The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผ่นพับที่ 3/2565 มวนพิฆาต (Predatoory Stink bug)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by agrimedia, 2022-07-12 02:09:14

มวนพิฆาต (Predatoory Stink bug)

แผ่นพับที่ 3/2565 มวนพิฆาต (Predatoory Stink bug)

การนำมวนพฆาตไปปลอ‹ย มวนพิฆาตสามารถนำมาผลิตขยาย กรมส‹งเสรมการเกษตร มวนพฆาต
เพ่อควบคุมแมลงศตัรพูช กระทรวงเกษตรและสหกรณ (PredatoryStinkbug)
เพอ่ืเพม่ิปรมิาณไดงายโดยกลมุสงเสรมิการควบคมุ กรมสง‹เสรมการเกษตร
1การปลอยมวนพฆิาตควรเริ่มปลอยกอน ศัตรพูืชโดยชีววิธีกองสงเสรมิการอารกัขาพืชและ กระทรวงเกษตรและสหกรณ
การระบาดของแมลงศัตรูพชือัตราการ จัดการดนิปุยกรมสงเสรมิการเกษตรไดนำมาผลติ
ปลอย100-200ตวั/ไร ขยายและสงเสริมใหมีการผลิตขยายในศูนยจัดการ
ศัตรูพืชชุมชนเพื่อใชในการควบคุมแมลงศัตรูพชื
2หากพบการระบาดของแมลงศัตรูพืช
ในปริมาณมากควรปลอยในอัตรา การนำมวนพิฆาตไปใชควบคมุแมลงศตัรูพืช ที่ปรึกษา :นางอมรทพิยภิรมยบรูณ
2,000-4,000ตวั/ไรขน้ึอยกูบัชนดิของ สามารถใชรวมกับเชื้อไวรัสเอ็นพีวีเชื้อแบคทีเรีย ผอูำนวยการสำนกัพฒันาการถายทอดเทคโนโลยี
พืชและชนิดของแมลงศัตรูพชืทรี่ะบาด bacillusthuringiensisในการควบคมุหนอนกระทผูกั นายรพทีัศนอุนจติตพันธ
หนอนกระทหูอมหนอนเจาะสมอฝายหนอนใยผกั ผอูำนวยการกองสงเสรมิการอารกัขาพชืและจดัการดนิปยุ
3ควรปลอยมวนพฆิาตระยะ3หรอืประมาณ และหนอนผเีสอ้ืชนดิตางๆเปนการควบคมุศตัรพูชื
20วนัข้นึไปในการปลอยแมลงศตัรูพืช โดยชีววิธีที่เกิดประสิทธิภาพชวยลดหรือทดแทน เรียบเรียง :นางสาววรนาฏโคกเยน็
ทพ่ีบการระบาดและปลอยใหกระจายทว่ัๆ การใชสารเคมปีองกนักำจดัศตัรพูชืมคีวามปลอดภยั นักวิชาการเกษตรชำนาญการ
ตอผูบริโภคเกษตรกรผูผลิตและสภาพแวดลอม กลุมสงเสรมิการควบคุมศตัรูพชืโดยชวีวิธี
4ถาพบการระบาดรุนแรงจำเปนตอง นำไปสูการเกษตรทย่ีั่งยนืตอไป กองสงเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุย
ใชสารเคมรีวมกบัการปลอยมวนพิฆาต
ควรพนสารเคมีกอนปลอยมวนพิฆาต สอบถามขŒอมลูเพมเติมไดŒท่ี บรรณาธิการ:นางสาวพนดิาธรรมสุรกัษ
อยางนอย15วนัหรอืหลงัปลอย15วนั ผอูำนวยการกลมุพัฒนาสื่อสงเสริมการเกษตร
กลุมสงเสริมการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี นางสาวชนกชนมซิมงาม
กองสงเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุย นักวชิาการเผยแพรปฏบิัตกิาร
ศนูยสงเสรมิเทคโนโลยกีารเกษตรดานอารกัขาพชื
จงัหวดัเชยีงใหมพษิณโุลกชยันาทสพุรรณบรุี ออกแบบ :นางสาวนันทพรสนุสาระพนัธุ
ชลบุรีขอนแกนนครราชสีมาสุราษฎรธานี นายชางศิลปปฏิบัติงาน
และจงัหวัดสงขลา กลุมศิลปกรรมสงเสริมการเกษตร
สำนักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี

จัดทำในรปูแบบไฟลอิเลก็ทรอนิกส:พ.ศ.2565

3

มวนพฆาต ลักษณะการทำลายเหยื่อ วงจรชวีต
(PredatoryStinkbug) ของมวนพฆาตและมวนเพชฌฆาต มวนพฆาต

มวนพิฆาต(PredatoryStinkbug) ปากของมวนพฆิาตจะเปนแทงยาวแบบเจาะดดู ไข‹
ชอ่ืวทิยาศาสตรEocantheconafurcellata(Wolff) หรอืแทงดูด(piercingsuckingtype)โดยใชปาก
อยูในวงศPentatomidaeอันดับHemiptera แทงลงไปในตัวเหย่อืแลวปลอยสารพิษ(venom) 20-23วนั 7-8วนั
ตวัเตม็วยัเปนแมลงขนาดคอนขางใหญลำตวัสนีำ้ตาลแก ทำใหเหยอ่ืเปนอมัพาตไมสามารถเคลอ่ืนไหวไดจากนน้ั
ลกัษณะเดนคอืมแีผนสามเหลยี่มบนสันอกดานหลงั จะดูดของเหลวภายในตัวเหยื่อจนเหยื่อแหงตาย ตวัเตม็วัย อายขุัยเฉลย่โดยประมาณ ตวัออ‹น
ขนาดใหญคลายโลและบาทง้ัสองขางของตวัเตม็วยั และเริม่ไปหาเหย่ือใหมตอไป 40-50วนั
จะมหีนามขางละ1อนัเพศเมยีมขีนาดใหญกวาเพศผู
มวนพิฆาตสามารถกินหนอนไดทุกขนาด
มวนพิฆาตเปนแมลงศัตรธูรรมชาติประเภท ตลอดชีวิตของมวนพิฆาตกินหนอนศัตรูพืชได
แมลงตัวห้ำมีความสำคัญและเปนประโยชน ประมาณ200-300ตวั
ทางการเกษตรอยางมากเนอ่ืงจากสามารถนำมาใช
เพ่อืควบคมุหนอนศัตรูพืชไดหลายชนิดโดยเฉพาะ 18-20วนั
หนอนผเีสอ้ืทส่ีำคญัทางเศรษฐกจิเชนหนอนกระทผูกั
หนอนกระทูหอมหนอนกระทูขาวโพดลายจุด ไข‹
หนอนเจาะสมอฝายหนอนคบืหนอนแกวสมเปนตน
มลีกัษณะคลายถงักลมสนีำ้ตาลมนัวาวสะทอนแสงและกลายเปนสสีมเมอ่ืใกลฟกมวนพฆิาตจะวางไข
มวนพฆิาตมพีฤตกิรรมเปนตวัหำ้ทง้ัระยะตวัออน เปนกลุมเรียงกันเปนแถวจำนวน20-100ฟอง/กลุมโดยจะวางตามใบกิ่งไมหรือลำตนพืช
และตวัเตม็วยัเมอ่ืนำมวนพฆิาตไปปลอยเพอ่ืควบคมุ ไขอายปุระมาณ7-8วนั
ศตัรพูชืสามารถดำรงชวีติในสภาพแวดลอมของสวน
และไรไดจงึนบัวาเปนแมลงตัวหำ้ทีม่ีศกัยภาพสูง ตวัออ‹น
ในการควบคมุแมลงศัตรพูืช
มีทัง้หมด5ระยะตวัออนระยะท่ี1ยงัไมมพีฤติกรรมเปนตวัห้ำและอยรูวมกนัจะดูดกินน้ำทเ่ีกาะ
ตามใบพืชหรือตนพืชเปนอาหารจากนั้น2-3วันจะเจริญเปนตัวออนระยะที่2

ชวงระยะที่2จนถงึตวัเตม็วัยจะมีพฤติกรรมเปนตวัห้ำไมอยูรวมกนัเปนกลมุจะแยกกันหาเหยือ่
ระยะตัวออนใชเวลาประมาณ18-20วัน

ตัวเตม็วัย

เปนแมลงขนาดใหญลำตัวรูปรางคลายโลมีแผนสามเหลี่ยมสันหลังอกยาวเกือบครึ่งลำตัวปากแบบ
เจาะดูดสันหลังปลองแรกที่บาทั้งสองขางมีหนามแหลมขางละ1อันเพศเมียมีขนาดใหญกวาเพศผู
เพศเมียสามารถวางไขไดประมาณ340ฟอง/ตัวมีพฤติกรรมเปนตัวห้ำทั้งเพศผูและเพศเมีย
ตัวเต็มวัยอายปุระมาณ20-23วัน


Click to View FlipBook Version