาชีพอิสระ สามารถประสบความสําเร็จสู่การเป็นผู้ประกอบการสถานศึกษาส่งเสริมสนับสนุน
กิจกรรมตามแนวทางการพัฒนาผู้ประกอบการ ปรากฎผลการประเมินศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการ
อาชวี ศึกษา ตามเกณฑ์การประเมนิ ท่สี าํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากาํ หนด ในระดบั สถานศึกษา
ระดบั จงั หวัด ระดับภาค และระดบั ชาติ โดยมโี ครงการสง่ เสริมการประกอบธรุ กจิ ดังน้ี
1.แผนธุรกิจ Krtc Shop
2.แผนธรุ กิจ รั้วคอนกรตี คาวบอยผปู้ ระกอบการรายใหม่ในอนาคต
3.แผนธรุ กจิ Swift Crepe
4.แผนธรุ กจิ ขนมกรบุ กรอบ
5.แผนธุรกิจ Ice Coffee Krtc
6.แผนธรุ กิจ โซล่าเซล
7.แผนธุรกจิ ปลาร้าบองแซ่บ
8.แผนธุรกจิ ของชาํ ร่วยจากเครอื่ งปร้นิ 3D
ป้ายช่อื วทิ ยาลัยเทคนิคกนั ทรารมย์ อ.กันทรารมย์ จ.ศรสี ะเกษ
ปา้ ยช่อื วิทยาลัยเทคนคิ กันทรารมย์ อ.กันทรารมย์ จ.ศรสี ะเกษ
สภาพบรบิ ทของวทิ ยาลยั เทคนิคกันทรารมย์ อ.กันทรารมย์ จ.ศรสี ะเกษ
อาคารอํานวยการ
สนามกฬี าฟตุ บอล
พระวิษณุกรรมและพระพทุ ธรปู (กาํ ลังสรา้ ง)
อาคารปฏิบตั ิการ 4 ช้ัน
สภาพภายในวิทยาลยั