แผนปฏิบตั ิการประจาปี การศกึ ษา 2565 โรงเรยี นนาส่วงวิทยา สพม.อบอจ ๒๘
สว่ นท่ี 3
ทศิ ทางการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของโรงเรยี น
ทิศทางในการพฒั นาโรงเรยี นนาส่วงวิทยา สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา อบอจ.
การวิเคราะห์ SWOT
1. Strengths จดุ เด่นหรือจดุ แขง็
1. มหี ลกั สตู รสถานศกึ ษาทต่ี อบสนองความตอ้ งการของชมุ ชนและเพมิ่ โอกาสทางการศกึ ษา
2. หอ้ งเรยี นมสี อ่ื เทคโนโลยที ท่ี นั สมยั
3. อาคารสถานทม่ี คี วามร่มรน่ื น่าอยู่
4. มกี ารขบั เคล่อื น ICT ในสถานศกึ ษา
5. จดั สรรบคุ ลากรทเ่ี พยี งพอ
6. มคี วามโปรง่ ใสในการจดั สรรงบประมาณ การจดั ซอ้ื จดั จา้ งเป็นไปตามระเบยี บราชการ
7. บคุ ลากรมคี วามรคู้ วามสารถในการจดั การเรยี นการสอนและตรงตามวชิ าเอก
8. สง่ เสรมิ ความสามารถเฉพาะดา้ น ดา้ นกฬี าและศลิ ปะ เพ่อื ใหม้ คี วามสามารถในการแขง่ ขนั
9. ผบู้ รหิ ารมคี วามมงุ่ มนั ่ และตงั้ ใจในการพฒั นาสถานศกึ ษา
2. Weakness จดุ อ่อน
1. งบประมาณ
2. บคุ ลากร
3. อาคารสถานท่ี
3. Opportunity โอกาส
1. คนในชุมชนใหค้ วามรว่ มมอื และใหก้ ารสนบั สนุนเป็นอยา่ งดใี นการขบั เคลอ่ื นไปส่กู าร
พฒั นาสถานศกึ ษา
2. ชมุ ชน โรงเรยี น วดั มคี วามเขม้ แขง็
3. มชี มรมศษิ ยเ์ กา่ ทใ่ี หก้ ารสนบั สนุนสง่ เสรมิ การพฒั นาดา้ นการจดั การศกึ ษา
4. การสรา้ งเครอื ขา่ ยจากสถาบนั ภายนอกเพอ่ื สรา้ งโอกาสทางการศกึ ษา
5. คณะกรรมการสถานศกึ ษาทค่ี อยส่งเสรมิ สนบั สนุนการศกึ ษา
6. การคมนาคมสะดวก
4. Threat อปุ สรรค
1. ผปู้ กครองส่วนใหญ่ฐานะยากจน
2. สภาพเศรษฐกจิ ไม่ดเี ทา่ ทค่ี วร
แผนปฏิบตั ิการประจาปี การศึกษา 2565 โรงเรียนนาส่วงวิทยา สพม.อบอจ ๒๙
วิสยั ทศั น์
สรา้ งคณุ ภาพการศกึ ษา สรา้ งโอกาส สรา้ งอนาคต
พนั ธกิจ
1. จดั การศกึ ษาเพ่อื เสรมิ สรา้ งคุณภาพของความยงั ่ ยนื ของการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี
พระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข
2. พฒั นาศกั ยภาพผเู้ รยี นเพ่อื เพมิ่ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั โดยพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี นใหม้ คี วามรู้
ทกั ษะวชิ าการ ทกั ษะชวี ติ และทกั ษะวชิ าชพี
3. ส่งเสรมิ และพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาใหเ้ ป็นมอื อาชพี
4. สรา้ งโอกาส สรา้ งอนาคต ลดความเหล่อื มลา้ ใหผ้ เู้ รยี นทกุ นไดร้ บั บรกิ ารทางการศกึ ษาอยา่ งทวั ่ ถงึ และ
เทา่ เทยี ม
5. ส่งเสรมิ การจดั การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ทเ่ี ป็นมติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ ม ยดึ หลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง
6. พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การแบบบรู ณาการและสง่ เสรมิ ใหภ้ าคเี ครอื ขา่ ยมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษา
เป้าประสงค์
1. มกี ารจดั การศกึ ษาเพ่อื เสรมิ สรา้ งคุณภาพและความยงั ่ ยนื ของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี
พระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ
2. ผเู้ รยี นมศี กั ยภาพ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั โดยใชท้ กั ษะความรู้ วชิ าการ ทกั ษะชวี ติ ทกั ษะ
วชิ าชพี และมคี ณุ ลกั ษณะในศตวรรษท2่ี 1
3. ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาไดร้ บั การพฒั นาศกั ยภาพตามมาตรฐานวชิ าชพี และสามารถจดั การเรยี น
การสอนตามมาตรฐานสากล
4. ผเู้ รยี นทกุ คนมโี อกาสทางการศกึ ษา ไดร้ บั การบรกิ ารทางการศกึ ษาอยา่ งเท่าเทยี มกนั
5. มกี ารจดั การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาคุณภาพชวี ติ ทเ่ี ป็นมติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ มโดยยดึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพยี ง
6. มรี ะบบการบรหิ ารจดั การแบบบรู ณาการและสง่ เสรมิ ใหม้ ภี าคเี ครอื ขา่ ยเขา้ มามสี ว่ นร่วมในการจดั
การศกึ ษา
แผนปฏิบตั ิการประจาปี การศึกษา 2565 โรงเรียนนาส่วงวิทยา สพม.อบอจ ๓๐
กลยทุ ธ์
1. การจดั การคุณภาพการศึกษาเพื่อความมั่นคงยง่ั ยนื ของสังคมและประเทศชาติ
มีการจดั การศึกษาเพอ่ื เสรมิ สร้างคณุ ภาพและความมน่ั คงยั่งยืนของการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มี
พระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ (O-Net) ใหเ้ พม่ิ ข้นึ รวมทง้ั มี
หลกั สตู รสถานศึกษาทส่ี ง่ ผลตอ่ ความเป็นเลิศและการประกอบอาชีพ และพฒั นาการจดั การศกึ ษาเพ่อื เสริมสรา้ งชวี ติ
ในการดแู ลและปอ้ งกนั ภยั คุมคามในรปู แบบใหม่
2. พัฒนาศักยภาพผเู้ รียนและนวัตกรรมเพอ่ื ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
มกี ารจดั การศกึ ษาเพอ่ื สง่ เสรมิ ให้ผเู้ รยี นมศี กั ยภาพ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั โดยใชท้ กั ษะความรู้
วชิ าการ ทกั ษะชวี ติ ทกั ษะวชิ าชพี และมคี ุณลกั ษณะในศตวรรษท่2ี 1 โดยพฒั นาผูเ้ รยี นใหม้ สี มรรถนะในการ
ทางานตรงตามความต้องการตลาดงาน และการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ ส่งเสรมิ การผลติ และ
พฒั นากาลงั คนมมี คี วามเชย่ี วชาญและเป็นเลศิ เฉพาะดา้ น ส่งเสรมิ นวตั กรรมเพอ่ื สรา้ งองคค์ วามรู้ ผลผลติ และ
มูลค่าเพม่ิ ทางเศรษฐกจิ อกี ทงั้ ยงั พฒั นาหลกั สตู รหอ้ งเรยี นศลิ ป์ -ธุรกจิ การคา้ สมยั ใหมร่ ่วมกบั PIM หอ้ งเรยี น
เตรยี มวศิ วกรรม (Pre-engineer) รวมทงั้ การพฒั นาหลกั สตู รหอ้ งเรยี นความสามารถดา้ นวทิ ยาศาสตร์ (MSP)
ตลอดจนส่งเสรมิ ศกั ยภาพนกั เรยี นตามความสามารถทุกกลุม่ เป้าหมาย
3. การพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพผเู้ รยี นระดบั มัธยมศกึ ษาและสร้างสงั คมแหง่ การเรยี นรู้
มกี ารพฒั นาและส่งเสรมิ ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาใหไ้ ดร้ บั การพฒั นาศกั ยภาพตามมาตรฐานวชิ าชพี
และสามารถจดั การเรยี นการสอนตามมาตรฐานสากล ส่งเสรมิ และสนบั สนุนใหผ้ ้เู รยี นทุกคนมที กั ษะ ความรู้
ความสามารถและการพฒั นาคุณภาพชวี ติ อย่างเหมาะสมเตม็ ตามศกั ยภาพ ส่งเสรมิ และพฒั นาแหล่งเรยี นรู้
ส่อื ตาราเรยี น และส่อื การเรยี นรตู้ า่ งๆ ใหม้ คี ณุ ภาพ มาตรฐาน สรา้ งเสรมิ และปรบั เปลย่ี นคา่ นิยมของผเู้ รยี นให้
มวี นิ ัย จติ สาธารณะและพฤตกิ รรมท่พี งึ ประสงค์ รวมทงั้ พฒั นาระบบการวดั และประเมินผลผู้เรียนให้มี
ประสทิ ธภิ าพ สง่ เสรมิ พฒั นาคณุ ภาพ มาตรฐานครู และบุคลากรทางการศกึ ษาอยา่ งตอ่ เน่ือง
4. การสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและความเทา่ เทยี มทางการศึกษา
ผู้เรยี นทุกคนมโี อกาสทางการศกึ ษา ได้รบั การบรกิ ารทางการศกึ ษาอย่างเท่าเทยี มกนั เพม่ิ โอกาสและ
ความเสมอภาคในการเขา้ ถงึ การศกึ ษาทม่ี คี ุณภาพพฒั นาระบบเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพ่อื การศกึ ษาสาหรบั ผเู้ รยี น
ทกุ คน รวมทงั้ ไดม้ กี ารพฒั นาฐานขอ้ มลู ดา้ นการศกึ ษาทม่ี มี าตรฐานเช่อื มโยงและเขา้ ถงึ ได้
5. การจดั การศึกษาเพอื่ สรา้ งเสริมคณุ ภาพชีวติ ทีเ่ ปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ ม
มกี ารจดั การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาคุณภาพชวี ติ ท่เี ป็นมติ รกบั สง่ิ แวดล้อมโดยยดึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพยี ง ส่งเสรมิ สนบั สนุนการสรา้ งจติ สานึกรกั ษส์ งิ่ แวดลอ้ ม มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และนาแนวคดิ ตามหลกั
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในการดาเนินชีวิต รวมถึงการส่งเสริมและพฒั นาหลกั สูตร
กระบวนการเรยี นรู้ แหลง่ เรยี นรแู้ ละสอ่ื การเรยี นรตู้ ่างๆทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การสรา้ งเสรมิ คุณภาพชวี ติ ทเ่ี ป็นมติ รกบั
สิ่งแวดล้อม และพฒั นาองค์ความรู้ งานวจิ ยั และนวตั กรรมด้านการสร้างเสรมิ คุณภาพชวี ติ ท่เี ป็นมิตรกบั
สงิ่ แวดลอ้ ม
แผนปฏิบตั ิการประจาปี การศกึ ษา 2565 โรงเรยี นนาส่วงวิทยา สพม.อบอจ ๓๑
6. การพฒั นาประสทิ ธภิ าพของระบบบรหิ ารจดั การศึกษา
มีระบบการบริหารจดั การแบบบูรณาการและส่งเสรมิ ให้มีภาคเี ครอื ข่ายเขา้ มามีส่วนร่วมในการจัด
การศึกษา ปรบั ปรุงโครงสร้างการบรหิ ารจดั การศึกษา ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจดั
การศึกษา พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลของครู และบุคลากรทางการศึกษา สร้างเครือข่ายร่วมกับ
มหาวทิ ยาลยั
การจดั การศึกษาตามหลกั นาส่วงโมเดล
NASUANG Model
N Newnormal การเรียนร้วู ิถีใหม่ A Activating กระต้นุ การเรียนรอู้ ย่างมีความสุขและ
สร้างสรรค์
S Sociality การติดต่อสื่อสารทางเทคโนโลยี U Unity ความสามคั คีในองคก์ ร
A Aechievement ความสาเรจ็ N Network ภาคีเครอื ข่าย
G Gold ความมีชื่อเสยี ง รงุ่ เรือง
ผู้เรยี นมกี ารเรียนรเู้ ตม็ ตามศกั ยภาพ เกง่ ดี มีสุข ภายใต้หลกั การดาเนินงานของ NASUANG Model การ
ทางานท่ีมที ศิ ทาง และการปรบั แผนงานตามหลักของ PDCA
แผนปฏิบตั ิการประจาปี การศกึ ษา 2565 โรงเรยี นนาส่วงวิทยา สพม.อบอจ ๓๒
จุดเน้นและนโยบายในการพฒั นา
ขอ้ กลยทุ ธ์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ระดบั แผนงาน ตัวชีว้ ัดความสาเร็จ
ที่
1.มีการจดั 1. ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตย 1. รอ้ ยละของกลุ่มสาระการเรยี นรู้ท่ี
1 การจดั การคุณภาพ สง่ เสรมิ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
การศกึ ษาเพ่ือความ การศกึ ษาเพื่อ อันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข อนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ
ม่นั คงยัง่ ยนื ของ 2. ร้อยละของผเู้ รยี นมีคะแนนเฉลีย่
สังคมและ เสรมิ สร้างคุณภาพ 2. ยกระดับผลสัมฤทธิก์ ารทดสอบทาง ผลสัมฤทธิก์ ารดสอบทางการศกึ ษา
ประเทศชาติ ระดับชาติ O-Net เพิ่มขน้ึ
และความมนั่ คง การศกึ ษาระดบั ชาติ (O-net) เพมิ่ ขึ้น 3. มหี ลักสตู รสถานศกึ ษาทส่ี ่งผลต่อ
ความเป็นเลศิ และการประกอบอาชีพของ
ยงั่ ยนื ของการ 3. มีหลกั สตู รสถานศึกษาทสี่ ง่ ผลต่อความเปน็ ผเู้ รียนอยา่ งน้อย 4 หลักสูตร
4.รอ้ ยละของผเู้ รียนไดร้ บั เสรมิ สรา้ ง
ปกครองระบอบ เลิศและการประกอบอาชพี
ประชาธิปไตยอันมี 4. พฒั นาการจดั การศกึ ษาเพื่อเสริมสรา้ งชีวติ
พระมหากษตั รยิ ์ ในการดูแลและปอ้ งกนั ภัยคุกคามในรูปแบบ
ทรงเป็นประมขุ ใหม่
ความรูค้ วามเขา้ ใจท่ีถกู ตอ้ งเก่ยี วกบั ภยั
คกุ คามในรูปแบบใหม่
2 พฒั นาศักยภาพ 2. ผเู้ รยี นมี 1. พฒั นาผู้เรยี นให้มีสมรรถนะในการทางาน 1. ร้อยละของผู้เรียนที่จบการศกึ ษา
ผเู้ รยี นและ ศักยภาพ ขดี ตรงตามความตอ้ งการตลาดงาน และการ สามารถเข้าศกึ ษาต่อและทางานตรงตาม
นวตั กรรมเพื่อ ความสามารถใน พัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ ความต้องการของตลาดแรงงาน
ความสามารถในการ การแข่งขันโดยใช้ 2. ส่งเสริมการผลิตและพัฒนากาลงั คนมมี ี 2. จานวนผเู้ รยี นที่มีความสามารถพิเศษ
แข่งขนั ของประเทศ ทกั ษะความรู้ ความเชี่ยวชาญและเป็นเลศิ เฉพาะด้าน ได้รบั การสง่ เสริมและพฒั นาเต็มตาม
วิชาการ ทกั ษะ 3. สง่ เสริมนวัตกรรมเพ่ือสรา้ งองคค์ วามรู้ ศักยภาพ(ความสามารถด้านอ่ืนๆ)
ชวี ิต ทกั ษะวชิ าชพี ผลผลิตและมูลค่าเพ่มิ ทางเศรษฐกิจ 3. จานวนนวัตกรรม/ส่ิงประดิษฐท์ ่สี ร้าง
และมคี ุณลักษณะ 4. พฒั นาหลักสูตรห้องเรียนศิลป์-ธรุ กิจ การคา้ ขน้ึ
ในศตวรรษท2ี่ 1 สมยั ใหมร่ ว่ มกับ PIM หอ้ งเรยี นเตรยี ม 4. จานวนนกั เรยี นทสี่ าเร็จการศกึ ษาตาม
วิศวกรรม (Pre-engineer) หลกั สูตร สามารถประกอบอาชพี และเข้า
5. พฒั นาหลักสูตรห้องเรยี นความสามารถด้าน ศึกษาต่อในระดบั อดุ มศึกษาเพ่มิ ขึ้น
วทิ ยาศาสตร์ (MSP)
แผนปฏิบตั ิการประจาปี การศกึ ษา 2565 โรงเรียนนาส่วงวิทยา สพม.อบอจ ๓๓
6. สง่ เสริมศกั ยภาพนักเรยี นตามความสามารถ
ทุกกลุ่มเปา้ หมาย
3 การพัฒนาและ 3. ครแู ละบคุ ลากร 1. ส่งเสรมิ และสนบั สนุนให้ผเู้ รียนทกุ คนมี 1. ผู้เรียนมีทกั ษะ ความรู้ และผลสมั ฤทธิ์
เสรมิ สรา้ งศักยภาพ ทางการศึกษา ทกั ษะ ความรู้ ความสามารถและการพัฒนา ทางการเรียนเพ่ิมขึน้
ผ้เู รียนระดับ ได้รับการพัฒนา คุณภาพชีวิตอย่างเหมาะสมเต็มตามศักยภาพ 2. มแี หลง่ เรียนรู้ สอื่ และแหล่งสืบคน้ ที่
มธั ยมศึกษาและ ศักยภาพตาม 2. ส่งเสรมิ และพฒั นาแหลง่ เรียนรู้ สอ่ื ตารา หลากหลายเพ่มิ ขนึ้
สรา้ งสังคมแห่งการ มาตรฐานวชิ าชีพ เรยี น และสอื่ การเรียนร้ตู า่ งๆ ให้มคี ณุ ภาพ 3. ผู้เรียนมีคา่ นยิ ม วินัย จิตสาธารณะ
เรยี นรู้ และสามารถ มาตรฐาน และพฤตกิ รรมทพ่ี ึงประสงคเ์ พิม่ ขึน้
จัดการเรยี นการ 3. สร้างเสริและปรบั เปลยี่ นคา่ นิยมของผเู้ รียน 4. มเี ครือ่ งมือในการวัดและประเมนิ ผล
สอนตาม ให้มีวินัย จติ สาธารณะและพฤติกรรมทพ่ี ึง ผู้เรียนที่มปี ระสทิ ธิภาพ
มาตรฐานสากล ประสงค์ 5. ร้อยละของครแู ละบุคลากรทางการ
4. พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลผเู้ รียน ศกึ ษาไดร้ ับการพัฒนาตามมาตรฐาน
ใหม้ ีประสทิ ธิภาพ วิชาชีพและสามารถปฏบิ ัติงานได้อยา่ งมี
5. พัฒนาคุณภาพ มาตรฐานครู และบคุ ลากร ประสิทธิภาพ
ทางการศกึ ษา
4 การสร้างโอกาส 4. ผู้เรียนทกุ คนมี 1. เพิ่มโอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถึง 1. ร้อยละของผเู้ รยี นได้รับบรกิ าร
ความเสมอภาคและ โอกาสทาง การศกึ ษาท่ีมีคุณภาพ อินเทอร์เน็ตความเรว็ สูงในการเข้าถึง
ความเท่าเทยี มทาง การศกึ ษา ได้รับ 2. พัฒนาระบบเทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพื่อการศึกษา ระบบการศกึ ษาทีห่ ลากหลายอย่างมี
การศกึ ษา การบริการทาง สาหรับผ้เู รียนทุกคน คณุ ภาพ
การศึกษาอยา่ ง 3. พัฒนาฐานข้อมูลด้านการศกึ ษาที่มี 2. การใช้อินเทอรเ์ น็ตเพื่อการศึกษาหา
เทา่ เทียมกนั มาตรฐานเช่ือมโยงและเข้าถึงได้ ความรูแ้ ละการเรียนรูต้ ลอดชีวติ รปู แบบ
ต่างๆเพ่ิมมากข้ึน
3. จานวนฐานข้อมลู รายบุคคลด้าน
การศึกษาของหน่วยงานท่ีเปน็ ปัจจุบนั
สามารถเช่ือมโยงและใช้ข้อมูลระหว่าง
หนว่ ยงานไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ
5 การจัดการศึกษา 5. มกี ารจัด 1. สง่ เสริม สนับสนนุ การสร้างจติ สานกึ รักษ์ 1. ร้อยละของผ้เู รยี นที่มจี ิตสานึกรักษ์
เพื่อสรา้ งเสรมิ การศกึ ษาเพ่ือ สง่ิ แวดล้อม มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และนา ส่งิ แวดลอ้ ม มีคณุ ธรรมจริยธรรม และนา
คณุ ภาพชีวิตทเ่ี ปน็ พัฒนาคุณภาพ แนวคดิ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักคิดตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
มติ รกบั สง่ิ แวดล้อม ชีวิตทเ่ี ป็นมิตรกับ สูก่ ารปฏบิ ตั ใิ นการดาเนินชีวิต พอเพยี งไปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน
สิง่ แวดลอ้ มโดยยดึ 2. สง่ เสริมและพัฒนาหลกั สตู ร กระบวนการ 2. ร้อยละขอผเู้ รยี นท่มี ีทักษะในการ
หลกั ปรัชญาของ เรยี นรู้ แหล่งเรียนรแู้ ละสอ่ื การเรยี นรู้ต่างๆที่ เรียนรูแ้ ละเสริมสร้างคณุ ภาพชีวิตที่เปน็
เศรษฐกิจพอเพียง เกย่ี วข้องกบั การสรา้ งเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม
มิตรกับสงิ่ แวดล้อม 3. รอ้ ยละของนวตั กรรมหรืองานวจิ ยั
3. พัฒนาองค์ความรู้ งานวิจยั และนวตั กรรม ดา้ นการส่งเสรมิ คุณภาพชีวติ ที่เป็นมติ ร
ดา้ นการสรา้ งเสรมิ คุณภาพชีวติ ทีเ่ ปน็ มติ รกับ กบั สิ่งแวดล้อม
ส่งิ แวดลอ้ ม
6 การพฒั นา 6. มรี ะบบการ 1. ปรบั ปรุงโครงสรา้ งการบรหิ ารจัดการศึกษา 1. จานวนภาคเี ครอื ข่ายทเี่ ข้ามามีส่วน
ประสิทธภิ าพของ บริหารจัดการ 2. ส่งเสรมิ การมสี ่วนรว่ มของทุกภาคส่วนใน รว่ มในการจดั พฒั นาและส่งเสรมิ
ระบบบริหารจดั แบบบรู ณาการ การจัดการศึกษา การศึกษา
การศึกษา และสง่ เสรมิ ใหม้ ี
แผนปฏิบตั ิการประจาปี การศึกษา 2565 โรงเรยี นนาส่วงวิทยา สพม.อบอจ ๓๔
ภาคีเครือข่ายเข้า 3. พัฒนาระบบบริหารงานบคุ คลของครู และ 3. รอ้ ยละของครูทผี่ า่ นการพฒั นาตาม
มามีส่วนร่วมใน บคุ ลากรทางการศึกษา เกณฑส์ านักงานคณะกรรมการข้าราชการ
การจัดการศกึ ษา 4. สร้างเครือข่ายร่วมกับมหาวทิ ยาลัย ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา (ก.ค.ศ.)
ผลการดาเนินการตามแผนปฏิบตั ิการของปี การศึกษาที่ผา่ นมา
สรุปการใชจ้ า่ ยงบประมาณตามโครงการ/กิจกรรม ประจาปีการศกึ ษา 2564
งบประมาณ
1. งบประมาณทไี่ ด้รบั การจดั สรรทง้ั หมดมี 3,302,800บาท สาหรบั การพฒั นา สง่ เสรมิ ในการจดั การเรียน
การสอน และการบรหิ ารภายในโรงเรียน
2. งบประมาณทใี่ ช้จ่ายไปทัง้ หมดในปีการศกึ ษา 2564 เป็นจานวนเงนิ 1,461,040.7บาท
3. งบประมาณคงเหลือในปกี ารศกึ ษา 2564 เป็นจานวนเงิน 1,841,759.3 บาท
โครงการ/กจิ กรรม
1. โครงการ/กจิ กรรม ในโรงเรยี นนาสว่ งวิทยาประจาปีการศึกษา 2564 มีทง้ั หมด 108 โครงการ/68
กิจกรรม ซง่ึ ได้จดั สรรงบประมาณใหแ้ ตล่ ะโครงการ /กิจกรรม ตามวัตถุประสงค์ เป้าหมาย พนั ธกจิ
นโยบายของสถานศึกษา สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา และนโยบายของรัฐบาล
1.1 ค่าจดั การเรียนการสอน รอ้ ยละ 60 เปน็ จานวนเงนิ 705,900 บาท
1.2 กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น รอ้ ยละ 30 เป็นจานวนเงิน 352,950 บาท
1.3 งบสารองจ่าย ร้อยละ 10 เปน็ จานวนเงิน 117,650 บาท
2. การใชจ้ ่ายงบประมาณค่าจัดการเรียนการสอน ตามโครงการ/กิจกรรม สามารถสรุปได้ ดังนี้
2.1 งบวชิ าการ การจัดการเรยี นการสอน มที ั้งหมด 61 โครงการ 34 กิจกรรม ไดร้ ับจัดสรรเปน็
จานวนเงิน 705,900บาท
ใชไ้ ป 318,474.0 บาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 45.12
คงเหลือ 387,426 บาท คิดเปน็ ร้อยละ 54.88
2.2 งบกลุ่มบรหิ ารทั่วไป มีทง้ั หมด 13 โครงการ 8 กจิ กรรม ไดร้ บั จดั สรรเป็นจานวนเงิน
197,950 บาท
ใช้ไป 27,089.0 บาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 13.68
คงเหลอื 170,861.0 บาท คิดเป็นร้อยละ 86.32
2.3 กลมุ่ บรหิ ารงบประมาณและแผนงาน มีทง้ั หมด 6 โครงการ 6 กจิ รรม ไดร้ บั จดั สรรเปน็ จานวน
เงิน 18,000 บาท
ใช้ไป 13,296.0 บาท คิดเปน็ ร้อยละ 73.87
คงเหลอื 4,704.0 บาท คดิ เป็นร้อยละ 26.13
แผนปฏิบตั ิการประจาปี การศึกษา 2565 โรงเรียนนาส่วงวิทยา สพม.อบอจ ๓๕
2.4 กลุ่มบรหิ ารงานบคุ คล มที ง้ั หมด 5 โครงการ 4 กิจกรรม ได้รบั จัดสรรเปน็ จานวนเงิน
57,000บาท
ใชไ้ ป 24,045.0 บาท คิดเป็นรอ้ ยละ 42.18
คงเหลอื 32,955.0 บาท คิดเป็นร้อยละ 57.82
2.5 กลุ่มบรหิ ารกิจการนกั เรยี น มีทง้ั หมด 9 โครงการ 5 กจิ กรรม ไดร้ ับจัดสรรเปน็ จานวนเงิน
80,000 บาท
ใช้ไป 64,000.0 บาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 80
คงเหลอื 16,000 บาท คิดเปน็ รอ้ ยละ 20
3. ค่าใชจ้ ่ายงบประมาณกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น ตามโครงการ/กจิ กรรม ไดร้ บั จัดสรรงบประมาณ 679,950
บาท สามารถสรุปไดด้ งั น้ี
3.1 กจิ กรรมวชิ าการ มที ้งั หมด 8 โครงการ/กจิ กรรม ไดร้ บั จัดสรรเปน็ จานวนเงิน 150,000 บาท
ใชไ้ ป 129,700 บาท คดิ เป็นร้อยละ 86.47
คงเหลอื 20,300 บาท คิดเปน็ ร้อยละ 13.53
3.2 กจิ กรรมคุณธรรมจริยธรรม/ลกู เสอื /เนตรนารี /ยุวกาชาด /บาเพญ็ ประโยชน์ มีทงั้ หมด 2
โครงการ 5 กิจกรรม ไดร้ บั จดั สรรเปน็ จานวนเงนิ 115,000 บาท
ใช้ไป 65,500 บาท คิดเป็นร้อยละ 56.96
คงเหลอื 49,500 บาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 43.04
3.3 กิจกรรมทศั นศึกษา มที งั้ หมด 2 โครงการ 2 กิจกรรม ไดร้ บั จัดสรรเปน็ จานวนเงนิ
279,950 บาท
ใช้ไป - บาท คดิ เปน็ ร้อยละ 0
คงเหลอื 279,950 บาท คิดเปน็ ร้อยละ 100
3.4 กจิ กรรมบรกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร มที ั้งหมด 2 โครงการ 4 กจิ กรรม ได้รบั
จัดสรรเป็นจานวนเงิน 135,000 บาท
ใชไ้ ป 94,303.4 บาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 69.85
คงเหลือ 40,696.6 บาท คดิ เปน็ ร้อยละ 30.15
ขอ้ เสนอแนะ
1. การใช้จ่ายงบประมาณส่วนมากไมเ่ ปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์เป้าหมายท่ีวางไว้ โครงการส่วนมากถูก
ป รั บ เ ปลี่ย น งบป ระม า ณเพื่อ ใ ห้สอ ดคล้อ งกั บสถา น กา รณ์ น โ ย บ า ย ขอ ง รัฐบาล
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งนเ้ี พื่อประโยชน์สงู สุด
ของผู้เรียน โรงเรยี นและชุมชน
2. เน่ืองด้วยสภาวะสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรสั Covid 19 บางโครงการ/กิจกรรม ไม่
สามารถดาเนินการได้ เช่น การเข้าค่ายคณุ ธรรม การเข้าค่ายเพื่อพัฒนาทักษะทางวิชาการ การ
จัดกิจกรรมวิชาการ ไม่สามารถดาเนินการได้ เช่นน้ี ทางโรงเรียน จึงได้ปรับเปลี่ยนการจัด
กิจกรรม/โครงการ และการใช้งบประมาณ ให้เป็นไปตามความเหมาะสม ทั้งนี้เพื่อผลประโยชน์
สงู สุดของผู้เรยี น สถานศึกษา และชุมชน
แผนปฏิบตั ิการประจาปี การศึกษา 2565 โรงเรียนนาส่วงวิทยา สพม.อบอจ ๓๖
รูปภาพแผนภมู ิ แสดงการใช้จา่ ยงบประมาณ ประจาปกี ารศกึ ษา 2564
สรุปการใช้จ่ายงบประมาณปี การศึกษา 2564
กลมุ่ บรหิ ารท่วั ไป
กลมุ่ บรหิ ารกจิ การนกั เรยี น
กลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คล
กลมุ่ บรหิ ารงบประมาณและแผนงาน
กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ
0 100,000 200,000 300,000 400,000 500,000 600,000 700,000 800,000
งบประมาณคงเหลอื งบประมาณท่ใี ช้ งบประมาณท่ีจดั สรร
กลุ่มงาน งบประมาณท่จี ดั สรร งบประมาณท่ใี ช้ งบประมาณคงเหลอื
กลุ่มบรหิ ารวชิ าการ 705,900 318,474 387,426
กลุ่มบริหารงบประมาณและ
แผนงาน 18,000 13,296 4,704
กลุ่มบริหารงานบุคคล
57,000 24,045 32,955.00
กลมุ่ บรหิ ารกจิ การนกั เรียน 80,000 64,000 16,000
กลุ่มบรหิ ารทว่ั ไป 197,950 27,089 170,861