The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ananyalak9607, 2021-03-14 12:08:39

พลังงานทดแทน.

พลังงานทดแทน.

พลังงานทดแทน

RENEWABLE ENERGY

เสนอ
อาจารย์ปุณยนุช สุขหิรัญ

โดย
นางสาวอนัญลักษณ์ จันทร์หอม
เลขที 3 รหัสนักศึกษา 6301105001037

กลุ่มเรียน 63010.152

คาํ นํา

หนังสื ออิเล็กทรอนิกส์ เล่มนีจัดทําขึนเพื อเปนส่ วนหนึงของวิชาสิ งแวดล้อมและการ
พัฒนาคุณภาพชีวิต (GESC103) เพือให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรืองของสิงแวดล้อมและการ
พัฒนาคุณภาพชีวิต โดยได้ศึกษาผ่านแหล่งความรู้ต่าง ๆ อาทิเช่น ตาํ รา วารสาร ห้อง
สมุด และแหล่งความรู้จากเว็บไซต์ต่าง ๆ โดยรายงานเล่มนีมีเนือหาเกียวกับลักษณะ
ประโยชน์ ข้อดีและข้อเสียของพลังงานทดแทน และสามารถนําความรู้ทีได้จากรายงานเล่ม
นีไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาํ วัน ก่อให้เกิดความเข้าใจเกียวกับพลังงานทดแทนมากยิงขึน

ผู้จัดทาํ หวังเปนอย่างยิงว่าการจัดทาํ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะมีข้อมูลทีเปนประโยชน์
ต่อผู้ทีสนใจศึกษาเรืองพลังงานทดแทนเปนอย่างดี หากมีข้อแนะนาํ หรือข้อผิดพลาด
ประการใด ผู้จัดทาํ ขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ทีนีด้วย

นางสาวอนัญลักษณ์ จันทร์หอม
ผู้จัดทํา

ส า ร บั ญ

พ ลั ง ง า น ท ด แ ท น 1
พ ลั ง ง า น แ ส ง อ า ทิ ต ย์ 2-4
พ ลั ง ง า น นาํ 5-10
พ ลั ง ง า น ค ว า ม ร้ อ น ใ ต้ พิ ภ พ 11-13
พ ลั ง ง า น ชี ว ภ า พ 14-15
พ ลั ง ง า น ชี ว ม ว ล 16-19
พ ลั ง ง า น ล ม 21-22
บ ร ร ณ า นุ ก ร ม
23

1

พลังงานทดแทน

พลังงานทดแทน โดยทัวไปหมายถึง พลังงานทีใช้ทดแทนพลังงานจากฟอสซิล เช่น ถ่านหิน, ปโตรเลียม
และ แก๊สธรรมชาติซึงปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์มหาศาลอันเปนสาเหตุโลกร้อน[1] ตัวอย่างพลังงานทดแทนที
สําคัญเช่น พลังงานลม, พลังงานนาํ , พลังงานแสงอาทิตย์, พลังงานนาํ ขึนนาํ ลง, พลังงานคลืน, พลังงานความ
ร้อนใต้พิ ภพ, เชือเพลิงชีวภาพ พลังงานนาํ มันดิบ นาํ มันปาลม์ พลังงานนํามันพื ช เปนต้น ในป 2555 ประเทศไทย
ใช้พลังงานทดแทนเพี ยง 18.2% ของพลังงานทังหมด เพิ มขึนจากปก่อนหน้า เพี ยง 1.8% โดยทีพลังงานแสง
อาทิตย์ และเชือเพลิงชีวภาพ เพิ มขึน 23% แต่ พลังงานจาก ฟน ถ่าน แกลบ และวัสดุเหลือใช้ทางเกษตร โดยนํา
มาใช้เปนเชือเพลิงดังเดิม มีอัตราลดลง 10%[2] (อาจเปนเพราะมวลชีวภาพดังกล่าวถูกแปรรูปไปเปนเชือเพลิง
ชีวภาพไปแล้ว)

พลังงานทดแทนอีกประเภทหนึงเปนพลังงานทีถูกทําขึนใหม่ (renewable) ได้อย่างต่อเนือง (เช่นมวลของ
ลมกลุ่มแรกผ่านกังหันลมไป มวลของลมกลุ่มใหม่ก็ตามมาอย่างต่อเนืองเปนต้น) เรียกว่า พลังงานหมุนเวียน
(renewal energy) ได้แก่ แสงอาทิตย์ ลม นํา และไฮโดรเจนเปนต้น (บางตาํ ราว่า มวลชีวภาพ ก็เปนพลังงาน
หมุนเวียน ขึนกับว่า มันทําขึนใหม่ได้อย่างต่อเนืองหรือไม่)

ตามแผนพั ฒนาและส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน 15 ป ระหว่าง 2555-2564 มีแผนทีจะให้มีการใช้
พลังงานทดแทนเปนสัดส่วน 20% ของพลังงานทังหมด การศึกษาและพั ฒนาพลังงานทดแทนเปนการศึกษา
ค้นคว้า ทดสอบ พั ฒนา และสาธิต ตลอดจนส่งเสริมและเผยแพร่พลังงานทดแทน ซึงเปนพลังงานทีสะอาด
ไม่มีผลกระทบต่อสิงแวดล้อม และเปนแหล่งพลังงานทีมีอยู่ในท้องถิน เช่น พลังงานลม แสงอาทิตย์ ชีวมวล และ
อืน ๆ เพื อให้มีการผลิต และการใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลาย มีประสิทธิภาพ และมีความเหมาะสมทังทางด้าน
เทคนิค เศรษฐกิจ และสังคม

สําหรับผู้ใช้ในเมือง และชนบท ซึงในการศึกษา ค้นคว้า และพั ฒนาพลังงานทดแทนดังกล่าว ยังรวมถึงการ
พั ฒนาเครืองมือ เครืองใช้ และอุปกรณ์เพื อการใช้งานมีประสิทธิภาพสูงสุดด้วย งานศึกษา และพั ฒนาพลังงาน
ทดแทน เปนส่วนหนึงของแผนงานพั ฒนาพลังงานทดแทน ซึงมีโครงการทีเกียวข้องโดยตรงภายใต้แผนงานนีคือ
โครงการศึกษาวิจัยด้านพลังงาน และมีความเชือมโยงกับแผนงานพั ฒนาชนบทในโครงการจัดตังระบบผลิตไฟฟา
ประจุแบตเตอรีด้วยเซลล์แสงอาทิตย์สําหรับหมู่บ้านชนบททีไม่มีไฟฟา โดยงานศึกษา และพั ฒนาพลังงานทดแทน
จะเปนงานประจาํ ทีมีลักษณะการดําเนินงานของกิจกรรมต่าง ๆ ในเชิงกว้างเพื อสนับสนุนการพั ฒนาเทคโนโลยี
พลังงานทดแทน ทังในด้านวิชาการเชิงทฤษฎี และอุปกรณ์เครืองมือทดลอง และการทดสอบ รวมถึงการส่งเสริม
และเผยแพร่ ซึงจะเปนการสนับสนุน และรองรับความพร้อมในการจัดตังโครงการใหม่ๆ ในโครงการศึกษาวิจัย
ด้านพลังงานและโครงการอืน ๆ ทีเกียวข้อง เช่น การศึกษาค้นคว้าเบืองต้น การติดตามความก้าวหน้าและร่วมมือ
ประสานงานกับหน่วยงานทีเกียวข้องในการพั ฒนาต้นแบบ ทดสอบ วิเคราะห์ และประเมินความเหมาะสมเบืองต้น
และเปนงานส่งเสริมการพั ฒนาโครงการทีกําลังดําเนินการให้มีความสมบูรณ์ยิงขึน ตลอดจนสนับสนุนให้โครงการ
ทีเสร็จสินแล้วได้นําผลไปดาํ เนินการส่งเสริม และเผยแพร่และการใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสมต่อไป

2

พลังงานแสงอาทิตย์

เปนพลังงานทดแทนประเภทหมุนเวียนทีใช้แล้วเกิดขึนใหม่ได้ตาม ธรรมชาติ เปนพลังงานทีสะอาด ปราศจาก
มลพิ ษ และเปนพลังงานทีมีศักยภาพสูง ในการใช้พลังงานแสงอาทิตย์สามารถจําแนกออกเปน 2 รูปแบบคือ การ
ใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื อผลิตกระแสไฟฟา และการใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื อผลิตความร้อน

ลักษณะของพลังงานแสงอาทิตย์
1.เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์เพื อผลิตกระแสไฟฟา
ระบบผลิตกระแสไฟฟาด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ แบ่งออกเปน 3 ระบบคือ
1)เซลล์แสงอาทิตย์แบบอิสระ (PV Stand alone system)เปนระบบผลิตไฟฟาทีได้รับการออกแบบสําหรับ
ใช้งานในพื นทีชนบททีไม่มีระบบสายส่งไฟฟา อุปกรณ์ระบบทีสําคัญประกอบด้วยแผงเซลล์แสงอาทิตย์ อุปกรณ์
ควบคุมการประจุแบตเตอรี แบตเตอรี และอุปกรณ์เปลียนระบบไฟฟากระแสตรงเปนไฟฟากระแสสลับแบบอิสระ
2)เซลล์แสงอาทิตย์แบบต่อกับระบบจาํ หน่าย (PV Grid connected system)เปนระบบผลิตไฟฟาทีถูก
ออกแบบสําหรับผลิตไฟฟาผ่านอุปกรณ์เปลียนระบบไฟฟากระแสตรงเปนไฟฟากระแสสลับเข้าสู่ระบบสายส่งไฟฟา
โดยตรง ใช้ผลิตไฟฟาในเขตเมือง หรือพื นทีทีมีระบบจาํ หน่ายไฟฟาเข้าถึง อุปกรณ์ระบบทีสําคัญประกอบด้วยแผง
เซลล์แสงอาทิตย์ อุปกรณ์เปลียนระบบไฟฟากระแสตรงเปนไฟฟากระแสสลับชนิดต่อกับระบบจาํ หน่ายไฟฟา
3)เซลล์แสงอาทิตย์แบบผสมผสาน (PV Hybrid system) เปนระบบผลิตไฟฟาทีถูกออกแบบสําหรับทาํ งาน
ร่วมกับอุปกรณ์ผลิตไฟฟาอืน ๆ เช่น ระบบเซลล์แสงอาทิตย์กับพลังงานลม และเครืองยนต์ดีเซล ระบบเซลล์แสง
อาทิตย์กับพลังงานลม และไฟฟาพลังนาํ เปนต้น โดยรูปแบบระบบจะขึนอยู่กับการออกแบบตามวัตถุประสงค์
โครงการเปนกรณีเฉพาะ

โซลาเซลล์

3

2. เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์เพื อผลิตความร้อน ได้แก่ การผลิตนําร้อนด้วยพลังงานแสงอาทิตย์และ
การอบแห้งด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ การผลิตนาํ ร้อนด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ แบ่งออกเปน 3 ชนิด

1)การผลิตนําร้อนชนิดไหลเวียนตามธรรมชาติ เปนการผลิตนาํ ร้อนชนิดทีมีถังเก็บอยู่สูงกว่าแผงรับแสง
อาทิตย์ ใช้หลักการหมุนเวียนตามธรรมชาติ

2)การผลิตนําร้อนชนิดใช้ปมนําหมุนเวียน เหมาะสําหรับการใช้ผลิตนําร้อนจาํ นวนมาก และมีการใช้อย่าง
ต่อเนือง

3)การผลิตนาํ ร้อนชนิดผสมผสาน เปนการนาํ เทคโนโลยีการผลิตนาํ ร้อนจากแสงอาทิตย์มาผสมผสานกับ
ความร้อนเหลือทิงจากการระบายความร้อนของเครืองทาํ ความเย็น หรือเครืองปรับอากาศ โดยผ่านอุปกรณ์แลก
เปลียนความร้อน

การอบแห้งด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ ปจจุบันมีการยอมรับใช้งาน 3 ลักษณะ คือ
1.การอบแห้งระบบ Passive เปนระบบทีเครืองอบแห้งทํางานโดยอาศัยพลังงานแสงอาทิตย์และกระแสลมที
พั ดผ่าน

2.การอบแห้งระบบ Active เปนระบบอบแห้งทีมีเครืองช่วยให้อากาศไหลเวียนในทิศทางทีต้องการ เช่น
มีพั ดลมติดตังในระบบเพื อบังคับให้ มีการไหลของอากาศผ่านระบบ

3.การอบแห้งระบบ Hybrid เปนระบบอบแห้งทีใช้พลังงานแสงอาทิตย์ และยังต้องอาศัยพลังงานในรูปแบบ
อืน ๆ ช่วยในเวลาทีมีแสงอาทิตย์ไม่สมาํ เสมอ หรือต้องการให้ผลิตผลทางการเกษตรแห้งเร็วขึน

ประโยชน์จากพลังงานแสงอาทิตย์
พลังงานแสงอาทิตย์ สามารถนําไปประยุกต์ใช้งานได้หลายหลายรูปแบบ เช่น
1.เพื อเพิ มสุขอนามัยในพื นทีห่างไกล เช่น การฆ่าเชือโรคทีมากับนําโดยการให้นาํ สัมผัสกับแสงอาทิตย์โดยตรง
การเลียงสาหร่ายในการปรับสภาพนาํ โดยการเพิ มออกซิเจน การติดตังเครืองสูบนาํ พลังแสงอาทิตย์เพื อแจกจ่าย
นาํ สะอาดเพื อการบริโภค

2.การพั ฒนาเชือเพลิงทางเลือก เช่น การเลียงสาหร่ายบางชนิดเพื อนาํ มาสกัดเปนเชือเพลิงชีวภาพ การติด
ตังเซลล์แสงอาทิตย์เพื อสร้างพลังงานให้รถไฟฟา

3.การพั ฒนาการเกษตร เช่น การปลูกต้นไม้เช่นพื ชผักสวนครัวดอกไม้ในเรือนกระจกในประเทศหนาวเปนต้น
เรือนกระจกจะปองกันอากาศหนาวจากภายนอกและเก็บกักความร้อนจากแสงอาทิตย์เพื อให้พื ชเจริญเติบโตได้
การติดตังไฟฟาพลังแสงอาทิตย์ในพื นทีห่างไกลเพื อสูบนําเข้าไร่นาเพื อการเกษตร

4.การผลิตไฟฟาด้วยเซลล์แสงอาทิตย์บนหลังคาบ้านทัวไปแล้วต่อเข้ากับสายส่งของผู้ผลิตไฟฟากลางเพื อใช้
เองและขายส่วนเกินให้ผู้ผลิตกลาง

5.การผลิตพลังงานไฟฟาจากแสงอาทิตย์ ส่งผลให้การจัดการบริหารพลังงานไฟฟาของช่องทางการสือสาร
มวลชน เช่น รถตู้ OB (รถถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์นอกสถานที) ทีมีการนํา solar cell มาใช้ในการทาํ งาน

4

ข้อดีของพลังงานแสงอาทิตย์
1.พลังงานทีไม่มีวันหมด เปนพลังงานจากธรรมชาติ ทีได้มาจากดวงอาทิตย์ ซึงพลังงานจากดวงอาทิตย์นัน
จัดเปนทรัพยากรธรรมประเภทใช้แล้วไม่หมดสิน

2.พลังงานทีสะอาด พลังงานไฟฟาทีได้จากโซล่าเซลล์นัน เกิดจากการเปลียนพลังงานแสงอาทิตย์ให้เปน
พลังงานไฟฟาโดยตรง ซึงต่างกับพลังงานอืนๆทีต้องเผาไหม้ก่อน

3.ผลิตไฟฟาได้ทัวทุกมุมโลก ขอแค่เพี ยงมีแสงจากดวงอาทิตย์เท่านัน และแหล่งผลิตไฟฟาอยู่ทีไหนก็
สามารถนํามาใช้งานได้ทีนันเลย

4.สร้างไฟฟาได้ทุกขนาด

ข้อเสียของพลังงานแสงอาทิตย์
1.ต้นทุนสูง ไม่ว่าจะเปนการติดตังและอุปกรณ์ในการติดตัง รวมถึงค่าบาํ รุงรักษา

2.ดวงอาทิตย์ไม่ได้ส่องแสงตลอดเวลา เมือพระอาทิตย์ตกดิน การผลิตกระแสไฟฟาจะหยุดลง เราจาํ เปน
ต้องเก็บกระแสไฟฟาไว้ในแบตเตอรี แต่แบตเตอรีมีการเสือมสภาพอย่างรวดเร็ว ข้อนีจึงทาํ ให้สอดคล้องกับข้อ
แรกทีว่าค่าใช้จ่ายสูงได้อีกด้วยครับ

3.สภาพอากาศ อากาศมีความแปรปรวนง่ายบางวันอาจเมฆเยอะ ฝนตกตลอดเวลาดังนันเราจึงไม่มี
พลังงานแสงจากดวงอาทิตย์ให้เก็บเพื อนํามันมาเปลียนเปนพลังงานไฟฟา

4.ความเข้มของพลังงานขาเข้าตํา ความเข้มของพลังงานทีมาถึงพื นผิวโลกนันหากไม่สูงเท่าทีต้องการ
จะทําให้พลังงานขาออกนันสูงขึนแทน ซึงจําเปนต้องใช้จาํ นวนเซลล์จากแสงอาทิตย์มากขึนรวมถึงพื นทีทีมากขึน
อีกด้วย

5

พลังงานนาํ

เปนรูปแบบหนึงการสร้างกําลังโดยการอาศัยพลังงานของนําทีเคลือนที ปจจุบันนีพลังงานนําส่วนมากจะถูก
ใช้เพื อใช้ในการผลิตไฟฟา นอกจากนีแล้วพลังงานนํายังถูกนําไปใช้ในกรมชลประทาน การสี การทอผ้า และใช้ใน
โรงเลือย พลังงานของมวลนาํ ทีเคลือนทีได้ถูกมนุษย์นาํ มาใช้มานานแล้วนับศตวรรษ โดยได้มีการสร้างกังหันนาํ
(Water Wheel) เพื อใช้ในการงานต่าง ๆ ในอินเดีย และชาวโรมันก็ได้มีการประยุกต์ใช้เพื อใช้ในการโม่แปงจาก
เมล็ดพื ชต่าง ๆ ส่วนในจีนและตะวันออกไกลก็ได้มีการใช้พลังงานนําในการวิดนําเพื อการชลประทาน โดยในช่วง
ทศวรรษที 1830 ซึงเปนยุคทีการสร้างคลองเฟองฟู ก็ได้มีการประยุกต์เอาพลังงานนํามาใช้เพื อขับเคลือนเรือขึน
และลงจากเขา โดยอาศัยรางรถไฟทีลาดเอียง อย่างไรก็ตามเนืองจากการประยุกต์ใช้พลังงานนาํ ในยุคแรกนัน
เปนการส่งต่อพลังงานโดยตรง (Direct Mechanical Power Transmission) ทาํ ให้การใช้ พลังงานนาํ ในยุค
นันต้องอยู่ใกล้แหล่งพลังงาน เช่น นาํ ตก เปนต้น ปจจุบันนี พลังงานนาํ ได้ถูกใช้เพื อการผลิตกระแสไฟฟากัน
อย่างกว้างขวาง ทาํ ให้สามารถส่งต่อพลังงานไปใช้ในทีทีห่างจากแหล่งนําได้พลังงานนําเกิดจากพลังงานแสง
อาทิตย์ ทีให้ความร้อนแก่นําและทาํ ให้นํากลายเปนไอนําลอยตัวสูงขึน มวลนาํ ทีอยู่สูงขึนจาก จุดเดิม (พลังงาน
ศักย์) เมือมวลไอนํากระทบความเย็นก็จะเปลียนเปนของเหลวอีกครัง และตกลงมาเนืองจากเนืองจากแรงดึงดูด
ของโลก (พลังงานจลน์) การนําเอาพลังงานนํามาใช้ประโยชน์ทาํ ได้โดยการเปลียนพลังงานจลน์ของนาํ ทีไหลจากที
สูงลงสู่ทีตาํ ให้เปนกระแสไฟฟา อุปกรณ์ทีใช้ในการเปลียนนีคือ กังหันนาํ (Turbines) นาํ ทีมีความเร็วสูงจะผ่านเข้า
ท่อแล้วถ่ายทอดพลังงานจลน์เข้าสู่กังหันนํา ซึงจะไปหมุนขับเครืองกําเนิดไฟฟาอีกทอดหนึง ในปจจุบันพลังงานที
ได้จากแหล่งนาํ ทีรู้จักกันโดยทัวไปคือ พลังงานนําตก พลังงานนําขึนนําลง พลังงานคลืน

ลักษณะของพลังงานนํา
1.พลังงานนําตก เปนการผลิตไฟฟาจากพลังงานจากนาํ โดยอาศัยพลังงานของนําตก เช่นนาํ ตกทีเกิดจาก
การสร้างเขือนกันนาํ นําตกจากทะเลสาบบนเทือกเขาสู่หุบเขา กระแสนําในแม่นาํ ไหลตกหน้าผา การสร้างเขือนกัน
นําและให้นาํ ตกไหลผ่านกังหันนาํ ซึงติดอยู่บนเครืองกาํ เนิดไฟฟา กาํ ลังของนาํ ทีได้จะขึนอยู่กับ ความสูงของนาํ
และอัตราการไหลของนําทีปล่อยลงมา

พลังงานนาํ ตก

6

2.พลังงานนําขึนนําลง มีพื นฐานมาจากพลังงานศักย์และพลังงานจลน์ของระบบทีประกอบด้วยดวงอาทิตย์
โลก และดวงจันทร์พลังงานนาํ ขึนนําลงให้เปนพลังงานไฟฟามีวิธีการเลือกแม่นาํ หรืออ่าวทีมีพื นทีเก็บนาํ ได้มาก
เพื อให้เกิดเปนอ่างเก็บนาํ เมือนําขึนจะไหลเข้าสู่อ่างเก็บนํา และเมือนาํ ลงนาํ จะไหลออกจากอ่างเก็บนํา การไหลเข้า
ออกจากอ่างของนาํ ต้องควบคุมให้ไหลผ่านกังหันนําทีต่อเชือมกับเครืองกําเนิดไฟฟาเมือกังหันนาํ หมุนก็จะได้ไฟฟา
ออกมาใช้งานหลักการผลิตไฟฟาจากนําขึนนาํ ลงมีหลักการเช่นเดียวกับการผลิตไฟฟาจากพลังงานนาํ ตก แต่
กาํ ลังทีได้จากพลังงานจากนําขึนนําลงไม่ค่อยสมาํ เสมอ

พลังงานนําขึนนาํ ลง
3.พลังงานคลืน เปนพลังงานทีลมถ่ายทอดให้กับผิวนาํ ในมหาสมุทรเกิดเปนคลืนวิงเข้าสู่ชายฝงและเกาะแก่ง
ต่าง ๆ เครืองผลิตไฟฟาพลังงานคลืนจะถูกออกแบบให้ลอยตัวอยู่บนผิวนาํ บริเวณหน้าอ่าวด้านหน้าทีหันเข้าหา
คลืน การผลิตไฟฟาด้วยพลังงานคลืนในปจจุบันประเทศไทยยังใช้ไม่ได้

พลังงานคลืน

7

รูปแบบของโรงไฟฟาพลังงานนาํ
โรงไฟฟาพลังงานนาํ เปนรูปแบบเพื อรองรับระบบการผลิตไฟฟาจากพลังงานนาํ ตกแหล่งทีเปนแหล่งธรรมชาติที
อยู่บนพื นโลกแบ่งออกเปน 3 ประเภท (วัฒนาถาวร. 2543 : 35-41) คือ

1.โรงไฟฟาพลังงานนาํ แบบไม่มีอ่างเก็บนํา (run of river) เปนโรงไฟฟาทีสร้างขึนเพื อผลิตไฟฟา โดยการ

บังคับทิศทางการไหลของนาํ จากแหล่งนําเล็ก ๆ เช่น ตามลาํ ห้วย ลาํ ธารหรือฝายต่าง ๆ ให้มา รวมตัวกัน

และไหลผ่านท่อหรือรางนาํ ทีจัดทาํ ไว้ และใช้แรงดันของนําซึงตกจากตาํ แหน่งทีสูงมาหมุนกังหันซึงต่อกับแกนหมุน

ของเครืองกาํ เนิดไฟฟาลักษณะของโรงไฟฟาพลังงานนาํ แบบไม่มีอ่างเก็บนํา

แสดงลักษณะโรงไฟฟาพลังงานนาํ แบบไม่มีอ่างเก็บนํา

2.โรงไฟฟาพลังงานนาํ แบบมีอ่างเก็บนาํ (storage regulation development) เปนโรงไฟฟาทีทําหน้าที
ผลิตไฟฟา โดยการใช้พลังงานนาํ ทีมีอยู่ซึงอาจเปนแหล่งธรรมชาติหรือเกิดจากการสร้างขึนมาเองในลักษณะของ
เขือน ซึงนําทีมีอยู่ในอ่างหรือเขือนจะมีปริมาณมากพอทีจะถูกปล่อยออกมาเพื อผลิตไฟฟาได้ตลอดเวลา ใน
ประเทศไทยโรงไฟฟาแบบนีถูกใช้เปนหลักในการผลิตกระแสไฟฟา เพราะเปนระบบทีมีความมันคงในการผลิตและ
จ่ายไฟสูง

แสดงลักษณะโรงไฟฟาพลังงานนําแบบมีอ่างเก็บนาํ

3.โรงไฟฟาพลังงานนําแบบสูบนํากลับ (pumped storage plant) โรงไฟฟาแบบนีถูกสร้างบนพื นฐาน
ความคิดในการจัดการกระแสไฟฟาส่วนเกินเพราะโดยปกติการใช้ไฟฟาในช่วงกลางคืนทีค่อนดึกไปแล้วจะมีการใช้
ไฟฟาลดลงแต่กาํ ลังการผลิตไฟฟายังคงเท่าเดิมทาํ ให้เกิดการสูญเสียพลังงานไฟฟา โรงไฟฟาพลังงานนําแบบสูบ
นาํ กลับเปนโรงไฟฟาทีมีอ่างเก็บนาํ สองส่วนคืออ่างเก็บนาํ ส่วนบน (upper reservoir)และอ่างเก็บนําส่วนล่าง
(lower reservoir) นําจะถูกปล่อยจากอ่างเก็บนําส่วนบนลงมาเพื อหมุนกังหันและเครืองกาํ เนิดไฟฟาเมือต้องการ
ผลิตไฟฟาและในช่วงทีความต้องการใช้ไฟฟาตําหรือน้อยลง จะใช้ไฟฟาทีเหลือจ่ายให้กับปมนาํ ขนาดใหญ่ทีติดตัง
อยู่ในอ่างเก็บนาํ ส่วนล่างเพื อสูบนาํ จากอ่างเก็บนําส่วนล่างนีกลับขึนไปเก็บไว้ทีอ่างเก็บนาํ ส่วนบนเพื อใช้ในการผลิต
ไฟฟาต่อไป

แสดงลักษณะโรงไฟฟาพลังงานนาํ แบบสูบกลับ

8

ส่วนประกอบของโรงไฟฟาพลังนํา
1.อาคารรับนาํ (power intake) คืออาคารสําหรับรับนําทีไหลจากอ่างลงสู่ท่อ ทีอยู่ภายในตัวอาคาร เพื อนํา
พลังงานนาํ ไปหมุนกังหันและหมุนเครืองกาํ เนิดไฟฟา ภายในตัวอาคารจะมีห้องควบคุมระบบการไหลของนาํ และ
ระบบการผลิตไฟฟา
2.ตะแกรง (screen) เปนอุปกรณ์ทีใช้ปองกันเศษไม้หรือวัตถุใด ๆ ทีจะผ่านเข้าไปทําให้เกิดการอุดตันของท่อ
ส่งนํา
3.อุโมงค์เหนือนาํ (headrace) เปนช่องสําหรับให้นําไหลเข้ามายังท่อส่งนําอยู่ภายในตัวเขือนอุโมงค์นีจะอยู่
ในตัวอาคารรับนํามีพื นทีหน้าตัดเปนรูปเกือกม้าหรือวงกลมทาํ ด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก
4.ท่อส่งนํา (penstock) เปนท่อสําหรับรับนาํ จากเหนือเขือนและส่งต่อไปยังอาคารรับนําเพื อหมุนกังหันและ
เครืองกาํ เนิดไฟฟา
5.อาคารลดแรงดันนํา (surge tank)เปนอาคารทีสร้างขึนเพื อควบคุมแรงดันของนําทีจะอัดใส่ภายในท่อส่ง
นําซึงอาจทําให้ท่อหรือหัวฉีดนําเสียหาย
6.ประตูนํา (wicket gate or guide vane) เปนบานประตูทีควบคุมการไหลของนําทีจะไหลเข้าไปหมุน
ใบพั ดของกังหัน ควบคุมโดยการปดหรือเปดประตูนําให้นําไหลผ่านเข้าไปยังท่อ
7.กังหันนาํ (water turbine)เปนตัวรับแรงดันของนําทีไหลมาจากท่อส่งนํา โดยแรงดันนีจะทําหน้าทีฉีดหรือ
ผลักดันให้กังหันหมุน ทําให้เครืองกาํ เนิดไฟฟาสามารถผลิตไฟฟาออกมาได้ กังหันเปนส่วนประกอบทีสําคัญของ
โรงไฟฟาพลังนาํ
8.ท่อรับนํา (draft tube) เปนท่อรับนําหลังจากทีนาํ ผ่านออกมาจากกังหันเพื อนํานําออกไปยังท้ายนํา ท่อรับ
นํานีจะอยู่บริเวณส่วนหลังของกังหัน
9.ทางนําล้น (spill way)คือทางระบายนําออกจากอ่างเก็บนาํ ในกรณีทีนําในอ่างมีระดับสูงเกินไป ทางนําล้น
จะต้องมีขนาดใหญ่พอทีจะให้ปริมาณนําสูงสุดทีระบายออก สามารถระบายออกได้ทัน เพื อปองกันไม่ให้เกิดความ
เสียหายแก่เขือน
10.เครืองกําเนิดไฟฟา (generator) เปนอุปกรณ์สําหรับเปลียนพลังงานกลจากการหมุนของกังหันมาเปน
พลังงานไฟฟา โดยใช้หลักการของขดลวดตัดผ่านสนามแม่เหล็ก
11.หม้อแปลง (transformer) เปนอุปกรณ์ไฟฟาทีใช้สําหรับแปลงแรงดัน ไฟฟาทีผลิตได้จากเครืองกาํ เนิด
ไฟฟา ให้เปนไฟฟาทีมีแรงดันสูงเพื อส่งเข้าสู่ระบบสายส่งต่อไป

โรงไฟฟาพลังงานนํา

9

ประเทศไทยกับการใช้พลังงานนํา
ประเทศไทยใช้ไฟฟาจากการผลิตด้วยพลังงานจากนําประมาณร้อยละ 5-6 ของปริมาณการใช้ไฟฟาทัวประเทศ

การใช้ประโยชน์ของพลังงานนาํ
การสร้างเขือนเปนการเก็บกักนาํ เอาไว้ใช้ในช่วงทีไม่มีฝนตก ทําให้ได้แหล่งนาํ ขนาดใหญ่ การใช้พลังงานนํา
เปนการใช้เฉพาะส่วนทีอยู่ในรูปพลังงานซึงไม่ใช่เปนเนือมวลสารดังนันเมือใช้พลังงานไปแล้วเนือมวลสารของนําก็
ยังคงเหลืออยู่นําทีถูกปล่อยออกมายังมีปริมาณและคุณภาพเหมือนเดิมสามารถนําไปใช้ประโยชน์อย่างอืนได้อีก
มากมายเช่น

1.เพื อการชลประทาน
2.การเกษตร
3.การอุปโภคบริโภค
4.การเดินเรือ
5.ประกอบอาชีพด้านประมง
6.สถานทีท่องเทียวพั กผ่อนหย่อนใจ
7.การผลิตพลังงานไฟฟาระบบการใช้พลังงานนาํ ผลิตกระแสไฟฟาเปนระบบทีมีประสิทธิภาพสูงสามารถ
ดําเนินการผลิตกระแสไฟฟาได้ในเวลาอันรวดเร็ว และสามารถควบคุมให้ผลิตพลังงานออกมาได้ใกล้เคียงกับความ
ต้องการ ทําให้การผลิตและการใช้พลังงานเปนไปอย่างมีประสิทธิภาพ

เขือนไฟฟาพลังงานนํา

10

ข้อเสียของการใช้พลังงานนํา
1.ในการสร้างเขือนเพื อกักเก็บนาํ นัน จะต้องมีการสูญเสียพื นทีปาไม้เปนบริเวณกว้าง ซึงนับวันปาไม้จะหมด
ลงไปทุกที และทําให้สัตว์ปาต้องอพยพหนีนําท่วม บางชนิดอาจสูญพั นธุ์ไปจากโลกเลยก็ได้ซึงถือเปนการทาํ ลาย
ระบบนิเวศวิทยาของพื นทีบริเวณนันอย่างรุนแรงนอกจากนียังทําให้ชีวิตความเปนอยู่ของคนในพื นทีต้องเปลียนไป
จากเดิมด้วย
2.ต้องใช้เงินลงทุนสูงในการสร้างเขือนหรือพั ฒนาแหล่งพลังงานนาํ เพื อให้ได้ลักษณะภูมิประเทศทีเหมาะสม
เช่น ต้องการพื นทีทีมีระดับท้องนําลึกๆ สําหรับการสร้างเขือนสูงโดยทีมีความยาวไม่มากนัก ซึงพื นทีเหล่านีมักจะ
อยู่ในปาหรือช่องเขาแคบ ๆ
3.เนืองจากแหล่งพลังงานนาํ ส่วนใหญ่อยู่ในทีห่างไกลชุมชน จึงมักเกิดปญหาในเรืองการจัดหาบุคลากรไป
ปฏิบัติงาน รวมทังการซ่อมแซม การบํารุงรักษาสิงก่อสร้างและอุปกรณ์ต่าง ๆไม่ค่อยสะดวกนักเพราะการ
คมนาคมไม่สะดวก
4.ในบางโอกาสอาจเกิดปญหาจากสภาวะของนําฝนทีตกลงสู่แหล่งกักเก็บนาํ มักมีความไม่แน่นอนทําให้เกิด
ผลกระทบต่อการผลิตไฟฟาได้
ประโยชน์ของโรงไฟฟาพลังงานจากนํา
1.มีอายุการใช้งานประมาณ 50 ป ขึนไป
2.มีประสิทธิภาพในการเดินเครืองสูงสุด สามารถหยุดและเดินเครืองได้อย่างฉับพลัน
3.ต้นทุนในการผลิตตํา เพราะใช้นําธรรมชาติเปนแหล่งพลังงานในการเดินเครือง
4.นาํ เปนแหล่งพลังงานภายในประเทศทีเกิดจากฝน ซึงมีการหมุนเวียนตามธรรมชาติไม่มีวันหมดสิน
5.เปนแหล่งพลังงานบริสุทธิไม่มีมลพิ ษต่อสิงแวดล้อม
6.อุปกรณ์ต่าง ๆ ของระบบพลังงานนําส่วนใหญ่จะมีความทนทานสูงมีอายุการใช้งานนาน
7.ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานในการใช้พลังงานจากนาํ ค่อนข้างตาํ เพราะไม่ต้องสินเปลืองค่าเชือเพลิง และ
เนืองจากไม่มีการปล่อยมลพิ ษจึงไม่ต้องจ่ายค่ากาํ จัดมลพิ ษ

ผลกระทบทีเกิดจากการใช้พลังงานจากนาํ ผลิตกระแสไฟฟา
การใช้พลังงานจากนําในการผลิตกระแสไฟฟา จะไม่ก่อให้เกิดผลกระทบกับสิงแวดล้อม แต่ในการสร้างเขือน
เพื อเก็บกักนํา จะมีปญหาสิงแวดล้อมทีควรคาํ นึงถึงคือการสูญเสียพื นทีปาอย่างมหาศาล การอพยพราษฎรออก
จากพื นที สัตว์ปาสูญเสียทีอยู่อาศัยหรืออาจต้องสูญพั นธ์ุไปแร่ธาตุต่าง ๆ ทีมีอยู่ในพื นทีจะต้องจมอยู่ใต้นาํ ไม่
สามารถนํามาใช้ประโยชน์ได้

โรงไฟฟาพลังงานนํา

11

พลังงานความร้อนใต้พิภพ

พลังงานความร้อนตามธรรมชาติทีได้จากแหล่งความร้อนทีถูกกักเก็บอยู่ภายใต้ผิวโลก โดยปกติอุณหภูมิใต้
ผิวโลกจะเพิ มขึนตามความลึก และเมือยิงลึกลงไปถึงภายในใจกลางของโลก จะมีแหล่งพลังงานความร้อน
มหาศาลอยู่ ความร้อนทีอยู่ใต้ผิวโลกนีมีแรงดันสูงมาก จึงพยายามทีจะดันตัวออกจากผิวโลกตามรอยแตกต่างๆ

ลักษณะของพลังงานความร้อนใต้พิ ภพ
แหล่งพลังงานความร้อนใต้พิ ภพทีแบ่งเปนลักษณะใหญ่ๆ ได้ 3 ลักษณะคือ
1.แหล่งทีเปนไอนาํ ส่วนใหญ่ (Steam Dominated) เปนแหล่งกักเก็บความร้อนทีประกอบด้วย ไอนํามากกว่า
95% โดยทัวไปมักจะเปน แหล่งทีใกล้กับหินหลอมเหลวร้อนทีอยู่ตืนๆ อุณหภูมิของไอนาํ ร้อนจะสูงกว่า 240 องศา
เซลเซียส ขึนไป แหล่งทีเปนไอนําส่วนใหญ่นี สามารถนาํ มาใช้ผลิตกระแสไฟฟาได้มากทีสุด

2.แหล่งทีเปนนําร้อนส่วนใหญ่ (Hot Water Dominated) เปนแหล่งกักเก็บสะสมความร้อนทีประกอบไป
ด้วย นาํ ร้อนเปนส่วนใหญ่ อุณหภูมินําร้อนจะมีตังแต่ 100 องศาเซลเซียส ขึนไป ระบบนีจะพบมากทีสุดในโลก

3.แหล่งหินร้อนแห้ง (Hot Dry Rock) เปนแหล่งสะสมความร้อน ทีเปนหินเนือแน่น แต่ไม่มีนําร้อนหรือไอนาํ
ไหลหมุนเวียนอยู่ ดังนันถ้าจะนาํ มาใช้จําเปนต้องอัดนําเย็นลงไปทางหลุมเจาะ ให้นําได้รับความร้อนจากหินร้อน
โดยไหล หมุนเวียนภายในรอยแตกทีกระทําขึน จากนันก็ทําการสูบนําร้อนนี ขึนมาทางหลุมเจาะอีกหลุมหนึง ซึง
เจาะลงไป ให้ตัดกับรอยแตกดังกล่าว แหล่งหินร้อนแห้งนี กําลังทดลองผลิตไฟฟา ทีมลรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศ
สหรัฐอเมริกา

ประโยชน์จากพลังงานความร้อนใต้พิ ภพ
1.การให้ความร้อนแก่ชุมชน (District heating) การนาํ พลังงานความร้อนใต้พิ ภพมาใช้ให้ความร้อนแก่
ชุมชน เช่น ในเขตหนาว โดยติดตังระบบปมความร้อนพลังงานความร้อนใต้พิ ภพขนาดใหญ่ พร้อมวางระบบโครง
ข่ายท่อรับส่งของไหลใช้งาน (working fluid) และเครืองแลกเปลียนความร้อนกระจายไปยังทีอยู่อาศัยหรือหน่วย
งานในชุมชน

2.การเพาะเลียงในนาํ (Aquaculture) การเพาะเลียงในนาํ ทีต้องควบคุมอุณหภูมิทีอยู่อาศัยของสัตว์นาํ ให้
อยู่ในระดับทีเหมาะสมแก่การเจริญเติบโต และสืบพั นธุ์ โดยใช้นาํ ร้อนจากแหล่งพลังงานความร้อนใต้พิ ภพช่วยใน
การปรับระดับอุณหภูมิของนํา (ในแถบประเทศทีมีอุณหภูมิตาํ )

12

3.การอาบนําแร่ (Geothermal bathing) การใช้นาํ ร้อนจากแหล่งพลังงานความร้อนใต้พิ ภพในการอาบ
ชําระล้าง มักทําเพื อประโยชน์ทางสุขภาพ

นาํ พุ ร้อน
4.ระบบท่อวน (Ground loop) การนําความร้อนจากแหล่งความร้อนใต้พิ ภพมาใช้งานโดยผ่านระบบท่อวน
โดยท่อวนเปนระบบท่อทีฝงอยู่ในพื นดินทีทําหน้าทีแลกเปลียนความร้อนระหว่างของไหลใช้งาน (working fluid)
กับแหล่งความร้อนใต้พิ ภพของไหลใช้งานอาจเปนนนําร้อน หรือไอนาํ ทีนํามาใช้ประโยชน์โดยตรง หรือเปนสือนํา
ความร้อนทีไหลหมุนเวียนอยู่ในระบบซึงสามารถนําความร้อนนันไปใช้ประโยชน์อย่างอืนได้

การวางระบบท่อวนสําหรับปมความร้อนพลังงานความร้อนใต้พิ ภพ
บริเวณทีพั กอาศัย

5.ใช้ในการผลิตกระแสไฟฟา นาํ ทีถูกให้ความร้อนสูงมาก ๆ จะกลายเปนไอนําปนกับนาํ ร้อน ถ้าอุณหภูมิสูง
กว่า 180 องศาเซลเซียส และความดันมากกว่า 10 บรรยากาศ จะสามารถแยกไอนําร้อนมาหมุนกังหันผลิตไฟฟา
ได้โดยตรง โดยในปจจุบันประเทศทีมีการใช้พลังงานความร้อนใต้พิ ภพผลิตกระแสไฟฟามากเปนอันดับหนึงของ
โลก คือ ประเทศสหรัฐอเมริกา รองลงมา คือ ประเทศฟลิปปนส์ และประเทศอิตาลี ตามลําดับ

13

ข้อดีของพลังงานความร้อนใต้พิ ภพ
1.เปนทรัพยากรหมุนเวียนโดยมีเงือนไขว่าอัตราการสกัดตํากว่าอัตราการเติมตามธรรมชาติ

2.ถือเปนพลังงานที“ สะอาด” เนืองจากลดการใช้เชือเพลิงฟอสซิลและทรัพยากรทีไม่หมุนเวียนอืน ๆ

3.การปล่อย CO2 ของภาวะเรือนกระจกตํากว่าทีเกิดจากการเผาไหม้เพื อให้ได้พลังงานเดียวกันดังนันจึงไม่
ก่อให้เกิดภาวะโลกร้อน

4.แสดงถึงการประหยัดเนืองจากต้นทุนสําหรับการผลิตไฟฟาอยู่ในระดับตํา รวมถึงสามารถให้พลังงานได้
มากกว่าเชือเพลิงฟอสซิล (นํามัน ก๊าดธรรมชาติ ถ่านหินและยูเรเนียม)

ข้อเสียของพลังงานความร้อนใต้พิ ภพ
1.การรัวไหลสามารถเกิดขึนได้ในกรณีทีไฮโดรเจนซัลไฟด์ถูกขับออกมา (ในปริมาณทีสูงซึงเปนอันตรายต่อ
มนุษย์) สารหนูแอมโมเนียหรือสารอืน ๆ ทีอาจทําให้เกิดการปนเปอนของดินและนําใกล้เคียง

2.พื ชหรือพื ชความร้อนใต้พิ ภพ จะต้องติดตังในสถานทีทีมีความร้อนของดินใต้ผิวดินสูง

3.พลังงานนีไม่สามารถขนส่งได้และจะต้องใช้ ในสถาน ทีซึงก็คือในทีเดียวกับทีมันถูกผลิตขึน

4.สร้างผลกระทบต่อภูมิทัศน์เนืองจากการก่อสร้างสิงอาํ นวยความสะดวกในการสกัดความร้อนจากหินใต้ดิน
และแมกมาจะต้องดาํ เนินการบนพื นดิน

5.มีแผ่นดินไหวขนาดเล็กเกิดขึนในพื นทีทีอยู่ใกล้กับพื ชความร้อนใต้พิ ภพเนืองจากการทําให้เย็นลงอย่าง
กะทันหันและการแตกของหินในเปลือกโลก

14

พลังงานชีวภาพ

พลังงานทีเกิดจากกระบวนการทางชีวภาพทุกชนิด ตังแต่มูลสัตว์เผาหรือโรงไฟฟาชีวมวล จนถึงรถทีใช้
นํามันเชือเพลิงจากเอทานอล พลังงานชีวภาพหรือทรัพยากรมวลชีวภาพเปนทรัพยากรอินทรีย์ทีมีแหล่งกําเนิดมา
จากพื ชซึงถือเปนหนึงในพลังงานทดแทน เนืองจากถูกผลิตขึนโดยพื ชและสัตว์ทีนาํ กลับมาใช้ใหม่ได้อย่างง่ายดาย
ในการเปลียนมวลชีวภาพให้เปนพลังงานก็ต้องการเทคโนโลยีหลายหลายรูปแบบ เช่น การหมักเพื อผลิตก๊าซมีเทน
การหมักเพื อผลิตแอลกอฮอล์ และในอนาคตก็อาจจะมีกระบวนการผลิตก๊าซไฮโดรเจน โดยใช้เชือจุลินทรีย์ ส่วนใน
ปจจุบัน พลังงานชีวภาพถือเปนพลังงานทดแทนทีมีการใช้กันอย่างแพร่หลายทัวโลกเนืองจากมีผลดีต่อสังคมและ
สิงแวดล้อม โดยเฉพาะเชือเพลิงชีวภาพทีถูกผลิตขึนจากผลผลิตทางการเกษตร เช่น นํามันปาล์ม ข้าวโพด และ
นําตาล

ลักษณะของพลังงานชีวภาพ
พลังงานชีวภาพแบ่งออกเปน 3 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่
1.ประเภทของแข็ง เปนพลังงานทีใช้กันมานานแล้ว ซึงทาํ หน้าทีให้ความร้อนให้ความอบอุ่นให้ร่างกาย ให้แสง
สว่าง ใช้ในการประกอบอาหาร ซึงตอนนียังนํามาใช้กันอยู่ วัสดุทีใช้เปนเชือเพลิง ข้าวฟาง ชานอ้อย มูลสัตว์ ซัง
ข้าวโพด แกลบข้าว ถัวลิสง ไม้ แต่ในปจจุบันไม้เริมมีจาํ นวนน้อยลง เพราะการตัดไม้มาทาํ ฟนทัวโลก จึงมีปริมาณ
ลดลงจากเดิมมาก

2.ประเภทของเหลว เปนพลังงานทีอยู่ในรูปของเหลว สามารถแบ่งประเภทได้ทังหมด 3 ประเภท
1)แอลกอฮอล์ เปนของเหลวทีมีการละเหยได้ง่าย มีอยู่ 2 ชนิด เอทานอล (สามารถทานได้) เมทานอล (ไม่
สามารถทานได้)
2)ทํามาจากพื ชและสัตว์ เช่น นํามันพื ชบริสุทธิ เปนนาํ มันพื ชทีใช้แล้ว และ ถ้านํามาผ่านกรรมวิธีทางเคมี จะ
เรียกว่าไอโอดีเซล
3)นาํ มันทีเกิดมาจากขยะ ซึงจะดึงคุณลักษณะทางเคมี ซึงมีกรรมวิธีคล้ายกับ ปโตเลียม สามาถนาํ ขยะมาส
กัดออกมาได้

3.ประเภทก๊าซชีวภาพ ส่วนใหญ่จะเปนก๊าซมีเทน ซึงได้มาจากมูลสัตว์หรือของเสียจากโรงงาน ซึงทังหมดนี
คือ การรวบรวมของเสียไว้ในถังเพื อหมักเชือจุลินทรีย์ จะทําให้เกิดก๊าซมีเทนขึนมา สามารถนํามาใช้ประโยชน์เปน
ก๊าซหุงต้มได้ ส่วนของทีหมักแล้วทีเหลือ ก็ยังสามารถนาํ มาเปนปุยชีวภาพได้

15

ประโยชน์ของพลังงานชีวภาพ
1.ใช้เปนแหล่งเชือเพลิงชันดีในการผลิตพลังงานความร้อนกับการใช้ภายในฟาร์ม ตรงจุดนีนับว่าผู้ทีประกอบ
กิจการฟาร์มต่าง ๆ ค่อนข้างได้ประโยชน์ไปเต็มๆ จากการทีสามารถนาํ พลังงานชีวภาพมาใช้งานก็จะทําให้พวกเขา
ประหยัดค่าไฟได้อีก แถมยังไม่ต้องมาปวดหัวในเรืองของระบบไฟทีอาจจะมีปญหาได้

2.ใช้สําหรับการผลิตพลังงานไฟฟาและพลังงานกล มันก็คล้ายคลึงกับข้อแรกแต่ว่าอันนีคือการนาํ มาผลิต
เพื อใช้ประโยชน์ในด้านอืนไม่ใช่เพี ยงแค่เรืองของการใช้ภายในฟาร์มเพี ยงอย่างเดียว ซึงมันช่วยให้การใช้งานไฟฟา
ลดน้อยลง เมือการใช้ไฟลดน้อยลงมันก็จะเกิดภาวะทีดีต่อโลกมากยิงขึน

3.ช่วยลดปญหาก๊าซเรือนกระจก ด้วยความทีการใช้พลังงานชีวภาพจะช่วยลดการปล่อยก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ซึงเปนตัวการสําคัญทีจะทาํ ให้เกิดภาวะเรือนกระจกขึนกับโลกใบนี ซึงเมือมันสามารถลดลงได้
โอกาสทีจะเกิดภาวะทีว่าก็ลดน้อยลงไปทาํ ให้โลกสามารถอยู่อาศัยต่อได้อีกยาวนานมากยิงขึน

4.นํามาใช้ประโยชน์ทางด้านการเกษตร กากตะกอนทีเหลือจากการทําพลังงานชีวภาพก็สามารถทีจะนํามาใช้
เปนปุยทางการเกษตรได้ แน่นอนว่าเรืองของคุณภาพย่อมดีกว่าปุยคอกอยู่แล้ว ทีสําคัญคุณสมบัติยังล้นเหลือ
มากกว่าปุยเคมีทีใช้งานกันอีกด้วย

5.ใช้ในภาคการขนส่ง สามารถนาํ ก๊าซชีวภาพทีได้นีมาใช้เปนพลังงานทดแทนการใช้เชือเพลิงกับตัว
เครืองยนต์ คือสามารถติดตังระบบ 2 เชือเพลิงให้กับรถ แม้ว่ายังไม่ค่อยได้รับความนิยมเนืองจากมีราคาแพงแต่
ในอนาคตก็เชือว่าน่าจะมีมากขึนอย่างแน่นอน

6.ใช้ในอุตสาหกรรมเคมี สามารถนําเอาก๊าซชีวภาพทีว่านีไปใช้เปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมเคมี โดยสามารถ
ใช้เปนสารตังต้นในการผลิตภัณฑ์เคมีประเภทต่าง ๆ

ข้อดีของพลังงานชีวภาพ
1.ดีกับประเทศทีประกอบเกษตรกรรม เพราะมีต้นทุนทางด้านวัตถุดิบสูง

2.เปนการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า โดยคุณสามารถลดปริมาณขยะ อีกทังยังเปนการเพิ มมูลค่าให้กับของ
เหลือใช้ทางการเกษตรและอุตสาหกรรมได้อีกด้วย

3.เปนขันตอนจัดการขยะในภาคครัวเรือนอย่างมีคุณภาพ

4.โรงไฟฟาพลังชีวภาพส่วนใหญ่แล้วมีขนาดไม่ค่อยใหญ่เท่าไหร่ จึงก่อมลพิ ษทางอากาศค่อนข้างน้อย

ข้อเสียของพลังงานชีวภาพ
1.วัตถุดิบจากพื ชผลทางการเกษตรมีปริมาณไม่สมาํ เสมอขึนอยู่กับฤดูกาลรวมทังความต้องการของตลาด

2.วัตถุดิบจากพื ชผลบางชนิดเก็บไว้ได้ไม่นาน

3.วัตถุดิบจากพื ชผลทางการเกษตร จําเปนต้องมีการจัดเก็บอย่างเหมาะสม เพื อปองกันความเสียหาย
ตลอดจนต้องอาศัยพื นทีจัดเก็บขนาดใหญ่

4.การเจริญเติบโตของพลังงานชีวภาพ อาจส่งผลให้เกิดปญหาทางอาหาร เพราะพื นทีทางการเกษตร โดย
แย่งไปทําการเพาะปลูกพื ชพลังงานเชิงเดียว

5.โรงไฟฟาพลังชีวภาพอาจก่อให้เกิดความต้องการครอบครองพลังงานนําจาํ นวนมาก

16

พลังงานชีวมวล

ชีวมวล (Biomass) คือ สารอินทรีย์ทีเปนแหล่งกักเก็บพลังงานจากธรรมชาติ และสามารถนาํ มาใช้ผลิตพลัง
ได้ สารอินทรีย์เหล่านีได้มาจากพื ชและสัตว์ต่าง ๆ เช่นเศษไม้ ขยะ วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร การใช้งานชีวมวล
เพื อทําให้ได้พลังงานอาจจะทาํ ได้โดย นํามาเผาไหม้เพื อนําพลังงานความร้อนทีได้ไปใช้ในกระบวนการผลิตไฟฟา
ทดแทนพลังงานจากฟอสซิล(เช่น นาํ มัน)ซึงมีอยู่อย่างจํากัดและอาจหมดลงได้

พลังงานชีวมวล หมายถึง พลังงานทีได้จากชีวมวลชนิดต่าง ๆ โดยกระบวนการแปรรูปชีวมวลไปเปนพลังงาน
รูปแบบต่าง ๆ

ลักษณะของพลังงานชีวมวล
พลังงานชีวมวลและเชือเพลิงฟอสซิลมีความคล้ายกันตรงทีเปนพลังงานทีได้มาจากสิงมีชีวิตเหมือนกันแต่
ต่างกันทีพลังชีวมวลเปนพลังงานทีได้จากสิงมีชีวิตโดยตรง ไม่ต้องผ่านกระบวนการเปลียนแปลงทางกายภาพใน
ขณะทีเชือเพลิงฟอสซิลเปนซากของสิงมีชีวิตทีผ่านการทับถมภายใต้ความกดดัน ความร้อนเปนเวลานาน
พลังงานชีวมวลแบ่งได้เปน 3 ประเภท ทังในรูปของแข็ง ของเหลว และก๊าซ ดังนี
ประเภทที 1คือ เชือเพลิงทีเปนของแข็ง จากการรวบรวมและประมาณการปริมาณชีวมวล ได้แก่ไม้ ขีเลือย
ฟางข้าวซังข้าวโพด ชานอ้อย มูลสัตว์ถ่าน เขา เปลือกสัตว์หรือเปลือกพื ช อาทิแกลบข้าวฝาย ถังลิสง เปนต้น

เชือเพลิงทีเปนของแข็ง

17

ประเภทที 2 คือ เชือเพลิงทีเปนของเหลวจากการรวบรวมและประมาณการปริมาณชีวมวลทีสามารถนาํ มา
ผลิตเชือเพลิงชีวภาพแบ่งได้เปน 2 ประเภทหลัก

1.แอลกอฮอล์ ซึงเปนสารประกอบอินทรีย์มีสถานะเปนของเหลวระเหยง่าย แอลกอฮอล์ทีนาํ มาใช้เปนเชือ
เพลิงมี 2 ชนิด คือ เอทานอล(แอลกอฮอล์ทีรับประทานได้ผลิตจากพื ช)และเมทานอล(แอลกอฮอล์ทีไม่สามารถรับ
ประทานได้ผลิตจากเชือเพลิงฟอสซิล)

เอทานอล เมทานอล

2.ไบโอดีเซลทีผลิตจากนาํ มันพื ช ไขสัตว์และนาํ มันพื ชใช้แล้ว โดยผ่านกรรมวิธีทางเคมี นํามันจากขยะ เปน
นาํ มันซึงมีคุณสมบัติทางเคมีและกายภาพคล้ายคลึงกับปโตรเลียม สามารถสกัดจากขยะชีวมวลมาใช้งานได้

ไบโอดีเซลทีผลิตจากนาํ มันพื ช

18

ประเภทที 3 คือ เชือเพลิงทีเปนก๊าซ เช่น ก๊าซชีวภาพ ซึงเกิดจากการสลายตัวของของเสีย การผลิตก๊าซ
ชีวภาพทาํ โดยการหมักมูลสัตว์ ขยะชุมชนและนาํ เสียจากอุตสาหกรรมก๊าซชีวภาพภสามารถนาํ ไปใช้เปนเชือเพลิงใน
การปรุงอาหาร และกระบวนการอืน ๆ ทีต้องการใช้ความร้อน ส่วนของเหลือจากถังหมักเมือสะสมมาก ๆ ยังนําไป
ใช้เปนปุยได้อีกด้วยปจจุบันครอบครัวตามชนบทสามารถผลิตเชือเพลิงแบบนีใช้ได้เอง

กระบวนของการผลิตก๊าซชีวภาพ

ประโยชน์จากพลังงานชีวมวล
1.ใช้เปนแหล่งเชือเพลิงชันดีในการผลิตพลังงานความร้อนกับการใช้ภายในฟาร์ม – ตรงจุดนีนับว่าผู้ที
ประกอบกิจการฟาร์มต่าง ๆ ค่อนข้างได้ประโยชน์ไปเต็มๆ จากการทีสามารถนําพลังงานชีวภาพมาใช้งานก็จะทาํ ให้
พวกเขาประหยัดค่าไฟได้อีก แถมยังไม่ต้องมาปวดหัวในเรืองของระบบไฟทีอาจจะมีปญหาได้
2.ใช้สําหรับการผลิตพลังงานไฟฟาและพลังงานกล – มันก็คล้ายคลึงกับข้อแรกแต่ว่าอันนีคือการนาํ มาผลิต
เพื อใช้ประโยชน์ในด้านอืนไม่ใช่เพี ยงแค่เรืองของการใช้ภายในฟาร์มเพี ยงอย่างเดียว ซึงมันช่วยให้การใช้งานไฟฟา
ลดน้อยลง เมือการใช้ไฟลดน้อยลงมันก็จะเกิดภาวะทีดีต่อโลกมากยิงขึน
3.ช่วยลดปญหาก๊าซเรือนกระจก – ด้วยความทีการใช้พลังงานชีวภาพจะช่วยลดการปล่อยก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ซึงเปนตัวการสําคัญทีจะทําให้เกิดภาวะเรือนกระจกขึนกับโลกใบนี ซึงเมือมันสามารถลดลงได้
โอกาสทีจะเกิดภาวะทีว่าก็ลดน้อยลงไปทาํ ให้โลกสามารถอยู่อาศัยต่อได้อีกยาวนานมากยิงขึน
4.นาํ มาใช้ประโยชน์ทางด้านการเกษตร – กากตะกอนทีเหลือจากการทําพลังงานชีวภาพก็สามารถทีจะนํามา
ใช้เปนปุยทางการเกษตรได้ แน่นอนว่าเรืองของคุณภาพย่อมดีกว่าปุยคอกอยู่แล้ว ทีสําคัญคุณสมบัติยังล้นเหลือ
มากกว่าปุยเคมีทีใช้งานกันอีกด้วย
5.ใช้ในภาคการขนส่ง – สามารถนาํ ก๊าซชีวภาพทีได้นีมาใช้เปนพลังงานทดแทนการใช้เชือเพลิงกับตัว
เครืองยนต์ คือสามารถติดตังระบบ 2 เชือเพลิงให้กับรถ แม้ว่ายังไม่ค่อยได้รับความนิยมเนืองจากมีราคาแพงแต่
ในอนาคตก็เชือว่าน่าจะมีมากขึนอย่างแน่น
6. ใช้ในอุตสาหกรรมเคมี – สามารถนาํ เอาก๊าซชีวภาพทีว่านีไปใช้เปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมเคมี โดย
สามารถใช้เปนสารตังต้นในการผลิตภัณฑ์เคมีประเภทต่าง ๆ

19

ข้อดีของพลังงานชีวภาพ
1.เกิดผลกระทบต่อสิงแวดล้อมน้อย เนืองจากมีปริมาณกาํ มะถันตํากว่าเชือเพลิงประเภทอืนมาก

2.ไม่ก่อให้เกิดสภาวะเรือนกระจก นอกจากนีการนําแหล่งวัตถุดิบทีมีอยู่ภายในประเทศมาใช้ถือเปนการใช้
ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ

3.เพิ มรายได้ให้เกษตรกร จากการขายวัสดุทางการเกษตรทีเหลือใช้

ข้อเสียของพลังงานชีวภาพ
1.วัตถุดิบจากพื ชผลทางการเกษตรมีปริมาณไม่สมาํ เสมอขึนอยู่กับฤดูกาลรวมทังความต้องการของตลาด
วัตถุดิบจากพื ชผลบางชนิดเก็บไว้ได้ไม่นาน

2.วัตถุดิบจากพื ชผลทางการเกษตร จําเปนต้องมีการจัดเก็บอย่างเหมาะสม เพื อปองกันความเสียหาย
ตลอดจนต้องอาศัยพื นทีจัดเก็บขนาดใหญ่

3.การเจริญเติบโตของพลังงานชีวภาพ อาจส่งผลให้เกิดปญหาทางอาหาร เพราะพื นทีทางการเกษตร โดย
แย่งไปทําการเพาะปลูกพื ชพลังงานเชิงเดียว

4.โรงไฟฟาพลังชีวภาพอาจก่อให้เกิดความต้องการครอบครองพลังงานนาํ จาํ นวนมาก

20

พลังงานลม

เปนพลังงานหมุนเวียนและสะอาด ทีมีต้นนํากาํ เนิดมาจากการเคลือนทีของอากาศ โดยอากาศในส่วนทีได้รับ
ความร้อนจากดวงอาทิตย์ จะมีความหนาแน่นลดลง จึงเบาและลอยตัวขึนสู่เบืองบน ขณะเดียวกันอากาศทีเย็น
กว่าจะมีนาํ หนักมากกว่า จึงเคลือนตัวเข้ามาแทนทีก่อให้เกิดกระแสลมพั ดผ่าน กระจายอยู่ทัวไปในชันบรรยากาศ

ลักษณะของพลังงานลม
พลังงานลมกังหันลมกับการผลิตไฟฟา
หลักการทาํ งานของกังหันลมผลิตไฟฟานัน เมือมีลมพั ดผ่านใบกังหัน พลังงานจลน์ทีเกิดจากลมจะ ทาํ ให้
ใบพั ดของกังหันเกิดการหมุน และได้เปนพลังงานกลออกมา พลังงานกลจากแกนหมุนของกังหันลมจะถูกเปลียน
รูปไปเปนพลังงานไฟฟา โดยเครืองกําเนิดไฟฟาทีเชือมต่ออยู่กับแกนหมุนของกังหันลม จ่ายกระแสไฟฟาผ่าน
ระบบควบคุมไฟฟา และจ่ายกระแสไฟฟาเข้าสู่ระบบต่อไป โดยปริมาณไฟฟาทีผลิตได้จะขึนอยู่กับความเร็วของลม
ความยาวของใบพั ด และสถานทีติดตังกังหันลม เนืองจากความไม่สมาํ เสมอของความเร็วลมทีแปรผันตาม
ธรรมชาติ และความต้องการพลังงานทีสมําเสมอเพื อให้เหมาะสมกับการใช้งานแล้ว จะต้องมีตัวกักเก็บพลังงาน
และใช้แหล่งพลังงานอืนทีเชือถือได้เปนแหล่งสํารอง หรือใช้ร่วมกับแหล่ง พลังงานอืน การนาํ ลมมาใช้ประโยชน์
จะต้องอาศัยเครืองจักรกลสําคัญ คือ “กังหันลม” ในการเปลียนพลังงานจลน์จากการเคลือนทีของลม เปน
พลังงานกล ก่อนนําไปใช้ประโยชน์ ทีสําคัญพลังงานลมใช้ไม่มีวันหมด และกระบวนการผลิตไฟฟาจากลมยังไม่
ปล่อยของเสียทีเปนอันตรายต่อสภาพแวดล้อมด้วย

ชนิดของกังหันลม

ปจจุบันการพั ฒนาเทคโนโลยีกังหันลมเพื อใช้สําหรับผลิตไฟฟาได้รับการพั ฒนาอย่างต่อเนืองหลายประเทศ

ทัวโลกได้ให้ความสนใจ โดยเฉพาะในทวีปยุโรป เช่น ประเทศเดนมาร์ก กังหันลมทีได้มีการพั ฒนากันขึนมานัน จะมี

ลักษณะและรูปร่างแตกต่างกันออกไป แต่ถ้าจําแนกตามลักษณะ แนวแกนหมุนของกังหันจะได้ 2 แบบ คือ

1. กังหันลมแนวแกนนอน (Horizontal Axis Wind Turbine) เปนกังหันลมทีมีแกนหมุนขนานกับทิศทาง

ของลมโดยมีใบพั ดเปนตัวตังฉากรับแรงลม มีอุปกรณ์ควบคุมกังหัน ให้หันไปตามทิศทางของกระแสลม เรียกว่า

หางเสือ และมีอุปกรณ์ปองกันกังหันชํารุดเสียหายขณะเกิดลมพั ดแรง เช่น ลมพายุและตังอยู่บนเสาทีแข็ง

แรง กังหันลมแบบแกนนอน ได้แก่ กังหันลมวินด์มิลล์ ( Windmills) กังหันลมใบเสือลําแพน นิยมใช้กับเครือง

ฉุดนํา กังหันลมแบบกงล้อจักรยาน กังหันลมสําหรับผลิตไฟฟาแบบพรอบเพลเลอร์ (Propeller)

กังหันลมแนวแกนนอน

21

2. กังหันลมแนวแกนตัง (Vertical Axis Wind Turbine) เปนกังหันลมทีมีแกนหมุนและใบพั ดตังฉากกับ
การเคลือนทีของลมในแนวราบ ซึงทําให้สามารถรับลมในแนวราบได้ทุกทิศทางกังหันลมแบบแนวแกนนอนเปนแบบ
ทีนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ส่วนมากออกแบบให้เปนชนิดทีขับใบกังหันด้วยแรงยก

กังหันลมแนวแกนตัง
ประโยชน์จากพลังงานลม
1.ใช้ในการสูบนํา ซึงรับพลังงานจลน์จากลมพร้อมเปลียนให้เปนพลังงานกล เพื อใช้ในการสูบนําจากบริเวณ
ตําขึนบริเวณสูงเพื อใช้ทําการเกษตรหรือเพื อการอุปโภค
2.ใช้ในการผลิตไฟฟา รับพลังงานจลน์จากการเคลือนทีพร้อมเปลียนให้เปนพลังงานกล แล้วนาํ พลังงานกล
นัน มาผลิตเปนพลังงานไฟฟา ภูมิประเทศของบางประเทศทีมีกระแสลมพั ดอย่างรุนแรงอย่างสมาํ เสมอ จะมี
การนําพลังงานลมมาใช้ในการผลิตกระแสไฟฟา
3.ทาํ นาเกลือ การใช้กังหันลมฉุดนําเพื อทํานาเกลือ มีในประเทศไทยมานานแล้ว โดยการประดิษฐ์คิดค้นขึน
ด้วยภูมิปญญาชาวบ้านในสมัยโบราณ เพื อใช้ในนาข้าว , นาเกลือ , นากุ้ง ก่อให้เกิดรายได้ในชุมชน
4.สร้างเปนจุดดึงดูดนักท่องเทียว ทุ่งกันหันลมทียืนสูงตระหง่าน เรียงรายกันอยู่ในทุ่งกว้าง แลดูสวยงาม
นอกจากจะใช้ประโยชน์ในการสร้างกระแสไฟฟาแล้ว ยังสร้างเปนแลนด์มาร์ค ให้นักท่องเทียวมาถ่ายรูปและชมวิว
สร้างรายได้เข้าชุมชนได้อีกทางหนึงด้วย
5.อยู่ได้ทังบนบกและในทะเล กังหันลมขนาดใหญ่ส่วนมากจะใช้แกน แต่ละตัวจะเชือมต่อกันภายในด้วยระบบ
แรงดันไฟฟาปานกลาง พร้อมระบบจัดเก็บพลังงานไฟฟาทีมีประสิทธิภาพ

22

ข้อดีของพลังงานลม
1.เปนมิตรต่อสิงแวดล้อม โดยลดระดับการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทีก่อให้เกิดภาวะโลกร้อน นีเปน
ประโยชน์ด้านสิงแวดล้อมทีสําคัญทีสุดของการผลิตพลังงานลม นอกจากนีพลังงานลมยังปราศจากสารก่อมลพิ ษ
อืน ๆ ทีเกิดจากเชือเพลิงฟอสซิลและโรงไฟฟานิวเคลียร์อีกด้วย

2.มีความสมดุลด้านพลังงานทีดีเยียม การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทีเกิดจากการผลิต ติดตัง และให้
บริการของกังหันลมทีมีช่วงอายุโดยเฉลีย 20 ปถูก “ทดแทน” หลังดาํ เนินการผลิต 3-6 เดือน ซึงเท่ากับการ
ผลิตพลังงานมากกว่า 19 ปโดยแทบไม่มีค่าใช้จ่ายด้านสิงแวดล้อมเลย

3.ดาํ เนินงานได้รวดเร็ว สามารถสร้างเสร็จภายในไม่กีสัปดาห์ โดยใช้รถเครนติดตังหอคอยของกังหันลม
ส่วนเชือมต่อกับปกหมุน (โครงยึด) และ ใบพั ดเหนือฐานคอนกรีตเสริมกาํ ลัง ด้วยเงินลงทุนทีเท่ากัน พลังงานลม
สร้างงานมากกว่าเครืองปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 5 เท่า และผลิตพลังงานได้มากกว่า 2.3 เท่า

4.เปนแหล่งพลังงานทีน่าเชือถือและนํากลับมาใช้ใหม่ได้ เนืองจากลมทีใช้ขับเคลือนกังหันลมไม่มีค่าใช้จ่าย
ตลอดกาล และไม่ถูกกระทบโดยราคาของเชือเพลิงฟอสซิล นอกจากนียังไม่ต้องอาศัยการทําเหมือง ขุดเจาะ หรือ
ขนส่งไปยังสถานีจ่ายไฟฟา ในขณะทีราคาเชือเพลิงฟอสซิลสูงขึน คุณค่าของพลังงานลมก็สูงขึนเช่นกัน ทาํ ให้ค่า
ใช้จ่ายของการผลิตไฟฟาโดยอาศัยพลังงานลมมีแต่จะลดลง

ข้อเสียของพลังงานลม
1.ส่งผลต่อทัศนียภาพ เนืองจากต้องใช้กังหันขนาดใหญ่ อาจมีการบดบังส่วนต่าง ๆ ของพื นทีไป

2.การเกิดมลภาวะทางเสียง เมือใบพั ดขนาดใหญ่ทํางานจะเกิดเสียงดังมากรบกวนผู้อยู่ใกล้เคียง

3.การรบกวนคลืนวิทยุ ซึงเกิดจากใบพั ดส่วนใหญ่ทาํ จากโลหะเมือหมุนทาํ ให้เกิดการรบกวนคลืนวิทยุและ
โทรทัศน์ในระยะ 1 – 2 กิโลเมตร

4.ความไม่แน่นอนของพลังงานลม ความไม่แน่นอนของพลังงานลมสร้างปญหาน้อยกว่าระบบการจัดการ
สายส่งไฟฟาความต้องการพลังงานทีขึนลงไม่แน่นอนและความผิดพลาดจากโรงไฟฟาทัวไปทีจําเปนต้องปองกัน
ไม่ให้เกิดขึน ทาํ ให้ต้องอาศัยระบบสายส่งไฟฟาทียืดหยุ่นมากกว่าพลังงานลม นอกจากนี การสร้างสายส่งไฟฟา
ประสิทธิภาพสูงยังลดปญหาความไม่แน่นอนของลม โดยทําให้พลังไฟฟาจากความเร็วลมทีเปลียนแปลงในหลาย ๆ
พื นทีเกิดความสมดุลซึงกันและกัน

23

บรรณานุกรม

HTTPS://WWW.IEA.ORG/TOPICS/RENEWABLES/. 4 มีนาคม 2564.
HTTP://WWW.CONSERVE-ENERGY-. 4 มีนาคม 2564.
FUTURE.COM/WAVEENERGY.PHP. 5 มีนาคม 2564.
HTTP://WWW.DEDE.GO.TH/EWT_DL_LINK.PHP?NID=630. 6 มีนาคม 2564.
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. (2557). พลังงานมหาสมุทร. IN

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, สารานุกรมพลังงานทดแทน
(PP. 271, 274-278). กรุงเทพมหานคร,ประเทศไทย.

พลังงานทดแทน ลดปญหามลพิษ
ช่วยประหยัดพลังงาน

"เพื อสิ งแวดล้อมทียังยืน"


Click to View FlipBook Version