The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by khatchama.13, 2022-03-03 03:45:20

1ปกรายงาน_merged

1ปกรายงาน_merged

รายงานตัวชว้ี ัดระดับความสาํ เร็จของการเฝา ระวงั ปอ งกนั และ
ควบคมุ โรคตดิ ตอ นําโดยยงุ ลาย ปงบประมาณ 2565

จัดทาํ โดยศนู ยควบคมุ โรคติดตอนําโดยแมลงท่ี 9.1-9.4
สาํ นักงานปองกนั ควบคมุ โรคที่9 นครราชสีมา

สรปุ รายละเอยี ดการดําเนนิ งาน ตวั ชี้วดั ระดบั ความสําเร็จของการดาํ เนินงานตามแผนงานเฝา ระวัง
ปอ งกนั ควบคุมโรคติดตอนาํ โดยยุงลาย ปงบประมาณ 2565

ขนั้ ตอนที่ 1 สคร./ศตม.ถา ยทอดเปา หมายการดําเนินงานโรคตดิ ตอนาํ โดยยงุ ลายใหจ งั หวดั รบั ทราบ

ผลการดําเนินงาน : ศตม. 9.1-9.4 ไดดําเนินการจัดทําแนวทางการดําเนินงาน และถายทอดเปาหมายการ
ดาํ เนินงาน รวมถึงมาตรการตางๆ ใหก ับจังหวดั รบั ทราบ โดยการจัดทาํ หนังสือ ถึงจังหวดั ดงั ขอ มูลในตางราง

ตารางที่ 1 รายงานการจดั ทาํ หนงั สอื แนวทางการดําเนนิ งาน และถา ยทอดเปา หมายลงสจู งั หวดั

ลําดบั จังหวัด หนงั สอื เลขท่ี ลงวนั ท่ี

1 ชยั ภมู ิ สธ 0426.9(1)/540 9 พ.ย.64
2 บรุ ีรัมย สธ 0426.9(2)/1273 11 พ.ย.64
3 สรุ ินทร สธ 0426.9(3)/ว45 14 พ.ย.64
4 นครราชสีมา สธ 0426.9(4)/193 8 พ.ย.64
ดําเนินการครบทุกจงั หวัดคดิ เปนรอยละ 100

สรุปรายละเอียดการดําเนินงาน ตัวชว้ี ดั ระดบั ความสําเร็จของการดําเนนิ งานตามแผนงานเฝา ระวัง

ปองกนั ควบคุมโรคตดิ ตอนาํ โดยยุงลาย ปง บประมาณ 2565

ขัน้ ตอนท่ี 2 ผลักดันใหเกิดการวิเคราะหแ ละประเมนิ สถานการณโ รคไขเลือดออก และโรคปวดขอยงุ ลาย กอ น

ฤดกู าลระบาด

ผลการดาํ เนนิ งาน : ศตม.9.1-9.4 ไดดําเนินการพยากรณโ รคและประเมนิ พื้นทเ่ี สย่ี ง ปง บประมาณ 2565 สง

จังหวดั และรวมกันกับจงั หวดั เพื่อทํารายงานวิเคราะหและประเมินสถานการณ กอ นฤดูกาลระบาด ของโรค

ไขเ ลอื ดออก และโรคไขป วดขอยุงลาย ระดับจงั หวัด

ตารางที่ 2.1 รายงานการดาํ เนินการสง รายงานการพยากรณโ รคและประเมนิ พ้นื ทเ่ี สีย่ งจงั หวัด

ลําดับ จงั หวดั หนงั สือเลขท่ี ลงวันท่ี

1 ชัยภูมิ สธ 0426.9(1)/540 9 พ.ย.64

2 บรุ รี มั ย สธ 0426.9(2)/1273 11 พ.ย.64

3 สุรนิ ทร สธ 0426.9(3)/ว45 14 พ.ย.64

4 นครราชสีมา สธ 0426.9(4)/193 8 พ.ย.64

ดําเนนิ การครบทกุ จงั หวดั คดิ เปน รอ ยละ 100

หมายเหตุ หนงั สือสง แนวทางการดาํ เนินงาน จะมขี อ มลู การประเมนิ พนื้ ทีเ่ ส่ยี งจงั หวดั ในเอกสารฉบับเดียวกนั

ตารางท่ี 2.2 รายงานการรวมกับจงั หวัดเพ่ือทาํ รายงานวิเคราะหแ ละประเมนิ สถานการณ กอ นฤดกู าลระบาด

ของโรคไขเลือดออก และโรคไขป วดขอ ยงุ ลาย ระดับจังหวัด

ลาํ ดบั จงั หวัด วธิ ีการ

1 ชัยภูมิ ผลักดันใหจ ังหวัดจดั ทาํ

2 บุรีรมั ย รว มวเิ คราะหกับจงั หวดั

3 สุรินทร รวมวิเคราะหก ับจังหวัด

4 นครราชสีมา รว มวิเคราะหกับจังหวัด

ดาํ เนินการครบทกุ จงั หวดั คิดเปนรอ ยละ 100

สรุปรายละเอียดการดําเนินงาน ตวั ชี้วัด ระดบั ความสําเรจ็ ของการดําเนนิ งานตามแผนงานเฝา ระวงั
ปองกนั ควบคมุ โรคตดิ ตอนาํ โดยยงุ ลาย ปงบประมาณ 2565

ขั้นตอนท่ี 3 สคร./ศตม.วเิ คราะหป ระเมนิ สถานการณโ รคไขเ ลือดออกและโรคไขป วดขอ ยงุ ลาย พรอ มทั้งชี้

เปา พนื้ ท่เี สย่ี งโรคไขเ ลือดออกใหก ับจงั หวดั ทกุ สปั ดาห

ผลการดาํ เนินงาน : ศตม.9.1 - 9.4 รายงานสถานการณไ ขเ ลอื ดออก และโรคไขป วดขอยงุ ลาย ประจาํ สัปดาห

จากรายงาน 506 ผา นชองทางไลน และสง เอกสารชเี้ ปา พนื้ ท่เี สยี่ งโรคไขเลอื ดออกจากโปรแกรมทันระบาด

ประจําสปั ดาห สง ชอ งทางอเี มลลก ลมุ งานควบคมุ โรคของสํานกั งานสาธารณสุขจังหวัด

ตารางท่ี 3.1 รายงานการจดั ทําสถานการณโ รคไขเ ลอื ดออก และโรคไขปวดขอ ยุงลายของศตม.9.1-9.4

ลําดับ จงั หวดั รายงานสถานการณ สัปดาหระบาดท่ี
ไขเลือดออกและไขป วด

ขอยุงลาย

1 ชัยภมู ิ √ 40/64 - 6/65

2 บรุ รี ัมย √ 40/64 - 6/65

3 สรุ ินทร √ 40/64 - 6/65

4 นครราชสีมา √ 40/64 - 6/65

ดาํ เนนิ การครบทุกจังหวัด คิดเปนรอยละ 100

ตารางท่ี 3.2 รายงานการสง เอกสารช้ีเปา พื้นทเ่ี สี่ยงโรคไขเลือดออกจากโปรแกรมทันระบาด ประจาํ สปั ดาห

จากรายงาน 506 ผา นชองทางอเี มลลกลุมงานควบคมุ โรคของสาํ นกั งานสาธารณสุขจังหวัด

ลาํ ดับ จงั หวดั รายงานการชเี้ ปา พื้นทเ่ี ส่ียงโรคไขเลือดออก

ทุกสปั ดาห

1 ชยั ภูมิ √

2 บุรรี ัมย √

3 สรุ นิ ทร √

4 นครราชสีมา √

ดําเนินการครบทุกจังหวดั คิดเปนรอ ยละ 100

สรปุ รายละเอยี ดการดําเนินงาน ตัวชว้ี ัด ระดับความสําเร็จของการดาํ เนินงานตามแผนงานเฝา ระวงั
ปอ งกนั ควบคุมโรคติดตอนาํ โดยยุงลาย ปงบประมาณ 2565

ข้ันตอนที่ 4 อําเภอเสี่ยงมีการประเมินคาดัชนีลุกนํ้ายุงลายในชุมชน ทําลายแหลงเพาะพันธุยุงลาย และ
รายงานขอมูลในโปรแกรมทันระบาด
คะแนน 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0
รอ ยละ <10 20 30 40 50

ผลการดาํ เนนิ งาน : ศตม.9.1-9.4 สมุ ประเมินคาดชั นีลูกนํา้ ยุงลายในชุมชน และทาํ ลายแหลงเพาะพันธุยุงลาย

และรายงานในโปรแกรมทนั ระบาด จํานวน 18 อําเภอ จาก 32 อําเภอ คดิ เปนรอยละ 56.25 ดังขอ มูลในตาง

ราง
ตารางท่ี 4.1 แสดงผลการดําเนินการสุมประเมินในอาํ เภอเสี่ยง

ลาํ ดับ/ จังหวดั จํานวนอําเภอเสี่ยงทั้งหมด จํานวนอาํ เภอทดี่ ําเนินการ

พืน้ ท่ี (อาํ เภอ) (อําเภอ)

1 ชยั ภมู ิ 33

2 บรุ รี มั ย 55

3 สุรินทร 10 5

4 นครราชสมี า 14 5

รวม 32 18

ดําเนนิ การได 18 อําเภอ จากอาํ เภอเสยี่ งท้ังหมด 32 อําเภอ คดิ เปน รอ ยละ 56.25

สรุปรายละเอียดการดาํ เนนิ งาน ตวั ชว้ี ัด ระดับความสําเรจ็ ของการดําเนินงานตามแผนงานเฝา ระวงั ปอ งกนั
ควบคุมโรคตดิ ตอ นําโดยยงุ ลาย ปงบประมาณ 2565

ขั้นตอนท่ี 5 สคร./ศตม.ผลกั ดนั ใหโรงพยาบาลในอาํ เภอเสยี่ งใช Dengue chart ในการดแู ลรักษาผูปว ยโรค
ไขเลือดออก

คะแนน 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0

รอ ยละ <5 10 15 20 25

ผลการดําเนนิ งาน : ศตม.9.1 – 9.4 ไดจัดทาํ หนังสือขอความรว มมือดาํ เนนิ การปอ งกันควบคมุ โรคไขเลือดออก
และผลักดนั ใหโ รงพยาบาลในอาํ เภอเสี่ยงใช Dengue chart ในการดูแลรักษาผูปวยไขเลอื ดออก

ตารางท่ี 5 แสดงขอมลู การดาํ เนินการผลกั ดนั ใหโรงพยาบาลในอาํ เภอเส่ียง ใช Dengue chart

ลําดบั ที่ จงั หวัด จาํ นวนอําเภอเสี่ยง จาํ นวนอาํ เภอที่ใช

Dengue chart

1 ชัยภมู ิ 33

2 บุรีรมั ย 54

3 สุรินทร 10 4

4 นครราชสมี า 14 14

รวม 32 25

ใช Dengue chart จาํ นวน 25 อาํ เภอ จากอาํ เภอเส่ียงท้ังหมด 32 อําเภอ คิดเปนรอยละ 78.12

รายงานผลการดําเนนิ งาน
ระดบั ความสําเรจ็ ของการดําเนนิ งานเพ่อื เฝา ระวัง ปองกัน ควบคุมโรคติดตอนาํ โดยยุงลาย

รอบ 1 เดอื นแรก ปง บประมาณ 2565
1. ความเปนมา

กรมควบคุมโรคโดยกองโรคติดตอ นําโดยแมลง กรมควบคุมโรค ไดกําหนดมาตรการการเฝา ระวังปองกัน
ควบคุมโรคอยางมีประสทิ ธภิ าพในปพ .ศ.2565 ทั้งส้ิน 3 มาตรการ ดงั น้ี มาตรการท่ี 1 ยกระดบั ความเขม แขง็ ของ
ระบบเฝาระวังโรค และการจดั การภาวะฉกุ เฉนิ ของโรคติดตอนําโดยยงุ ลาย มาตรการท่ี 2 ขบั เคลอ่ื นภาคี
เครอื ขายและประชาชนใหมคี วามเปน เจาของรว มรับผิดชอบ ในการจัดการส่ิงแวดลอ มเพอ่ื ควบคมุ พาหะนําโรค
มาตรการที่ 3 เพมิ่ ความเขมแขง็ ของระบบการวินิจฉัยโรค การดแู ลรักษาพยาบาล สง ตอ ผูปว ย และติดตาม
ผลการรักษา ในทุกระดบั ใหไดตามแนวทางการรักษา เพือ่ เปน ประโยชนใ นการดาํ เนินงานฝา ระวังปอ งกนั ควบคมุ
โรคตดิ ตอ นาํ โดยยงุ ลาย ตามเปา หมายการลดโรคในระดบั ประเทศ คอื 1) อตั ราปวยตายดว ยโรคไขเ ลือดออกใน
กลมุ อายุ 15 ปข้นึ ไป ไมเ กนิ รอยละ 0.10 2) รอ ยละ 80 ของอําเภอเส่ียงสงู ตอโรคไขเ ลอื ดออก มีคา ดชั นลี ูกน้ํา
ยุงลายไดต ามเกณฑทก่ี าํ หนดทุกเกณฑ (โรงเรือน HI < 5 และโรงเรยี น CI = 0 และ โรงพยาบาล CI = 0 และ โรง
ธรรม หรือ โรงแรม หรือ โรงงาน หรอื สถานท่รี าชการ CI < 5)

จงึ ไดถา ยทอดระดบั ความสําเร็จของการดําเนินงานเพอ่ื เฝา ระวงั ปอ งกัน ควบคมุ โรคติดตอนําโดยยุงลาย
งานปองกันควบคุมโรคที่ 9 นครราชสมี า และมอบหมายใหศนู ยค วบคุมโรคตดิ ตอ นาํ โดยแมลง 9.1- 9.4 เปน
ผดู ําเนนิ การดงั นี้

2. วตั ถปุ ระสงค
2.1 เพือ่ ใหป ระชาชนไดร บั การเฝา ระวังปอ งกนั ควบคุมโรคและภัยสขุ ภาพจากโรคตดิ ตอ นําโดยแมลง

3. วธิ ีการดาํ เนนิ งาน
รอบ 6 เดือนแรก (ตุลาคม 2564 – กมุ ภาพนั ธ 2565) ดาํ เนนิ การ 5 ขัน้ ตอน รายละเอียดตงั นี้

3.1 ขนั้ ตอนที่ 1 .สคร. /ศตม.ถา ยทอดเปา หมายการดําเนนิ งานโรคติดตอ นําโดยยุงลายใหจังหวดั รบั ทราบ
3.2 ขน้ั ตอนท่ี 2 ผลกั ดนั ใหเ กดิ การวิเคราะหแ ละประเมินสถานการณโ รคไขเ ลอื ดออกและโรคไขป วดขอ

ยุงลาย กอ นฤดูกาลระบาด
3.3 ข้ันตอนท่ี 3 สคร./ศตม. วิเคราะหประเมินสถานการณไ ขเลอื ดออกและโรคไขปวดขอยุงลาย พรอมท้ังชี้

เปาพืน้ ทีเ่ ส่ียงโรคไขเลือดออก ทกุ สปั ดาห
3.4 ขั้นตอนที่ 4 อาํ เภอเสย่ี งมกี ารประเมินคา ดัชนีลกู นํ้ายุงลายในชุมชน และทําลายแหลง เพาะพันธยุ ุงลาย

และรายงานขอ มลู ในโปรแกรมทนั ระบาด

3.5 ขน้ั ตอนที่ 5 สคร./ศตม.ผลกั ดันใหโรงพยาบาลในอาํ เภอเส่ยี งใช Dengue chart ในการดแู ลรกั ษา ผปู ว ย
ไขเลือดออก

4. ผลการดําเนินงาน/ผลลัพธ

ผลการดาํ เนนิ งานต้ังแตเ ดือน ตลุ าคม 2564 – กมุ ภาพนั ธ 2565 เปา หมาย รอบ 6 เดอื นแรกศูนยค วบคมุ
โรคติดตอ นําโดยแมลงที่ 9.1-9.4 ไดดําเนนิ การตามขน้ั ตอน จาํ นวน 5 ข้ันตอน ตามรายละเอียดดังนี้

ตารางท่ี 1 รายงานผลการดาํ เนินงาน ระดบั ความสําเร็จของการดาํ เนนิ งานเพอื่ เฝาระวงั ปองกนั ควบคมุ
โรคติดตอ นําโดยยงุ ลาย ปงบประมาณ 2565

ขั้นตอน ผลการดาํ เนินงาน

1.สคร. /ศตม.ถา ยทอดเปาหมายการดาํ เนนิ งาน 1.1 ศตม.9.1-9.4 จัดทําแนวทาง และถายทอดเปา การ

โรคตดิ ตอนําโดยยงุ ลายใหจงั หวัดรบั ทราบ ดาํ เนนิ งานโรคตดิ ตอ นาํ โดยยุงลาย และถา ยทอดใหจังหวัด

รบั ทราบ

ครบท้งั 4 จังหวดั คดิ เปน รอยละ 100

2.ผลกั ดนั ใหเ กดิ การวิเคราะหแ ละประเมิน 2.1 ศตม. 9.1 - 9.4 ไดสงรายงานการพยากรณพ้ืนท่เี สย่ี ง ป

สถานการณโ รคไขเ ลือดออกและโรคไขป วดขอ 2565 สงจังหวัด ครบที่ 4 จังหวดั

ยุงลาย กอนฤดกู าลระบาด 2.2 ศตม.9.1 - 9.4 ไดรว มกนั วิเคราะหขอมูล และประเมิน

สถานการณกอ นฤดูกาลระบาดครบท้งั 4 จงั หวัด

3.สคร./ศตม. วิเคราะหประเมนิ สถานการณ 3.1 ศตม.9.1 - 9.4 รายงานสถานการณไขเ ลอื ดออก และโรค

ไขเ ลอื ดออกและโรคไขปวดขอยงุ ลาย พรอ มทงั้ ไขป วดขอยงุ ลาย ประจาํ สัปดาห จากรายงาน 506 ครบทง้ั 4

ชเ้ี ปาพนื้ ทีเ่ ส่ยี งโรคไขเ ลือดออก ทุกสัปดาห ศตม.

3.2 ศตม.9.1- 9.4 เอกสารชี้เปาพนื้ ทเี่ สยี่ งโรคไขเลอื ดออกจาก

โปรแกรมทันระบาด ประจาํ สปั ดาห สง จังหวัด ครอบทั้ง 4

จงั หวัด

4.อาํ เภอเส่ียงมีการประเมินคาดัชนลี ูกนา้ํ ศตม.9.1-9.4 สุมประเมนิ คา ดชั นลี ูกนาํ้ ยุงลายในชมุ ชน และ

ยงุ ลายในชมุ ชน และทาํ ลายแหลงเพาะพนั ธุ ทําลายแหลงเพาะพนั ธุยุงลาย และรายงานในโปรแกรมทัน

ยุงลาย และรายงานขอมูลในโปรแกรมทัน ระบาด จาํ นวน 18 อําเภอ จาก 32 อําเภอ คดิ เปนรอยละ

ระบาด 56.25

คะแนน 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0

รอ ยละ <10 20 30 40 50

5.สคร./ศตม.ผลกั ดนั ใหโรงพยาบาลในอําเภอ ศตม.9.1 – 9.4 ไดจัดทาํ หนงั สอื ขอความรวมมือดาํ เนินการ
เสี่ยงใช Dengue chart ในการดแู ลรกั ษา
ผปู ว ยไขเลอื ดออก ปองกนั ควบคมุ โรคไขเลือดออก และผลักดนั ใหโรงพยาบาลใน
อําเภอเสี่ยงใช Dengue chart ในการดแู ลรกั ษาผูปว ย
คะแน 0. 0. 0. 0. 1.0
น 2468 ไขเ ลือดออกโดย ใชDengue chart จํานวน 25 อําเภอ คิดเปน
รอย <5 10 15 20 2 รอยละ 78.12
ละ 5

4. ปจจยั ความสําเรจ็ :
1. ผูบรหิ ารใหค วามสาํ คญั กับปญหาไขเ ลือดออก
2. คณะทํางาน ศตม.ทงั้ 4 แหง ใหความรว มมอื ในการดาํ เนนิ งานและการรายงานความกา วหนา
3. มกี ารส่ือสารแนวทางการดาํ เนนิ งานชัดเจน มแี บบฟอรมในการรายงาน และมกี ารแจงเตือนการ

ดาํ เนนิ การเปน ระยะในรอบการดาํ เนินงาน ทาํ ใหการดาํ เนนิ งานมีความราบรนื่

5. ปญหาและอุปสรรค:

ดวยสถานการณก ารแพรระบาดของโรค COVID-19 ทาํ ใหเ จาหนา ท่ใี นพ้ืนที่รับผดิ ชอบงานมากขนึ้ ทําให
การประสานการดาํ เนินงานลา ชากวาท่กี ําหนด และในบางกิจกรรมไมส ามารถลงดาํ เนนิ การไดเ นื่องจากเปน พน้ื ท่ี
การระบาดของโรค COVID-19

นางสาวรชั นีกร คชั มา /ผสู รปุ
นายเดชาธร วงศหริ ญั /ผูตรวจทาน

24 กุมภาพันธ 2565

บทสรปุ ผบู รหิ าร (Executive summary)
ระดบั ความสําเร็จของการดาํ เนินงานเพือ่ เฝา ระวงั ปองกัน ควบคุมโรคติดตอนําโดยยุงลาย

รอบ 6 เดือนแรก ปง บประมาณ 2565

1.ความเปน มา
กรมควบคุมโรคโดยกองโรคติดตอนําโดยแมลง ไดก ําหนดมาตรการเฝา ระวังปองกันควบคุมโรคอยางมี

ประสิทธิภาพ ในป2565 ท้ังส้ิน 3 มาตรการ ดังนี้ มาตรการท่ี1 ยกระดับความเขมแขง็ ของระบบเฝาระวังโรค
และการจัดการภาวะฉกุ เฉินของโรคตดิ ตอ นําโดยยุงลาย มาตรการท่ี2 ขบั เคลือ่ นภาคเี ครอื ขายและประชาชนใหมี
ความเปนเจาของรวมรับผิดชอบ ในการจัดการส่ิงแวดลอมเพ่ือควบคุมพาหะนําโรค มาตรการท่ี3 เพิ่มความ
เขมแข็งของระบบการวินิจฉัยโรค การดแู ลรกั ษาพยาบาล สงตอ ผปู วย และติดตามผลการรักษา ในทกุ ระดบั ใหได
ตามแนวทางการรักษา เพือ่ เปนประโยชนในการดําเนินงานเฝาระวังปองกัน ควบคมุ โรคติดตอ นาํ โดยยุงลายตาม
เปา หมายการลดโรคในระดับประเทศ

ศูนยควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลงท่ี 9.1-9.4 ไดรับการถายทอดตัวชี้วัดระดับความสําเร็จของการ
ดําเนินงานเพื่อเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมโรคติดตอนําโดยยุงลาย ซ่ึงเปนขอตกลงการปฏิบัติราชการระหวาง
สาํ นักงานปอ งกันควบคุมโรคที่ 9 นครราชสีมา และศตม.ทัง้ 4 แหง โดยไดมกี ารดําเนินงาน 5 ขั้นตอนในรอบ 6
เดือนแรก รายละเอียดดังนี้
2. วตั ถุประสงค

2.1เพอื่ เฝา ระวัง ปองกัน ควบคุมโรคตดิ ตอนาํ โดยยงุ ลาย ในพื้นทเ่ี ขตสุขภาพที่ 9
3.วธิ กี ารดําเนนิ งานและผลการดําเนนิ งาน

3.1 ข้ันตอนที่ 1 ศตม.9.1-9.4 ไดจัดทําแนวทาง และถายทอดเปาหมายดําเนินงานโรคติดตอนําโดย
ยุงลาย และถา ยทอดใหจงั หวดั รบั ทราบ ครบท้งั 4 จงั หวดั คิดเปน รอยละ 100

3.2 ข้ันตอนที่ 2 ศตม.9.1-9.4 ไดสง รายงานการพยากรณพ ื้นท่ีเสี่ยง ป 2565 สงจังหวัด และไดรวมกัน
วเิ คราะหขอมูล ประเมนิ สถานการณก อนฤดกู าลนระบาด ครบทั้ง 4 จังหวดั คดิ เปน รอ ยละ 100

3.3 ขั้นตอนท่ี 3 ศตม.9.1-9.4 รายงานสถานการณไขเลือดออก และโรคไขปวดขอยุงลาย ประจํา
สัปดาห จากรายงาน 506 พรอมทั้งชเ้ี ปาพื้นท่ีเสี่ยงโรคไขเลือดออกจากโปรแกรมทันระบาด ประจําสัปดาห สง
จงั หวัด ครบทัง้ 4 จังหวดั คิดเปนรอยละ 100

3.4 ขั้นตอนที่ 4 ศตม.9.1-9.4 สุมประเมินคาดัชนีลูกน้ํายุงลายในชุมชน และทําลายแหลงเพาะพันธุ
ยุงลาย รายงานในโปรแกรมทนั ระบาด จํานวน 18 อาํ เภอ จาก 31 อําเภอเส่ยี ง คิดเปน รอยละ 56.25

3.5 ข้ันตอนที่ 5 ศตม.9.1-9.4 ไดขอความรวมมือดําเนินการปองกันควบคุมโรคไขเลือดออก และ
ผลักดันใหโรงพยาบาลในอําเภอเสี่ยงใช Dengue chart ในการดูแลรักษาผูปวยไขเลือดออก โดยไดมีการใช
Dengue chart จํานวน 25 อําเภอคดิ เปน รอ ยละ 78.12
4. ปจจยั ความสําเรจ็

4.1 ผูบรหิ ารใหความสําคัญกับการแกไ ขปญ หาโรคตดิ ตอ นําโดยยงุ ลาย
4.2 คณะทํางาน ศตม.ท้ัง 4 แหง ใหความรวมมือในการดําเนินงานและการรายงานความกาวหนาผล
การดําเนนิ งาน
4.3 มีการส่ือสารแนวทางการดาํ เนินงานอยางชัดเจน มีแบบฟอรมในการรายงาน และมีการแจงเตือน
การดาํ เนินการเปนระยะในรอบการดาํ เนินงาน ทําใหก ารดําเนนิ งานมีความราบรนื่
5. ปญหาและอุปสรรค
ดวยสถานการณก ารแพรระบาดของโรค COVID-19 ทําใหเ จาหนาทใี่ นพืน้ ท่รี บั ผิดชอบงานมากข้นึ ทาํ ให
การประสานงานการดาํ เนินงานลา ชากวา ที่กาํ หนด และ ในบางกจิ กรรมไมส ามารถลงดาํ เนนิ กิจกรรมไดเ นื่องจาก
เปนพืน้ ท่เี ส่ียงการระบาดของ COVID -19

นางสาวรชั นีกร คชั มา ผูสรุปรายงาน
นายเดชาธร วงศหริ ญั ผูตรวจสอบ

วนั ที่ 25 กมุ ภาพนั ธ 2565

รายงานผลการนําไปประยกุ ตใช

ตัวชี้วัดระดบั ความสําเร็จของการดําเนินงานเพื่อเฝา ระวังปองกัน และควบคุมโรคติดตอนาํ โดยยุงลาย
รอบ 6 เดือนแรก ปงบประมาณ 2565

1.ความเปน มา
กรมควบคุมโรคโดยกองโรคติดตอนําโดยแมลง กรมควบคมุ โรค ไดกําหนดมาตรการ และถายทอดแนว

ทางการดําเนินงานการเฝาระวังปองกัน ควบคุมโรค โดยกําหนดเปาหมายการลดโรคในระดับประเทศ คือ1)
อัตราปวยตายดว ยโรคไขเลือดออกในกลุมอายุ 15 ปขึ้นไป ไมเ กินรอยละ 0.10 2) รอยละ 80 ของอําเภอเสี่ยงสูง
ตอโรคไขเลือดออก มคี าดชั นลี ูกนํ้ายุงลายไดต ามเกณฑท่ีกําหนดทกุ เกณฑ (โรงเรือน HI < 5 และโรงเรียน CI =
0 และ โรงพยาบาล CI = 0 และ โรงธรรม หรือ โรงแรม หรือ โรงงาน หรือ สถานท่ีราชการ CI < 5) และ
มอบหมายใหศนู ยควบคมุ โรคติดตอนาํ โดยแมลง 9.1- 9.4 เปน ผดู ําเนนิ การดงั นี้
2. วตั ถุประสงค

2.1 เพ่ือใหประชาชนไดร บั การเฝา ระวังปองกนั ควบคมุ โรคและภัยสุขภาพจากโรคติดตอ นาํ โดยแมลง

3.วธิ ีการดําเนนิ งานและผลการดําเนินงาน

ดาํ เนินการแบบระดบั ข้ันของความสาํ เรจ็ รอบ 6 เดอื น แรก ดําเนนิ งาน 5 ขน้ั ตอน
4. รายงานผลการนําไปประยุกตใ ช

การนําตวั ชว้ี ัดระดบั ความสาํ เร็จของการดาํ เนินงานเพ่ือเฝาระวงั ปอ งกนั และควบคุมโรคติดตอ นําโดย
ยุงลาย มาประยกุ ตใชใ นงาน ดังน้ีคอื

1. การนาํ วิธีการดาํ เนนิ งานในแตละขั้นตอนของตัวชว้ี ัด เชน ขัน้ ตอนการจดั ทาํ สถานการณโรคติดตอนาํ
โดยยงุ ลาย จากโปรแกรม 506 ไปใชก ับการจดั ทาํ สถานการณโ รคมาลาเรยี หรือโรคอ่นื ๆ ในพน้ื ที่รบั ผิดชอบได

2. การนําวิธีการในแตละขั้นตอนของตัวชี้วัด เชนการใชโปรแกรมทันระบาดในการชี้เปาพื้นท่ีเสี่ยง
โรคตดิ ตอนําโดยแมลง และยังสามารถนําแผนที่จากโปรแกรมไปใชประโยชนในงานโรคอ่นื ๆได

3. การนาํ ขอมูลสถานการณโ รคไปจัดทํา Dash board เพ่ือใหขอมูลท่ีจัดทําขึ้นมีประโยชนส ูงสุด และ
สามารถเผยแพรเ ปน ขอมลู ใหผทู ีต่ อ งการ รวมถึงประหยัดเวลาในการสรปุ ขอมูลใหผ บู ริหาร

4. การสรางนวัตกรรมผลิตภัณฑเครื่องโฉบวัดละอองนํ้ายาสารพนสารเคมกี ําจัดยุงตัวแก มาใชในการ
ประเมนิ ประสิทธภิ าพเคร่อื งพน ขององคป กครองสวนทอ งถน่ิ เพอื่ ลดการสัมผสั สารเคมขี องเจาหนา ท่ี

5. สนบั สนุนและผลักดนั พื้นที่ใหใ ชเทคโนโลยีมากขึ้นเชนการตดิ ตอประสานงานชองทางไลน การใชงาน
QR CODE การประเมินความพึงพอใจผาน Google Form การตีวงรัศมใี นการพน 100 เมตร ดวยเคร่อื งมือ
สารสนเทศทางภูมิศาสตร Google earth เปน ตน ทาํ ใหเกิดความสะดวกรวดเร็ว แมนยําเกิดประโยชนส งู สุดใน

การปฏิบัติงานการนําขอคนพบ และเทคโนโลยีมาประยุกตใชในการปฏิบัติงาน ทําใหเกิดการพัฒนา มีความ
ทนั สมัย และสามารถดําเนินการไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ

5. ปญ หา อปุ สรรค และขอ เสนอแนะ
5.1. สถานการณการระบาดของโรค COVID-19 ทาํ ใหบางข้นั ตอนในการดําเนินไมส ามารถดําเนินการได
5.2 การถูกตัดงบประมาณทําให บางขัน้ ตอนไมส ามารถดําเนนิ การไดตอ งปรบั วิธกี ารดาํ เนินงาน

นางสาวรัชนีกร คชั มา ผสู รปุ รายงาน
นายเดชาธร วงศห ิรัญ ผูตรวจสอบ

วนั ท่ี 25กมุ ภาพันธ 2565


Click to View FlipBook Version