The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อยกระดับเศรษฐกิจฐานรากของจังหวัดท่องเที่ยวเมืองรอง ฉบับนิทรรศการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nuengruethai08589, 2022-05-16 13:55:21

การพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อยกระดับเศรษฐกิจฐานรากของจังหวัดท่องเที่ยวเมืองรอง ฉบับนิทรรศการ

การพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อยกระดับเศรษฐกิจฐานรากของจังหวัดท่องเที่ยวเมืองรอง ฉบับนิทรรศการ

ที่มาและความสำ�คัญ

การพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือยกระดับเศรษฐกิจฐานรากจังหวัดท่องเที่ยวเมืองรองได้รับการ
สนับสนุนจากสำ�นักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยี
ในการยกระดับชุมชนเป้าหมายสู่การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของการท่องเท่ียวในจังหวัดเมืองรอง
โดยเครือข่ายสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลทั้ง 9 แห่ง ร่วมบริหารงานวิจัยภายใต้
การจดั การแผนงานวจิ ัยของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ยั โดยการออกแบบระบบและกลไกการบริหาร
จัดการงานวิจัยของเครือข่ายมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลที่มีความคล่องตัวและมีผลลัพธ์สอดคล้องตาม
เป้าหมายของแผนงานวิจัยคือ 1) พฒั นานวตั กรรมและเทคโนโลยเี พอ่ื สนบั สนนุ การจดั การทอ่ งเทย่ี วชมุ ชนในจงั หวดั
ทอ่ งเทย่ี วเมอื งรอง 2) สรา้ ง Platform เพอ่ื รองรบั การใชน้ วตั กรรมและเทคโนโลยเี พอ่ื ขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ ฐานราก
ของจงั หวดั ทอ่ งเทย่ี วเมอื งรอง ซง่ึ จะน�ำ ไปสกู่ ารจดั การการทอ่ งเทย่ี วชมุ ชนของเมอื งรองทง้ั 9 จงั หวดั ใหเ้ ปน็ แหลง่ ทอ่ ง
เทย่ี วเชิงสร้างสรรค์อย่างยั่งยืน ก่อให้เกิดการกระจายรายได้ช่วยยกระดับเศรษฐกิจฐานรากด้วยนวัตกรรมและ
เทคโนโลยีอนั เปน็ พนั ธกจิ มหาวทิ ยาลยั รบั ใชส้ งั คม

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อภริ กั ษ์ สงรกั ษ์
รองอธิการบดีมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชยั

ผู้อำ�นวยการแผนงานวจิ ยั

โครงสร้างการบริหารแผนงาน

ระบบและกลไกการบริหารจดั การงานวิจยั

Tourism Service and Learning Innovation Platform

คน้ หาจดุ เด่น กระบวนการด�ำ เนนิ งาน

การพัฒนาข้อเสนอ ร่วมวิเคราะห์คนหาโจทย์ การพัฒนาพ้ืนที่เมืองรอง สู่การยกระดับการท่องเท่ียว
โครงการวิจัย เชงิ พื้นทีใ่ ห้ตรงกับความต้องการของนกั ท่องทย่ี วและสอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของพื้นท่ี

โดยกระบวนการ ก�ำหนดรูปแบบการวิจยั ทใ่ี หม้ ีหน่วยงานภายนอกและชุมชนรว่ มวจิ ยั เพอื่ ความส�ำเร็จ
มีส่วนร่วม การรายงานความกา้ วหน้าการวิจัยอยา่ งเปน็ ระบบและตอ่ เน่ือง

การวิจัยแบบ ใชก้ ระบวนการวิจยั แบบมีส่วนรว่ มระหวา่ งนกั วิจัยกบั ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสยี
บูรณาการ มีการจดั วางแผนป้องกนั การวิจยั ท่ไี ม่ตรงตามแผนงานได้อยา่ งชัดเจน
มกี ารเชอื่ มโยงการวจิ ยั ของชุมชนกับงานประจ�ำของนกั วจิ ัย
การสนับสนนุ ผล นักวิจัยและชุมชน มีความมุ่งม่ันและเห็นคุณค่าของการท�ำงานวิจัยรับใช้สังคม
งานวิจยั ก่อใหเ้ กิดการท�ำงานร่วมกนั ในดา้ นอน่ื ๆ

สู่การใชป้ ระโยชน์ มีระบบสนบั สนุนงานวจิ ัยทสี่ �ำเร็จเพื่อการน�ำเสนอในรปู แบบท่ีสร้างคณุ ค่าตอ่ นักวิจัย
นกั วจิ ยั สามารถพฒั นางานวิจยั ให้เปน็ นวัตกรรมชมุ ชน
การพัฒนา นกั วิจยั มบี ทบาทในการน�ำความรไู้ ปใชป้ ระโยชนใ์ นชุมชนและขยายผล
ระบบบริหาร พัฒนาระบบสนบั สนุนนกั วจิ ยั ทส่ี ามารถสร้างผลงานวิจยั แลว้ เสร็จ
จัดการงาน
มีระบบการตดิ ตามและประเมินผลท่ชี ดั เจน และมีการรายงานผลการประเมนิ สูร่ ะดับ
วจิ ยั ผบู้ รหิ ารและพืน้ ทส่ี าธารณะท่เี ปน็ ทางการ
มีการลงพ้นื ทป่ี ระเมนิ ตดิ ตามอย่างเปน็ ระบบ เพ่ือสนับสนนุ การใช้ประโยชน์
อยา่ งเปน็ รปู ธรรม

กรอบการท�ำ งาน

ระบบสนบั สนุนและการประเมนิ สร้างแพลตฟอร์มการใช้ พัฒนากลไกการบรหิ าร
ความส�ำเร็จของผลลัพธ์งาน นวัตกรรมและเทคโนโลยี จัดการงานวจิ ัยของเครอื ขา่ ย
เพื่อขับเคลอ่ื นเศรษฐกิจฐานราก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
วิจัย ของจังหวดั ท่องเที่ยวเมอื งรอง
มงคล

ระบบสนับสนุนและประเมินความส�ำเร็จ แพลตฟอร์มสนับสนุนเครือข่ายผู้ใช้ประโยชน์ กลไกการบริหารจัดการแผนงานวิจัยของ
ของผลลัพธ์งานวิจัย กลไกการประเมิน ผ่านระบบดิจทิ ัลได้แก่ ชมุ ชน ผู้ประกอบการ เครือข่ายมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
ความส�ำเร็จของแผนงานวิจัยการเก็บ นกั ทอ่ งเทีย่ ว หนว่ ยงานภาครฐั และเอกชน ตงั้ แตก่ ระบวนการตน้ นำ�้ กลางนำ้� และปลายนำ้�
ข ้ อ มู ล เ พ่ื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ใ น ร ะ ดั บ
โครงการวจิ ยั ยอ่ ย การสรา้ งตวั ชวี้ ดั เพอ่ื เพ่มิ
ประเมินผลลัพธ์ทดี่ ี เพื่อสงั เคราะหร์ ปู แบบ
การจดั การทอ่ งเที่ยวเมืองรอง

เครอื ข่ายมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 9 แห่ง
องค์ความรู้และผลการศกึ ษา จากการวิจยั ปีท่ี 1

“การพัฒนาจังหวดั ทอ่ งเที่ยวเมอื งรอง
”เพื่อยกระดับเศรษฐกิจฐานรากดว้ ยนวัตกรรมการและเทคโนโลยี

การขับเคลอื่ นนวัตกรรม
เพื่อการทอ่ งเท่ียวโดยชมุ ชน

“การพฒั นานวตั กรรมและเทคโนโลยเี พอ่ื ยกระดบั เศรษฐกจิ ฐานรากของจงั หวดั ทอ่ งเทยี่ วเมอื งรอง” มเี ปา้ หมายเพอื่ การพฒั นาการทอ่ งเทยี่ ว
ชมุ ชนของพ้นื ท่นี �ำร่องเมืองรองให้ตรงกับความต้องการของนักท่องเท่ยี วและผ้ปู ระกอบการ โดยน�ำแนวคดิ “การทอ่ งเทยี่ วอย่างยง่ั ยืน” ไดด้ �ำเนิน
งานวิจัยบนพนื้ ท่ีเป้าหมาย 9 จังหวดั ท่องเที่ยวเมอื งรอง
โดยใชก้ ลไกการบริหารจดั การแบ่งออกเปน็ 3 ส่วน ไดแ้ ก่ การบรหิ ารจัดการต้นน�้ำ (Upstream) การบริหารจดั การกลางน้�ำ (Midstream)
และการบรหิ ารจัดการปลายน้�ำ (Downstream) ผลการพฒั นาพื้นที่การท่องเท่ยี วโดยชมชน (CBT : Community Based Tourism) ในพื้นท่ี
น�ำรอ่ ง 9 จงั หวัดท่องเทยี่ วเมอื งรอง จ�ำนวน 12 ชมุ ชน 1 ชมรม ได้ผลผลติ จ�ำนวน 63 ผลผลิต แบง่ ออกไดด้ งั น้ี

จ�ำนวนเทคโนโลยี กลไก/กระบวนการ/ เสน้ ทางและกจิ กรรม
พร้อมใช้ 25 ชดุ ความรู้ 6 ชดุ การท่องเทยี่ ว 9
เทคโนโลยี กจิ กรรม
ความรู้

ผลติ ภัณฑ์ 9 ผลิตภณั ฑ์ นวัตกร 14 คน

พื้นทท่ี �ำ งาน 9 จงั หวดั
ท่องเที่ยวเมอื งรอง

พนื้ ท่ีเปา้ หมายการพัฒนา 9 จงั หวดั ท่องเที่ยว
เมืองรอง โดยเครือข่ายมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลทั้ง 9 แห่ง มีเป้าหมายเพื่อการพัฒนาการ
ท่องเท่ียวเชิงพื้นท่ีของจังหวัดเมืองรองให้ตรงกับ
ความต้องการของนักท่องเที่ยวและสอดคล้อง
กับบริบทของพื้นท่ีโดยน�ำแนวคิดการท่องเที่ยว
อย่างยั่งยืนมาเป็นแนวทางในการพัฒนาและยก
ระดับเศรษฐกิจฐานรากของชุมชนเป้าหมายในพ้ืนท่ี
9 จังหวดั ทอ่ งเทย่ี วเมอื งรอง และคาดหวังวา่ การท่อง
เท่ยี วจะเป็นเคร่ืองมือในการสร้างรายได้เพื่อยกระดับ
คณุ ภาพชีวิตของชุมชน

01 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน
02 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา
03 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลสุวรรณภมู ิ
04 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสินทร์
05 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก
06 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร
08 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวชิ ยั
09 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี



ชมุ ชนบา้ นปราสาท

พัฒนาแพลตฟอรม์ นวตั กรรมทางดจิ ทิ ลั เพื่อสง่ เสรมิ
การทอ่ งเทย่ี ววถิ ใี หม่
กรณศี กึ ษาอ�ำเภอศขี รภมู ิ จงั หวดั สรุ นิ ทร์

หัวหนา้ โครงการวิจัย ดร.เอกชัย แซจ่ งึ

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน

1 บรบิ ทพน้ื ที่ พื้นท่ี CBT/พ้นื ทข่ี ยายผล
พ้นื ท่ี CBT
การท่องเท่ยี วโดยชุมชนบา้ นปราสาท
บริบท
เปน็ ชมุ ชนท่มี ีศักยภาพดา้ นการทอ่ งเที่ยว แบ่งการ

ทอ่ งเทยี่ วประกอบดว้ ย 3 กลมุ่ คอื การทอ่ งเที่ยว
วฒั นธรรม การท่องเทีย่ วธรรมชาติ และการทอ่ ง
เทย่ี วแบบความสนใจพิเศษ แหล่องท่ีเท่ยี วทีส่ �ำคญั
ไดแ้ ก่ ปราสาทศีขรภมู ิ วดั บ้านปราสาทศขี รภูมิ

3 นวัตกรรมและเทคโนโลยี

ชื่อเทคโนโลยี

“ ”CHABA Platform for Tourist Engagement กระบวนการถ่ายทอดเทคโนโลยีสชู่ ุมชน
[A.I. chatbot + Beacon Technology]
คุณสมบตั ิ

1 พ่ีช้างแพลตฟอร์ม:กระจายสัญญาณอินเตอร์เน็ต วเิ คราะห์ศกั ยภาพ ส�ำรวจข้อมลู แหล่งท่อง รวบรวมค
และโมบายแอพพลเิ คชนั ของ
และการคดั เลือกชมุ ชน เที่ยวชุมชน
2 น้องชบาแพลตฟอร์ม:เว็บแอพพลิเคชั่น เทคโนโลยี และนัก
แชทบอท Beacon BLE และปัญญาประดิษฐ์ บริการ
ข้อมูลนักท่องเที่ยว ท�ำงานเช่ือมโยงกับแพลตฟอร์ม ออกแบบและพฒั นา ติดตง้ั นวัตกรรมและ พสิ จู น์แนว
ท่องเที่ยว 9 มทร.และเก็บข้อมูลพฤติกรรมนักท่อง แพลตฟอรม์ ถ่ายทอดนวตั กรรม (Proof o
เท่ียวน�ำเสนอในรูปแบบ Interactive Dashboard
เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการส่งเสริมการท่อง
เท่ียวของชุมชน

4 การเปลีย่ นแปลงท่เี กิดขึ้น

การยอมรบั ทางเทคโนโลยขี อง สร้างรายไดใ้ ห้แกช่ มุ ชน
นักท่องเท่ียวและประชาชนใน
พน้ื ที่

ชุมชนในพ้ืนท่ีเกิดการพัฒนา สังคม เศรษฐกิจ
เรอ่ื งเทคโนโลยมี ากขน้ึ
เพม่ิ โอกาสในการ
เกดิ การเรยี นรปู้ ระวตั ทิ อ้ งถนิ่ จ�ำหนา่ ยสนิ คา้ และบรกิ าร
และเกดิ ความรสู้ กึ
5 ผลผลิต
2 ปัญหา (Pain Point)
ข้อมูลโดยส�ำนักงานสถิติจังหวัดสุรินทร์และน�ำผล Smart Security Guide อุปกรณ์เกตเวยช์ ่วยกระจาย
วิจัยจากงานในปีท่ี1 เช่ือมโยงสังเคราะห์ผลเพ่ือ สญั ญาอินเตอร์เนต็
ด�ำเนนิ การในปีท2ี่ วิเคราะห์ทนุ ชุมชนท่สี ่งเสริมการ Dashboard ขอ้ มลู พฤตกิ รรมนักทอ่ งเที่ยว
ทอ่ งเทย่ี วตามองคป์ ระกอบการทอ่ งเทย่ี ว (5 A’s) ชบา 24 Hours รวบรวมการทอ่ งเที่ยวชุมชน
แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ศกั ยภาพทางการทอ่ งเทยี่ วและความ ชบา + loT A.I.มคุ คเุ ทศก์ช่วยสอ่ื สารข้อมลู ในชุมชนกบั นั
สามารถในการรองรบั นกั ทอ่ งเทยี่ วของชมุ ชน อกี ทงั้ กท่องเทีย่ ว
ความต้องการส่งเสริมและพัฒนาเส้นทางการท่อง
เทย่ี ว 9 แหง่ ภายในอ�ำเภอศรี ขรภมู ิ

ความตอ้ งการ การสอ่ื สาร 6 หนว่ ยงานและภาคีท่เี ก่ยี วข้อง

ประธานสภาวฒั นธรรมอำ� เภอศีขรภูมิ
คณะกรรมการสภาวฒั นธรรมอ�ำเภอ
ศีขรภูมิ
เทศบาลตำ� บลศีขรภมู ิ
การทอ่ งเท่ยี วและกฬี าจังหวัดสุรนิ ทร์
ส�ำนักงานวัฒนธรรมจงั หวดั สุรนิ ทร์
ท่ที ำ� การอำ� เภอศีขรภูมิ
ก�ำนันตำ� บลระแงง

งชมุ ชน ประชาสัมพันธแ์ ละสรา้ ง

กทอ่ งเทย่ี ว การรบั รู้

วคดิ การใช้งาน การสง่ มอบนวตั กรรม
of Concept) และขยายผลการใชง้ าน

การพัฒนาและสง่ เสรมิ การเรยี นรสู้ ำ� หรบั นวตั กรชนุ เพื่อขบั เคลอ่ื น
การทอ่ งเทย่ี วชมุ ชนบนเสน้ ทางหมายเลข 106
ดว้ ยนวตั กรรมในรปู แบบการเรยี นรผู้ า่ นเกมมฟิ เิ คชน่ั

หวั หนา้ โครงการวิจัย อาจารยด์ ลิ ก ประสานวรกจิ กุล

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา

1 บรบิ ทพื้นที่ พืน้ ท่ี CBT/พืน้ ท่ีขยายผล
พ้นื ที่ CBT
การท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านป่าป๋วย(ชุมชนบ้านป่า
ปว๋ ย ตำ�บลบา้ นโฮ่ง จังหวัดล�ำ พูน)
บรบิ ท
บา้ นปา่ ปว๋ ย ต�ำ บลบา้ นโฮง่ จงั หวดั ล�ำ พนู เปน็ แหลง่ ทอ่ ง
เทย่ี วชมุ ชนทม่ี ศี กั ยภาพ มที นุ ทางสงั คม วฒั นธรรม
และธรรมชาติ มพี น้ื ทข่ี ยายผลการทอ่ งเทย่ี วเชอ่ื งโยง
ไปถงึ ม.7 ต�ำ บลบา้ นโฮง่ (หอศลิ ป1์ 00ป)ี ม.2 หมบู่ า้ น
กระเหรย่ี งพฒั นาหว้ ยหละ ต�ำ บลปา่ พลู และต�ำ บลหว้ ย
แพง ม. 5 (ฟารม์ มา้ ขาว)

3 นวัตกรรมและเทคโนโลยี

ชื่อเทคโนโลยี
“ นวัตกรรมการเรยี นรู้ ผา่ นเกมมิฟิ เคช่นั ”
(CBT Learnning Platform Technology:LPT) กระบวนการถา่ ยทอดเทคโนโลยีส่ชู มุ ชน

คุณสมบัติ

1 ระบบคลังเนื้อหาการเรียนรู้ด้านการ 6 CBTsimulation game มีจุดเน้น 01 02 03
จดั การการทอ่ งเทยี่ วชุมชนโดยชมุ ชน ที่เป็นนวัตกรรม คือ คลังความ
รู้ Virtual Reality ภาพ 360 วิเคราะห์ศักยภาพของ ส ร้ า ง ค ว า ม เ ข้ า ใ จ กั บ จัดทำ�ฐาน
2 ระบบการจัดการการเรียนรู้และระบบ องศา และการสร้างกลไก Gam- หนว่ ยธรุ กจิ คน และเครอื ชุมชน คัดเลือกกลุ่มเป้า และขีดคว
สารสนเทศเพื่อการจัดการการเรียนรู้ ification ในรูปแบบ Simulation ขา่ ย หมาย สำ�รวจศักยภาพ แ ล ะ ผ ลิ ต ภ
Game Virtual Reality ด้านการ และข้อมูลผลิตภัณฑ์ ทอ่ งเทีย่ ว
3 ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ ท่องเท่ยี วชุมชนโดยชุมชน ทเ่ี ชื่อม
และระบบการจัดการสมาชิก(กลุ่ม โยงกับ Platform การเรียนรู้ 06 07 08
เป้าหมายการเรียนรู้)
สร้างกระบวนการเรยี นรู้ รบั สมคั ร คดั เลือก กลุ่ม กลุ่มเป้าหม
4 ระบบคลังเนื้อหาการเรียนรู้ด้านการ และเงือ่ นไข/ปัจจยั ความ เป้าหมาย Learning
จัดการการท่องเท่ยี วชมุ ชนโดยชุมชน สำ�เร็จ พฒั นาเคร่ืองมอื

5 หนา้ เว็ปไซตข์ อง Platform ทั้งระบบ

4 การเปล่ียนแปลงทีเ่ กิดขึน้

เศรษฐกจิ ส่งผลใหช้ มุ ชนมีรายได้ สรา้ งความเชอ่ื มน่ั ใหก้ บั ผใู้ ชบ้ รกิ าร เกดิ การหมนุ เวยี นปจั จยั การผลติ ของชมุ ชน
เพิม่ มากขึ้น
จากการเรยี นรใู้ นการบรหิ ารจดั การ ตงั้ แตต่ น้ นำ�้ กลางนำ�้ ถงึ ปลายนำ้�

สังคม ความสมั พนั ธ์ สรา้ งความภาคภมู ใิ จให้ สรา้ งความสมั พนั ธก์ บั เกดิ ภมู คิ มุ้ กนั สงั คมเพม่ิ
ความรว่ มมอื ของ สมาชกิ ในชมุ ชน ภาคเี ครอื ขา่ ยทงั้ ภายใน มากยง่ิ ขนึ้
สมาชกิ ในชมุ ชนเพม่ิ ขนึ้
และภายนอกชมุ ชน

2 ปญั หา (Pain Point) 5 ผลผลติ
ท่ีต้ังของบา้ นป่าปว๋ ยอย่ไู กลจากตวั เมือง แหล่งทอ่ ง
เทีย่ วอยู่กระจายตัว ขาดกจิ กรรมหรอื การจดั การ ชุดข้อมูลศักยภาพ/ขดี ความสามารถผู้ประกอบ
ท่ีมาเชอื่ มโยงเข้าดว้ ยกัน การพัฒนาด้านการท่อง การด้านการจดั การทอ่ งเท่ยี วชุมชน
เที่ยวชมุ ชนสว่ นใหญ่อยู่ทีค่ วามพรอ้ มดา้ นทรัพยากร นวตั กรชุมชนท่สี ามารถใช้เทคโนโลยแี ละ
บุคคลที่ยังขาดศักยภาพท่ีเหมาะสมในการเข้ามาบริ นวตั กรรม 14 คน
หารจดั การ จึงเป็นจดุ อ่อนส�ำ คัญทีส่ ง่ ผลกระทบตอ่ ผลติ ภัณฑต์ น้ แบบเพ่ือสนบั สนุนการทอ่ งเท่ยี ว
การพัฒนาการท่องเทยี่ วในชุมชน ท่ีไมส่ ามารถก่อ 4 ผลติ ภัณฑ์
ใหเ้ กดิ การขยายผล และน�ำ ไปสูค่ วามยง่ั ยนื ได้ กลไกสนับสนนุ และส่งเสริมกระบวนการเรยี นรู้

04 05 6 หน่วยงานและภาคีทเ่ี ก่ียวขอ้ ง

สร้างฐานขอ้ มลู และ Web สร้างระบบคลงั ความรู้ พัฒนาชุมชนอำ� เภอบ้านโฮง้
App และคลงั VR พัฒนาชุมชนจงั หวัดลำ� พูน
กีฬาและการท่องเท่ยี วจังหวัดลำ� พูน
สภาวัฒนธรรมอ�ำเภอบ้านโฮ่ง
วิทยาลัยการอาชีพบา้ นโอ่ง
การศึกษานอกโรงเรยี นบ้านโฮ่ง
วสิ าหกจิ ผักและผลไม้
วสิ าหกิจนวดเพ่ือสุขภาพ

ข้อมูลศักยภาพ
วามสามารถคน
ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ ก า ร

มาย เรียนรู้ผ่าน 09 10
Platform
ท ด ล อ ง ก า ร พั ฒ น า ถอดองค์ความรู้ของการ
ผลิตภัณฑ์ ชมุ ชนในรปู พัฒนาและส่งเสริมการ
แบบ Hackathon เรยี นรสู้ �ำ หรบั นวัตกร

นวตั กรรมการเรยี นรดู้ ว้ ยเทคโนโลยแี บบพกพาและการเฝา้ ระวงั
ความปลอดภยั ผา่ นระบบออนไลน์
เพอ่ื ยกระดบั การทอ่ งเทย่ี วเชงิ วฒั นธรรมเขตพน้ื ทพ่ี เิ ศษทางวฒั นธรรมอ�ำ เภออทู่ อง
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

หัวหน้าโครงการวจิ ยั ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วารุณี ศรสี งคราม

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลสุวรรณภูมิ

1 บริบทพ้นื ที่ พื้นท่ี CBT/พนื้ ท่ขี ยายผล
พ้ืนที่ CBT
ก ารทอ่ งเท่ียวโดยชมุ ชนเขาพระ

บรบิ ท
พน้ื ทพ่ี เิ ศษเมอื งโบราณอทู่ อง มคี วามหลากหลายทาง
ทรพั ยากรทอ่ งเทย่ี วทโ่ี ดดเดน่ โดยพน้ื ทด่ี �ำ เนนิ งาน
ประกอบดว้ ย 7 แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว ไดแ้ ก่ พพิ ธิ ภณั ฑ์
บา้ นเขาพระไทพวน รอยพระพทุ ธบาท หลวงพอ่ สงั ฆ์
ศรสี รรเพชญพ์ ทุ ธปษุ ยครี ศี รสี วุ รรณภมู ิ สวนหนิ พุ
หางนาค ศาลเจา้ พอ่ พระยาจกั ร วสิ าหกจิ วนเกษตร
บา้ นดงเยน็

3 นวัตกรรมและเทคโนโลยี กระบวนการถ่ายทอดเทคโนโลยสี ่ชู ุมชน

ชื่อเทคโนโลยี วเิ คราะหส์ ถานการณ์ การสร้างความเขา้ ใจ
รว่ มกนั
“ ”นวตั กรรมบริการและการจดั การท่องเท่ยี ว
(Tourism Service& Management Technology) การมสี ว่ นรว่ มในการ การสรา้ งความเชอื่ การสอ่ื สาร
วางแผน มั่น จรงิ ใจ รบั ผดิ (กึ่งทางการ)
คณุ สมบตั ิ และบรู ณาการ ชอบ และแบง่ ปนั

Tourist Service and Management technology
แบ่งออกเปน็ 2 ส่วน

1 สว่ นบรกิ ารนกั ทอ่ งเทย่ี ว (Tourist Service) เป็นอุปกรณ์
ที่เพิ่มความสะดวกให้กับแหล่งท่องเที่ยวที่ขาดมัคคุเทศก์
ให้สามารถเรยี นร้เู ร่อื งราวของสถานทนี่ น้ั ได้ด้วยตนเอง

2 ส่วนระบบบริหารรายงานนักท่องเที่ยว (Tourist การลงมอื การทดลองใชแ้ ละ การเสรมิ แรง
Dashboard) สามารถรายงานสถิติจำ�นวนนักท่อง ท�ำ ร่วมกนั ตดิ ตามประเมนิ ผล ใหช้ มุ ชน
เที่ยวแบบประเมินเพอ่ื นำ�มาวางแผนและพฒั นา
ร่วมกนั

การเปลยี่ นแปลงที่เกดิ ขึ้น

เศรษฐกิจ สังคม

เพิ่มช่อง เกิดรายได้เพิ่มและจำ�นวน ชุมชนอูท่ องเกดิ ความเขม้ แขง็ ในการพฒั นาการท่องเที่ยว
ทางการตลาด เพ่ิมศกั ยภาพของชุมชนด้านเทคโนโลยี
นนอั้กยท่อ1ง0เท%ี่ยวจเาพกิ่มปีทข้ึี่ผนา่อนยม่าาง ชุมชนสามารถพ่งึ พาตนเองได้
เกิดความรู้และทกั ษะดา้ นเทคโนโลยจี ากการนำ�นวัตกรรมมาช่วยพฒั นาการ
ท่องเท่ยี ว
กระตนุ้ ให้ชุมชนเขา้ มามสี ว่ นร่วมในการพฒั นาแหล่งท่องเทย่ี วโดยชมุ ชน
ของตนเอง
เกิดจากแรงผลกั จากคนในชุมชนสกู่ ารลงมอื ทำ�อย่างมคี วามสุข

2 ปัญหา (Pain Point) 5 ผลผลติ
แหล่งท่องเที่ยวในเขตพื้นท่ีพิเศษเมืองโบราณ
อู่ทอง ขาดการเชอ่ื มโยงเสน้ ทางทอ่ งเทีย่ วแตล่ ะจุด กลไกขับเคลอ่ื นการทอ่ งเที่ยวโดยชุมชนเชงิ วัฒนธรรมดว้ ย
ขาดสอ่ื ใหค้ วามรูส้ �ำ หรบั การทอ่ งเทย่ี ว ขาดความ กระบวนการแบบมสี ว่ นรว่ ม
ปลอดภยั ต่อนกั ทอ่ งเท่ยี วในบางจุด และชุมชนขาด นวัตกรรมการเรยี นรู้ด้วยเทคโนโลยแี บบพกพาพร้อมระบบตดิ ตาม
รายได้จากนักท่องเท่ียวเน่ืองจากนักท่องเที่ยวไม่ แบบออนไลน์ บนเสน้ ทางการทอ่ งเท่ยี วเชิงวฒั นธรรม Smart
ทราบกลุม่ ชุมชน กลุ่มสนิ ค้า และกจิ กรรมการทอ่ ง guide for tourist service, Smart guide and Tracking system
เทีย่ วโดยชุมชนในพ้นื ท่ี for tourist
QR Code การเรียนรูด้ ้วยเทคโนโลยี บนเสน้ ทางการทอ่ งเท่ียวเชิง
หาแนวร่วม วัฒนธรรม 7 จดุ พื้นที่
ท่ชี ุมชนวางใจ นวัตกรรมในรูปแบบฮารด์ แวร์ หรือกลอ่ งพกพา
Dashboard Tourist

หน่วยงานและภาคีทเ่ี ก่ียวขอ้ ง

ชมรมส่งเสริมการทอ่ งเที่ยวโดยชุมชนเมอื งโบราณทวารวดอี ู่ทอง
องคก์ ารบริหารการพัฒนาพื้นทพ่ี ิเศษเพ่อื การทอ่ งเทยี่ วอย่าง
ยง่ั ยนื ส�ำนกั งานพนื้ ทีพ่ ิเศษเมืองโบราณอทู่ อง (อพท.7)
การท่องเท่ยี วแหง่ ประเทศไทยส�ำนักงานจังหวัดสพุ รรณบุรี
สภาอตุ สาหกรรมทอ่ งเที่ยวจังหวัดสพุ รรณบุรี

การกำ�หนด การหาจดุ เหมาะสม

เป้าหมายรว่ มกัน รว่ มกนั

การปรบั ปรุง ชุมชนพอใจ
นวัตกรรมร่วมกนั มีความสขุ

การพัฒนาชอ่ งทางสอื่ สารขอ้ มลู ดา้ นการทอ่ งเทย่ี วและเทคโนโลยี
ความเปน็ จรงิ เสรมิ สำ� หรบั พิพิธภณั ฑม์ ชี วี ติ บนโมบายแอพลเิ คชนั่
เพอ่ื การเสรมิ สรา้ งประสบการณก์ ารทอ่ งเทย่ี วเชงิ จงั หวดั ราชบรุ ี

หวั หนา้ โครงการวจิ ัย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สภุ คั เผียงสงู เนนิ

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลรัตนโกสินทร์

1 บรบิ ทพื้นที่ พน้ื ที่ CBT/พื้นทข่ี ยายผล
พื้นที่ CBT
การทอ่ งเที่ยวโดยชมุ ชนวดั ขนอนหนงั ใหญ่

บริบท
วัดขนอนหนังใหญ่ อำ�เภอโพธาราม จังหวัด
ราชบุรี เปน็ แหลง่ ท่องเท่ยี วทมี่ ีทุนทางวฒั นธรรม
ทส่ี ำ�คัญ คือ การแสดหนังใหญ่ จนไดร้ ับรางวัลจาก
UNESCO ปจั จบุ ันพิพธิ ภณั ฑห์ นังใหญ่วดั ขนอนยงั
คงเป็นแหล่งเรยี นรูท้ างวฒั นธรรมท่ีส�ำ คัญ และยัง
มีแหล่งท่องเท่ียวโดยชุมชนที่มีการรวมกลุ่มเพื่อทำ�
กิจกรรมการท่องเท่ียวผ่านตลาดดา่ นขนอน

3 นวตั กรรมและเทคโนโลยี กระบวนการถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน

ชื่อเทคโนโลยี ประชุมระดมความคิด สำ�รวจพฤติกรรมการ
ร่วมกบั ชมุ ชน และภาคี ทอ่ งเทยี่ วของนกั ท่อง
“ ”พิพิธภณั ฑม์ ีชวี ิตบนโมบายแอพลิเคช่นั ผ่าน เครือขา่ ย ในประเด็น ทนุ เที่ยว
เทคโนโลยีความเป็ นจริงเสริม (AR Technology) ทางวัฒนธรรม ทุนทาง
เศรษฐกิจ ทนุ ทางสังคม
คณุ สมบตั ิ ทุนทางสญั ลกั ษณ์

การนำ�เสนอตัวหนังใหญ่ที่เป็นแอนิเมชั่น จัดทำ�ระบบinformation นักท่องเท่ียว
พร้อมเสียงพากษ์ผ่าน Marker ซึ่ง tourism gateway ส�ำ หรบั ทดลองใชร้ ะบบ
สามารถสแกนและรับชมผ่านภาพและ สถานที่ท่องเที่ยวและส่ิง
เสียงหนังใหญ่หรือสแกนตัวหนังใหญ่ อ�ำ นวยความสะดวก
ที่พิพิธภัณฑ์ได้ ผ่านแอพลิเคชั่นสแกน
ทั่วไป ทั้งระบบ Android และ IOS
หรือสแกนผ่านแอพลิเคชั่นท่องเที่ยว
โพธาราม การนำ�เสนอวิดีโอการซ้อม
เชิดหนัง การแสดงและการตอกหนัง
ใหญ่ ผ่าน AR-Location

4 การเปล่ียนแปลงท่เี กิดขึ้น

การเปลย่ี นแปลง
เศรษฐกจิ

จำ�นวนนกั ท่องเที่ยว เศรษฐกจิ สังคม ชุมชนเกิดการเรียนรู้
จะเพิ่มมากขน้ึ และปรับใช้เทคโนโลยี
เพ่อื ทอ่ งเทีย่ ว
การกระจายรายไดส้ ู่
ชมุ ชน เยาวชนในพน้ื ท่รี ่วมทำ�
กจิ กรรม ส่งผลใหห้ า่ ง
ไกลยาเสพติด

2 ปญั หา (Pain Point) 5 ผลผลติ
วดั ขนอนหนังใหญ่ เปน็ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วท่มี ศี กั ยภาพ
สงู ในอำ�เภอโพธาราม แต่ชอ่ งว่างปญั หาที่พบใน ระบบ AR technology บนโมบายแอพลิชนั่
แหลง่ ทอ่ งเท่ียวของอ�ำ เภอโพธาราม คอื การเชื่อม แผนการตลาดเพ่ือส่งเสรมิ การท่องเท่ยี วและส่ือ
โยงแหล่งท่องเท่ียวโดยชุมชนท่ีมีศักยภาพไปสู่ ส่งเสรมิ การตลาด
แหล่งท่องเทย่ี วอน่ื ๆ ในพนื้ ที่

6 หนว่ ยงานและภาคีท่เี ก่ียวขอ้ ง

การท่องเท่ยี วแห่งประเทศไทย (ททท.)
ส�ำนักงานการท่องเท่ยี วและกีฬา จังหวดั ราชบรุ ี
องคก์ ารบริหารส่วนตำ� บล /เทศบาลอ�ำเภอโพธาราม
วดั ขนอนหนงั ใหญ่

การออกแบบ จดั ท�ำ AR พพิ ธิ ภณั ฑม์ ี
พิพิธภัณฑ์มีชวี ิต ชวี ติ และMarkerภาพนง่ิ
รว่ มกบั ชมุ ชน เสนอพพิ ธิ ภณั ฑม์ ชี วี ติ

กจิ กรรมสง่ เสรมิ ชุมชนน�ำ ไปใช้
การทอ่ งเทย่ี ว ประโยชน์

การพัฒนาศกั ยภาพการทอ่ งเทยี่ วแบบมสี ว่ นรว่ มโดยชมุ ชน และ
เทคโนโลยบี รรจภุ ณั ฑ์
ดจิ ทิ ลั อจั ฉรยิ ะ เพอ่ื สง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วเมอื งรอง

หัวหน้าโครงการวจิ ยั ผศ.ดร.บณุ ฑริกา สุมะนามหา

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวนั ออก

1 บริบทพน้ื ที่ พนื้ ที่ CBT/พ้นื ทข่ี ยายผล
พื้นที่ CBT
การท่องเที่ยวโดยชุมชนหลังวัดโรมัน ชุมชนบ้าน
ท่าเรือจ้าง และชุมชนริมน้ำ�จันทบูร
บรบิ ท
ชมุ ชนหลงั วดั โรมนั ชมุ ชนบา้ นทา่ เรอื จา้ ง และชมุ ชน
ริ ม น้� ำ จั น ท บู ร เ ป ็ น แ ห ล ่ ง ท ่ อ ง เ ที่ ย ว ที่ มี ชื่ อ เ สี ย ง
บริเวณรอบของอาสนวิหารพระนางมารีอาปฏิสนธิ
นิรมล ที่มคี นเชื้อสายไทย จีน และญวนมาตัง้ รกราก
นานกว่า 300 ปี มีภมู ิสถาปัตยกรรม แหล่งเรยี นรู้
และอาหารท่มี อี ตั ลักษณ์”

3 นวตั กรรมและเทคโนโลยี กระบวนการถ่ายทอดเทคโนโลยีสชู่ มุ ชน

ชื่อเทคโนโลยี ศกึ ษาบรบิ ทอตั ประเมนิ ศกั ยภาพ สรา้ งเทคโนโลยี
ลกั ษณ์ และจดุ เดน่ โดยการพัฒนา
“ ”เทคโนโลยบี รรจุภณั ฑ์อัจฉริยะ ผา่ น mobile ประเมนิ ศักยภาพ แอปพลช่นั การบ
application (“เถาว์จนั ท์ (THAO CHANT)”) และจดุ เดน่ ริหารจดั การโดย
ประเมนิ ศักยภาพ ชุมชน
คุณสมบตั ิ และจดุ เดน่

เทคโนโลยีแบบง่ายที่ชุมชนสามารถใช้ได้เองสามารถบริหารจัดการ
การท่องเที่ยวโดยชุมชนและนวัตกรรมการย้อมผ้าจากมังคุด รวมถึง
เส้นทางการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์สืบสานวัฒนธรรม 3 ชุมชน
ในเมนู “อร่อยอิ่ม ชิมเถาว์จันท์ ตามรอยกระวานจันทบูร”
ที่นำ�ส่วนเหลือทิ้งคือใบกระวานมาใช้ประโยชน์ และเกิดแบรนด์ชุมชน
ชื่อ “เถาว์จันท์”

วเิ คราะห์ศักยภาพ คัดเลือกกิจกรรม วเิ คราะห์ผลิตภณั ฑ์ พฒั
และนวตั กรรม เรยี นรูเ้ ชงิ เพือ่ จดั กลมุ่ และ
ชุมชน สรา้ งสรรค์ผ่าน ประเภทของ
การท�ำ ผลิตภณั ฑ์ ผลิตภัณฑ์
ชมุ ชน

4 การเปลี่ยนแปลงที่เกดิ ข้นึ เกดิ การรวมกลมุ่ เป็น
ชมรมการท่องเท่ยี ว
เกดิ ความคุ้มค่าและ ชุมชน
สร้างมลู คา่ ใหก้ ับ
ผลติ ภัณฑเ์ พ่ือการ
ท่องเท่ียวและบรกิ าร

ชุมชนมีรายได้ท่เี พิ่ม เศรษฐกิจ สังคม
ข้ึน

เกิดการพัฒนา เกดิ ความสามคั คใี น
เศรษฐกจิ ฐานราก การบรหิ ารจัดการ
การท่องเท่ยี วของ 3
ชมุ ชน

2 ปัญหา (Pain Point) 5 ผลผลิต
การท่องเทยี่ วโดยชุมชนต้องมกี ารเช่ือมโยง 3 ชุมชน
ใกล้เคยี งเพอื่ ใหเ้ กิดความย่งั ยืนและนา่ สนใจ ยังขาด ผลิตภัณฑ์อัตลักษณช์ ุมชน 3 ผลติ ภัณฑ์
การสรา้ งเครอื ขา่ ยความสัมพันธ์ คน้ หาอตั ลักษณ์ แบรนดช์ ุมชนจากอัตลักษณช์ มุ ชน “เถาจนั ท“์
และสร้างเส้นทางการท่องเท่ียวที่มีเอกลักษณ์ เส้นทางการทอ่ งเท่ยี วโดยชุมชน
ตลอดจนมีการบริหารจัดการโดยการมีส่วนร่วมของ ระบบ Dashboard เพ่ือการวเิ คราะห์ข้อมูลการ
ชุมชน จึงจะสง่ ผลใหเ้ กิดการทอ่ งเที่ยวท่ยี ่งั ยนื ได้ บริการจดั การการท่องเท่ยี วโดยชมุ ชน
โครงการวิจัยใช้ BCG โมเดล ทีน่ ำ�ใบกระวานและ
มงั คุดเบบม๋ี าใช้ประโยชน์ เพื่อประสานความสัมพนั ธ์ 6 หน่วยงานและภาคีทเ่ี กีย่ วข้อง

อาสนะวิหารพระนางมารีอาปฎสิ นธินริ มลจันทบุรี
สภาอภิบาลอาสนะวิหารฯ
การท่องเท่ยี งแหง่ ประเทศไทย (ททท.) ส�ำนกั งาน
จนั ทบรุ ี
การทอ่ งเท่ยี วและกฬี าจังหวัด
เทศบาลต�ำบลจันทนมิ ิต
วฒั นธรรมจังหวัด
พัฒนาชุมชนจงั หวัด
สมาคมสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วจงั หวดั สภาอตุ สาหกรรม
การทอ่ งเทย่ี วจงั หวดั

ออกแบบเสน้ ศึกษาความ ทดลอง
ทางการท่องเทีย่ ว เหมาะสมและ เส้นทาง
โดยการท�ำ แผนท่ี ความเป็นไปได้ และ
ทำ�มอื ผสานกบั โปรแกรม
ขอ้ มลู พฤตกิ รรม ท่องเท่ยี ว
และความสนใจ
ของนกั ทอ่ งเทีย่ ว

ฒนาบรรจภุ ณั ฑ์ ประเมินความ สรา้ งกลยทุ ธ์สง่
เหมาะสมของ เสริมการตลาด
เทคโนโลยี ท่องเทีย่ วเมือง
รอง

การพัฒนาเทคโนโลยรี ะบบไกดอ์ จั ฉรยิ ะในเสน้ ทางการทอ่ งเทยี่ ว
เชงิ อาหารเพอ่ื สง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วและกระตนุ้ เศรษฐกจิ ของจงั หวดั สมทุ รสงคราม

หัวหน้าโครงการวิจัย ดร.นิตินนั ท์ ศรสี วุ รรณ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร

3 นวตั กรรมและเทคโนโลยี 1 บรบิ ทพนื้ ท่ี พ้นื ที่ CBT/พ้ืนท่ีขยายผล
พื้นท่ี CBT
ชื่อเทคโนโลยี การท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านริมคลองโฮมสเตย์,
ชมุ ชนบางกระบนู , ชมุ ชนบางพลับ
“ ”ระบบเทคโนโลยไี กดอ์ จั ฉริยะ “AR Smart บชมุริบชนทบา้ นริมคลองโฮมสเตย,์ ชุมชนบางกระบนู ,
guide สมุทรสงคราม” ชสมุมชุทนรบสางงคพรลาบัม มีต้นทุนทางภูมิศาสตร์ท่ีเหมาะสมใน
เชงิ การเกษตร ท�ำ ใหม้ พี ชื ผลและอาหารทหี่ ลาก
คุณสมบัติ หลายอดุ มสมบรู ณ์ ซึ่งพ้นื ทช่ี ุมชนบา้ นริมคลองโฮม
สเตย์ บ้านบางกระบนู และบ้านบางพลับ มที นุ พน้ื
1 ระบบแอพพลเิ คชั่นไกดอ์ ัจฉรยิ ะ ฐานในด้านการบริหารชุมชนท่องเที่ยวที่เข้มแข็ง
บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ และมีเรื่องเล่าอาหารท้องถิ่นท่ีน่าสนใจเพ่ือพัฒนา
งานวิจยั
2 ระบบปา้ ยไกดอ์ จั ฉรยิ ะ AR Code
นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว ด า ว น์ โ ห ล ด กระบวนการถา่ ยทอดเทคโนโลยสี ่ชู ุมชน
แอพพลิเคช่นั เปิดกล้องส่องไปท่ี
ป้ายไกด์อัจฉริยะจะมีตัวละคร
“นอ้ งไกด”์ บรรยายแนะน�ำ ชมุ ชน
และเร่ืองเล่าอาหารและมีระบบ
นำ�ทางเชื่อมต่อระหว่างชุมชน
ทอ่ งเทยี่ ว

4 การเปลีย่ นแปลงที่เกิดขึน้

เศรษฐกจิ สังคม

1. ระบบเทคโนโลยีไกดอ์ จั ฉรยิ ะชว่ ยกระตุน้ ในเชงิ การตลาดทอ่ งเทยี่ ว 1. ชมุ ชนเปดิ ใจ ยอมรบั เทคโนโลยีมากข้นึ มีความตระหนกั ถงึ
2. นกั ทอ่ งเท่ียวชาวไทยเดินทางเพอ่ื ตามรอยเรอื่ งเล่าอาหารมากขนึ้ ความส�ำคญั ของเทคโนโลยที ช่ี ว่ ยบรหิ ารจดั การทอ่ งเท่ยี วได้
3. ระบบเศรษฐกจิ โดยภาพรวมดีขึ้น 2. การกระจายขา่ วสารและการตลาดชมุ ชนผ่านระบบ Social
4. เศรษฐกิจครวั เรือนในชุมชนดขี ึน้ network ทเ่ี ชือ่ มต่อกับระบบไกด์อัจฉริยะ
3. ชุมชนเกิดความคดิ สรา้ งสรรคใ์ นการพฒั นาตอ่ ยอดผลผลติ
เทคโนโลยี

2 ปญั หา (Pain Point) 5 ผลผลิต
ชุ ม ช น ต้ อ ง ก า ร เ ท ค โ น โ ล ยี ท่ี ช่ ว ย ล ด ก า ร สั ม ผั ส
ระหวา่ งนักท่องเทย่ี วกบั ชมุ ชน เนือ่ งจากชุมชนมผี ู้ ระบบ AR Code เร่ืองเล่าเชิงอาหาร
สงู วัยจ�ำ นวนมาก และเปน็ เทคโนโลยที ่ีช่วยถ่ายทอด ระบบแอพพลเิ คชัน่ ไกด์อจั ฉริยะบนระบบปฏบิ ตั ิ
ขอ้ มูลทน่ี ่าสนใจของชุมชน ชว่ ยสะท้อนจดุ เดน่ ทเ่ี ปน็ การแอนดรอยด์
อัตลกั ษณ์ชุมชน สง่ เสริมการทอ่ งเทย่ี วชมุ ชนใหม้ มี ติ ิ
ทท่ี ันสมัยข้ึน เป็น Smart Tourism Communities

6 หน่วยงานและภาคีท่เี กี่ยวข้อง

ส�ำนักงานการท่องเท่ยี วและกีฬาจงั หวดั
ส�ำนกั งานวัฒนธรรมจังหวัด
การทอ่ งเท่ยี วแหง่ ประเทศไทย
(ส�ำนกั งานจงั หวดั สมุทรสงคราม)
ส�ำนักงานเกษตรจงั หวัด

การวจิ ยั และพัฒนานวตั กรรม
เทคโนโลยดี จิ ติ อลแพลตฟอรม์ เพื่อเชอ่ื มโยงอปุ สงค์
และอปุ ทานกาแฟโรบสั ตา้ สกู่ ารยกระดบั การสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี ว
เชงิ กาแฟในจงั หวดั ชมุ พร

หัวหน้าโครงการวจิ ยั นางสาวชนิดา ปอ้ มเสน

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

1 บรบิ ทพ้ืนที่ พนื้ ท่ี CBT/พ้ืนท่ีขยายผล
พ้ืนที่ CBT
การทอ่ งเทย่ี วโดยชุมชนกาแฟบา้ นถ้ำ� สงิ ห์ ต�ำบลถ�ำ้
สิงห์ อ�ำเภอเมืองชมุ พร จงั หวัดชุมพร

บริบท
มีเนื้อท่ีประมาณ 35.90 ตารางกโิ ลเมตร เป็นพื้นท่ี
ผลิตพชื สวนทมี่ ชี อื่ เสียงของจงั หวัด หนึง่ ในนั้นคอื
กาแฟ ซง่ึ มกี ารปลูกและแปรรูปกาแฟ (โรบสั ตา้ )
ที่มคี ุณภาพ ได้รับมาตรฐาน OTA และขึ้นทะเบียน
คุณลักษณะเฉพาะของกาแฟถ�้ำ สงิ หช์ มุ พร

3 นวตั กรรมและเทคโนโลยี ” กระบวนการถ่ายทอดเทคโนโลยสี ชู่ มุ ชน

ชื่อเทคโนโลยี

“ เทคโนโลยีดิจติ อล Martech platform
coffee & Tourism

คุณสมบัติ

เทคโนโลยีที่สามารถบริหารจัดการแหล่งท่อง
เที่ยวเก็บรวบรวมข้อมูลจุดบริการการท่อง
เที่ยว การตลาด การประชาสัมพันธ์ และระบบในการ

จัดการข้อมูลสินค้า ข้อมูลสมาชิกชุมชน พื้นที่การปลูก
ช่วงเวลาการเก็บเกี่ยว การผลิตการแปรรูป การคาด
การณ์กำ�ไร การซื้อขาย ยอดที่รับซื้อ

4 การเปลย่ี นแปลงทีเ่ กดิ ขึ้น

ด้านเศรษฐกจิ ดา้ นสังคม

การจดั การแหล่งท่องเทยี่ วเชิงกาแฟ การประชาสัมพันธ์ สง่ เกิดการรวมกลุ่มเป็นชมรมการทอ่ งเทย่ี วชมุ ชน
เสรมิ ใหเ้ กดิ ารทอ่ งเทยี่ วในพนื้ ที่มากข้นึ กาแฟบา้ นถ้�ำสิงห์เพ่อื บรหิ ารจัดการแหลง่ ทอ่ ง
ชุมชนเกดิ รายได้เพิม่ ข้นึ (ขายโปรแกรมการทอ่ งเท่ยี ว สินค้า เทยี่ ว
OTOP อาหาร และสนิ คา้ บริการการท่องเทยี่ ว)
เกดิ การพัฒนาเศรษฐกจิ ฐานราก Martech platform coffee & Tourism สร้าง
ความเขม้ แขง็ ให้สมาชกิ ชมุ ชน
เกิดการกระจายรายไดส้ ู่สมาชิกชุมชน

2 ปญั หา (Pain Point) 5 ผลผลติ
ทีต่ ้งั ของบ้านป่าป๋วยอยไู่ กลจากตวั เมอื ง แหล่งทอ่ ง
เท่ียวอยกู่ ระจายตวั ขาดกิจกรรมหรอื การจดั การ การท่องเท่ยี วเชิงกาแฟ 3 เส้นทาง
ทม่ี าเชือ่ มโยงเขา้ ด้วยกนั การพัฒนาดา้ นการทอ่ ง กจิ กรรมทอ่ งเท่ยี วกาแฟ 5 กจิ กรรม
เที่ยวชมุ ชนสว่ นใหญอ่ ยู่ทีค่ วามพรอ้ มด้านทรัพยากร - กิจกรรมเกบ็ ดอกกาแฟ
บุคคลที่ยังขาดศักยภาพที่เหมาะสมในการเข้ามาบริ - กิจกรรมเกบ็ กาแฟ (เชอร่)ี
หารจดั การ จงึ เปน็ จดุ ออ่ นส�ำ คัญท่สี ง่ ผลกระทบต่อ - กิจกรรมคดั เมล็ดกาแฟ
การพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วในชุมชน ทีไ่ ม่สามารถก่อ - กจิ กรรมคั่วกาแฟ
ให้เกิดการขยายผล และนำ�ไปสคู่ วามยง่ั ยืนได้ - กจิ กรรมกระบวนการผลิตกาแฟ

6 หน่วยงานและภาคที ่เี ก่ยี วข้อง

กลุ่มวสิ าหกจิ ชุมชนกาแฟบ้านถ้�ำสิงห์
องคก์ ารบริหารส่วนตำ� บลถ้�ำสิงห์
ส�ำนักงานการทอ่ งเท่ยี วและกีฬาจงั หวดั
ชมุ พร
การทอ่ งเท่ยี วแห่งประเทศไทย (ททท.)
ชุมพร-ระนอง

การพัฒนานวตั กรรมเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพื่อเพิ่มขดี ความสามารถ
การทอ่ งเทยี่ วของชมุ ชน
และการกระจายรายไดเ้ ศรษฐกจิ ฐานรากจงั หวดั พทั ลงุ

หวั หนา้ โครงการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัยรัตน์ จุสปาโล

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรีวชิ ยั

3 นวตั กรรมและเทคโนโลยี 1 บริบทพื้นที่ พื้นที่ CBT/พืน้ ทีข่ ยายผล
พื้นที่ CBT
ชื่อเทคโนโลยี การท่องเท่ียวโดยชุมชนเกาะหมาก
บรบิ ท
“ ”นวตั กรรมสนับสนุนในการตดั สินใจการเดนิ พ้ืนทีท่ ่องเท่ยี วโดยชุมชนเกาะหมาก ตั้งอยูใ่ นต�ำ บล
ทางทอ่ งเท่ยี วนวัตกรรมสนับสนุนในการ เกาะหมาก อ�ำ เภอปากพะยูน จงั หวดั พัทลงุ มคี วาม
ตดั สินใจการเดินทางทอ่ งเท่ยี ว หลากหลายทางระบบนเิ วศ มภี ูมิประเทศเป็นเกาะ
ตั้งอยกู่ ลางทะเลสาบสงขลา มีทรัพยากรทางทอ่ ง
คุณสมบัติ เที่ยวท้ังทางธรรมชาติ ประกอบ ทะเลสาบ เกาะ แก่ง
ถ้�ำ มที รพั ยากรทางวัฒนธรรม อัตลกั ษณว์ ิถีชวี ิต
1 เว็บแอปพลิเคชันแผนท่ีออนไลน์ ประเพณี อาหารพน้ื ถ่ินของชุมชน
(Web Map GIS) ส�ำหรบั จดั การขอ้ มูล
เชิงพื้นท่ีเพ่ือสนับสนุนการตัดสินใจการ กระบวนการ
เดินทางของนกั ทอ่ งเทย่ี ว ถา่ ยทอดเทคโนโลยสี ่ชู ุมชน

2 ระบบตอบกลบั อัตโนมัติผ่าน Line chat หาไแวน้ววารงว่ ใจมท่ีชมุ ชน การวางแผน
bot เพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในการ การคววิเกาคามรรตสาระระห้าหง์ นคักวารม่วเมขกา้ นัใจ การมสี ่วนร่ว
ประสานงานรองรับการท่องเที่ยวของ สถานการณร์ ว่ มกนั และบรู ณากา
ชุมชนเกาะหมาก
ท�ำ งาน
3 ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการท่อง รว่ มกัน
เทย่ี วโดยชุมชน

4 การเปลย่ี นแปลงทีเ่ กดิ ขึ้น สงั คม

เศรษฐกจิ

เกดิ การทอ่ งเทยี่ ว เกิดช่องทางการ กระจายราย เกดิ การ เกดิ กลไกการ การขบั เคล่อื น เกดิ การกระจาย
เชิประสบการณ์ สู่ ตลาดหลากหลาย ได้เศรษฐกจิ เปลยี่ นแปลง ท�ำ งานและเครือ งานรว่ มกัน รายไดเ้ ศรษฐกิจ
การกระจายรายได้ และกว้างขวาง ฐานรากจังหวัด ขา่ ยที่เขม้ แขง็ ฐานรากได้อยา่ ง
เขา้ สูช่ ุมชนเพิ่มข้นึ ครอบพ้นื ท่ที ว่ั ทางใน
มากว่ารอ้ ยละ 10 พทั ลุง กระบวนการ แทจ้ รงิ
เรยี นรู้การ
ทำ�งานรว่ มกัน

2 ปญั หา (Pain Point) ผลผลิต
ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว โ ด ย ชุ ม ช น เ ก า ะ ห ม า ก ปั จ จุ บั น มี
ผลิตภัณฑ์ท่องเท่ียวและเส้นทางหลากหลายรูป ผลิตภณั ฑท์ อ่ งเท่ยี วโดยชมุ ชน
แบบ แตช่ ุมชนยังขาดความรู้และนวตั กรรมเพือ่ การ ชุ ด ค ว า ม รู้ ด้ า น เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ แ ล ะ ก า ร ใ ช้
จัดการท่องเที่ยวของชมุ น ดังนัน้ การวจิ ัยครง้ั ได้ อินเตอรเ์ น็ต
พัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ นวัตกรรม Decision Support System Web Map
บริหารจัดการการและส่งเสริมการท่องเที่ยวของ GIS
ชมุ ชน รวมถงึ การถา่ ยทอดความรูแ้ ละทกั ษะการใช้ เว็ปแอปพลิเคชันแผนท่ีออนไลน์ส�ำหรับจัดการข้อมูล
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือรองรับการ เชงิ พ้ืนท่ีเพ่ือสนบั สนุนการตัดสินใจเดินทางทอ่ งเท่ียว
ขยายตัวของการทอ่ งเท่ยี วชมุ ชน ใหแ้ ก่นกั ท่องเท่ยี ว
ระบบตอบกลบั อตั โนมัติผา่ น line chatbot เพ่ือเพ่ิม
ขีดความสามารถในการรองรับการท่องเท่ียวของ
ชมุ ชนเกาะหมาก
ระบบสารสนเทศเพ่ือการจดั การทอ่ งเท่ยี วโดยชมุ ชุม

หน่วยงานและภาคที ่เี กี่ยวข้อง

เครือขา่ ยทอ่ งเท่ยี วโดยชุมชนเกาะหมาก
องค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะหมาก
ส�ำนักงานการทอ่ งเท่ยี วและกีฬาจังหวดั พัทลงุ
การทอ่ งเทย่ี วแหง่ ประเทศไทยสำ� นกั งานนครศรธี รรมราช-
พทั ลงุ
สมาคมทอ่ งเท่ยี วจงั หวดั พัทลงุ


นชอม่ับนกาแจรริลสะงร้ใแาจบ่งง ัรคปับวนา ิผมดเ ืช่อ
วม
าร

การคสว่ือามสเาปรน็ทวล่ี ชิดาการ
การกำ�หนดเป้า
หมายรว่ มกัน

การสรา้ งนวตั กรรมเทคโนโลยดี า้ นความปลอดภยั เพื่อขยายฐาน
การตลาด
นกั ทอ่ งเทย่ี วเชงิ ผจญภยั จงั หวดั นครนายก

หัวหน้าโครงการวจิ ัย ดร.พิมอร แก้วแดง

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี

1 บริบทพืน้ ที่ พน้ื ท่ี CBT/พ้ืนทขี่ ยายผล
พ้นื ที่ CBT
การท่องเที่ยวชมรมล่องแก่งและผจญภัยชมรมล่อง
แก่ง ตำ�บลหนิ ตั้ง อ�ำ เภอเมอื ง จังหวดั นครนายก
บริบท
การท่องเท่ียวล่องแก่งผจญภัยตำ�บลหินต้ังเป็น
กิ จ ก ร ร ม ก า ร ท่ อ ง เ ท่ี ย ว ท่ี โ ด ด เ ด่ น ข อ ง จั ง ห วั ด
นครนายกและเปน็ แหง่ เดยี วในประเทศทส่ี ามารถลอ่ ง
แก่งไดท้ ้งั ปี และมีธุรกจิ เก่ียวเนื่องกับการลอ่ งแกง่
ไดแ้ ก่ คนพายเรอื เจา้ ของเรอื อาหาร ที่พกั กระจาย
รายได้ในพนื้ ที่

3 นวัตกรรมและเทคโนโลยี กระบวนการ ประเมนิ เทค
ถา่ ยทอดเทคโนโลยีสชู่ มุ ชน
ชื่อเทคโนโลยี
ประชมุ หารือรว่ มชมุ ชน
“ ”Safety Buddy (VR) เพ่ือเข้าใจบริบท

คุณสมบตั ิ และหาเป้าหมายรว่ ม

1 ผสู้ วมชดุ แวน่ ตาส�ำ หรบั ความเปน็ จรงิ เสมอื น สกัด pain point
(VR Glass) ทรี่ องรับกบั แอปพลิเคชันระบบ เลือกเทคโนโลยมี าใช้
จำ�ลองการท่องเท่ียวเชิงผจญภัยอย่าง
ปลอดภัยด้วยเทคโนโลยีความเป็นจริง ประเมนิ ความคมุ้ ค่า
เสมอื น

2 ผู้ใช้เข้าสู่ระบบและกำ�หนดพ้ืนที่สำ�หรับการ
ทอ่ งเทยี่ วเชิงผจญภัย

3 สามารถเลือกอุปกรณ์ที่นักท่องเท่ียวต้องใช้
เพือ่ ความปลอดภัย

เกบ็ ข้อมูลของนกั ท่องเท่ยี ว

4 การเปลีย่ นแปลงทเ่ี กิดข้ึน

เศรษฐกจิ สังคม

การเพม่ิ คณุ ค่าให้กบั นกั ทอ่ งเที่ยวโดยการลด นกั ท่องเที่ยวจะพบกับความต่ืนเตน้ เหมอื นสัมผัสของ
ระยะเวลารอคอยและลดความสญู เปลา่ ดว้ ย จริง จะเพ่ิมคณุ ค่าของการทอ่ งเที่ยวเชงิ ผจญภัยใหไ้ ด้
การใช้ทรัพยากรท่นี ้อยลง มากทสี่ ุด

นกั ท่องเท่ยี วสามารถสร้างความช�ำนาญได้ สามารถรบั มอื กบั สถานการณ์ฉุกเฉนิ ในขณะล่องแกง่
ดว้ ยตนเอง จากการใช้Training กิจกรรม
ผจญภัย

สามารถน�ำมาวิเคราะหเ์ พอ่ื พฒั นาการให้บรกิ าร ดงึ ดดู นกั ทอ่ งเท่ียวท่มี คี วามกลวั กจิ กรรมผจญภยั
กจิ กรรมล่องแกง่ เพื่อน�ำไปแกไ้ ขโดยไม่ต้อง
ลองขายจริง

2 ปัญหา (Pain Point) เพมิ่ ความปลอดภัยในการลอ่ งแกง่ และยกระดับการ
กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงผจญภัยนครนายก ท่องเที่ยวเชงิ ผจญภัย
มีจุดอ่อนในเรื่องการให้บริการที่เป็นมาตรฐาน
โดยเฉพาะด้านความปลอดภัย กลไกจัดการทอ่ ง 5 ผลผลิต
เที่ยวที่เป็นกลุ่มชมรมยังเป็นการรวมกลุ่มของผู้ให้
บริการท่องเที่ยวท่ียังไม่อยู่ในรูปแบบเป็นทางการ แผนการพัฒนาการทอ่ งเท่ยี ว ข้อเสนอแนะเชงิ
ยังไม่ไดร้ บั การรับรองมาตรฐาน นโยบายของการท่องเท่ยี วเชงิ ผจญภยั

คโนโลยี 6 หนว่ ยงานและภาคีทเ่ี กี่ยวข้อง

สร้างเทคโนโลยี การทอ่ งเท่ยี วแห่งประเทศไทย
ท่องเท่ียวและกีฬาจงั หวัดนครนายก
ถา่ ยทอดเทคโนโลยี สมาคมส่งเสริมการทอ่ งเท่ยี วจังหวดั นครนายก
ไปยงั User ชมรมลอ่ งแก่งและผจญภยั นครนายก
องคก์ ารบรหิ ารส่วนต�ำบลหนิ ตัง้
ทดลองใชเ้ ทคโนโลยี
แชรป์ ระสบการณท์ อ่ งเทย่ี ว
ปรับใช้เทคโนโลยี จงั หวัดนครนายก


Click to View FlipBook Version