The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thanchanok Jindarat, 2021-03-30 00:13:16

สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

https://stang.sc.mahidol.ac.th/stangmuseum musc.museum @StangLibrary @218yyaxq

พระราชประวัติ

สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจาŒ กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี พระราชสมภพเม่ือวันเสาร
ที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๘ ตรงกับวันขึ้น ๑๐ คำ‹ เดือน ๕ ปม‚ ะแม สปั ตศก ณ พระทน่ี ั่งอมั พรสถาน พระราชวังดุสติ
เปนš สมเด็จพระเจŒาลกู เธอพระองคที่ ๓ ใน พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ
บพิตร และ สมเด็จพระนางเจาŒ สริ กิ ติ ิพ์ ระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนีพันปห‚ ลวง ไดŒรบั การถวายพระนามจากสมเด็จ
พระสงั ฆราชเจŒา กรมหลวงวชริ ญาณวงศ ว‹า สมเดจ็ พระเจาŒ ลกู เธอ เจาŒ ฟา‡ สริ นิ ธรเทพรตั นสดุ า กติ วิ ฒั นาดุลโสภาคย
พรอŒ มทงั้ ประทานคำแปลวา‹ นางแกŒว หมายถงึ หญงิ ผูŒประเสริฐ และมีพระนามทข่ี าŒ ราชบริพารเรียกท่วั ไปวา‹ ทลู กระหม‹อม
นอŒ ย

พระนาม “สิรนิ ธร” มาจากสรอŒ ยพระนามของ สมเด็จพระราชปต จุ ฉา เจาŒ ฟา‡ วไลยอลงกรณ กรมหลวงเพชรบุรี
ราชสริ นิ ธร ซง่ึ เปนš พระราชปต จุ ฉา ในพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร

สรอŒ ยพระนาม “กิติวัฒนาดลุ ยโ สภาคย” ประกอบข้นึ จากพระนามาภิไธยของสมเด็จพระราชบพุ การี ๓ พระองค
ไดŒแก‹ “กิติ” มาจากพระนามาภิไธยของ สมเด็จพระนางเจŒาสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันป‚หลวง
สมเดจ็ พระราชชนนี สว‹ น “วฒั นา” มาจากพระนามาภิไธยของ สมเดจ็ พระศรสี วรนิ ทราบรมราชเทวี พระพนั วสาอยั ยกิ าเจาŒ
สมเดจ็ พระปย˜ ยกิ า และ “อดลุ ย” มาจากพระนามาภิไธยของ สมเดจ็ พระมหติ ลาธเิ บศร อดลุ ยเดชวกิ รม พระบรมราชชนก
สมเด็จพระอยั กา

https://stang.sc.mahidol.ac.th/stangmuseum musc.museum @StangLibrary @218yyaxq

การศกึ ษา

ทรงเร�ิมเขาŒ รบั การศกึ ษาระดับอนบุ าลท่โี รงเรยี นจิตรลดา ในพระตำหนกั จิตรลดารโหฐาน พระราชวังดสุ ติ ทรง
ศกึ ษาต‹อในโรงเรียนจิตรลดา จนถงึ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และในป‚ พ.ศ. ๒๕๑๕ กท็ รงสอบไล‹จบช้ันมธั ยมศกึ ษา
ตอนปลาย ในแผนกศิลปะ ดŒวยคะแนนสงู สดุ ของประเทศ

ทรงสอบเขŒาศึกษาต‹อในระดับอุดมศึกษา ณ คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โดยสามารถทำ
คะแนนสอบเอนทรานซเ ปนš อนั ดบั ๔ ของประเทศ ซง่ึ ถอื เปนš สมเดจ็ เจาŒ ฟา‡ พระองคแ รกทท่ี รงเขาŒ ศกึ ษาตอ‹ ระดบั อดุ มศกึ ษา
ในประเทศ จนกระทง่ั พ.ศ. ๒๕๒๐ พระองคท รงสำเรจ็ การศกึ ษาไดรŒ บั ปรญิ ญาอกั ษรศาสตรบณั ฑติ สาขาประวตั ศิ าสตร
เกียรตินยิ มอนั ดบั หน่งึ เหรียญทอง ดŒวยคะแนนเฉลย่ี ๓.๙๘

ทรงเขาŒ ศกึ ษาตอ‹ ในระดบั ปรญิ ญาโท ดาŒ นจารกึ ภาษาตะวนั ออก (ภาษาสนั สกฤตและภาษาเขมร) ณ คณะโบราณคดี
มหาวิทยาลัยศิลปากร และสาขาภาษาบาลีและสันสกฤต จาก ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย ทรงสำเร็จการศึกษาไดŒรับปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต และเขŒารับพระราชทานปริญญาบัตร เมอื่ วนั ที่
๑๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๒๒ ทรงสำเรจ็ การศึกษาไดรŒ บั ปริญญาอกั ษรศาสตรมหาบัณฑติ จากคณะอกั ษรศาสตร จฬุ า
ลงกรณมหาวิทยาลยั และไดเŒ ขŒารบั พระราชทานปริญญาบัตรเม่อื วนั ท่ี ๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๒๔

ทรงเขาŒ ศกึ ษาตอ‹ ในระดบั ปรญิ ญาเอก ณ คณะศึกษาศาสตร มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ โดยพระองคผา‹ น
การสอบคัดเลือกอยา‹ งยอดเย่ยี มดวŒ ยคะแนนเปšนอนั ดบั หน่ึงในบรรดาผเŒู ขŒาสอบทัง้ หมด และทรงเปนš นิสติ ปรญิ ญาการ
ศกึ ษาดุษฎบี ัณฑิต สาขาพฒั นศึกษาศาสตร ร‹นุ ที่ ๔ ทรงสอบผา‹ นวทิ ยานิพนธอ ยา‹ งยอดเย่ียม ทรงสำเร็จการศึกษา
ในระดบั ปริญญาเอก เมื่อวันที่ ๑๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๒๙

https://stang.sc.mahidol.ac.th/stangmuseum musc.museum @StangLibrary @218yyaxq

พระปรีชาญาณ “อกั ษรศาสตร”

ทรงไดรŒ ับการถา‹ ยทอดความรŒูทางดŒานภาษาท้งั ภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาเขมร ภาษาอังกฤษ และภาษาฝรง่ั เศส
โดยภาษาไทยน้นั พระองคท รงเชี่ยวชาญท้ังดาŒ นหลกั ภาษา วรรณคดี และศิลปะไทย เน่อื งจากสมัยน้ันผูŒที่จะเรยี นภาษาไทย
ใหลŒ กึ ซ้ึง จะตอŒ งเรยี นทั้งภาษาบาลี สนั สกฤต และเขมร ซ่งึ ภาษาบาลีน้ัน เปšนภาษาทีพ่ ระองคส นพระทัยตั้งแต‹ทรงพระเยาว
แต‹ไดŒเรม�ิ เรยี นอยา‹ งจรงิ จังในระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย จนสามารถจำการแจกวิภตั ติเบอ้ื งตนŒ ทส่ี ำคัญไดŒ และเขŒาพระทัย
โครงสราŒ งและลักษณะทว่ั ไปของภาษาบาลีไดŒ

เมอ่ื ทรงเขŒาศึกษา ณ คณะอักษรศาสตร จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั พระองคท รงเลือกเรยี นสาขาประวตั ศิ าสตร
เปนš วชิ าเอก และวิชาภาษาไทย ภาษาบาลี และภาษาสันสกฤตเปนš วิชาโท ทำใหŒทรงศกึ ษาวิชาภาษาไทยในระดับชน้ั สูงและ
ละเอยี ดลึกซ้ึงยิง� ขน้ึ ท้งั ดŒานภาษาและวรรณคดี สว‹ นภาษาบาลแี ละสันสกฤตน้นั ทรงศึกษาท้ังวิธีการแบบดัง้ เดิมของไทย คือ
แบบที่เรียนกันในพระอารามต‹าง ๆ และแบบภาษาศาสตรซึ่งเปšนวิธีการตะวันตก ตั้งแต‹ไวยากรณขั้นพื้นฐานไปจนถึงขั้นสูง
และเรียนตามวิธีการอินเดียโบราณเปนš พเิ ศษในระดับปริญญาโท โดยวทิ ยานิพนธในระดับปริญญาโทของพระองค เรอ่ื ง
ทศบารมีในพทุ ธศาสนาเถรวาท ไดรŒ บั การยกยอ‹ งจากมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วา‹ เปนš วทิ ยานพิ นธท แ่ี สดงถงึ พระปรชี าสามารถ
ในภาษาบาลีพทุ ธวจนะเปนš พิเศษ

พระปรีชาสามารถทางดŒานภาษาของพระองคนั้นเปšนที่ประจักษ จึงไดŒรับการทูลเกลŒาถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิต
กิตตมิ ศกั ด์ิทางดŒานภาษาจากมหาวิทยาลัยต‹าง ๆ ทงั้ ในและต‹างประเทศ เช‹น มหาวิทยาลัยรามคำแหง มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม‹
มหาวทิ ยาลัยมาลายา ประเทศมาเลเซยี มหาวทิ ยาลยั บกั กงิ แฮม สหราชอาณาจกั ร เปนš ตนŒ

https://stang.sc.mahidol.ac.th/stangmuseum musc.museum @StangLibrary @218yyaxq

พระปรีชาญาณ “สังคีตศลิ ป”Š

พระองคท รงเปšนผเŒู ชยี่ วชาญดŒานดนตรีไทยผูหŒ นึ่ง โดยทรงเครื่องดนตรีไทยไดŒทุกชนดิ แต‹ทีโ่ ปรดทรงอย‹ูประจำ คอื
ระนาด ซอ และฆอŒ งวง โดยเฉพาะระนาดเอก พระองคทรงเริม� หัดดนตรีไทย ในขณะท่ที รงศกึ ษาอยช‹ู นั้ มัธยมศกึ ษาป‚ที่ ๒
โรงเรียนจติ รลดา โดยทรงเลอื กหัดซอดŒวงเปนš เคร่ืองดนตรีชิน� แรก และไดทŒ รงดนตรีไทยในงานปด ภาคเรยี นของโรงเรยี น
รวมท้ังงานวันคนื สู‹เหยŒารว‹ มกับวงดนตรจี ิตรลดา ของโรงเรยี นจติ รลดาดวŒ ย หลังจากที่ทรงเขŒาศกึ ษาในระดบั อดุ มศกึ ษา
ณ คณะอกั ษรศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลยั ทรงเขŒาร‹วมชมรมดนตรีไทยของสโมรสรนสิ ิตจฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั
และคณะอักษรศาสตร โดยทรงซอดวŒ งเปšนหลกั และทรงเรม�ิ หดั เลน‹ เคร่ืองดนตรีไทยช�ินอนื่ ๆ ดวŒ ย

ในขณะทที่ รงพระเยาว เคร่อื งดนตรที ท่ี รงสนพระทัยน้ัน ไดแŒ ก‹ ระนาดเอกและซอสามสาย ซ่งึ พระองคท รงเริ�มเรยี น
ระนาดเอกอยา‹ งจรงิ จงั เมอ่ื ป‚ พ.ศ. ๒๕๒๘ หลงั จากการเสด็จทรงดนตรีไทย ณ บŒานปลายเนนิ ซึง่ เปนš วังของสมเด็จพระเจŒา
บรมวงศเธอ เจŒาฟ‡าจิตรเจรญิ กรมพระยานรศิ รานุวัดตวิ งศ โดยมี สริ ชิ ยั ชาญ พักจำรูญ เปšนพระอาจารย พระองคท รงเริม�
เรยี นตงั้ แต‹การจับไมรŒ ะนาด การตีระนาดแบบต‹าง ๆ และท‹าทีป่ ระทบั ขณะทรงระนาดและทรงเริ�มเรยี นการตรี ะนาดตามแบบแผน
โบราณ กลา‹ วคือ เร�มิ ตŒนดŒวยเพลงตŒนเพลงฉิ�งสามชั้น แลวŒ จงึ ทรงตอ‹ เพลงอื่น ๆ ตามมา ทรงทำการบาŒ นดวŒ ยการไล‹ระนาด
ทกุ เชŒา หลังจากตน่ื พระบรรทมภายในหŒองพระบรรทมจนกระท่ัง พ.ศ. ๒๕๒๙ พระองคจงึ ทรงบรรเลงระนาดเอกร‹วมกับ
ครูอาวุโสของวงการดนตรีไทยหลายท‹านต‹อหนŒาสาธารณชนเปšนครั้งแรกในงานดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ ๑๗ ณ
มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม‹ โดยเพลงท่ที รงบรรเลง คือ เพลงนกขม�นิ (เถา)

นอกจากดนตรีไทยแลŒว พระองคยังทรงดนตรีสากลดŒวย โดยทรงเริ�มเรียนเป‚ยโนตั้งแต‹พระชนมายุ ๑๐ พรรษา
แต‹ไดŒทรงเลิกเรียนหลังจากนั้น ๒ ป‚ และทรงฝƒกเครื่องดนตรีสากลประเภทเครื่องเป†า จากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกา
ธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร จนสามารถทรงทรัมเปตนำวงดุริยางคในงานคอนเสิรตสายใจไทย
และทรงระนาดฝรงั่ นำวงดุริยางคในงานกาชาดคอนเสริ ต

https://stang.sc.mahidol.ac.th/stangmuseum musc.museum @StangLibrary @218yyaxq

พระปรีชาญาณ “วรรณศิลปŠ”

พระองคโปรดการอ‹านหนังสือและการเขียนมาตั้งแต‹ทรงพระเยาว รวมกับพระปรีชาสามารถดŒานภาษาทั้งภาษาไทย
และต‹างประเทศ รŒอยแกŒวและรŒอยกรอง ทรงพระราชนิพนธห นงั สือประเภทต‹าง ๆ ออกมามากกวา‹ ๑๐๐ เล‹ม ซึ่งมีหลาย
หลากประเภททั้งสารคดีท‹องเที่ยวเมื่อเสด็จพระราชดำเนินเยือนต‹างประเทศ ประเภทวิชาการและประวัติศาสตร หนังสือ
สำหรับเยาวชน หนังสือที่เก่ียวขŒองกับพระบรมวงศานวุ งศไทย ประเภทพระราชนพิ นธแปล และหนงั สือทั่วไป พระราชนพิ นธ
ของพระองคจะมีลักษณะการเขียนที่คลŒายคลึงกับพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลย
เดชมหาราช บรมนาถบพติ ร กล‹าวคือในพระราชนอกจากจะแสดงพระอารมณข ันแลวŒ ยงั ทรงแสดงการวิพากษวจิ ารณในแง‹
ต‹าง ๆ เปšนการแสดงพระมตสิ ‹วนพระองค

นอกจากพระนาม "สิรนิ ธร" แลŒว พระองคยงั ทรงใชŒนามปากกาในการพระราชนิพนธห นังสืออกี ๔ พระนาม ไดŒแก‹
"กŒอนหนิ กอŒ นกรวด" เปนš พระนามแฝงทีท่ รงหมายถงึ พระองคแ ละพระสหาย นามปากกาน้ี ทรงใชคŒ รัง้ เดียว
ในบทความ "เรอ่ื งจากเมืองอิสราเอล" เมอ่ื ป‚ พ.ศ. ๒๕๒๐
"แวน‹ แกวŒ " พระองคเ รมิ� ใชŒเมอ่ื ป‚ พ.ศ. ๒๕๒๑ เมื่อทรงพระราชนิพนธแ ละทรงแปลเรื่องสำหรับเด็ก ไดŒแก‹
แกŒวจอมซน แกวŒ จอมแก‹น และขบวนการนกกางเขน
"หนูนŒอย" พระองคท รงใชเŒ พยี งคร้ังเดยี วในบทความเร่อื ง “ป‰องทีร่ กั ” ตีพมิ พในหนงั สือ ๒๕ ป‚จิตรลดา เมอ่ื ป‚
พ.ศ. ๒๕๒๓
"บนั ดาล" พระองคท รงใชŒในงานแปลภาษาองั กฤษเปšนภาษาไทยทีท่ รงทำใหŒสำนักเลขาธกิ ารคณะกรรมการแห‹งชาติ
ว‹าดŒวยการศกึ ษาวทิ ยาศาสตรแ ละวัฒนธรรมแหง‹ สหประชาชาติ กระทรวงศึกษาธิการ เมอ่ื ป‚ พ.ศ. ๒๕๒๖
นอกจากนี้ ยังทรงพระราชนิพนธเพลงเปšนจำนวนมาก โดยบทเพลงที่มีชื่อเสียงและนำมาขับรŒองบ‹อยครั้ง ไดŒแก‹
เพลง สŒมตำ รวมทั้ง ยังทรงประพันธคำรŒองในบทเพลงพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพล
อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ไดŒแก‹ เพลง รัก และ เพลง เมนไู ข‹

https://stang.sc.mahidol.ac.th/stangmuseum musc.museum @StangLibrary @218yyaxq

เทพรตั นเมธี

นกั วจิ ัยดีเด‹นแหง‹ ชาติ

สมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจาŒ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงพระเมตตาแกอ‹ าณา
ประชาราษฎรอย‹างต‹อเนื่อง ทรงแบกรับเปšนพระราชภาระในการทำโครงการตามพระราชดำริต‹างๆ โดยมิย‹อทŒอ
ทรงใฝ‹พระราชหฤทยั ที่จะสานตอ‹ งานใหกŒ ŒาวหนŒา ทรงประมวลพระอจั ฉรยิ ภาพในหลายดาŒ น เพราะพระป˜ญญาบารมี
ในการพัฒนาอยา‹ งครบวงจร ทรงเขาŒ พระราชหฤทยั ในครรลองวฒั นธรรมไทยอย‹างกวาŒ งขวางลึกซ้ึง ขณะเดียวกันก็
ทรงทราบถงึ เทคโนโลยวี ทิ ยาการสมัยใหม‹ ทรงพระปรีชาสามารถยอดย�ิงในดŒานการวจิ ัย ทรงมีผลงานวิจัยอยา‹ ง
ตอ‹ เนือ่ งและหลากหลายสาขา ผลงานวิจยั บางเรอื่ งไดŒรับรางวัลดีเย่ยี ม คอื เร่ือง "การศึกษาความถกู ตŒองของ
แผนที่การใชŒที่ดินจากภาพถ‹ายดาวเทียมความละเอียดสูง ซึ่งจำแนกโดยคอมพิวเตอรบริเวณจังหวัด
นราธิวาส" ทรงไดŒรับ รางวลั งานวจิ ยั ดเี ด‹น ในกล‹มุ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรก ายภาพและคณติ ศาสตร ประจำป‚
พ.ศ. ๒๕๓๓ จากสภาวจิ ยั แห‹งชาติ

พระราชกรณียกิจทุกสิ�งทุกประการลŒวนแต‹เปšนประโยชนแก‹มหาชน สมควรเปšนแบบอย‹างที่ดีใหŒแก‹นักวิจัย
อนื่ ๆ ไดŒ คณะกรรมการบรหิ ารสภาวจิ ัยแห‹งชาตจิ ึงมมี ติเปนš เอกฉันท ขอพระราชทานทูลเกลŒาทลู กระหม‹อมถวาย
รางวลั นกั วจิ ัยดีเด‹นแหง‹ ชาติ ประจำป‚ พ.ศ. ๒๕๔๕ สาขาสหวทิ ยาการ เพือ่ เฉลมิ พระเกยี รติคณุ ใหŒปรากฎอย‹ู
ย่ังยนื ดŒวยเหตแุ หง‹ พระราชกรณยี กิจอันเปšนประโยชนนานัปการ และพระปรีชาสามารถเปšนอเนกวิธ

https://stang.sc.mahidol.ac.th/stangmuseum musc.museum @StangLibrary @218yyaxq

เสด็จพระราชดำเนนิ ทรงเปด การแขง‹ ขนั ชีววทิ ยาโอลิมปก ระดับชาติ ครงั้ ที่ ๘
โดยมี คณะวิทยาศาสตร มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล และ มูลนธิ ิ สอวน. เปนš เจŒาภาพ

เม่ือวันพุธท่ี ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔

พระปรีชาญาณดาŒ นวิทยาศาสตร

สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจŒา กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเปšนนกั วทิ ยาศาสตร
และนักเทคโนโลยีศึกษาที่ทรงพระปรีชาสามารถยิ�ง ทรงมีพระอัจฉริยภาพโดดเด‹นในการบูรณาการศาสตรต‹างๆ
เขŒาดŒวยกันอย‹างลงตัว จึงทรงส‹งเสริมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในเชิงบูรณาการ แนวพระราชดำรินี้ทำใหŒวิชา
วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีไม‹แปลกแยกจากมนษุ ยศาสตรแ ละสังคมศาสตร ทรงเห็นว‹าวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
เปนš สว‹ นสำคัญหนงึ่ ของวฒั นธรรมและอารยธรรม เปนš สัญลักษณข องการพฒั นาสตปิ ˜ญญาของมนษุ ยแ ละสงั คม
ดŒานวิทยดาŒวศยาคสวตารมแสลนะเพทรคะโรนาโชลหยฤีอทยยั ‹างดสŒานมว‹ำทิเสยมาอศทาสรงตใรห Œกทารรงสมนีพับรสะนรุนาชโคดรำรงิแกลาะรพเพระิ�มรพาชูนทคานวาคมวสามามชาว‹ รยถเหทลางอื วแิทกยก‹ าาศรศาสกึ ตษรา
และเทคโนโลยแี ก‹ครูและนกั เรยี น

ทรงใหŒการสนับสนุนใหŒเยาวชนและนักวิทยาศาสตรไทยไดŒมีโอกาสเก็บเกี่ยวประสบการณกับนักวิทยาศาสตร
ระดบั โลก โดยในป‚ พ.ศ. ๒๕๕๑ ไดเŒ สดจ็ พระราชดำเนินเยอื นประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี เพื่อทรงรว‹ มงาน
การประชมุ นกั วทิ ยาศาสตรร างวลั โนเบล ณ เมอื งลนิ เตา ทรงเปนš ประธานในพธิ ลี งนามความรว‹ มมอื ระหวา‹ ง สำนกั งาน
พฒั นาวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยแี หง‹ ชาติ (สวทช.) กบั มลู นธิ ผิ ŒูไดรŒ บั รางวลั โนเบล ณ เมอื งลนิ เดา และ The Council
for the Lindau Nobel Laureate Meetings เพือ่ สนับสนุนใหนŒ ักวทิ ยาศาสตรร ุ‹นเยาวของไทยไดŒมโี อกาสร‹วม
การประชมุ กบั นกั วทิ ยาศาสตรท มี่ ีผลงานและการคิดคนŒ ท่ยี �ิงใหญ‹ในระดับโลก

https://stang.sc.mahidol.ac.th/stangmuseum musc.museum @StangLibrary @218yyaxq


Click to View FlipBook Version