The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารคำแนะนำที่ 1/2565 ศัตรูมะพร้าวและการป้องกันกำจัด
กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by agrimedia, 2022-07-12 02:16:23

ศัตรูมะพร้าวและการป้องกันกำจัด

เอกสารคำแนะนำที่ 1/2565 ศัตรูมะพร้าวและการป้องกันกำจัด
กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

เอกสารค�ำ แนะน�ำ ที่ 1

/2565

ศตั รูและกมาะรพปรอ้ า้ งวกันกำ�จัด

กระทกรรวมงสเกง่ ษเสตรริมแกลาะสรเหกกษรตณร์

ค�ำแนะน�ำที่ 1 | 2565

ศตั รูมะพรา้ วและการป้องกนั กำ� จัด

จดั ท�ำในรูปแบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ : พ.ศ. 2565

เอกสารค�ำ แนะน�ำ ที่ 1

/2565

ศตั รูมะพรา้ ว
และการป้องกนั ก�ำ จดั

กระทกรรวมงสเกง่ ษเสตรริมแกลาะสรเหกกษรตณร์

ค�ำน�ำ

มะพร้าวเป็นหนึ่งในพืชเศรษฐกิจท่ีส�ำคัญของประเทศ ผูกพันกับวิถี
ความเปน็ อยขู่ องคนไทยมาเปน็ เวลาชา้ นาน และยงั ถกู จดั วา่ เปน็ หนง่ึ ใน Superfood
ทำ� ให้ผลิตภัณฑท์ เี่ กยี่ วขอ้ งกับมะพรา้ วทงั้ ทางตรง เชน่ มะพร้าวทงั้ ลกู น้ำ� มะพรา้ ว
นำ้� มนั มะพรา้ ว และใชม้ ะพรา้ วเปน็ วตั ถดุ บิ เชน่ กะทิ เครอื่ งสำ� อาง ไดร้ บั ความนยิ ม
ในตลาดโลก รวมทั้งมีการขยายผลิตภัณฑ์ท่ีเก่ียวข้องกับมะพร้าวเข้าสู่ตลาด
ในประเทศพัฒนาแล้ว เช่น เคร่ืองด่ืมรสต่างๆ ผสมน�้ำมะพร้าว เครื่องส�ำอางที่มี
ส่วนผสมของน�้ำมันมะพร้าว เปน็ ตน้ ส่งผลให้ความต้องการมะพร้าวและผลิตภณั ฑ์
มะพรา้ วในตลาดโลกสงู ขน้ึ อยา่ งมาก แตใ่ นชว่ ง 5 ปที ผี่ า่ นมาการผลติ มะพรา้ วไดร้ บั
ผลกระทบหลายดา้ นสง่ ผลทำ� ใหผ้ ลผลติ มะพรา้ วลดลง สาเหตสุ ำ� คญั อยา่ งหนง่ึ มาจาก
ปัญหาการระบาดศัตรูมะพร้าวหลายชนิดที่ท�ำลายสร้างความเสียหายให้กับพ้ืนที่
ปลูกมะพร้าวเป็นจ�ำนวนมาก ประกอบกับมะพร้าวเป็นพืชที่ต้องใช้ระยะเวลานาน
กว่าจะให้ผลผลิต ท�ำให้เกิดวิกฤตการณ์การขาดแคลนมะพร้าวอย่างต่อเนื่อง
จนไมเ่ พยี งพอตอ่ ความตอ้ งการและราคาผลผลติ มะพรา้ วสงู ขนึ้ ดงั นน้ั การดแู ลปอ้ งกนั
กำ� จดั แมลงศัตรูมะพรา้ วจึงมีความจ�ำเป็นมากสำ� หรับเกษตรกร
กรมส่งเสรมิ การเกษตร จึงได้จดั ท�ำเอกสารคำ� แนะน�ำเร่ือง ศตั รมู ะพรา้ ว
และการปอ้ งกนั กำ� จดั โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ใหเ้ กษตรกรและผทู้ สี่ นใจใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู
และแนวทางในการจดั การศตั รมู ะพร้าวอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพต่อไป

กรมสง่ เสริมการเกษตร
2565

สารบญั

หนอนหวั ดำ� มะพร้าว ♦ 1 แมลงดำ� หนาม ด้วงแรดมะพรา้ ว ♦ 8
มะพร้าว♦5

ด้วงงวงมะพร้าว♦11 ไรส่ีขามะพรา้ ว♦14 หนอนกินจั่นมะพร้าว♦18
หนอนรา่ นพาราซา่ ♦21 ตกั๊ แตนผี♦24 หนอนกินใบมะพร้าว♦27

หนอนหวั ด�ำมะพรา้ ว

ลกั ษณะการเขา้ ท�ำลาย

หนอนหัวด�ำมะพร้าวระยะตัวหนอนเท่านั้นที่เข้าท�ำลายใบมะพร้าว
โดยจะแทะกินผิวใบบริเวณใต้ทางใบ จากนั้นจะถักใยน�ำมูลที่ถ่ายออกมาผสมกับ
เส้นใยที่สร้างข้ึน น�ำมาสร้างเป็นอุโมงค์คลุมล�ำตัวยาวตามทางใบบริเวณใต้ทางใบ
ตัวหนอนอาศัยอยู่ภายในอโุ มงค์ที่สรา้ งข้ึนและแทะกินผวิ ใบ โดยทั่วไปชอบทำ� ลาย
ใบแกท่ อี่ ยูด่ ้านล่างขน้ึ ไป ใบที่ถกู ท�ำลายจะมีลกั ษณะแหง้ เปน็ สีนำ�้ ตาล




หนอนหวั ด�ำมะพรา้ ว ตน้ มะพรา้ วที่ถกู หนอนหัวดำ� ทำ� ลาย


ศัตรมู ะพร้าวและการปอ้ งกนั ก�ำ จัด 1

วงจรชีวติ

ระยะไข่ 4 - 5 วนั

วงจรชีวิต

ระยะตวั เต็มวัย 5 - 14 วัน ระยะหนอน 32 - 48 วนั

ระยะดักแด้ 9 - 11 วัน

ตัวเต็มวัย เป็นผีเส้ือกลางคืน ขนาดล�ำตัววัดจากหัวถึงปลายท้อง ยาว
1 - 1.2 เซนตเิ มตร ปกี สีเทาอ่อน มจี ดุ สเี ทาเขม้ ท่ีปลายปกี ลำ� ตัวแบน ชอบเกาะน่ิง
ตวั แนบติดผวิ พน้ื ทีเ่ กาะ เวลากลางวันจะเกาะนง่ิ หลบอย่ใู ตใ้ บมะพร้าว หรอื ในทีร่ ม่
ผเี สอ้ื เพศเมยี มขี นาดใหญ่กวา่ เพศผ้เู ลก็ น้อย ผีเสอ้ื เพศเมยี ท่ผี สมพันธแุ์ ล้วสามารถ
วางไข่และไข่ฟักเป็นตัวหนอน ผีเส้ือที่ไม่ได้รับการผสมพันธุ์ก็สามารถวางไข่ได้
แตไ่ ขท่ ง้ั หมดจะไมฟ่ กั เปน็ ตวั หนอน ผเี สอ้ื หนอนหวั ดำ� มะพรา้ วเพศเมยี สามารถวางไข่
ต้ังแต่ 49 ถงึ 490 ฟอง
ไข่ ลักษณะกลมรี แบน วางไข่เป็นกลุ่ม ไข่เมื่อวางใหม่ๆ มีสีเหลืองอ่อน
สีจะเข้มขึ้นเม่อื ใกล้ฟกั ระยะไข่ 4 - 5 วัน


2 กรมสง่ เสริมการเกษตร

ตัวหนอน เมื่อฟักออกจากไข่จะอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ก่อนที่จะย้ายเข้าไป
กัดกินใบมะพร้าว ตัวหนอนที่ฟักใหม่ๆ จะมีหัวสีด�ำ ล�ำตัวสีเหลือง สีของส่วนหัว
จะเปลยี่ นเปน็ สนี ำ� ต้ าลเขม้ เมอื่ อายมุ ากขน้ึ ตวั หนอนมสี นี ำ�้ ตาลออ่ นและมลี ายสนี ำ้� ตาลเขม้
พาดยาวตามลำ� ตวั เมอ่ื โตเตม็ ทจ่ี ะมลี ำ� ตวั ยาว 2 - 2.5 เซนตเิ มตร ระยะหนอน 32 - 48 วนั
ดักแด้ มสี ีนำ�้ ตาลเข้ม ดักแดเ้ พศผูม้ ีขนาดเลก็ กว่าดกั แด้เพศเมยี เลก็ นอ้ ย
ระยะดกั แด้ 9 - 11 วนั

การป้องกนั กำ� จดั การเผาใบลา่ งที่ถกู หนอนหวั ด�ำท�ำลาย

1. ใช้วิธีกล ตัดทางใบล่างที่ถูก การปลอ่ ยแตนเบียนหนอนบราคอน
หนอนหวั ดำ� ทำ� ลายลงมาเผาทันที
2. ใช้ชีววิธี ศตั รูมะพร้าวและการป้องกันก�ำ จัด 3
2.1 พ่นเชื้อบีที อัตรา
80-100 มลิ ลลิ ิตรต่อน้ำ� 20 ลิตร ผสม
ด้วยสารจับใบ 5 มิลลิลิตร ฉีดพ่นต้นละ
3 - 5 ลิตร ให้ทั่วทรงพุ่ม จ�ำนวน 3 ครั้ง
ห่างกัน 7 - 10 วัน (ไม่ควรฉีดพ่นในขณะ
ท่ีมีแสงแดดจดั )
2.2 ปล่อยแตนเบียนหนอน
บราคอน อัตราไร่ละ 200 ตัว จ�ำนวน
12 ครั้ง แต่ละคร้ังห่างกัน 15 วัน
2.3 ปล่อยแตนเบียนไข่
ไตรโคแกรมมา อัตราไร่ละ 20,000 ตัว
จำ� นวน 12 ครง้ั แตล่ ะครง้ั ห่างกนั 15 วนั

3. ใช้สารเคมี
3.1 มะพรา้ วทมี่ คี วามสงู มากกวา่ 12 เมตร ใชส้ ารอมิ าเมก็ ตนิ เบนโซเอท
1.92% EC ฉีดเข้าล�ำต้น (สารกลุ่ม 6) ในอัตรา 30 มิลลิลิตรต่อต้น สามารถ
ควบคุมหนอนได้นานอย่างน้อย 3 เดือน (วิธีน้ีห้ามใช้กับมะพร้าวที่สูงน้อยกว่า
12 เมตร มะพรา้ วนำ�้ หอม มะพร้าวกะทิ และมะพร้าวท่ีท�ำน้ำ� ตาล)
3.2 มะพร้าวที่มีความสูงน้อยกว่า 12 เมตร ให้พ่นทางใบด้วยสาร
ชนิดใดชนิดหนง่ึ ดังน้ี
a ฟ ลู เ บ น ไ ด อ ะ ไ ม ด ์ 2 0 % W G (สารกลุ่ม 28) อัตรา
5 กรมั /น�้ำ 20 ลติ ร
a คลอแรนทรานิลิโพรล 5.17% SC (สารกลุ่ม 28) อัตรา
20 มลิ ลิลิตร/นำ้� 20 ลิตร
a ลูเฟนนูรอน 5% SC (สารกลุ่ม 15) อัตรา 20 มิลลิลิตร/น้�ำ
20 ลติ ร โดยพน่ ทางใบมะพรา้ ว จำ� นวน 1-2 คร้งั หา่ งกัน 15 วัน

การฉดี สารเคมีเขา้ ล�ำตน้ การพน่ สารเคมีทางใบ

4 กรมส่งเสรมิ การเกษตร

แมลงด�ำหนามมะพรา้ ว

ลกั ษณะการเขา้ ทำ� ลาย

ลกั ษณะการเขา้ ทำ� ลายของแมลงดำ� หนามมะพรา้ วโดยทง้ั ตวั เตม็ วยั และตวั หนอน
จะอาศัยอยู่ในใบอ่อนท่ียังไม่คล่ีออกมาของมะพร้าว และแทะกินผิวใบมะพร้าว
เมอื่ ใบคลกี่ างออกจะมสี นี ำ้� ตาลออ่ น หากใบมะพรา้ วถกู ทำ� ลายตดิ ตอ่ กนั เปน็ เวลานาน
หรือเกิดการระบาดอย่างรุนแรงจะท�ำให้ยอดของมะพรา้ วมีสีน้�ำตาล เมื่อมองไกลๆ
จะเห็นเปน็ สีขาวโพลน ชาวบา้ นเรยี กวา่ “มะพรา้ วหวั หงอก”

แมลงดำ� หนามมะพร้าว ต้นมะพร้าวทถ่ี กู แมลงด�ำหนามทำ� ลาย

ศตั รมู ะพร้าวและการป้องกันก�ำ จดั 5

วงจรชีวิต

ระยะไข่ 4 - 5 วัน

วงจรชีวิต

ระยะตวั เตม็ วยั 56 - 70 วนั ระยะหนอน 18 - 26 วนั

ระยะดกั แด้ 5 – 6 วัน

แมลงด�ำหนามมะพร้าวเพศเมียเมื่อได้รับการผสมพันธุ์แล้วจะวางไข่
เปน็ ฟองเดีย่ วๆ หรือเปน็ กลุ่ม กลุ่มละ 2 - 5 ฟอง
ไข่ 4 – 5 วนั เฉลี่ย 4.2 วัน
หนอน 18 - 26 วนั เฉลย่ี 21.56 วนั ตวั หนอนมกี ารลอกคราบ 4 - 5 ครง้ั
ดักแด้ 5 - 6 วัน เฉลี่ย 5.7 วนั
ตัวเต็มวัย เพศเมียมีอายุ 13 - 133 วนั เฉล่ยี 54.8 วันตัวเตม็ วยั เพศผู้
มอี ายุ 21 - 110 วนั เฉล่ยี 65.2 วนั

การปอ้ งกันก�ำจัด

1. ใชว้ ธิ กี ล ในมะพรา้ วตน้ เตย้ี ทถี่ กู แมลงดำ� หนามมะพรา้ วกดั กนิ ใหต้ ดั ยอด
มาเก็บไข่ ตัวหนอน และตวั เตม็ วยั ไปทำ� ลายท้ิง

6 กรมส่งเสรมิ การเกษตร

2. ใช้วิธีเขตกรรม ไม่เคลื่อนย้ายต้นกล้ามะพร้าวหรือพืชตระกูลปาล์ม
จากแหลง่ ทมี่ ีการระบาด ไปยังแหลง่ ที่ไม่มกี ารระบาด
3. ใช้ชีววิธี โดยใช้ตัวห�้ำตัวเบียน
และสารชีวภัณฑ์ ควบคุมการระบาดใน
สวนมะพร้าว ดังนี้
3.1 ปล่อยแมลงหางหนีบบริเวณ
ยอดมะพร้าวเพือ่ กินไข่ หนอน และดักแด้ของ
แมลงดำ� หนามมะพรา้ ว อตั รา 50 ตวั ตอ่ ยอด
แมลงหางหนีบ

3.2 ปล่อยแตนเบียนหนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าว เช่น อะซิโคเดส
อัตราไร่ละ 5 มัมม่ี หรือ 500 เมตรต่อจุด แขวนภาชนะใส่มัมม่ีในท่ีร่มใกล้
ยอดมะพร้าว หรือสูงประมาณ 2 เมตร เพื่อป้องกันก�ำจัดหนอนแมลงด�ำหนาม
ในระยะวยั 1 - 3
3.3 ใช้เชอื้ ราเขยี วเมตาไรเซียม อัตรา 1 กโิ ลกรมั ต่อนำ�้ 20 ลิตร ผสม
สารจับใบ ฉีดพ่นบนยอดมะพร้าว ก�ำจัดหนอน ดักแด้ และตัวเต็มวัยของ
แมลงดำ� หนามมะพรา้ ว
4. ใช้สารเคมี
4.1 มะพร้าวมีความสูงมากกวา่ 12 เมตร ใชส้ ารอิมาเมกติน เบนโซเอต
1.92% EC (สารกล่มุ 6 ) อตั ราการใช้ 50 มลิ ลลิ ิตร/ต้น ฉีดเขา้ ต้น
4.2 มะพรา้ วทมี่ คี วามสงู นอ้ ยกวา่ 12 เมตร ใหเ้ ลอื กสารชนดิ ใดชนดิ หนง่ึ
ละลายนำ�้ 1 ลติ รต่อตน้ ราดบริเวณยอดและรอบคอมะพร้าว ดงั น้ี
a อมิ ิดาโคลพรดิ 70% WG (สารกลุ่ม 4) อตั รา 4 กรัม
a ไทอะมีทอกแซม 25% WG (สารกลมุ่ 4) อตั รา 4 กรมั
a ไดโนทีฟแู รน 10% WP (สารกลมุ่ 4) อัตรา 10 กรัม
หรอื ใชส้ ารคารแ์ ทปไฮโดรคลอไรด์ 4% GR อตั รา 30 กรมั ตอ่ ตน้ โดยหอ่ ใสถ่ งุ เหนบ็ ไว้
ทีย่ อดมะพรา้ ว สามารถปอ้ งกันก�ำจัดแมลงด�ำหนามได้นาน 1 เดอื น

ศตั รูมะพร้าวและการปอ้ งกนั ก�ำ จัด 7

ดว้ งแรดมะพรา้ ว

ลกั ษณะการเข้าท�ำลาย

ตวั เต็มวยั เข้าทำ� ลายพชื โดยการบนิ ขน้ึ ไปกดั เจาะโคนทางใบหรอื ยอดออ่ นของ
มะพรา้ วหรอื พชื ตระกลู ปาลม์ รวมทง้ั เจาะท�ำลายยอดอ่อนท่ีใบยังไม่คล่ี ท�ำให้ใบท่ี
เกดิ ใหมไ่ มส่ มบรู ณ์ มรี อยขาดแหวง่ เปน็ รวิ้ ๆ คลา้ ยหางปลา หรอื รปู พดั ถา้ โดนทำ� ลาย
มากๆ จะทำ� ใหใ้ บทเี่ กดิ ใหมแ่ คระแกรน รอยแผลท่ีถูกด้วงแรดกัดเป็นเน้ือเย่ืออ่อน
ท�ำให้ด้วงงวงมะพร้าวเข้ามาวางไข่หรือเป็นทางให้เกิดยอดเน่า จนถึงต้นตายได้ใน
ที่สดุ

ต้นมะพรา้ วทถ่ี ูกด้วงแรดท�ำลาย ตัวเต็มวัยดว้ งแรด

8 กรมส่งเสริมการเกษตร

วงจรชวี ติ

ระยะไข่ 10 - 12 วัน

วงจรชีวิต

ระยะตัวเตม็ วัย 90 - 120 วัน ระยะหนอน 80 - 150 วนั

ระยะดกั แด้ 23 - 28 วนั

ไข่ มลี กั ษณะกลมรี สขี าวนวล ขนาดกวา้ ง 2 - 3 มลิ ลเิ มตร ยาว 3 - 4 มลิ ลเิ มตร
เมื่อใกล้ฟักไข่จะมีสีน้�ำตาลอ่อน โดยปกติไข่จะถูกวางลึกลงไปจากดินประมาณ
5 - 15 เซนตเิ มตร
หนอน มีขาจริง 3 คู่ ด้านข้างล�ำตัวมีรูหายใจจ�ำนวน 9 คู่ เมื่อหนอน
กินอาหารแล้วผนังล�ำตัวจะมีลักษณะโปร่งใส มองเห็นภายในสีด�ำ หนอนเม่ือ
เจริญเติบโตเตม็ ทจ่ี ะมีขนาดลำ� ตวั ยาวประมาณ 60 - 90 มิลลเิ มตร
ดักแด้ เมอื่ หนอนเจรญิ เตบิ โตเตม็ ทจ่ี ะหยดุ กนิ อาหารและสรา้ งรงั เปน็ โพรง
หนอนจะหดตวั อยภู่ ายในเปน็ เวลา 5 - 8 วนั จงึ เปลย่ี นรปู รา่ งเปน็ ดกั แดส้ นี ำ้� ตาลแดง
ขนาดประมาณ 22 x 50 มิลลิเมตร สามารถแยกเพศได้โดยดักแด้เพศผู้จะเห็น
สว่ นที่เปน็ ระยางค์คล้ายเขายืน่ ยาวชดั เจนกว่าของเพศเมีย


ศตั รมู ะพรา้ วและการป้องกันกำ�จดั 9

ตัวเต็มวัย เปน็ ดว้ งปกี แขง็ สดี ำ� เปน็ มนั วาว ใตท้ อ้ งสนี ำ้� ตาลแดง มขี นาดกวา้ ง
20 - 23 มลิ ลิเมตร ยาว 30 - 52 มลิ ลิเมตร สามารถแยกเพศได้โดยตัวเตม็ วัยเพศผู้
มีเขาลักษณะคล้ายเขาแรดอยู่บนส่วนหัวยาวโค้งไปทางด้านหลัง ขณะท่ีเขา
ของตัวเมียส้ันกว่า และบริเวณท้องปล้องสุดท้ายของเพศเมียมีขนสีน�้ำตาลแดงข้ึน
หนาแน่นกว่าของเพศผู้

การป้องกนั กำ� จัด

1. ใชว้ ธิ เี ขตกรรม กำ� จดั แหลง่ ขยายพนั ธ์ุ เชน่ กองปยุ๋ หมกั ปยุ๋ คอก กองขยะ
ท�ำลายสว่ นของลำ� ตน้ และตอมะพร้าวออกไปจากบรเิ วณสวนทโ่ี ค่นทงิ้ ไว้
2. ใช้วิธีกล โดยท�ำความสะอาดบริเวณคอมะพร้าว และโคนทางใบ
ใช้เหล็กแหลมแทงตามรหู รอื รอยแผลเพื่อกำ� จัดด้วงแรด
3. ใช้ชีววิธี ใช้เช้ือราเขียวเมตตาไรเซยี ม ใส่ไว้ตามแหล่งขยายพันธ์ุ
4. ใช้กับดักฟีโรโมน (เอททิล-4-เมททิลออคตาโนเอท) เพ่ือล่อด้วงแรด
ไปท�ำลาย
5. ใช้สารเคมี
5.1 ใช้สารแนฟทาลนี หรอื ลกู เหม็นใสบ่ รเิ วณคอมะพร้าวทางละ 2 ลูก
ตน้ ละ 6 - 8 ลกู

5.2 ใช้สารไดอะซินอน 60% EC (สารกลุ่ม 1B) หรือ คาร์โบซัลแฟน
20% EC (สารกลุ่ม 1A) ชนิดใดชนิดหนึ่งอัตรา 80 มิลลิลิตรผสมน้�ำ 20 ลิตร
ราดบรเิ วณคอมะพรา้ วตงั้ แตโ่ คนยอดออ่ น ลงมาใหเ้ ปยี กโดยใชป้ รมิ าณ 1 - 1.5 ลติ ร
ตอ่ ตน้ ทุก 15 - 20 วนั ควรใช้ 1 - 2 คร้งั

10 กรมส่งเสริมการเกษตร

ด้วงงวงมะพรา้ ว

ลกั ษณะการเข้าท�ำลาย ตวั เต็มวยั ด้วงงวงมะพร้าว

ดว้ งงวงมะพรา้ วเปน็ ศตั รมู ะพรา้ ว
ในระยะหนอน โดยตวั หนอนกดั กนิ สว่ นออ่ น
เช่น ยอดอ่อน หรือโคนมะพร้าว และ
เจริญเติบโตอยู่ภายในล�ำต้น ท�ำให้เกิด
แผลเน่าภายใน ส่งผลให้เกิดอาการเฉา
หรือยอดหักพบั ยอดเน่า และยืนตน้ ตาย
ในที่สุด

ต้นมะพร้าวท่ีถูกดว้ งงวงเข้าทำ� ลาย

ศตั รูมะพร้าวและการป้องกนั กำ�จัด 11

วงจรชวี ติ

ระยะไข่ 2 - 3 วนั

วงจรชีวิต

ระยะตวั เตม็ วยั 61- 139 วัน ระยะหนอน 61-109 วัน

ระยะดกั แด้ 9 – 25 วนั

ตัวเต็มวัย เปน็ ดว้ งสนี ำ�้ ตาลแดงหรอื นำ้� ตาลดำ� บรเิ วณดา้ นหลงั ของสว่ น
อกมสี นี ำ้� ตาลแดงอาจมจี ดุ หรอื ลาย ดว้ งมขี นาดแตกตา่ งกนั คอื ประมาณ 25 - 50 มลิ ลเิ มตร
ส่วนหวั มีงวงยน่ื ออกมา เพศผมู้ งี วงสน้ั กว่าเพศเมยี และมีขนสั้นๆ ขึน้ หนาแนน่ ตาม
ความยาวของงวง เพศเมียไม่มีขนบริเวณงวง ด้วงงวงมะพร้าวสามารถบินได้ไกล
ประมาณ 3 กิโลเมตร และหากนิ ในเวลากลางวัน
ไข่ ดว้ งงวงมะพรา้ วเพศเมยี วางไข่ได้ประมาณ 30 ฟองต่อวนั ตลอดอายุขัย
สามารถวางไข่ได้ประมาณ 527 ฟอง วางไขเ่ ดีย่ วๆ โดยใช้งวงเจาะให้เป็นรแู ลว้ ใช้
อวัยวะส�ำหรับวางไขส่ อดเขา้ ไปวางในรูทเี่ จาะ ไขม่ ีสีขาว รปู รา่ งยาวรี ขนาดยาว
ประมาณ 2 มิลลเิ มตร กวา้ ง 0.7 มิลลเิ มตร


12 กรมส่งเสริมการเกษตร

หนอน เมอื่ ฟกั ออกจากไขห่ นอนมสี ขี าว หวั สนี ำ้� ตาลแดง ลำ� ตวั ยน่ เปน็ ปลอ้ งๆ
มีขนาดยาวประมาณ 1.8 มลิ ลิเมตร กว้าง 0.9 มิลลิเมตร หนอนมกี ารลอกคราบ
10 - 11 ครง้ั หนอนจะอาศยั กนิ อยภู่ ายในตน้ มะพรา้ วตลอดชวั่ อายกุ ารทำ� ลายของหนอน
ดักแด้ เมอื่ เขา้ ดกั แด้ หนอนจะใชเ้ ศษอาหาร เชน่ เศษใบพชื สรา้ งเปน็ รงั ดกั แด้
หากอยใู่ นตน้ มะพรา้ วจะใชเ้ สน้ ใยจากตน้ มะพรา้ วสรา้ งเปน็ รงั รงั ดกั แดม้ รี ปู รา่ งกลมยาว
มลี กั ษณะขรขุ ระคอ่ นขา้ งรงุ รงั แตแ่ นน่ หนาแขง็ แรง และหอ่ หมุ้ หนอนจนมองไมเ่ หน็

การปอ้ งกันกำ� จัด

1. ใช้วธิ เี ขตกรรม ไมป่ ลกู มะพร้าวแบบโคนลอยและอย่าให้เกิดรอยแผล
เพราะเปน็ ชอ่ งวา่ งใหด้ ว้ งงวงวางไข่ ถา้ พบแผลใหใ้ ชน้ ำ�้ มนั หลอ่ ลน่ื เครอื่ งยนตท์ ใ่ี ชแ้ ลว้
หรือชันผสมกับนำ�้ มนั ยาง ทาบรเิ วณแผล เพื่อปอ้ งกันการวางไข่
2. ใช้วธิ กี ล ท�ำลายต้นมะพร้าวทถี่ กู ด้วงงวงมะพร้าวทำ� ลาย
3. ใช้กบั ดักฟีโรโมน (4 เมทิล 5นาโนโนน) ล่อตัวเต็มวัยเพอื่ น�ำไปท�ำลาย
4. ใชส้ ารเคมี ใชส้ ารไดอะซินอน 60% EC (สารกลุ่ม 1B) ตอ่ นำ�้ 20 ลติ ร
ราดท่ีบริเวณแผลรูเจาะ หรือบรเิ วณบาดแผลทเ่ี ป็นเนอ้ื เย่อื ออ่ น กรณมี ะพรา้ วท่สี งู
ตง้ั แต่ 12 เมตรขน้ึ ไป ให้ฉีดสารอีมาเมกติน เบนโซเอต 1.92% EC ฉีดเข้าตน้ อัตรา
30 มิลลิลติ ร ตอ่ ต้น

ศัตรมู ะพร้าวและการป้องกันกำ�จัด 13

ไรสข่ี ามะพรา้ ว

ลักษณะการเข้าท�ำลาย

ไรส่ีขาจะเข้าท�ำลายภายใต้กลีบขั้วผล ตั้งแต่ผลขนาดเล็กขนาดเส้น
ผ่านศูนย์กลางประมาณ 3 เซนติเมตร โดยอาศยั ดดู กนิ อยภู่ ายใตก้ ลีบเลย้ี งของผล
ท�ำให้เกิดแผล โดยแผลที่ข้ัวผลจะลุกลามลงมาใกล้ขั้วผลท�ำให้เป็นแผลตกสะเก็ด
เมื่อผลโตจะเหน็ แผลเปน็ รอ่ งลกึ ชดั เจนขนึ้ แตกเปน็ รว้ิ เหมอื นลายไมส้ นี ำ�้ ตาล ปลาย
แผลแหลม และเปน็ แผลโดยรอบหรอื เกอื บรอบผล เมอ่ื แกะขว้ั ผลออกจะเหน็ ดา้ นใน
ขั้วผลเป็นสีน้�ำตาล หากน�ำไปส่องดูภายใต้กล้องจุลทรรศน์จะเห็นไรสี่ขาตัวเล็กๆ
จำ� นวนมาก ไรจะเข้าท�ำลายเกือบทุกผลในทะลาย ท�ำให้ผลมะพร้าวชะงักการ
เจริญเติบโต ผลมีขนาดเล็กลงอย่างชัดเจน หากการระบาดรุนแรงในผลเล็กจะร่วง
หลน่ เสียหายจนไม่สามารถจำ� หน่ายได้

ไรสขี่ ามะพรา้ ว ลูกมะพร้าวทีถ่ กู ไรสขี่ ามะพร้าวเข้าทำ� ลาย

14 กรมส่งเสรมิ การเกษตร

วงจรชวี ิต

ระยะไข่ 2 - 3 วัน ระยะตวั อ่อนระยะที่ 1

วงจรชีวิต

ระยะตัวเตม็ วยั 61 - 139 วัน

ระยะตัวอ่อนระยะที่ 2 * ทกุ ระยะมองไมเ่ หน็ ดว้ ยตาเปลา่


ระยะไข่ ไขม่ สี ขี าวเปน็ มนั เงา รปู รา่ งเปน็ ทรงกลมเลก็ มอี ายปุ ระมาณ 3 วนั
ตัวอ่อนระยะที่ 1 อายปุ ระมาณ 2 วนั รปู รา่ งคลา้ ยหนอนขนาดเลก็ ตวั สขี าว
ตัวอ่อนระยะท่ี 2 มขี นาดใหญข่ ้ึน จะลอกคราบจนเป็นตัวเตม็ วัย มอี ายุ
ประมาณ 2 วนั
ตัวเต็มวัย มีขนาดเล็กล�ำตัวคล้ายหนอน โดยมีความยาวประมาณ
200- 250 ไมครอน กว้างประมาณ 35 – 50 ไมครอน มีขา 2 คู่ อยู่ด้านหน้าของ
ลำ� ตวั ตวั ออ่ นและตวั เตม็ วยั ทเี่ ปน็ ศตั รพู ชื เพศเมยี สามารถวางไขไ่ ดป้ ระมาณ 30 - 50 ฟอง
จากระยะไขถ่ งึ ตวั เตม็ วยั ใช้เวลาประมาณ 7 – 8 วัน

ศัตรมู ะพร้าวและการป้องกนั ก�ำ จดั 15

การปอ้ งกนั กำ� จัด

1. ใช้วธิ ีเขตกรรม ตดั ทำ� ลายจัน่ ช่อดอกและชอ่ ผลของมะพรา้ วทงั้ หมด
จนกวา่ จะไม่พบอาการลูกลาย
2. ใช้วธิ กี ล
2.1 น�ำไปฝังกลบโดยใหม้ ีหน้าดินลกึ ประมาณ 50 เซนตเิ มตร
2.2 ถ่วงน�้ำ โดยตอ้ งกดใหจ้ มน้ำ�
2.3 ใส่ถงุ พลาสติกด�ำตากแดดไวอ้ ย่างนอ้ ย 1 สปั ดาห์
2.4 เผาท�ำลายจ่นั ชอ่ ดอกและชอ่ ผลทง้ั หมด
3.ใชส้ ารเคมีหลงั ตดั ชอ่ ดอก ชอ่ ผลทพี่ บอาการถกู ทำ� ลายจากไรสขี่ ามะพรา้ ว
และเศษซากจากการปอกมะพร้าว น�ำมากองรวมกัน จากน้ันพ่นด้วยสารก�ำจัด
ไรตามค�ำแนะน�ำ และคลุมด้วยพลาสติก อย่างน้อย 10 วนั
การจดั การและปอ้ งกนั กำ� จดั ไรสขี่ ามะพรา้ ว ทเ่ี ขา้ ทำ� ลายอยภู่ ายในขว้ั ผลมะพรา้ ว
ท�ำให้การพ่นสารก�ำจัดไรไม่สามารถโดนตัวไรได้โดยตรง ดังนั้น การป้องกันก�ำจัด
ให้เน้นพ่นสารก�ำจัดไรในช่วงระยะมะพร้าวติดจ่ันจนถึงระยะผลขนาดเล็ก
ห่างกันประมาณ 1 สปั ดาห์ ซง่ึ เปน็ ระยะทไ่ี รสขี่ าเรม่ิ เขา้ ทำ� ลาย โดยสารเคมที แ่ี นะนำ�
ดงั น ี้
aโพรพาไกต์ 30% WP อตั รา 30 กรมั (สารกลุ่ม 12)
aอามที ราซ 20% EC อัตรา 40 มิลลิลติ ร (สารกลุม่ 19)
a ก�ำมะถัน 80% WG อัตรา 60 กรัม (สารกลุม่ UN)
a ไพริดาเบน 20% WP อตั รา 10-15 กรมั (สารกลมุ่ 21)
a สไปโรมีซิเฟน 24% SC อัตรา 6 มลิ ลลิ ิตร (สารกล่มุ 23)
a เฮกซไี ทอะซอกส์ 1.8% EC อตั รา 30 มิลลลิ ิตร (กลุ่ม 10A)
a ไซฟลูมโี ทเฟน 20% SC อตั รา 10 มิลลลิ ติ ร (สารกล่มุ 25)
a ทีบูเฟนไพแรด 36% EC อัตรา 3 มลิ ลิลิตร (สารกลมุ่ 21)
16 กรมส่งเสรมิ การเกษตร

เลือกสารชนิดใดชนิดหนึง่ ผสมน้�ำ 20 ลิตร ฉดี พน่ ทกุ 7 วัน อยา่ งน้อย 4 ครั้ง โดย
ใหส้ ลับกลุ่มสารตามกลไกการออกฤทธ์ิท่ตี ่างกันในการพ่นทุก 2 ครง้ั

ค�ำเตือน
สารก�ำมะถันห้ามผสมกับสารชนิดอ่ืน

เพราะอาจเกิดพิษกับมะพร้าวได้
สำ� หรบั สวนทพี่ บการทำ� ลายรนุ แรงและลง้ รบั ซอ้ื ผลมะพรา้ ว ใหด้ ำ� เนนิ การ ดงั น้ี
1. ตัดช่อดอก ช่อผล และผลท่ีพบอาการถูกท�ำลายจากไรสี่ขามะพร้าว
และเศษซากจากการปอกมะพรา้ วก่อนจำ� หนา่ ย
2. นำ� มากองรวมกนั หลังจากนนั้ พ่นด้วยสารกำ� จดั ไรตามค�ำแนะน�ำ
3. คลุมด้วยผา้ พลาสตกิ อย่างน้อย 10 วัน

ศตั รูมะพรา้ วและการปอ้ งกนั กำ�จัด 17

หนอนกนิ จ่นั มะพรา้ ว

ลักษณะการเข้าท�ำลาย
หนอนกินจ่นั มะพรา้ วพบมากในชว่ งมะพรา้ วออกชอ่ ดอก (จ่ัน) โดยหนอน
จะกัดกินและรวมกลุ่มสร้างรังอยู่ในช่อดอก ในแต่ละช่อดอกสามารถพบหนอนได้
ทกุ วยั ทำ� ใหส้ ามารถระบาดไดอ้ ย่างตอ่ เนื่อง การท�ำลายระยะนสี้ รา้ งความเสียหาย
ได้ถึง 50 % นอกจากนห้ี ากอาหารไมเ่ พยี งพอหรือถกู รบกวนหนอนสามารถสรา้ ง
เสน้ ใยเพอ่ื ทงิ้ ตัวออกจากรังเพือ่ หาแหลง่ อาหารใหม่ บางคร้งั พบเข้าทำ� ลายผลอ่อน
โดยหนอนกัดกินได้ถึงกะลามะพร้าว ส่วนผลแก่หนอนกัดกินส่วนผิวและสร้างเป็น
รงั คลา้ ยอุโมงค์ พบมากบรเิ วณขว้ั ผล

หนอนกนิ จนั่ มะพรา้ ว ผลท่ถี กู หนอนกนิ จัน่ มะพรา้ วเขา้ ทำ� ลาย

18 กรมส่งเสรมิ การเกษตร

วงจรชีวติ

ระยะตัวเต็มวัย 3 - 4 วัน

วงจรชีวิต

ระยะดักแด้ 7 - 8 วัน ระยะไข่ 3 - 4 วนั

ระยะหนอน 14 - 20 วนั

หนอนกนิ จนั่ มะพรา้ วมวี งจรชวี ติ คอ่ นขา้ งสนั้ ตลอดวงจรชวี ติ ใชเ้ วลา 28 – 34 วนั
ระยะไข่ มีอายุ 3-4 วัน ขนาด 0.5 – 1.0 มิลลิเมตร ไข่กลมสีขาวและ
เปล่ียนเปน็ สเี หลืองเขม้ เม่อื ใกล้ฟกั
ระยะหนอน มีอายุ 14-20 วัน หนอนมี 5 วัย โดยที่หนอนวัยต้นมี
สนี ำ้� ตาลออ่ น หวั สดี ำ� หนอนวยั สดุ ทา้ ยมสี นี ำ้� ตาลเขม้ ถงึ ดำ� มขี นาด 16 – 18 มลิ ลเิ มตร
หนอนจะเคล่อื นท่อี ยา่ งรวดเร็วเม่อื ถูกรบกวน
ระยะดักแด้ มอี ายุ 7- 8 วัน (ดกั แด้มสี ีนำ�้ ตาล)
ตัวเต็มวัย เป็นผีเส้ือมีสีน้�ำตาลเทา มีแถบสีส้มขนาดเล็ก จากโคนถึง
ปลายปีก กลางปีกมีจุดสีเทาเข้ม 2 จุด ปีกคู่หลังสีเหลืองอ่อน เพศผู้มีขนาด
11 – 12 มลิ ลิเมตร เพศเมยี มขี นาด 14 – 15 มิลลิเมตร ระยะตวั เต็มวยั 3 – 4 วัน

ศัตรมู ะพร้าวและการป้องกันก�ำ จดั 19

การปอ้ งกันก�ำจดั

1. ใชช้ ีววิธี เริม่ พบการระบาดท่ีไมร่ นุ แรงให้พน่ Bacillus thuringiensis
อัตรา 60 - 80 มิลลิลิตร ผสมน�้ำ 20 ลิตร พ่น 3 คร้ัง ห่างกันครั้งละ 7 - 10 วัน
2. ใช้สารเคมี พ้ืนที่มีการระบาดรุนแรงให้พ่นสารเคมี โดยเลือกสารเคมี
ชนิดใดชนดิ หนงึ่ ตามคำ� แนะนำ� ผสมน�ำ้ 20 ลติ ร พ่นให้ทัว่ จ่นั และทะลายมะพรา้ ว
1 - 2 ครั้ง ดังน้ี
aฟลเู บนไดอะไมด์ 20% WG อตั รา 5 กรมั (กลมุ่ 28) (มพี ษิ นอ้ ยกบั ผงึ้ )
aคลอแรนทรานลิ โิ พรล 5.17% SC อัตรา 20 มลิ ลิลิตร (กลมุ่ 28) (มี
พษิ ปานกลางกบั ผึง้ )
aลูเฟนนูรอน 5% EC อตั รา 20 มิลลลิ ติ ร (กล่มุ 15) (มีพิษนอ้ ยกับผึ้ง)
กรณแี ปลงทมี่ กี ารปลอ่ ยแตนเบยี นหนอนหวั ดำ� รว่ มดว้ ย ใหพ้ น่ สารเคมกี อ่ นประมาณ
2 สปั ดาห์ จึงทำ� การปลอ่ ยแตนเบียน
20 กรมส่งเสริมการเกษตร

หนอนร่านพาราซ่า

ลกั ษณะการเข้าท�ำลาย

ตวั หนอนเมื่อฟกั ออกจากไขจ่ ะกัดกนิ ใบจนเหลอื แต่ก้านไมก้ วาด ตามปกติ
มักเกิดกับมะพร้าวเพียงกลุ่มละไม่ก่ีต้น แต่เน่ืองจากหนอนที่เกิดในแต่ละแห่ง
มกั มีความหนาแน่นมาก ดงั นนั้ ต้นมะพรา้ วที่ถกู หนอนทำ� ลายจงึ เสียหายมากทัง้ ต้น
หนอนก็จะแพร่ระบาดได้อยา่ งรวดเร็ว

หนอนร่านพาราซา่ ตน้ มะพรา้ วทถ่ี ูกหนอนรา่ นพาราซ่าท�ำลาย
ทม่ี า : https://www.gib.co.th/

ศัตรมู ะพร้าวและการปอ้ งกนั ก�ำ จดั 21

วงจรชีวิต

ระยะไข่ 5 - 7 วัน

วงจรชีวิต

ระยะตัวเตม็ วยั 23 - 86 วนั ระยะหนอน 34 - 49 วนั

ระยะดกั แด้ 21 - 26 วนั

ตวั เตม็ วยั เป็นผีเสือ้ กลางคืน เพศเมียมขี นาดใหญก่ วา่ เพศผู้ เมือ่ กางปีก
กว้าง 40 มิลลิเมตร เพศผู้ปีกกว้าง 30 มิลลิเมตร ปีกคู่หน้าสีเขียวขอบปลายปีก
สนี ำ้� ตาลแดง สว่ นหวั สเี ขยี ว ปกี คหู่ ลงั สนี ำ�้ ตาลออ่ นสว่ นขาและอกสนี ำ้� ตาลไหม้ ผเี สอ้ื
จะผสมพนั ธท์ุ นั ทหี ลงั ออกจากดกั แด้ ใชเ้ วลาผสมพนั ธน์ุ าน 14 ชวั่ โมง หลงั จากผสมพนั ธ์ุ
จะวางไขท่ นั ที
ไข่ การวางไขจ่ ะวางไขบ่ รเิ วณใตใ้ บเปน็ กลมุ่ ตดิ กนั และซอ้ นกนั เลก็ นอ้ ย กลมุ่ ละ
10 – 60 ฟองใชเ้ วลาวางไข่ 2 - 5 วนั เพศเมยี ตวั หนงึ่ สามารถวางไขไ่ ดส้ งู สดุ 700 ฟอง
ตลอดอายขุ ัย ไขค่ ่อนขา้ งแบนมีสีเหลืองออ่ นกลมรีผวิ เปน็ มัน อายขุ องไข่ 5 - 7 วนั


22 กรมสง่ เสริมการเกษตร

หนอน เม่ือฟักออกจากไข่จะยังไม่กินอาหารแต่จะกินเปลือกไข่
อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม มสี เี หลอื งออ่ นเมอ่ื โตเตม็ ทยี่ าว 25 - 30 มลิ ลเิ มตร กวา้ ง 10
มลิ ลเิ มตร ลำ� ตวั สเี ขยี วเขม้ ปนเหลอื ง หวั มจี ดุ สดี ำ� 1 คู่ มแี ถบสมี ว่ งพาดตามลำ� ตวั มปี มุ่
ขนสเี ขยี วปลายสสี ม้ แดงอยดู่ ้านข้างลำ� ตวั ขา้ งละ 10 ปมุ่ ด้านปลายท้องมีป่มุ ขนสีดำ�
4 ป่มุ อายหุ นอนประมาณ 34 - 49 วนั
ดักแด้ วัยดักแด้มีขนาดความยาว 12 มิลลิเมตร กว้าง 10 มิลลิเมตร
สนี �ำ้ ตาลออ่ นมใี ยปกคลุมยาวๆ ระยะดกั แด้ 21 - 26 วนั วงจรชีวิตจากไขจ่ นเปน็
ตวั เตม็ วัยใชเ้ วลาประมาณ 63 - 86 วนั

การป้องกนั กำ� จัด

1. สำ� รวจติดตามสถานการณร์ ะบาดอย่างสมำ�่ เสมอ
2. ใช้กับดักแสงไฟ ล่อตัวเตม็ วัยมาท�ำลาย ในช่วง 03.00 น. - 06.00 น.
3. ใช้สารเคมี ใช้สารคลอแรนทรานิลิโพรล 5.17% SC (สารกลุม่ 28)
อัตรา 20 มลิ ลลิ ติ ร ตอ่ นำ้� 20 ลิตร พ่น 2-3 ครั้ง หา่ งกัน 10-14วัน

ศตั รูมะพร้าวและการปอ้ งกันกำ�จัด 23

ตัก๊ แตนผี

ลักษณะการเข้าทำ� ลาย

ตวั ออ่ นจะทำ� ลายวชั พชื ตา่ งๆ ทส่ี ามารถเปน็ อาหารได้ ตวั ออ่ นระยะที่ 1 - 2
(ออกจากไข่ 1 - 2 สปั ดาห์) จะรวมกนั เป็นกลุ่ม และเม่ือตั๊กแตนวัย 3 - 4 (อายุ
ประมาณ 3 - 4 สัปดาห์) จะเริม่ เคลือ่ นย้ายในทางสงู ถา้ พบตน้ มะพรา้ ว หรอื ตน้ สน
จะขน้ึ สตู่ น้ ไมท้ นั ทเี พอื่ กนิ เปน็ อาหาร เมอื่ ถงึ ระยะผสมพนั ธแ์ุ ละวางไข่ ตกั๊ แตนจะลง
จากยอดพชื สพู่ ้นื ดนิ

ตวั เตม็ วยั ตั๊กแตนผี ต้นมะพร้าวทถ่ี กู ตก๊ั แตนผเี ขา้ ทำ� ลาย

ตั๊กแตนผมี ลี �ำตวั สดี ำ� ปีกสีเขียวมจี ดุ สเี หลือง ส่วนคอขรขุ ระมีตุ่มสเี หลอื ง
หรอื สสี ม้ หวั สีเขยี วเขม้ ปากและส่วนท้องเป็นสดี �ำ ที่รอยต่อระหว่างปล้องท้องเป็น
สีแดงหรอื สม้ ล�ำตัวยาวประมาณ 6 - 7 เซนตเิ มตร การเคล่ือนยา้ ยไม่ไกลมากนกั
ในชว่ งตัวเตม็ วัย

24 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

วงจรชวี ิต

ระยะไข่ 10 - 15 วัน

วงจรชีวิต

ระยะตัวเต็มวยั 159 - 219 วนั ระยะตวั ออ่ น 90 - 150 วนั

ใน 1 รอบปี จะขยายพันธ์ุเพียงครง้ั เดียว ตวั เตม็ วยั จะผสมพันธเุ์ มือ่ มอี ายุ
129 - 180 วัน ระหว่างช่วงเดือนกันยายน - ตุลาคม และวางไข่ภายหลังผสมพันธุ์
10 - 15 วัน ระหว่างเดือนตุลาคม - ธันวาคม เม่ือวางไข่แล้วต๊ักแตนจะตายหมด
ตวั เมียวางไข่ 1 - 2 ฝัก ลักษณะคล้ายไขต่ ๊ักแตนปาทงั ก้า แต่ฝักใหญก่ ว่า แต่ละฝัก
มีไข่ 40 - 60 ฟอง ใชเ้ วลา 3 - 5 เดือน ไข่จงึ ฟักเปน็ ตัวอ่อนอยูบ่ นดินทราย ประมาณ
เดอื นกมุ ภาพนั ธ์ - มนี าคมตวั ออ่ นมอี ายุ 159 - 219 วนั มี 7 ระยะ (ลอกคราบ 7 ครงั้ )

ศัตรมู ะพร้าวและการป้องกันกำ�จดั 25

การปอ้ งกนั กำ� จัด

1. ใช้วิธีกล เมื่อส�ำรวจพบตัวอ่อนที่เพ่ิงฟักออกจากไข่ ซ่ึงจะอยู่รวมกัน
เป็นกลุ่ม ใช้ทางมะพร้าวกองรวมบริเวณที่พบและจุดไฟเผาทำ� ลาย
2. ใชส้ ารเคมี ผสมทำ� เปน็ เหยอ่ื พษิ เพอื่ กำ� จดั ตวั เตม็ วยั โดยมขี นั้ ตอน ดงั นี้

2.1 เตรยี มสารละลายเหยอื่ พษิ (ประกอบดว้ ย สารคารแ์ ทปไฮโดรคลอไรด์
50% SP 10 กรัม : เกลอื แกง 30 กรมั : แอมโมเนียมไบคารบ์ อเนต 30 กรัม : น้ำ�
1,000 มลิ ลลิ ิตร)
2.2 นำ� กระดาษกรองวางรองพน้ื ในถาดโฟมขนาดประมาณ 15 x 20 เซนตเิ มตร

2.3 เทสารละลายเหยอ่ื พิษทเ่ี ตรียมไว้ลงบนกระดาษกรองให้พอชุ่ม
2.4 น�ำถาดโฟมไปวางบนพน้ื ดินและใช้ไมป้ ักเพือ่ ยดึ ใหถ้ าดโฟมอยกู่ บั ที่
ล่อใหต้ ๊ักแตนตัวออ่ นมากิน
26 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

หนอนกนิ ใบมะพร้าว

ลกั ษณะการเข้าทำ� ลาย

หนอนกินใบมะพรา้ วท่โี ตเตม็ ที่
จะกัดกินทขี่ อบใบ

หนอนกินใบมะพร้าว การเขา้ ท�ำลายของหนอนกนิ ใบมะพรา้ ว

การเขา้ ท�ำลายของหนอนกินใบมะพรา้ ว

ศัตรูมะพร้าวและการป้องกันกำ�จัด 27

วงจรชวี ติ



ระยะไข่ 3 - 5 วนั

วงจรชีวิต

ระยะตัวเตม็ วยั 23-86 วนั ระยะหนอน 18 - 20 วนั

ระยะดกั แด้ 8 - 10 วัน

ในหน่งึ ปสี ามารถขยายพนั ธ์ุได้ 8 – 9 รนุ่ ระยะไข่ 3 - 5 วนั ระยะหนอน
18 – 20 วนั ระยะดกั แด้ 8 – 10 วนั ตลอดวงจรชวี ติ ใชเ้ วลาประมาณ 29 – 35 วนั วางไข่
เปน็ ฟองเดยี่ วใตใ้ บพชื ไขม่ สี เี หลอื งใส หลงั จากฟกั หนอนจะอาศยั กดั กนิ อยดู่ า้ นใตใ้ บพชื
หนอนท่ีโตเต็มท่ีจะกัดกินท่ีขอบใบ จากน้ันจึงเข้าดักแด้ในรังไหมสีเหลืองอมเทา
บริเวณเสน้ กลางใบ ตัวเตม็ วยั สีน้ำ� ตาลเทา ขณะเกาะจะทำ� มมุ ประมาณ 60 องศา
เฉพาะส่วนปลายท้องและขาเท่านั้นที่สัมผัสใบพืช ตัวเต็มวัยกินน้�ำหวานจาก
ชอ่ ดอกมะพรา้ วเปน็ อาหาร และสามารถบนิ อพยพไดร้ ะยะสน้ั ระหวา่ งสวนมะพรา้ ว
ระยะทางประมาณ 1 – 1.5 กโิ ลเมตร โดยปกตกิ ารระบาดมกั ไมร่ ุนแรง


การป้องกันกำ� จัด

หากสำ� รวจพบหนอนหรือดกั แดใ้ หต้ ัดใบท�ำลาย 

28 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

เอกสารอ้างองิ

กรมวชิ าการเกษตร . 2559. เอกสารวชิ าการการจดั การศตั รูมะพร้าว. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ ์
ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกัด
กรมสง่ เสรมิ การเกษตร. 2557. การปลกู มะพร้าวและการควบคมุ ศตั รมู ะพร้าว. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จ�ำกัด
. 2563. การป้องกันก�ำจัดศัตรูมะพร้าวแบบผสมผสาน. [แผ่นพับ]. กทม. :
กลุ่มโรงพมิ พ์ ส�ำนกั พฒั นาการถ่ายทอดเทคโนโลยี.
. 2564. การจดั การศตั รมู ะพรา้ วทส่ี ำ� คญั ไรสขี่ ามะพรา้ วและหนอนกนิ จนั่ มะพรา้ ว.
[แผ่นพบั ]. กทม. : กลุ่มโรงพมิ พ์ ส�ำนักพฒั นาการถา่ ยทอดเทคโนโลยี.
กลุม่ บริหารศตั รูพชื สำ� นักวิจัยพฒั นาการอารกั ขาพืช. 2564. หนอนกนิ ใบมะพร้าวหรอื หนอน
บงุ้ เลก็ . สบื คน้ 12 มกราคม 2565. จาก https://www.facebook.com/permalink.
php?story_fbid=3968061653288010&id=602223516538524
บริษัท กรีน อินโนเวทีฟ ไบโอเทคโนโลยี จ�ำกัด .2565. โรคและแมลงศัตรูพืช. สืบค้น 14
มกราคม 2565. จาก www.gib.co.th/หนอนพาราซา่ /5d52248989f7e200126943d8
ส�ำนักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร. .2562. เตือนระวังตั๊กแตนผีระบาด. สืบค้น
10 มกราคม 2565. จาก https://www.facebook.com/196765307558257/
posts/399917593909693
สำ� นกั วจิ ยั พัฒนาการอารักขาพชื . 2564. ค่มู ือการส�ำรวจไรสขี่ ามะพรา้ วและศัตรูชนิดอ่ืนๆ ท ี่
ท�ำลายผลมะพร้าว. กรมวชิ าการเกษตร. (อดั สำ� เนา)
สุนัดดา เชาวลิต และสุภางคนา ถิรวุธ. 2563. “หนอนกินจ่ันมะพร้าว”. วารสารกีฏและ
สัตววทิ ยา. ปีที่38 (ฉบับท่ี 1 – 2). มกราคม - ธันวาคม 2563
Kon Thian Woei. 2014. Tirathaba Control&Practice. สบื ค้น 12 เมษายน 2565. จาก
http://soppoa.org.my/wp-content/uploads/2014/08/Workshop-Paper-
6-Tirathaba-Control-Practice-by-JQ-Biotech.pdf

ศตั รูมะพรา้ วและการปอ้ งกันกำ�จดั 29

ค�ำแนะนำ� ท่ี 1 | 2565

ศัตรูมะพร้าวและการป้องกนั กำ� จดั

จดั ท�ำในรูปแบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ : พ.ศ. 2565

ที่ปรึกษา
นายเข้มแข็ง ยุติธรรมดำ� รง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร
นางอัญชลี สวุ จิตตานนท ์ รองอธบิ ดีกรมสง่ เสรมิ การเกษตร
นายนวนิตย์ พลเคน รองอธบิ ดีกรมส่งเสริมการเกษตร
นางอมรทพิ ย์ ภิรมย์บรู ณ์ ผอู้ ำ� นวยการสำ� นักพัฒนาการถา่ ยทอดเทคโนโลยี
นายรพที ศั น์ อุ่นจติ ตพันธ ์ ผอู้ �ำนวยการกองส่งเสรมิ การอารกั ขาพชื และจัดการดินปยุ๋

เรยี บเรียง
กลมุ่ ส่งเสรมิ การจัดการสารเคมปี ้องกนั กำ� จัดศตั รูพืช
กองสง่ เสริมการอารักขาพืชและจดั การดินปุ๋ย

ภาพ
กรมวชิ าการเกษตร
กรมส่งเสรมิ การเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

บรรณาธิการ
นางสาวพนดิ า ธรรมสรุ กั ษ์ ผูอ้ ำ� นวยการกล่มุ พฒั นาส่อื สง่ เสรมิ การเกษตร
นางสาวสมทิ ธินี ขาวศรี นกั วิชาการเผยแพรป่ ฏิบตั กิ าร
กลุ่มพัฒนาสื่อสง่ เสรมิ การเกษตร
ส �ำนกั พ ัฒนาการถา่ ยทอดเทคโนโลย ี กรมส่งเสรมิ การเกษตร

ออกแบบ นักวิชาการเผยแพรป่ ฏบิ ัติการ
นางสาวสมทิ ธนิ ี ขาวศร ี
กลมุ่ พฒั นาส่อื ส่งเสรมิ การเกษตร
สำ� นักพฒั นาการถ่ายทอดเทคโนโลย ี กรมส่งเสริมการเกษตร

กรกะทรมรวสงง่ เเกสษริมตกรแาลรเะกสษหตกรรณ์


Click to View FlipBook Version