1
ใบนำเสนองาน
การศกึ ษาค้นคว้าเรยี นรเู้ พอ่ื พัฒนาตนเอง
แบบสรุปองคค์ วามรู้การศกึ ษาค้นควา้ เรียนรเู้ พอ่ื พฒั นาตนเอง
วิทยากรพ่เี ล้ียง วา่ ท่ี ร.ต.ดร.จรรยา พาบุ
ชอ่ื – นามสกุล ผู้เขา้ รบั การพัฒนา นายชชั ชัย กาหาวงศ์ กลุม่ ท่ี 18 เลขที่ 3
สมรรถนะหลกั ที่ 1 การดำรงตนของรองผู้อำนวยการสถานศกึ ษาอาชวี ศึกษายคุ ชวี ิตวิถีอนาคต
( Next Normal )
สมรรถนะย่อย 1.1 เจตคตแิ ละการสร้างกรอบความคิดแบบเปิดกวา้ ง (Growth Mindset)
ในการบรหิ ารเชิงสร้างสรรคส์ อดคลอ้ งกบั ชวี ติ วถิ ีอนาคต (Next Normal)
กรอบความคิด (Mindset) คือ กระบวนการทางความคดิ เป็นความเชอื่ ทมี่ ีผลต่อพฤติกรรมที่
ฝังอยู่ในตัวมนุษยแ์ ต่ไม่ได้แสดงออกชัดเจน ทำให้เกดิ เปน็ ทัศนคติและประสบการณ์ต่างๆ ในตัวมนุษย์
Carol Dweck ผูค้ ิดคน้ เรอ่ื ง Mindset ไดแ้ บ่งประเภทของ Mindset เปน็ 2 แบบคือ
กรอบความคิดแบบตายตัว (Fixed Mindset) เชื่อว่าความฉลาด ทักษะ ความสามารถไม่
สามารถเปล่ียนแปลงได้ ให้ความสำคัญกบั ภาพลักษณ์ คุณสมบัติ เช่น ต้องดูฉลาด ดูเก่ง มักหลีกเล่ียง
งานที่ท้าทาย หรือปญั หายากๆ กลวั ว่าทำไมไ่ ดแ้ ล้วจะดูโง่
กรอบความคดิ แบบพัฒนาได้ (Growth Mindset) เชอ่ื ว่าความฉลาดและความสามารถสรา้ ง
ได้ด้วยการเรียนรู้ ให้ความสำคัญกับความพยายาม ชอบปัญหาและความทา้ ทาย มองว่าเป็นโอกาสใน
การเรยี นรู้และพฒั นา
วิธกี ารพัฒนากรอบความคดิ ของตวั เองสามารถทำได้ตามแนวทางดังต่อไปน้ี
1. สำรวจและฟงั เสยี งกรอบความคดิ คอื การสำรวจตวั เราเองกอ่ นวา่ กรอบความคิดของเรานน้ั
เป็นแบบไหน
2. เลือกทีจ่ ะฟังกรอบความคิดแบบพัฒนาได้ หาสาเหตุให้ได้ว่าสิ่งท่ีทำใหเ้ รารู้สกึ ไม่ม่ันใจใน
ตัวเองเมือ่ ตกอยู่ในสถานการณท์ ีท่ ้าทายต่างๆ มองหาโอกาสทท่ี ำให้เราไดพ้ ฒั นาตนเองใหม้ ที กั ษะใหมๆ่
3. โต้ตอบและเถยี งกลับคอื วิธกี ารเปลยี่ นแปลงกรอบความคิดแบบตายตวั ใหเ้ ป็นแบบพัฒนาได้
4. ลงมือปฏิบัติจุดมุ่งหมายการเปลี่ยนแปลงกรอบความคิดคือการต้องการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรม
5. ยังทำไม่ได้ไม่ใช่ทำไมไ่ ด้เม่ือสิง่ ที่เราลงมือทำยังไม่ประสบความสำเร็จคือบอกกับตัวเองว่า
คณุ สมบตั ิตอนนัน้ ของเรายังไม่ถึง ยังทำไมได้ เราแคย่ ังทำไมไ่ ด้ ไม่ใชห่ มายความวา่ เราทำไม่ไดเ้ ลย
เครอ่ื งมอื ในการสรา้ ง Growth Mindset สำหรบั พัฒนาบคุ ลากร
1. ระบบพเี่ ลยี้ ง (Mentoring) หาจดั ใหผ้ ูม้ ีประสบการณ์
2. การโค้ช (Coaching) การโคช้ เพอื่ พฒั นาตนเอง
3. การหาแรงบันดาลใจดๆี รอบตัวเพอื่ สร้างพลงั เชงิ บวก
4. เครอ่ื งมือตา่ งๆท่จี ะช่วยใหก้ ารคิดเป็นระบบใชพ้ ฒั นาตนเองได้
กรอบความคิดเปน็ สิง่ ทีพ่ ัฒนาได้ การเปลี่ยนกรอบความคิดไม่ใช่การนำเอาคำแนะนำต่างๆมาใช้
แต่เปน็ การมองส่ิงต่างๆด้วยวิธีคิดใหม่ๆ ไม่ว่าจะเป็นคู่รัก ครูกับนักเรียน เวลาทีเ่ ขาเปล่ียนไปใช้กรอบ
ความคิดแบบพัฒนาได้นั่นหมายถงึ การท่ีเขาเปลี่ยนจากกรอบแห่งการตัดสินและถกู ตัดสินไปใชก้ รอบ
2
แห่งการเรียนรู้และช่วยให้เขาเรียนรู้ พวกเขาพรอ้ มท่ีจะทุม่ เทให้กับการพัฒนา ซึ่งการพัฒนาต้องการ
เวลา ความอดทน ความพยายามและแรงสนับสนนุ
สมรรถนะยอ่ ย 1.2 วินัย การรกั ษาวินัย คุณธรรม จริยธรรมและจรรบรรณวชิ าชพี
ผู้มีวินัย การรักษาวินัย คุณธรรม จริยธรรมและจรรบรรณวิชาชีพ ในการทำงานจำเป็นต้อง
ศึกษา พรบ.กฎ ระเบียบ ข้อบังคับทีเ่ ก่ียงข้องในการปฏิบัตงิ านอยา่ งกระจ่ายชัด เพื่อทำงานในองคก์ ร
นำไปสูค่ วามสำเรจ็ และมปี ระสทิ ธภิ าพประสิทธผิ ล ดงั ตอ่ ไปน้ี
1. พรบ.ข้าราชครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๗
2. พรบ.ระเบยี บขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ.ศ.2547 เพมิ่ เตมิ (ฉบบั ท่ี๔)
พ.ศ.2562
3. พรบ.ขา่ วสารของราชการ พ.ศ.2540
4. พรบ.วา่ ด้วยการกระทำผดิ เก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ (ฉบับที่2) พ.ศ.2560
5. พรบ.มาตรฐานทางจรยิ ธรรม พ.ศ. 2562
6. พรบ.วธิ ปี ฏบิ ตั ริ าชการปกครอง พ.ศ.2539
7. ประมวลจรยิ ธรรมขา้ ราชการครูบุคลากรทางการศึกษาตามมาตร ๖ แหง่ มาตรฐานทาง
จริยธรรม พ.ศ. ๒๕๖๒
8. ขอ้ บังคับครุ สุ ภา ว่าดว้ ย ป จรรยาบรรณวชิ าชพี พ.ศ.2556
9. กฎ ก.ค.ศ. ว่าดว้ ยอำนาจการลงโทษ ภาคทณั ฑ์ ตัดเงินเดอื น หรือลดเงนิ เดือน พ.ศ.2561
10.ระเบยี บสำนกั นายกรัฐมนตรีวา่ ดว้ ยพนกั งานราชการ พ.ศ.2547
11.ระเบียบสำนกั นายกรฐั มนตรีว่าด้วยการสง่ เสรมิ คณุ ธรรมแหง่ ชาติ (ฉบบั ที่2)พ.ศ.2561
12.กฎกระทรวงการคลงั ว่าด้วยลกู จา้ งประจำของส่วนราชการ พ.ศ. 2537
13.พรบ.วา่ ดว้ ยการกระทำผิดเกย่ี วกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
สมรรถนะย่อย 1.3 การดำรงตนของรองผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษาอยา่ งราบรน่ื และมคี วามสุข
“ผู้นำ 360 องศา” (The 360 Degree Leader) หมายถึง บุคลากรภายในองค์กรมีความ
ปรารถนาพัฒนาศักยภาพตนเองให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง (Potential) โดยไม่ยึดติดว่าตนเองมีตำแหน่ง
อะไร และอาศัยการเรียนรู้พฤติกรรมที่ดีของผู้นำ พร้อมกับมีความตั้งใจเปลี่ยนแปลงตนเองไปสู่
พฤตกิ รรมทีด่ ี โดยมีวัตถุประสงคเ์ พื่อโน้มนา้ วคนรอบขา้ งในทุกระดับ ใหม้ ีความเช่ือมั่น ยอมรบั และให้
ความร่วมมืออยา่ งเตม็ ใจ อนั นำไปส่กู ารสร้างผลการปฏิบตั งิ านทีด่ ีขึ้นรว่ มกัน (Team Performance)
“ผู้นำ 360 องศา” (The Leader 360 Degree) คือการพฒั นาตนเองใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพรอบ
ด้านด้วยหลกั การและวิธปี ฏิบัตขิ องผู้นำ 360 องศา เพื่อใหต้ นเองมีความสอดคล้องกับความต้องการ
ของบุคคลแต่ละระดบั โดยทั่วไปแล้วเราสามารถแบ่งระดบั การเป็นผูน้ ำเพ่ือนำคนแต่ละระดับของการ
พฒั นาผ้นู ำ 360 องศา ดงั นี้
- หลกั การและวิธีปฏบิ ัติในการเป็นผูน้ ำ นำคนระดบั บน (หัวหน้า)
- หลกั การและวิธีปฏบิ ัติในการเปน็ ผนู้ ำ นำคนระดบั กลาง (เพอื่ นรว่ มงาน)
- หลกั การและวิธปี ฏิบตั ิในการเปน็ ผนู้ ำ นำคนระดบั ล่าง (ลกู น้อง)
หลักการทรงงานของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว 23 ขอ้
หลักการทรงงานของในหลวงรัชกาลที่ 9 มีความน่าสนใจ ที่สมควรนำมาประยุกต์ใช้กบั ชีวติ
การทำงานเปน็ อยา่ งย่ิง หากทา่ นใดต้องการปฏบิ ัตติ ามรอยเบื้องพระยคุ ลบาท ท่านสามารถนำหลักการ
ทรงงานของพระองค์ไปปรบั ใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ได้ ดงั น้ี
3
1. จะทำอะไรต้องศกึ ษาขอ้ มลู ใหเ้ ปน็ ระบบ 13. ใชธ้ รรมชาติชว่ ยธรรมชาติ
2. ระเบดิ จากภายใน 14. ใช้อธรรมปราบอธรรม
3. แกป้ ญั หาจากจุดเลก็ 15. ปลูกปา่ ในใจคน
4. ทำตามลำดบั ขนั้ 16. ขาดทนุ คือกำไร
5. ภูมสิ งั คม ภูมิศาสตร์ สงั คมศาสตร์ 17. การพ่ึงพาตนเอง
6. ทำงานแบบองคร์ วม 18. พออยู่พอกิน
7. ไม่ติดตำรา 19. เศรษฐกจิ พอเพยี ง
8. รจู้ กั ประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชนส์ งู สดุ 20. ความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ จรงิ ใจต่อกัน
9. ทำใหง้ า่ ย 21. ทำงานอยา่ งมคี วามสุข
10. การมสี ว่ นรว่ ม 22. ความเพยี ร
11. ต้องยดึ ประโยชนส์ ว่ นรวม 23. รู้ รัก สามัคคี
12. บรกิ ารทจี่ ดุ เดยี ว
พระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษา ในหลวงรัชกาลท่ี ๑๐
การศกึ ษาต้องมงุ่ สร้างพื้นฐานให้แกผ่ ูเ้ รยี น ๔ ด้าน ดังน้ี
1. มที ศั นคตทิ ถ่ี ูกตอ้ งตอ่ บ้านเมอื ง
1.1 ความรูค้ วามเข้าใจตอ่ ชาตบิ า้ นเมอื ง
1.2 ยดึ ม่นั ในศาสนา
1.3 มัน่ คงในสถาบนั กษัตรยิ ์
1.4 มคี วามเออื้ อาทรตอ่ ครอบครวั และชมุ ชนของตน
2. มพี ้ืนฐานชวี ติ ทมี่ นั่ คง – มคี ณุ ธรรม
2.1 รู้จกั แยกแยะสงิ่ ท่ีผดิ – ชอบ / ชว่ั – ดี
2.2 ปฏบิ ตั ิแตส่ งิ่ ที่ชอบ สง่ิ ทด่ี ีงาม
2.3 ปฏเิ สธสงิ่ ทผ่ี ดิ ส่งิ ท่ีชัว่
2.4 ชว่ ยกันสร้างคนดใี หแ้ กบ่ ้านเมือง
3. มีงานทำ – มีอาชพี
3.1 การเลยี้ งดลู กู หลานในครอบครวั หรือการฝกึ ฝนอบรมในสถานศึกษาตอ้ งมุ่งใหเ้ ด็ก และ
เยาวชนรกั งาน สงู้ าน ทำจนงานสำเร็จ
3.2 การฝกึ ฝนอมรมทั้งในหลกั สูตร และนอกหลักสูตรต้องมจี ดุ มงุ่ หมายใหผ้ เู้ รยี นทำงานเปน็
และมงี านทำในท่สี ุด
3.3 ต้องสนบั สนุนผสู้ ำเร็จหลกั สตู ร มีอาชพี มีงานทำจนสามารถเลยี้ งตนเอง และครอบครัว
4. เปน็ พลเมืองท่ีดี
4.1 การเปน็ พลเมืองดี เปน็ หน้าท่ีของทุกคน
4.2 ครอบครวั – สถานศึกษาและสถานประกอบการตอ้ งสง่ เสรมิ ให้ทกุ คนมโี อกาสทำหน้าที่
เป็นพลเมอื งดี
4.3 การเป็นพลเมืองดี คือ “เห็นอะไรทจ่ี ะทำเพื่อบา้ นเมืองไดก้ ็ต้องทำ” เชน่ งานอาสาสมัคร
งานบำเพญ็ ประโยชน์ งานสาธารณกุศลใหท้ ำด้วยความมีนำ้ ใจ และความเออื้ อาทร
4
สมรรถนะหลกั ท่ี 2 ภาวะผ้นู ำทางวชิ าการและวชิ าชพี อาชีวศกึ ษา
สมรรถนะยอ่ ย 2.1 การบรหิ ารการเปล่ยี นแปลงทางวชิ าการและวชิ าชีพอาชีวศกึ ษา
ผนู้ ำการบริหารการเปลีย่ นแปลง (Change Management) สอดคล้องกบั การบริหารและการ
จัดการอาชีวศึกษาในสภาวะปกติใหม่ (New Normal) สยู่ ุคชีวติ วถิ อี นาคต (Next Normal) เป็นนักคิด
นักประสานงาน นักพัฒนาที่ทันโลกทันเทคโนโลยีใหม่มีกลยุทธ์และเทคนิควิธีการในการสร้าง
กระบวนการบริหารการเปลีย่ นแปลงและสามารถขับเคลื่อนภารกจิ ให้เป็นองค์กรการเปลี่ยนแปลงที่มี
คุณภาพ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ (Public Sector Management Quality
Award : PMQA) เป็นกรอบการบริหารจัดการองค์การ ที่ได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้ส่วนราชการ
นำไปใช้ในการประเมินองค์การด้วยตนเองที่ครอบคลุม ภาพรวมในทุกมิติเพื่อยกระดับคุณภาพการ
บริหาร จัดการให้เทยี บเท่ามาตรฐาน สากล โดยมุ่งเน้นให้หน่วยงานราชการปรับปรุงองค์การอย่าง
รอบดา้ นและอยา่ งตอ่ เน่ืองครอบคลมุ ท้งั 7 ด้าน
1. การนำองคก์ าร เปน็ การประเมินการดำเนินการของผบู้ ริหารในเร่ืองวิสยั ทศั น์ เป้าประสงค์
ค่านิยม ความคาดหวังในผลการดำเนินการ การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้สว่ นเสยี
การกระจายอำนาจการตัดสินใจ การสร้างนวัตกรรมและการเรียนรู้ในส่วนราชการ การกำกั บดูแล
ตนเองทีด่ ี และดำเนินการเกยี่ วกบั ความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คมและชมุ ชน
2. การวางแผนเชิงยทุ ธศาสตร์เปน็ การประเมนิ วิธีการกำหนดและถ่ายทอดประเด็นยุทธศาสตร์
เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ กลยุทธ์หลักและแผนปฏิบัติราชการเพื่อนำไปปฏิบัติและวัดผล
ความกา้ วหน้าของการดำเนินการ
3. การใหค้ วามสำคญั กบั ผรู้ ับบริการและผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสยี เป็นการประเมนิ การกำหนดความ
ตอ้ งการ ความคาดหวัง และความนิยมชมชอบ การสรา้ งความสัมพันธ์และการกำหนดปจั จยั สำคัญท่ที ำ
ให้ผ้รู ับบริการและ ผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสยี มีความพึงพอใจ
4. การวดั การวเิ คราะห์ และการจดั การความรู้ เป็นการประเมนิ การเลือก รวบรวม วเิ คราะห์
จดั การ และปรบั ปรงุ ขอ้ มูลและสารสนเทศ และการจัดการความรูเ้ พ่ือใหเ้ กิดประโยชน์ในการปรับปรุง
ผลการดำเนินการขององค์การ
5. การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคลเป็นการประเมินระบบงาน ระบบการเรียนรู้ การสร้างความ
ผาสุกและแรงจูงใจของบุคลากร เพื่อให้บุคลากรพัฒนาตนเองและใชศ้ ักยภาพอย่างเต็มที่ตามทิศทาง
องคก์ าร
6. การจัดการกระบวนการ เป็นการประเมินการจัดการกระบวนการ การให้บริการ และ
กระบวนการอื่นที่ช่วยสร้างคุณค่าแก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และกระบวนการสนับสนุน
เพ่ือให้บรรลุพันธกจิ ขององคก์ าร
7. ผลลัพธ์การดำเนนิ การ เปน็ การประเมนิ ผลการดำเนนิ การและแนวโน้มของสว่ นราชการใน
มิตดิ ้านประสทิ ธิผล มิตดิ ้านคณุ ภาพการให้บรกิ าร มิติดา้ นประสทิ ธภิ าพ และมิติด้านการพัฒนาองคก์ าร
สมรรถนะย่อย 2.3 การบรหิ ารงานเทคโนโลยดี จิ ิทลั
Digital literacy คอื ทักษะความเขา้ ใจและใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทลั หรือ Digital literacy หมายถงึ
ทักษะในการนำเคร่อื งมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีดิจทิ ลั ทมี่ อี ย่ใู นปัจจบุ นั อาทิ คอมพวิ เตอร์ โทรศัพท์
แทปเลต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และสื่อออนไลน์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการสื่อสาร การ
ปฏิบัติงาน และการทำงานรว่ มกนั หรือใชเ้ พอื่ พัฒนากระบวนการทำงาน หรอื ระบบงานในองค์กรให้มี
ความทนั สมัยและมปี ระสิทธภิ าพ ทักษะดังกล่าวครอบคลมุ ความสามารถ 4 มิติ ได้แก่ การใช้ (Use)
5
เขา้ ใจ (Understand) การสรา้ ง (create) เข้าถงึ (Access) เทคโนโลยดี จิ ิทลั ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ
ทกั ษะความเขา้ ใจและใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ัล 9 ดา้ น ได้แก่
1. การใชค้ อมพิวเตอร์
2. การใชอ้ ินเตอรเ์ นต็
3. การใช้งานเพอื่ ความม่ันคงปลอดภัย
4. การใชโ้ ปรแกรมประมวลผลคำ
5. การใช้โปรแกรมตารางงาน
6. การใชโ้ ปรแกรมสร้างสอ่ื ดิจทิ ลั
7. การใช้โปรแกรมนำเสนองาน
8. การทำงานรว่ มกันแบบออนไลน์
9. การใช้ดจิ ทิ ลั เพอ่ื ความมัน่ คงปลอดภยั
New Normal ท่ีเกิดขึน้ ในสงั คมในชว่ งน้ี คงจะหนไี มพ่ ้นประเด็นดงั นี้
การ Work From Home การอยู่ในบ้าน พร้อมทำงาน ทำกิจกรรมต่างๆ ภายในที่อยู่กอาศยั
ของตนเอง ส่งผลตอ่ ความต้องการทพี่ ักอาศยั ทเี่ ปลีย่ นไปจากเดมิ ท่ีอาศัยในพ้ืนทท่ี ีม่ ขี นาดเล็กอาจจะไม่
เพยี งพอ จำเปน็ ตอ้ งการมพี ืน้ ท่ที ่สี ามารถทำอะไรได้หลายหลากมากย่งิ ข้นึ
การดำเนินการทางธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ Online Business ด้วยพฤติกรรมการบริโภคที่
เปลี่ยนแปลง จนส่งผลทำให้ระบบการส่ังซื้อสนิ ค้าและบริการ ระบบการขนสง่ ระยะส้ันและการจัดสง่
แบบรวดเรว็ จะเป็นท่ตี อ้ งการ และความสำคญั มากย่ิงข้ึน ซ่ึงหลังจากน้ี การขอรบั บรกิ ารจากผู้บริโภค
จะเรม่ิ หันมาใหค้ วามสำคัญกับสุขภาพมากยิ่งขึน้ ระบบบรกิ ารต้องสร้างความมนั่ ใจมากขึน้ วา่ สินคา้ หรือ
บริการจะต้องมีมาตรฐาน ปลอดภยั และมคี วามสะอาด คาดว่า เราน่าจะเห็นการเปล่ียนแปลงในเรื่อง
ของการลงทนุ ของภาคเอกชน หา้ งร้านต่างๆ หนั มาจรงิ จังกบั การทำธุรกิจ online กนั มากขนึ้
การเรียน Online Learning/Entertainment การอยู่ในบ้าน สิ่งสำคัญในการพัฒนาและการ
ค้นหาตัวตน สิ่งหนึ่งก็คือ การหาความรู้สิ่งใหม่ๆ เพื่อพัฒนาศักยภาพของตัวเอง ด้วยการเรียนรู้ ซึ่ง
สามารถเลือกเรียนในช่วงเวลาที่สะดวกได้ตามต้องการ สามารถย้อนกลับ เพื่อทบทวนเนื้อหาและทำ
ความเข้าใจใหม่ได้ และประหยัดเวลาและค่าใชจ้ ่ายในการเดินทาง การท่องเท่ียวใหม่รปู แบบออนไลน์
เช่น การชมพิพิธภัณฑ์เสมือน (Virtual Museum) การเที่ยวนิทรรศการออนไลน์ (Vitrul Exhibitor)
และการเขา้ ชมแกลอร่ชี ่ือดงั ต่างๆ (Vitrul Gallery) เป็นตน้
สำนกั งานนวตั กรรมแห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) หรือ NIA โดยสถาบนั การมองอนาคตนวัตกรรม
(Innovation Foresight Institute: IFI) ได้ทำการวิเคราะห์ถึงสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด–
19 และพบวา่ ชีวิตวิถีใหม่ หนึ่งท่ีกำลังทวีบทบาทและกำลงั เปน็ สว่ นสำคัญในการขับเคลื่อนกจิ กรรม
ชีวติ ประจำวนั คอื ระบบดิจทิ ลั (Digital) ที่ได้ชว่ ยสรา้ งทง้ั ปฏิสมั พันธ์ การทำธรุ กรรม การเชื่อมต่อทุก
ภาคส่วนให้เข้าถงึ กนั โดยประกอบด้วย 10 เครื่องมือทนี่ า่ สนใจ และสามารถช่วยมนษุ ยชาติให้อยู่รอด
ภายใต้การระบาดของไวรัสดงั กล่าวได้ ดังนี้
1. Blockchain Technology ซึ่งจะถูกนำมาใช้ในการบริหารจัดการระบบข้อมูล โดยเฉพาะ
ในทางการแพทย์ ตลอดจนการตดิ ตามอุปกรณ์ หรอื สิง่ ของสำหรับป้องกันการแพรร่ ะบาดของไวรสั เชน่
นำ้ ยาฆา่ เชื้อ เจลล้างมอื หนา้ กากอนามัย ฯลฯ ใหก้ ับหนว่ ยบรกิ ารทางการแพทย์และสาธารณชน
2. โซเชียลมีเดยี (Social Media) หรอื โลกสังคมออนไลน์ โดยเฉพาะเฟซบุ๊ก และทวิตเตอร์ ที่
จะมีบทบาทสำคญั ในการเผยแพร่ข่าวสาร การเป็นพื้นทีค่ ้าขาย การโฆษณาประชาสมั พันธ์ ตลอดจน
6
เป็นสังคมแห่งการรวมตัวเพื่อแลกเปลี่ยนความคิด รวมทั้งเป็นพื้นที่ของข้อมูลที่สามารถศึกษา และ
แบ่งปนั ระหวา่ งกันไดท้ ง้ั ในเชงิ อรรถประโยชนแ์ ละความบนั เทงิ
3. เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI Platform) เป็นเทคโนโลยีที่ทั่วโลกกล่าวถึงบ่อยครั้ง
AI เปรียบเสมือนหวั ใจและสมองทีป่ ระกอบอยู่กับนวตั กรรมต่างๆ ทมี่ ีความแม่นยำ รวดเร็ว ทัง้ นี้ ในช่วง
การระบาดและหลังการเกิดโควิด-19 นักวิจัยและนักวิทยาศาสตร์สามารถใช้สิ่งนี้ในการประมวลผล
พร้อมกับค้นหางานวิจัยหรือบทความทางวิทยาศาสตร์ได้ง่ายขึ้น ซึ่งจะนำไปสู่การค้นพบและวิธีการ
รบั มือกับการแพร่ระบาด หรอื การเกิดขึ้นใหมข่ องเชอื้ โรคบางชนดิ
4. แชทบอท (Chatbot) ซึ่งเป็นระบบการตอบคำถามอัตโนมัติที่ใช้สำหรับองค์กร เป็น
เครื่องมือท่ีสามารถช่วยในการให้ข้อมูลสำหรับผู้ทีต่ ้องการสอบถามเกี่ยวกับรายละเอียดสิ่งต่าง ๆ เชน่
การให้บริการขององค์กร ราคาสินค้า พร้อมทั้งยังสามารถนำไปใช้ในทางการแพทย์ ที่ทำได้ทั้งการ
วนิ ิจฉัยโรคเบ้อื งตน้ ให้กบั ผู้ป่วย การใหค้ ำแนะนำเกย่ี วกบั การดแู ลตนเอง
5. หุ่นยนต์ (Robots) เป็นเทคโนโลยีทีถ่ ูกพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากมีบทบาทในแทบ
ทกุ กจิ กรรมของมนุษย์ โดยหลังจากนจ้ี ะถูกนำไปใช้ในทางอุตสาหกรรม การเป็นแรงงานในภาคบริการ
เป็นผู้ชว่ ยด้านการแพทย์ท้ังการตรวจสอบ การช่วยรกั ษา และยงั มีโอกาสทจี่ ะแทนทใ่ี นบางอาชพี อกี ดว้ ย
6. 5G เป็นเจเนอเรชั่นใหม่ของการสื่อสาร ที่จะช่วยเชื่อมต่อผู้คนทั่วโลกให้เข้าถึงกันไวข้ึน
รวมท้ังทำใหก้ ารเว้นระยะหา่ งทางสงั คมมปี ระสทิ ธิภาพ เน่ืองดว้ ยคุณภาพของสญั ญาณจากผู้ให้บริการ
อินเทอร์เน็ตที่มีความรวดเร็วกว่าที่ผ่านมา นอกจากน้ี ยังจะช่วยสร้างประสบการณ์ใหม่ให้กับ
อตุ สาหกรรมบนั เทิง ระบบสุขภาพทางไกล (Telehealth) รวมท้งั ในภาคการศึกษา ท่ขี ณะน้สี งั คมกำลัง
ใหค้ วามสนใจเป็นอยา่ งมาก
7. การประชุมทางไกล (Video Conference) การประชุมออนไลน์เป็นทางเลือกที่สำคัญใน
การดำเนนิ ธุรกจิ เน่อื งด้วยมาตรการล็อกดาวนแ์ ละการเว้นระยะหา่ งทางสงั คม ท่ที ำใหแ้ ตล่ ะองค์กรยัง
ไม่สามารถพบเจอกันได้ ในอนาคต เทคโนโลยีนี้จะยิ่งทวีความสำคัญทั้งการแข่งขันพัฒนาโปรแกรม
รูปแบบใหม่จากสตาร์ทอพั ทำให้แต่ละองคก์ รมีทางเลือกมากข้นึ ชว่ ยประหยัดเวลา และลดความเสี่ยง
ของโรคต่างท่ีเกดิ จากการพบปะใหน้ ้อยลง
8. เทคโนโลยีเสมือนจริง (AR/VR Technology) เป็นนวัตกรรมที่ทำให้หลายธุรกิจสามารถ
สร้างประสบการณ์ให้กับลูกค้าได้เพิ่มมากขึน้ เนื่องจากสามารถทดลอง เห็นสินค้าหรือบริการได้กอ่ น
ตัดสินใจซือ้ นอกจากน้ี ยังช่วยฝึกทกั ษะให้กบั พนักงานในธุรกิจต่างๆ ที่ต้องใชฝ้ มี อื ในการปฏิบัติงาน มี
ความเชยี่ วชาญในการทำงานมากข้นึ อกี ด้วย
9. ระบบการพิมพ์สามมิติ (3D Printing) เทคโนโลยีดังกล่าวสามารถช่วยผลิตอุปกรณ์หรือ
เครื่องมือทางการแพทย์ที่ใช้ในโรงพยาบาลได้ รวมทั้งช่วยในการผลิตชิ้นส่วนทางอุตสาหกรรม การ
ออกแบบอวยั วะเทยี ม และช้ินส่วนอากาศยาน ซ่ึงจะทำใหผ้ ผู้ ลติ สามารถลดตน้ ทนุ การออกแบบได้อย่าง
มีนยั สำคัญ
10. อากาศยานไร้คนขับ (Drones) เป็นอีกหนึ่งเทคโนโลยีที่จะช่วยลดภาระในการขนส่ง
โดยเฉพาะการขนส่งอุปกรณ์การแพทย์ในยามฉุกเฉิน นอกจากนี้ยังมีประโยชน์ในด้านการสำรวจ
ทรัพยากรธรรมชาติ การป้องกันความมั่นคง ตลอดจนการช่วยดูแลไรน่ าของเกษตรกร ลดปัญหาการ
ดูแลไมท่ ั่วถึงได้เป็นอย่างดี
7
สมรรถนะหลักที่ 3 การบรหิ ารและการจดั การในสถานศกึ ษา
สมรรถนะย่อย 3.1 การบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษา
สามารถคิดวิเคราะหภ์ ารกจิ ในสถานศกึ ษา บทบาทหนา้ ท่ี ความรบั ผิดชอบในการจดั การ
บรหิ ารสถานศึกษา รวมทงั้ การนิเทศ การประสานงาน การกำกบั ตดิ ตาม รวมถึงการพฒั นาระบบการ
ประกันคุณภาพอาชวี ศึกษาเพ่ือการบริหารจดั การสถานศกึ ษาสู่ความเป็นเลศิ และสอดคลอ้ งกบั นโยบาย
ภาครฐั ปฏิบัติงานให้ถกู ต้อง จำเป็นตอ้ งศกึ ษาและทำความเข้าใจ พรบ. กฎ ระเบียบ ข้อบงั คับ ท่ี
เกยี่ วข้อง ดังน้ี
➢ ระเบยี บสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษาวา่ ด้วยการบรหิ ารสถานศกึ ษา พ.ศ.
2552
➢ นโยบายรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
➢ นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
➢ มาตรฐานตำแหนง่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา ตามพรบ.ระเบยี บข้าราชการครูและ
บคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2553 ,2562
➢ ขอ้ บังคับครุ ุสภา วา่ ด้วยมาตรฐานวิชาชพี พ.ศ. 2556
➢ ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ด้วยการจดั การศึกษาและการประเมนิ ผลการเรยี นตาม
หลกั สูตรฯ
➢ ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าดว้ ยการจดั การศึกษาและการประเมินผลการเรยี นตาม
หลกั สตู รระยะส้ัน
➢ ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรือ่ งกรอบคณุ วุฒอิ าชวี ศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2562
➢ ประกาศคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา เรือ่ งเกณฑม์ าตรฐานคณุ วุฒิอาชีวศึกษา ปวช.
,ปวส.,ทล.บ.
➢ ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรือ่ ง กรอบมาตรฐานหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น พ.ศ.2551
➢ พรบ.ระเบยี บข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.
2547,2551,2553,2562
➢ ระเบยี บสำนกั นายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนกั งานราชการ พ.ศ.2547,2560
➢ มาตรฐานตำแหนง่ และมาตรฐานวิทยฐานะของข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
สายการสอน
➢ ระเบียบกระทรวงการคลงั วา่ ด้วยลกู จ้างประจำของส่วนราชการ พ.ศ. 2537
➢ หลักเกณฑแ์ ละวธิ ีปฏบิ ตั ิเร่อื งบรหิ ารงานบุคคลลกู จา้ งช่ัวคราว (ว.31/2552
กระทรวงการคลงั )
➢ พรบ.การจัดซ้ือจัดจ้างและการบรหิ ารพสั ดภุ าครฐั พ.ศ.2560
➢ พรบ.วธิ กี ารงบประมาณ พ.ศ.2561
➢ ระเบียบกระทรวงการคลงั ว่าดว้ ยการเบิกเงนิ จากคลงั การรับเงิน การจ่ายเงนิ การเกบ็
รักษาเงนิ และการนำเงนิ สง่ คลัง พ.ศ.2562
➢ พรบ.ความผิดทางละเมดิ ของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2538
➢ ระเบยี บสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาวา่ ดว้ ยการส่งเสรมิ ผลติ ผลในสถานศกึ ษา
พ.ศ.2549
➢ ระเบียบสำนกั นายกรฐั มนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526,2548,2560,2564
➢ พรบ.คมุ้ ครองเด็ก พ.ศ.2546
8
➢ ระเบียบ แนวปฏิบัติ สอศ. ว่าด้วย อวท.2557,2560 และว่าด้วย อกท.
2557,2558,2560
➢ คู่มือการขบั เคลื่อนการดำเนินงานศนู ยบ์ ริหารเครอื ขา่ ยการผลติ และพฒั นากำลงั คน
อาชวี ศกึ ษา(CVM)
➢ คู่มอื การขบั เคลื่อนการดำเนนิ งานศูนย์พัฒนาอาชีพและการเปน็ ผู้ประกอบการ
กระทรวงศกึ ษาธิการ ระดับจงั หวัด (MOE CEC)
➢ แนวทางการพฒั นาสถานศึกษาส่คู วามเป็นเลศิ (Excellent enter)
สมรรถนะย่อย 3.2 การบรหิ ารจดั การสถานศึกษา
รองผู้อำนวยการจำเป็นต้องศกึ ษาแนวทาง แผนงานต่างๆ เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือกบั
หน่วยงานทงั้ ในและตา่ งประเทศ เพื่อนำไปสกู่ ารยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ดังนี้
- พระบรมราโชบายด้านการศกึ ษาในพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวฯ รฐั การที่ 10
- แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ.2560-2564)
- แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ (พ.ศ.2560-2579)
- แผนพัฒนาการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564)
- แผนพัฒนาพ้ืนที่ (จงั หวัด กลมุ่ จงั หวัด เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ)
- แผนพฒั นาการอาชวี ศึกษา พ.ศ.2560-2579
สมรรถนะย่อย 3.3 การจัดระบบงานและการส่ือสารองค์กร
รองผู้อำนวยการสถานศึกษา สามารถจัดระบบงาน การมอบหมายงาน การสอนงาน
(Coaching) และการสือ่ สารองคก์ ร โดยการพัฒนาและใช้ประโยชน์สงู สุดจากศกั ยภาพของบุคลากรใน
องค์กรปฏิบัติงาน ให้บรรลุเป้าหมาย สามารถสื่อสารกับบุคลากรภายในภายนอกทุกระดับได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ จำเปน็ ตอ้ งเรยี นรู้ทฤษฎี หลักการ จากเอกสาร บทความทางวิชาการ งานวจิ ยั ทเี่ ก่ยี วข้อง
มาเป็นแนวทางการทำงานในองค์กรในด้านต่างๆ ดงั นี้
- การจดั ระบบงาน คือ การออกแบบระบบงานใหม่ ซึง่ ยงั ไมม่ ีมากอ่ น
- การสอนงาน (Coaching) คือ กระบวนการทกี่ ระตุ้นใหเ้ กดิ การเปลี่ยนทัศนคติและพฤตกิ รรม
- การสื่อสาร คือ การแลกเปลยี่ นข่าวสารระหว่างผสู้ ่งสารและผรู้ ับสารโดยใชสื่อหรือช่องทาง
- การจงู ใจ คือ การนำเอาปจั จัยตา่ งๆมาเปน็ แรงผลกั ดันใหบ้ ุคคลแสดงพฤติกรรม
สมรรถนะยอ่ ย 3.4 การสรา้ งทีมงานที่มปี ระสิทธิภาพ
การทำงานเปน็ ทมี (Team work) คือกลุม่ บคุ คลทมี่ กี ารประสานงานกนั ร่วมมอื กนั มีความ
สามัคคี มีเปา้ หมายรว่ มกนั และเชื่อใจกัน โดยมกี ลยทุ ธ์ในการสรา้ งการทำงานเป็นทมี 3 ร่วม ดังนี้
1. รว่ มใจ (Heart) หมายถงึ ความรสู้ กึ ของสมาชกิ ทร่ี กั และศรทั ธาในหวั หนา้ ทมี งานทที่ ำและ
เพื่อนๆ ร่วมทมี วา่ เป็นพวกเดยี วกนั หรอื ทเี่ รยี กว่า Feel like a team
2. ร่วมคดิ (Head) หมายถงึ การใชค้ วามคดิ เหตผุ ลให้เพอ่ื นร่วมงานเช่อื มัน่ วา่ ทำแล้วดี
มีประโยชน์ตอ่ ตวั เขาเอง ต่อองคก์ ร โดยชว่ ยกันระดมสมอง กำหนดเปา้ หมาย วางแผน แบง่ งาน แบ่ง
หนา้ ที่ หรอื ทเ่ี รยี กวา่ Think like a team
3. ร่วมทำ (Hand) หมายถงึ การร่วมมอื ลงมอื ทำงานซงึ่ ได้มกี ารวางแผนไว้ หน้าท่ใี ครกร็ บั ไป
ทำ มีพันธะ สญั ญาทจี่ ะต้องท าตามแผนทกุ คน เน่ืองจากไดค้ ิดรว่ มกนั หรอื ทเ่ี รียกว่า Work like a
team ปัจจัยสู่ความสำเรจ็ ในการทำงานเปน็ ทมี
1. บรรยากาศของการทำงานมีความเป็นกนั เอง
2. ความไว้วางใจกัน (Trust)
9
3. มกี ารมอบหมายงานอย่างชัดเจน
4. บทบาท (Role)
5. วิธีการทำงาน (Work Procedure)
5.1 การสื่อความ (Communication)
5.2 การตดั สินใจ (Decision Making)
5.3 ภาวะผูน้ ำ (Leadership)
5.4 การกำหนดกติกาหรอื กฎเกณฑ์ตา่ ง ๆ
6. การมสี ่วนรว่ มในการประเมนิ ผลการทำงานของทีม
7. การพัฒนาทีมงานให้เขม้ แขง็
7.1 พฒั นาศกั ยภาพทมี งาน
7.2 การให้รางวลั
สมรรถนะย่อย 3.5 การบรหิ ารจัดการองคก์ รสมัยใหม่
ธรรมาภบิ าลการบรหิ ารจัดการองคก์ รสมยั ใหม่ เศรษฐกิจพอเพยี งศาสตร์พระราชา การบรหิ าร
สถานศึกษาหากนำหลักธรรมาภิบาลไปปรับใช้ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา จะทำให้การ
บรหิ ารงานนั้นสำเรจ็ ลลุ ่วงไปด้วยดี เพราะหลักธรรมาภบิ าลประกอบไปดว้ ย
1. หลักนติ ธิ รรมผู้บรหิ ารจะต้องยดึ หลกั ความถกู ตอ้ ง ตามกฎหมาย ระเบยี บ ข้อบงั คับ วินัย
และจรรยาบรรณ
2. หลกั คุณธรรมผู้บริหารจะตอ้ งยดึ หลักความ เหมาะสม คอื รจู้ กั คดิ พูด ทำ กิจการงาน
และปฏิบตั งิ านได้เหมาะสม ถูกกาลเทศะ
3. หลักความโปรง่ ใสผบู้ รหิ าร จะต้องยึดหลกั ความบรสิ ุทธิ์ คอื มีการวนิ ิจฉัย ส่ังการ กระทำ
กจิ การงาน ด้วยความบรสิ ทุ ธ์ิใจ โปร่งใส
4. หลักการ มสี ว่ นร่วมผบู้ รหิ ารจะตอ้ งใหผ้ ูท้ ี่มสี ่วนไดส้ ่วนเสยี กับการจดั การศกึ ษา
มีสว่ นร่วมดำเนนิ การจดั การศกึ ษา
5. หลกั ความรับผดิ ชอบผบู้ รหิ ารจะต้องใหผ้ ทู้ มี่ ีสว่ นร่วมในการดำเนนิ การจดั การศกึ ษาได้
ตระหนกั ถงึ ความรับผดิ ชอบ รว่ มกนั ในผลของการจดั การศึกษาและ
6. หลักความคุ้มคา่ ผบู้ รหิ ารจะตอ้ งใชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในการดำเนนิ การ
กับทรัพยากรทางการศกึ ษาอย่างคมุ้ คา่ และเกิดประโยชนส์ งู สุด