The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักการทรงงาน 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by phraeksriracha.nfe, 2022-06-06 02:14:51

หลักการทรงงาน 1

หลักการทรงงาน 1

หลกั การทรงงาน

ในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั



หลักการทรงงาน


ใ น พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้ า อ ยู่ หั ว


สำนกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพื่อประสานงาน

โครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดำร
ิ (สำนักงาน
กปร.)

เ ปน็ ทป่ี ระจกั ษก์ นั โดยทวั่ กนั แลว้ วา่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั
ทรงมีสายพระเนตรและพระอัจฉริยภาพในด้านการพัฒนาต่างๆ
ปรากฏแก่สายตาประชาชนท้ังชาวไทยและชาวต่างประเทศ
ภาพพระราชกรณยี กิจทพ่ี ระองค์ทรงปฏบิ ตั ิ นับตัง้ แตเ่ สดจ็ ขน้ึ เถลิง
ถวัลย์สิริราชสมบัติในปี ๒๔๘๙ แสดงให้เห็นถึงพระเมตตาและ
พระมหากรุณาธิคุณ ในการบำบัดทุกข์บำรุงสุขให้แก่พสกนิกร
ทั้งแผ่นดินได้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น

พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว ทรงทมุ่ เทพระวรกายตรากตรำ
และมุ่งมน่ั เพ่อื แก้ไขปญั หาความเดือดรอ้ นให้แก่พสกนิกรไมว่ า่ จะ
เชอื้ ชาติใด ศาสนาใด หรอื อยหู่ า่ งไกลสกั เพยี งใด กม็ ทิ รงยอ่ ทอ้ เขา้ ไป
ชว่ ยเหลือราษฎรทง้ั ด้านสาธารณสุข การศกึ ษา สาธารณูปโภคขั้น
พนื้ ฐาน การเกษตร การฟ้ืนฟทู รพั ยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อม
ทง้ั ดนิ นำ้ ปา่ ไม้ และพลงั งาน หรอื แมก้ ระทง่ั การจราจร ทรงคดิ ค้น
หาแนวทางแก้ไขปัญหาได้อยา่ งแยบยล

การทรงงานในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงยดึ การดำเนนิ
งานในลกั ษณะทางสายกลางทส่ี อดคลอ้ งกบั สง่ิ ทอ่ี ยรู่ อบตวั และสามารถ
ปฏบิ ตั ไิ ดจ้ รงิ ทรงมคี วามละเอยี ดรอบคอบและทรงคดิ คน้ หาแนวทาง
พฒั นาเพอ่ื มงุ่ สปู่ ระโยชนต์ อ่ ประชาชนสงู สดุ มคี ณุ คา่ และควรยดึ เปน็
แบบอยา่ งในการเจรญิ รอยตามเบอ้ื งพระยคุ ลบาท นำมาปฏบิ ตั เิ พอื่ ให้
บงั เกิดผลต่อตนเอง สงั คม และประเทศชาติตลอดไป

หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่สามารถ
รวบรวมได้มีดงั ตอ่ ไปนี้

หลักกา๒รท
รงงาน

ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ

การท่ีจะพระราชทานโครงการใดโครงการหนึ่งจะทรง
ศกึ ษาขอ้ มลู รายละเอยี ดอยา่ งเปน็ ระบบ ทง้ั จากขอ้ มลู เบอื้ งตน้
จากเอกสาร แผนที่ สอบถามจากเจ้าหน้าท่ี นักวิชาการ
และราษฎรในพ้ืนท่ีให้ ได้รายละเอียดที่ถูกต้อง เพ่ือที่จะ
พระราชทานความช่วยเหลือได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วตรง
ตามความตอ้ งการของประชาชน





หลักกา๓รท
รงงาน

ระเบิดจากข้างใน

พระองคท์ รงมงุ่ เนน้ เร่ืองการ พฒั นาคน ทรงตรัสว่า
“ตอ้ งระเบดิ จากขา้ งใน” หมายความวา่ ตอ้ งสรา้ งความเขม้ แขง็
ให้คนในชุมชนที่เราเข้าไปพัฒนาให้มีสภาพพร้อมที่จะรับการ
พัฒนาเสียก่อน แล้วจึงค่อยออกมาสู่สังคมภายนอก มิใช่
การนำเอาความเจริญหรือบุคคลจากสังคมภายนอกเข้าไปหา
ชุมชนหมู่บา้ นทยี่ งั ไมท่ นั ไดม้ ีโอกาสเตรยี มตัวหรือต้ังตัว





หลักกา๔รท
รงงาน

แก้ปัญหาท่ีจุดเล็ก

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป่ียมไปด้วย
พระอัจฉริยภาพในการแก้ ไขปัญหา ทรงมองปัญหาใน
ภาพรวม (Macro) ก่อนเสมอ แต่การแก้ปัญหาของพระองค์
จะเริ่มจากจุดเล็กๆ (Micro) คือ การแก้ ไขปัญหาเฉพาะหน้า
ที่คนมักจะมองข้าม ดังพระราชดำรัสความตอนหน่ึงว่า
“...ถ้าปวดหัวก็คิดอะไรไม่ออกเป็นอย่างนั้นต้อง
แก้ ไขการปวดหัวนี้ก่อน...มันไม่ ได้เป็นการแก้อาการจริง
แต่ต้องแก้ปวดหัวก่อน เพื่อที่จะให้อยู่ในสภาพท่ีคิดได้
..แบบ (Macro) น้ี เขาจะทำแบบรอื้ ทงั้ หมด ฉนั ไมเ่ หน็ ดว้ ย
...อยา่ งบา้ นคนอยู่ เราบอกบา้ นนม้ี นั ผตุ รงนน้ั ผตุ รงน้ี ไมค่ มุ้
ทจ่ี ะซอ่ ม ...เอาตกลงรอ้ื บา้ นน้ี ระเบดิ เลย เราจะไปอยทู่ ี่ไหน
ไม่มีท่อี ยู่ ...วธิ ีทำตอ้ งคอ่ ยๆ ทำ จะไประเบิดหมดไม่ได.้ ..”

หลักกา๕รท
รงงาน

ทำตามลำดับขั้น

ในการทรงงานพระองคจ์ ะทรงเรม่ิ ตน้ จากสงิ่ ทจ่ี ำเปน็ ของ
ประชาชนทส่ี ดุ กอ่ น ไดแ้ ก ่ สาธารณสขุ เมอ่ื มรี า่ งกายสมบรู ณ์
แข็งแรงแล้วก็จะสามารถทำประโยชน์ด้านอ่ืนๆ ต่อไปได้
จากน้ันจะเป็นเร่ืองสาธารณูปโภคข้ันพื้นฐานและส่ิงจำเป็น
ในการประกอบอาชพี อาท ิ ถนน แหลง่ นำ้ เพอ่ื การเกษตร
การอปุ โภคบรโิ ภค ทเ่ี ออ้ื ประโยชนต์ อ่ ประชาชนโดยไมท่ ำลาย
ทรพั ยากรธรรมชาติ รวมถึงการให้ความรทู้ างวิชาการและ
เทคโนโลยที เ่ี รยี บงา่ ย เนน้ การปรบั ใชภ้ มู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ทรี่ าษฎร
สามารถนำไปปฏิบัติได้และเกิดประโยชน์สูงสุดดังพระบรม
ราโชวาท เมอ่ื วนั ท ่ี ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗ ความตอนหนง่ึ วา่

หลักกา๖ร
ทรงงาน

“...การพัฒนาประเทศจำเป็นต้องทำตามลำดับขั้น
ตอ้ งสรา้ งพนื้ ฐานคอื ความพอมพี อกนิ พอใชข้ องประชาชน
สว่ นใหญเ่ ปน็ เบอ้ื งตน้ กอ่ น ใชว้ ธิ กี ารและอปุ กรณท์ ป่ี ระหยดั
แตถ่ ูกตอ้ งตามหลักวชิ าการ เมอ่ื ไดพ้ นื้ ฐานที่มนั่ คงพรอ้ ม
พอสมควรและปฏบิ ตั ไิ ดแ้ ลว้ จงึ คอ่ ยสรา้ งคอ่ ยเสรมิ ความเจรญิ
และฐานะเศรษฐกจิ ขน้ั ทสี่ งู ขน้ึ โดยลำดบั ตอ่ ไป หากมงุ่ แตจ่ ะ
ทมุ่ เทสรา้ งความเจรญิ ยกเศรษฐกจิ ใหร้ วดเรว็ แตป่ ระการเดยี ว
โดยไม่ให้แผนปฏิบัติการสัมพันธ์กับสภาวะของประเทศ
และของประชาชน โดยสอดคลอ้ งดว้ ย กจ็ ะเกดิ ความไมส่ มดลุ
ในเรอื่ งตา่ งๆ ขน้ึ ซง่ึ อาจกลายเปน็ ความยงุ่ ยากลม้ เหลวได้ใน
ทสี่ ดุ ดงั เหน็ ไดท้ อี่ ารยประเทศกำลงั ประสบปญั หาทางเศรษฐกจิ
อยา่ งรนุ แรงในเวลาน้ี

การชว่ ยเหลอื สนบั สนนุ ประชาชน ในการประกอบอาชพี
และตง้ั ตวั ใหม้ คี วามพอกนิ พอใชก้ อ่ นอนื่ เปน็ พนื้ ฐานนน้ั เปน็
สง่ิ สำคญั อยา่ งยงิ่ ยวด เพราะผทู้ มี่ อี าชพี และฐานะเพยี งพอ
ทจี่ ะพง่ึ ตนเอง ยอ่ มสามารถสรา้ งความเจรญิ กา้ วหนา้ ระดบั
ที่สูงได้ต่อไปโดยแน่นอน ส่วนการถือหลักท่ีจะส่งเสริม
ความเจริญให้ค่อยเป็นไปตามลำดับ ด้วยความรอบคอบ
ระมัดระวงั และประหยดั นัน้ ก็เพือ่ ปอ้ งกันความผิดพลาด
ล้มเหลว และเพอ่ื ให้บรรลผุ ลสำเรจ็ ไดแ้ นน่ อนบริบูรณ.์ ..”

หลักกา๗รท
รงงาน

หลักกา๘รท
รงงาน

ภูมิสังคม

การพัฒนาใดๆ ตอ้ งคำนึงสภาพภมู ิประเทศของบรเิ วณ
นน้ั วา่ เปน็ อยา่ งไร และสงั คมวทิ ยาเกย่ี วกบั ลกั ษณะนสิ ยั ใจคอ
ของคน ตลอดจนวฒั นธรรมประเพณีในแตล่ ะทอ้ งถนิ่ ทมี่ คี วาม
แตกตา่ งกนั ดงั พระราชดำรสั ความตอนหน่งึ วา่
“ . . . การพัฒนาจะต้องเป็นไปตามภูมิประเทศทาง
ภมู ศิ าสตร์ และภมู ปิ ระเทศทางสงั คมศาสตร์ในสงั คมวทิ ยา
คอื นสิ ยั ใจคอของคนเราจะไปบงั คบั ใหค้ นอนื่ คดิ อยา่ งอน่ื ไม่ได้
เราตอ้ งแนะนำ เราเขา้ ไปชว่ ยโดยทจ่ี ะคดิ ใหเ้ ขาเขา้ กบั เราไม่ได้
แตถ่ า้ เราเขา้ ไปแลว้ เราเขา้ ไปดวู า่ เขาตอ้ งการอะไรจรงิ ๆ แลว้ ก็
อธบิ ายใหเ้ ขาเขา้ ใจหลกั การของการพฒั นานกี้ จ็ ะเกดิ ประโยชน์
อยา่ งยิง่ ...”

หลักกา๙รท
รงงาน

หลักกา๑ร๐ทร
งงาน

องค์รวม

ทรงมวี ธิ ีคดิ อย่างองคร์ วม (Holistic) หรอื มองอยา่ ง
ครบวงจร ในการทจ่ี ะพระราชทานพระราชดำรเิ กยี่ วกบั โครงการ
หน่ึงน้ันจะทรงมองเหตุการณ์ท่ีจะเกิดข้ึนและแนวทางแก้ ไข
อยา่ งเชอ่ื มโยง ดงั เชน่ กรณขี อง “ทฤษฎีใหม”่ ทพ่ี ระราชทาน
ให้แก่ปวงชนชาวไทย เป็นแนวทางในการประกอบอาชีพ
แนวทางหน่ึงที่พระองค์ทรงมองอย่างองค์รวม ต้ังแต่การ
ถือครองท่ีดินโดยเฉล่ียของประชาชนคนไทย ประมาณ
๑๐ - ๑๕ ไร่ การบริหารจัดการท่ีดินและแหล่งน้ำ อันเป็น
ปจั จยั พนื้ ฐานทสี่ ำคญั ในการประกอบอาชพี เมอื่ มนี ำ้ ในการทำ
เกษตรแล้วจะส่งผลให้ผลผลิตดีข้ึน และหากมีผลผลิต
เพ่ิมมากขึ้น เกษตรกร จะตอ้ งรจู้ กั วธิ กี ารจดั การและการตลาด
รวมถงึ การรวมกลมุ่ รวมพลงั ชมุ ชนใหม้ คี วามเขม้ แขง็ เพอื่ พรอ้ ม
ทจี่ ะออกสกู่ ารเปลยี่ นแปลงของสงั คมภายนอกไดอ้ ยา่ งครบวงจร
น่ันคอื ทฤษฎีใหม่ขัน้ ที่ ๑, ๒ และ ๓

หลักกา๑ร๑ท
รงงาน

ไม่ติดตำรา

การพัฒนาตามแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จ
พระเจา้ อยหู่ วั มลี กั ษณะของการพฒั นาทอ่ี นโุ ลม และรอมชอม
กับสภาพธรรมชาติส่ิงแวดล้อมและสภาพของสังคมจิตวิทยา
แห่งชุมชนคือ “ไม่ติดตำรา” ไม่ผูกมัดติดกับวิชาการและ
เทคโนโลยที ่ีไมเ่ หมาะสมกบั สภาพชวี ติ ความเปน็ อยทู่ แี่ ทจ้ รงิ
ของคนไทย

หลักก๑าร๒ทร
งงาน

หลักก๑าร๓ท
รงงาน

ประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด

ในเรื่องของความประหยัดน้ ี ประชาชนชาวไทยทราบ
กันดีว่าเรื่องส่วนพระองค์ก็ทรงประหยัดมากดังท่ีเราเคย
เห็นว่า หลอดยาสีพระทนต์น้ันทรงใช้อย่างคุ้มค่าอย่างไร
หรือฉลองพระองค์แต่ละองค์ทรงใช้อยู่เป็นเวลานาน ดังที่
นายสุเมธ ตนั ติเวชกุล เลขาธิการมลู นิธชิ ยั พฒั นา เคยเลา่ ว่า
“กองงานในพระองค์โดยทา่ นผหู้ ญงิ บตุ รี วรี ะไวทยะ
บอกวา่ ปหี นง่ึ พระองค์ เบกิ ดนิ สอ ๑๒ แทง่ เดอื นละแทง่
ใช้จนกระท่ังกุด ใครอย่าไปทิ้งของท่านนะ จะกร้ิวเลย
ประหยดั ทกุ อยา่ ง เปน็ ตน้ แบบทกุ อยา่ ง ทกุ อยา่ งนม้ี คี า่ สำหรบั
พระองคห์ มด ทกุ บาททกุ สตางคจ์ ะใชอ้ ยา่ งระมดั ระวงั จะสงั่ ให้
เราปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความรอบคอบ”
ขณะเดียวกันการพัฒนาและช่วยเหลือราษฎรทรงใช้
หลักในการแก้ ไขปัญหาด้วยความเรียบง่ายและประหยัด
ราษฎรสามารถทำไดเ้ อง หาได้ในทอ้ ง
ถ่ินแ ล ะ ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ ส่ิ ง ท่ี มี อ ยู่ ใ น ภู มิ
ภาคนน้ั ๆ มาแก้ไขปัญหาโดยไม่ตอ้ ง
ลงทุนสูงหรือใชเ้ ทคโนโลยีที่ไม่ยุ่งยาก
นกั ดงั พระราชดำรสั ตอนหนึง่ ว่า
“...ใหป้ ลกู ปา่ โดยไมต่ อ้ งปลกู
โดยปล่อยให้ข้ึนเองตามธรรมชาติ
จะได้ประหยัดงบประมาณ...”

หลักก๑าร๔ท
รงงาน

ทำให้ง่าย - Simplicity

ด้วยพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถในพระบาท
สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทำใหก้ ารคดิ คน้ ดดั แปลง ปรบั ปรงุ และ
แก้ไขงานการพฒั นาประเทศตามแนวพระราชดำรดิ ำเนนิ ไปได้
โดยงา่ ย ไมย่ งุ่ ยากซบั ซอ้ น และทสี่ ำคญั อยา่ งยง่ิ คอื สอดคลอ้ ง
กับสภาพความเปน็ อย่แู ละระบบนเิ วศโดยส่วนรวม ตลอดจน
สภาพทางสังคมของชุมชนนั้นๆ ทรงโปรดท่ีจะทำส่ิงท่ียาก
ใหก้ ลายเปน็ งา่ ย ทำสงิ่ ทส่ี ลบั ซบั ซอ้ นใหเ้ ขา้ ใจงา่ ย อนั เปน็ การ
แก้ปัญหาด้วยการใช้กฎแห่งธรรมชาติเป็นแนวทางน่ันเอง
แตก่ ารทำสง่ิ ยาก ใหก้ ลายเปน็ งา่ ยนนั้ เปน็ ของยาก ฉะนน้ั คำวา่
“ทำใหง้ า่ ย” หรอื “Simplicity” จงึ เปน็ หลกั คดิ สำคัญทีส่ ดุ
ของการพฒั นาประเทศในรปู แบบของโครงการอนั เนอ่ื งมาจาก
พระราชดำร ิ

หลักก๑าร๕ท
รงงาน

การมีส่วนร่วม

พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงเปน็ นกั ประชาธปิ ไตย
จงึ ทรงนำ “ประชาพจิ ารณ”์ มาใช้ในการบรหิ าร เพอื่ เปดิ โอกาส
ใหส้ าธารณชน ประชาชนหรอื เจา้ หนา้ ทท่ี กุ ระดบั ไดม้ ารว่ มกนั
แสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั เรอ่ื งทจ่ี ะตอ้ งคำนงึ ถงึ ความคดิ เหน็
ของประชาชน หรอื ความตอ้ งการของสาธารณชน ดงั พระราชดำรสั
ความตอนหนึ่งวา่
“...สำคญั ทสี่ ดุ จะตอ้ งหดั ทำใจใหก้ วา้ งขวาง หนกั
รจู้ กั รบั ฟงั ความคดิ เหน็ แมก้ ระทงั่ ความวพิ ากษว์ จิ ารณจ์ าก
ผอู้ น่ื อยา่ งฉลาด เพราะการรจู้ กั รบั ฟงั อยา่ งฉลาดนนั้ แทจ้ รงิ คอื
การระดมสตปิ ญั ญาและประสบการณอ์ นั หลากหลาย มาอำนวย
การปฏบิ ตั บิ รหิ ารงานใหป้ ระสบความสำเรจ็ ทสี่ มบรู ณน์ น่ั เอง...”

หลักก๑า๖รท
รงงาน

หลักก๑า๗รทร
งงาน

ประโยชน์ส่วนรวม

การปฏิบัติพระราชกรณียกิจ และการพระราชทาน
พระราชดำริในการพัฒนาและช่วยเหลือพสกนิกรในพระบาท
สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงระลกึ ถงึ ประโยชนข์ องสว่ นรวมเปน็
สำคญั ดังพระราชดำรัสความตอนหนึ่งว่า
“...ใครตอ่ ใครบอกวา่ ขอใหเ้ สยี สละสว่ นตวั เพอื่ สว่ น
อนั นฟี้ งั จนเบอ่ื อาจรำคาญดว้ ยซำ้ วา่ ใครตอ่ ใครมากบ็ อกวา่
ขอใหค้ ดิ ถงึ ประโยชนส์ ว่ นรวม อาจมานกึ ในใจวา่ ให้ ๆ อยเู่ รอ่ื ย
แลว้ สว่ นตวั จะไดอ้ ะไร ขอใหค้ ดิ วา่ คนท่ีใหเ้ พอ่ื สว่ นรวมนน้ั
มไิ ด้ใหส้ ว่ นรวมแตอ่ ยา่ งเดยี ว เปน็ การใหเ้ พอื่ ตวั เองสามารถ
ที่จะมสี ว่ นรวมท่ีจะอาศยั ได้...”

พระบรมราโชวาท มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ๒๕๑๔
หลักก๑า๘รท
รงงาน

หลัก๑ก๙าร
ทรงงาน

บริการรวมท่ีจุดเดียว
One Stop Services

การบริการรวมที่จุดเดียวเป็นรูปแบบการบริการแบบ
เบ็ดเสรจ็ หรอื One Stop Services ทเ่ี กดิ ข้นึ เป็นครัง้ แรก
ในระบบบรหิ ารราชการแผน่ ดินของประเทศไทย โดยทรงให้
ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำรเิ ปน็ ตน้ แบบ
ในการบรกิ ารรวมทจ่ี ดุ เดยี ว เพอื่ ประโยชนต์ อ่ ประชาชนทจี่ ะมา
ขอใชบ้ รกิ าร จะประหยดั เวลาและคา่ ใชจ้ า่ ย โดยจะมหี นว่ ยงาน
ราชการต่างๆ มาร่วมดำเนินการและให้บริการประชาชน
ณ ทแี่ ห่งเดยี ว ดังพระราชดำรสั ความตอนหน่งึ วา่

“...กรม กองตา่ งๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ชวี ติ ประชาชนทกุ ดา้ น
ไดส้ ามารถแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ ปรองดองกนั ประสานกนั
ตามธรรมดาแตล่ ะฝา่ ยตอ้ งมศี นู ยข์ องตน แตว่ า่ อาจจะมงี าน
ถอื วา่ เปน็ ศนู ยข์ องตวั เองคนอน่ื ไมเ่ กย่ี วขอ้ ง และศนู ยศ์ กึ ษา
การพัฒนาเป็นศูนย์ท่ีรวบรวมกำลังท้ังหมดของเจ้าหน้าท่ี
ทกุ กรม กอง ทง้ั ในดา้ นเกษตรหรอื ในดา้ นสงั คม ทงั้ ในดา้ น
หางาน การสง่ เสรมิ การศกึ ษามาอยดู่ ว้ ยกนั กห็ มายความวา่
ประชาชน ซง่ึ จะตอ้ งใชว้ ชิ าการทงั้ หลายกส็ ามารถทจ่ี ะมาดู
ส่วนเจ้าหน้าท่ีจะให้ความอนุเคราะห์แก่ประชาชนก็มาอยู่
พรอ้ มกนั ในทเี่ ดยี วกนั เหมอื นกนั ซงึ่ เปน็ สองดา้ น กห็ มายถงึ วา่
ท่ีสำคัญปลายทางคือประชาชน จะได้รับประโยชน์และ
ตน้ ทางของผเู้ ป็นเจา้ หน้าทจี่ ะให้ประโยชน์...”

หลักก๒าร๐ทร
งงาน

หลักการ๒ทร๑งง
าน

ทรงใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ

ทรงเขา้ ใจถงึ ธรรมชาตแิ ละ ตอ้ งการใหป้ ระชาชนใกลช้ ดิ
กบั ธรรมชาต ิ ทรงมองอย่างละเอียดถึงปัญหาธรรมชาติ หาก
เราตอ้ งการแก้ไขธรรมชาต ิ จะตอ้ งใชธ้ รรมชาตเิ ขา้ ชว่ ยเหลอื
อาท ิ การแก้ไขปญั หาปา่ เสอ่ื มโทรม ไดพ้ ระราชทานพระราชดำร ิ
การปลกู ปา่ โดยไมต่ อ้ งปลูก ปลอ่ ยใหธ้ รรมชาติชว่ ยในการ
ฟนื้ ฟธู รรมชาต ิ หรอื แมก้ ระทงั่ การปลกู ปา่ ๓ อยา่ ง ประโยชน์
๔ อย่าง ไดแ้ ก่ ปลูกไม้เศรษฐกจิ ไม้ผล และไม้ฟนื นอกจาก
ไดป้ ระโยชนต์ ามชอ่ื ของไมแ้ ลว้ ยงั ชว่ ยรกั ษาความชมุ่ ชนื้ ให้แก่
พื้นดินด้วย เห็นได้ว่าทรงเข้าใจธรรมชาติ และมนุษย์อย่าง
เกอ้ื กูลกัน ทำใหค้ นอยูร่ ว่ มกับปา่ ได้อย่างย่ังยนื

หลักก๒าร๒ทร
งงาน

หลักก๒าร๓ทร
งงาน

ใช้อธรรมปราบอธรรม

ทรงนำความจริง ในเรื่องความเป็นไปแห่งธรรมชาติ
และกฎเกณฑ์ของธรรมชาติมาเป็นหลักการ แนวปฏิบัติที่
สำคญั ในการแกป้ ญั หาและปรบั ปรงุ เปลยี่ นแปลงสภาวะที่ไมป่ กติ
เข้าสู่ระบบทเี่ ปน็ ปกต ิ เช่น การนำนำ้ ดี ขับไล่นำ้ เสยี หรอื
เจือจางน้ำเสียให้กลับเป็นน้ำดี ตามจังหวะการขึ้นลงตาม
ธรรมชาตขิ องน้ำ การบำบดั น้ำเน่าเสยี โดยใชผ้ กั ตบชวาซ่ึงมี
ตามธรรมชาต ิ ใหด้ ดู ซมึ สงิ่ สกปรกปนเปอื้ นในนำ้ ดงั พระราชดำรสั
ความว่า “ใชอ้ ธรรมปราบอธรรม”

หลักก๒ารท๔ร
งงาน

หลักกา๒รท๕ร
งงาน

ปลูกป่าในใจคน

เป็นการปลูกป่าลงบนแผ่นดินด้วย
ความต้องการอยูร่ อดของมนุษย ์ ทำใหต้ อ้ ง
มีการบริโภคและใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
อย่างส้ินเปลือง เพื่อประโยชน์ของตนเอง
และสร้างความเสียหายให้แก่สิ่งแวดล้อม
ปญั หาความไมส่ มดลุ จงึ บงั เกิดขึน้ ดังน้นั ใน
การท่ีจะฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติให้กลับ
คืนมาจะต้องปลูกจิตสำนึกในการรักผืนป่า
ให้แก่คนเสียก่อน ดังพระราชดำรัสความ
ตอนหน่ึงว่า
“...เจ้าหน้าท่ปี ่าไม้ควรจะปลกู ตน้ ไม้ ลงในใจคนเสียกอ่ น
แล้วคนเหล่านั้นก็จะพากันปลูกต้นไม้ลงบนแผ่นดินและรักษา
ต้นไม้ด้วยตนเอง...”

หลักก๒าร๖ทร
งงาน

หลักก๒าร๗ทร
งงาน

ขาดทุนคือกำไร

“...ขาดทนุ คอื กำไร Our loss is
our gain... การเสยี คอื การได้ ประเทศ
ชาตกิ จ็ ะกา้ วหนา้ และการทค่ี นอยดู่ มี สี ขุ
น้ัน เปน็ การนับท่ีเป็นมูลคา่ เงนิ ไม่ได.้ ..”
จากพระราชดำรัสดังกล่าว คือ หลักการในพระบาท
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท่ีมีต่อพสกนิกรไทย “การให้” และ
“การเสยี สละ” เปน็ การกระทำอนั มผี ลเปน็ กำไรคอื ความอยดู่ ี
มสี ขุ ของราษฎร ซง่ึ สามารถสะทอ้ นใหเ้ หน็ เปน็ รปู ธรรมชดั เจน
ได ้ ดังพระราชดำรสั ท่ีได้พระราชทานแก่ตวั แทนของปวงชน
ชาวไทยท่ีได้เข้าเฝ้าฯ ถวายพระพร เนื่องในโอกาสเฉลิม
พระชนมพรรษา เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๔ ณ ศาลา
ดุสิดาลัย พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ความตอนหน่ึงว่า


หลักก๒าร๘ท
รงงาน

“...ประเทศตา่ งๆ ในโลก ในระยะ ๓ ปี มานี้ คนทก่ี อ่ ตง้ั ประเทศ
ทมี่ หี ลกั ทฤษฎีในอดุ มคตทิ ี่ใช้ในการปกครองประเทศ ลว้ นแต่ ลม่ สลาย
ลงไปแล้ว เมืองไทยของเราจะสลายลงไปหรือ เมืองไทยนับว่าอยู่
ได้มาอย่างดี เมื่อประมาณ ๑๐ วันก่อน มีชาวต่างประเทศมาขอพบ
เพื่อขอโอวาทเกี่ยวกับการปกครองประเทศว่าจะทำอย่างไร
จึงได้แนะนำว่าให้ปกครองแบบคนจน แบบท่ีไม่ติดตำรามากเกินไป
ทำอย่างมีสามัคคี มีเมตตากัน ก็จะอยู่ได้ตลอด ไม่เหมือนกับคนที่
ทำตามวชิ าการ ทเี่ วลาปดิ ตำราแลว้ ไมร่ จู้ ะทำอยา่ งไร ลงทา้ ยกต็ อ้ ง
เปดิ หน้าแรกเรม่ิ ใหม่ ถอยหลังเขา้ คลอง ถา้ เราใชต้ ำราแบบอะลุ้ม
อล่วยกันในที่สุดได้ก็เป็นการดี ให้โอวาทเขาไปว่าขาดทุนเป็นการได้
กำไรของเรา นกั เศรษฐศาสตร์คงค้านว่าไม่ใช่ แตเ่ ราอธบิ ายไดว้ า่
ถ้าเราทำอะไรที่เราเสีย แต่ในที่สุดเราเสียน้ัน เป็นการได้ทางอ้อม
ตรงกับงานของรัฐบาลโดยตรง เงินของรัฐบาลหรืออีกนัยหน่ึงคือ
เงินของประชาชน ถ้าอยากให้ประชาชนอยู่ดี กินดี ก็ต้องลงทุน
ต้องสร้างโครงการซ่ึงต้องใช้เงินเป็นร้อย พัน หมื่นล้าน ถ้าทำไป
เปน็ การจา่ ยเงนิ ของรฐั บาล แต่ในไมช่ า้ ประชาชนจะไดร้ บั ผล ราษฎร
อยดู่ ี กนิ ดี ราษฎรไดก้ ำไรไป ถา้ ราษฎรมีรายได้ รัฐบาลก็เก็บภาษี
ไดส้ ะดวก เพอื่ ใหร้ ฐั บาลไดท้ ำโครงการตอ่ ไป เพอ่ื ความกา้ วหนา้ ของ
ประเทศชาติ ถา้ รรู้ กั สามคั คี รเู้ สยี สละ คอื การได้ ประเทศชาตกิ จ็ ะ
กา้ วหนา้ และการทคี่ นอยดู่ มี สี ขุ นนั้ เปน็ การนบั ทเี่ ปน็ มลู คา่ เงนิ ไม่ได.้ ..”

หลักก๒าร๙ทร
งงาน

การพึ่งตนเอง

การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ ในเบื้องต้นเป็นการ
แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า เพ่ือให้ประชาชนมีความแข็งแรง
พอท่ีจะดำรงชีวิตได้ต่อไป แล้วขั้นต่อไปก็คือการพฒั นาให้
ประชาชนสามารถอยู่ในสังคมได้ตามสภาพแวดล้อม และ
สามารถ “พึ่งตนเองได้” ในท่ีสุด ดังพระราชดำรัส
ความตอนหนึ่งว่า
“...การชว่ ยเหลือสนับสนนุ ประชาชนในการประกอบ
อาชพี และตง้ั ตวั ใหม้ คี วามพอกนิ พอใช้ กอ่ นอนื่ เปน็ สง่ิ สำคญั
ยงิ่ ยวดเพราะผมู้ อี าชพี และฐานะเพยี งพอทจ่ี ะพงึ่ พาตนเองได้
ยอ่ มสามารถสรา้ งความเจรญิ ในระดบั สงู ข้นั ต่อไป...”

หลักก๓าร๐ท
รงงาน

หลักก๓าร๑ท
รงงาน

พออยู่พอกิน

การพัฒนาเพ่ือให้พสกนิกรท้ังหลายประสบความสุขสมบูรณ์ใน
ชีวิตได้เริ่มจากการเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมประชาชนทุก
หมู่เหล่าในทุกภูมิภาคของประเทศไทย ได้ทอดพระเนตรความเป็นอยู่
ของราษฎรดว้ ยพระองค์เอง จงึ ทรงสามารถเข้าพระราชหฤทยั ในสภาพ
ปัญหาได้อย่างลึกซึ้งว่ามีเหตุผลมากมายท่ีทำให้ราษฎรตกอยู่ในวงจร
แหง่ ทกุ ขเ์ ขญ็ จากนน้ั ไดพ้ ระราชทานความชว่ ยเหลอื ใหพ้ สกนกิ ร มคี วาม
กินดีอยู่ดี มีชิีวิตอยู่ในข้ัน “พออยู่พอกนิ ” กอ่ น แล้วจึงขยบั ขยายใหม้ ี
ขดี สมรรถนะทกี่ า้ วหนา้ ตอ่ ไป
ในการพฒั นานนั้ หากมองในภาพรวมของประเทศมใิ ชง่ านเลก็ นอ้ ย
แต่ต้องใช้ความคิดและกำลังของคนท้ังชาติจึงจะบรรลุผลสำเร็จ ด้วย
พระปรีชาญาณในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงทำให้คนทั้งหลาย
ไดป้ ระจักษ์ว่าแนวพระราชดำรใิ นพระองค์น้ัน “เรยี บงา่ ย ปฏบิ ตั ไิ ดผ้ ล”
เป็นทย่ี อมรบั โดยท่ัวกนั ดงั พระราชดำรสั ความตอนหนึ่งวา่
“...ถ้าโครงการดี ในไมช่ ้า ประชาชน
ก็ได้กำไร จะได้ผล ราษฎรจะอย่ดู ีกินดีขนึ้
จะไดป้ ระโยชน์ไป...”

หลักก๓าร๒ทร
งงาน

หลักก๓าร๓ท
รงงาน

เศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาท่ีพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำรัสชี้แนะแนวทางการดำเนินชิีวิต
แกพ่ สกนกิ รชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา่ ๓๐ ป ี ตง้ั แตก่ อ่ นเกดิ
วกิ ฤตการณท์ างเศรษฐกจิ และเมอื่ ภายหลงั ไดท้ รงยำ้ แนวทาง
การแก้ไข เพอื่ ใหร้ อดพน้ และสามารถดำรงอยู่ได้อย่างม่ันคง
และยงั่ ยนื ภายใตก้ ระแสโลกาภวิ ตั นแ์ ละความเปลย่ี นแปลงตา่ งๆ
ดงั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งที่ได้พระราชทานไวด้ งั นี้


หลักก๓าร๔ท
รงงาน

เศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน็ ปรชั ญาชถี้ งึ แนวทางดำรง
อยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับครอบครัว
ระดบั ชมุ ชนจนถงึ ระดบั รฐั ทงั้ ในการพฒั นาและบรหิ าร
ประเทศใหด้ ำเนนิ ไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการ
พฒั นาเศรษฐกจิ เพอื่ ใหก้ า้ วหนา้ ตอ่ โลกยคุ โลกาภวิ ตั น์
ความพอเพียงหมายถึง ความพอประมาณ ความมี
เหตผุ ล รวมถงึ ความจำเป็นทจี่ ะต้องมีระบบภมู คิ ุม้ กนั
ในตวั ทด่ี พี อสมควร ตอ่ มามผี ลกระทบใดๆ อนั เกดิ จาก
การเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทง้ั นีจ้ ะตอ้ ง
อาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมดั ระวงั
อยา่ งยง่ิ ในการนำวชิ าการตา่ งๆ มาใช้ในการวางแผน
และการดำเนนิ การทกุ ขนั้ ตอน และขณะเดยี วกนั จะตอ้ ง
เสริมสร้างพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะ
เจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดบั
ให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์ สุจริตและให้มี
ความรอบรู้ท่ีเหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน
ความเพียร มสี ตปิ ัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้
สมดลุ และพรอ้ มต่อการรองรับการเปลย่ี นแปลงอยา่ ง
รวดเรว็ และกวา้ งขวางทงั้ ดา้ นวตั ถุ สงั คม สงิ่ แวดลอ้ ม
และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกไดเ้ ป็นอย่างดี

หลักก๓าร๕ท
รงงาน

ความซ่ือสัตย์ สุจริต จริงใจต่อกัน

“...คนท่ีไมม่ คี วามสจุ รติ คนที่ไมม่ คี วามมน่ั คง ชอบแต่
มกั งา่ ยไมม่ วี นั จะสรา้ งสรรคป์ ระโยชนส์ ว่ นรวมทส่ี ำคญั อนั ใดได้
ผทู้ ม่ี คี วามสจุ รติ และความมงุ่ มนั่ เทา่ นนั้ จงึ จะทำงานสำคญั
ยิ่งใหญ่ที่เป็นคุณ เป็นประโยชน์แท้จริงได้สำเรจ็ ...”

พระราชดำรัส เม่ือวนั ที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๒๒


“...ผู้ท่ีมีความสุจริตและบริสุทธ์ิใจ แม้จะมีความรู้
นอ้ ยกย็ อ่ มทำประโยชน์ใหแ้ กส่ ว่ นรวมได้ มากกวา่ ผมู้ คี วามรู้
มากแต่ไมม่ คี วามสจุ รติ ไมม่ คี วามบรสิ ทุ ธ์ิใจ...”

พระราชดำรสั เมื่อวันที่ ๑๘ มนี าคม ๒๕๓๓

“...ผวู้ า่ CEO ตอ้ งเปน็ คนทสี่ จุ รติ ทจุ รติ ไม่ได้ ถา้ ทจุ รติ
แม้แต่นดิ เดียวกข็ อแชง่ ให้มอี ันเป็นไป...”

“...ขา้ ราชการหรอื ประชาชนมกี ารทจุ รติ ถา้ มที จุ รติ แลว้
บา้ นเมอื งพัง ที่เมืองไทยพังมาเพราะมีทจุ ริต...”

พระราชดำรัส เม่ือวันที่ ๓ ตลุ าคม ๒๕๔๖
หลักก๓าร๖ทร
งงาน

หลักก๓าร๗ทร
งงาน

ทำงานอย่างมีความสุข

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระเกษมสำราญ
และทรงมีความสุขทุกคราที่จะช่วยเหลือประชาชน ซ่ึงเคย
มีพระราชดำรสั คร้งั หนึ่งความวา่
“...ทำงานกับฉนั ฉันไม่มอี ะไรจะให้ นอกจากการมี
ความสขุ ร่วมกัน ในการทำประโยชน์ใหก้ ับผ้อู นื่ ...”

หลักก๓าร๘ท
รงงาน

ความเพียร : พระมหาชนก

จากพระราชนิพนธ์พระมหาชนก เป็นพระราชนิพนธ์ท่ี
พระองค์ทรงใช้เวลาค่อนข้างนานในการคิดประดิษฐ์ ทำให้
เขา้ ใจงา่ ย และปรบั เปลยี่ นใหเ้ ขา้ กบั สภาพสงั คมปจั จบุ นั อกี ทง้ั
ภาพประกอบ และคติธรรมต่างๆ ได้ส่งเสริมให้หนังสือเล่มน้ี
มีความศักด์ิสิทธิ์ที่หากคนไทยน้อมรับมาศึกษาวิเคราะห์
และปฏิบัติตามรอยพระมหาชนก กษัตริย์ผู้เพียรพยายาม
แม้จะไม่เห็นฝ่ัง ก็ยังว่ายน้ำต่อไป เพราะถ้าไม่เพียรว่ายก็จะ
ตกเป็นอาหาร ปู ปลา และไม่ได้พบกับเทวดาทม่ี าชว่ ยเหลอื
มใิ หจ้ มนำ้ ไป
เช่นเดียวกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงริเร่ิม
ทำโครงการตา่ งๆ ในระยะแรก ท่ีไมม่ คี วามพรอ้ มในการทำงาน
มากนัก และทรงใช้พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ท้ังส้ิน แต่
พระองค์ก็มิได้ท้อพระราชหฤทัย มุ่งม่ันพัฒนาบ้านเมืองให้
บังเกิดความร่มเย็นเป็นสุข


หลักก๓าร๙ทร
งงาน

รู้ รัก สามัคคี

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระราชดำรัสในเร่ือง
“รู้ รกั สามัคคี” มาอย่างต่อเน่ือง ซ่ึงเป็นคำสามคำ ท่ีมีค่า
และมีความหมายลกึ ซงึ้ พรอ้ มทง้ั สามารถปรับใช้ได้กับทกุ ยคุ
ทุกสมยั
รู้ : การท่ีเราจะลงมือทำส่ิงใดน้ัน จะต้องรู้เสียก่อน
รู้ถึงปัจจยั ทัง้ หมด รถู้ ึงปัญหา และรู้ถึงวิธีการแกป้ ัญหา
รกั : คอื ความรกั เมื่อเรารคู้ รบด้วยกระบวนความแลว้
จะต้องมีความรักการพิจารณาท่ีจะเข้าไปลงมือปฏิบัติแก้ ไข
ปญั หานน้ั ๆ
สามัคคี : การทีจ่ ะลงมือปฏบิ ัตนิ น้ั ควรคำนึงเสมอวา่
เราจะทำงานคนเดยี วไม่ได ้ ตอ้ งทำงานรว่ มมอื รว่ มใจเปน็ องคก์ ร
เป็นหมคู่ ณะ จึงจะมีพลังเขา้ ไปแกป้ ญั หาให้ลลุ ว่ งไปได้ดว้ ยดี

หลักก๔าร๐ท
รงงาน

«¥±²£—£‡‡²™

à ™ ž £ ° š ² — ª ¡ À ”Ç ˆ ž £ ° À ˆi ² ­ ¢h¹ «± §

พมิ พพิม์คพร์ค้งั รทรั้งัง่ี ทท๑ี่ ี่๗๑๖ จจจำ��นำนนววนวนนพพพิมมิ ิมพพพ์ ์ ๒์ ๑๒๐๐๐,๐,๐๐๐๐๐๐ เลเล่ม่ม ((กม(รตีนกุลาฎาค�คมคมม๒๒๒๕๕๕๕๕๙๓๕) )

ส�ำนักงานคณะกรรมการพเิ ศษเพื่อประสานงาน
โครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ (ส�ำนักงาน กปร.)

๒๐๑๒ อาคารส�ำนกั งานโครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดำ� ริ ซอยอรุณอมรนิ ทร์ ๓๖
ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงบางยข่ี นั เขตบางพลัด กรงุ เทพมหานคร ๑๐๗๐๐
โทรศัพท์ ๐ ๒๔๔๗ ๘๕๐๐ โทรสาร ๐ ๒๔๔๗ ๘๕๖๒ www.rdpb.go.th


Click to View FlipBook Version