The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ช้างน้อยตะลุยอีสาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thanchanok Jindarat, 2020-06-09 05:07:30

ช้างน้อยตะลุยอีสาน

ช้างน้อยตะลุยอีสาน

pTKark ร่วมสร้างสรรค์สื่อการเรียนรู้สาระท้องถิ่น

อุทยานการเรียนรู

สำนกั งานบรหิ ารและพัฒนาองคค วามรู

ช้างนอ้ ย(องคการมหาชน)

ตะลุยอีสาน

เรือ่ งและภาพ 

อาทติ ย์  อมรชร

สื่อการเรียนรู้สาระทอ้ งถิ่นโดย

pTKark

อุทยานการเรยี นรู สำ�นักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้

สำนกั งานบริหารและพัฒนาองคค วามรู
(องคก ารมหาชน)

ช้างน้อยตะลยุ อสี าน

เรื่องและภาพ  อาทิตย์  อมรชร
โครงการ  สร้างสรรค์สอ่ื การเรยี นรู้สาระทอ้ งถิน่
เลขมาตรฐานประจำ�หนังสือ 978-616-235-238-6
คณะบรรณาธิการอำ�นวยการ
ทศั นยั   วงศ์พเิ ศษกลุ
วราพร  ตยานุกรณ์
บรรณาธิการดำ�เนินงาน
ระพพี รรณ  พฒั นาเวช
ออกแบบรปู เลม่
ธวลั รตั น์  ล้มิ วัฒนพนั ธช์ ัย
พมิ พ์ครง้ั แรก  ๒๕๕๘
จ�ำ นวน  ๓,๐๐๐  เล่ม
สงวนลิขสิทธิ์ © อาทิตย์  อมรชร
ส�ำ นกั งานอุทยานการเรียนร ู้ ส�ำ นกั งานบริหารและพัฒนาองคค์ วามรู้  (องค์การมหาชน)

pTKark

อทุ ยานการเรยี นรู สำ�นักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้

สำนกั งาเนจบ(รอา้ หิงขาครอก แางลระโมพหคฒั ารชนนงา)อกงคาค รวามรู
สำ�นักงานอุทยานการเรยี นรู้  (สอร.)
สังกดั สำ�นกั งานบรหิ ารและพัฒนาองคค์ วามรู้  (องค์การมหาชน)
ส่วนบริการ  ศนู ย์การค้าเซน็ ทรลั เวลิ ด ์ ชัน้   ๘  Dazzle  Zone
โทรศพั ท ์ ๐ ๒๒๕๗ ๔๓๐๐    โทรสาร  ๐ ๒๒๕๗ ๔๓๓๒
สว่ นสำ�นักงาน  ๙๙๙/๙  อาคารส�ำ นักงานเซ็นทรลั เวลิ ด์ 
ชนั้   ๑๗  ถนนพระราม  ๑  ปทุมวนั   กรุงเทพฯ  ๑๐๓๓๐
โทรศัพท ์ ๐ ๒๒๖๔ ๕๙๖๓-๕  โทรสาร  ๐ ๒๒๖๔ ๕๙๖๖
www.tkpark.or.th
พมิ พท์ ่ี : บริษัท สหมิตรพรน้ิ ติง้ แอนด์พับลสิ ชิง่ จำ�กดั
โทรศัพท ์ ๐ ๒๙๐๓ ๘๒๕๗-๙

คํานาํ

ภารกิจสำ�คัญต่อสังคมประการหนึ่งของสำ�นักงานอุทยานการเรียนรู้  คือ  การปลูกฝังนิสัย
รักการอ่าน  และการกระจายโอกาสในการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ที่ทันสมัยและสอดคล้องกับความสนใจ
ของเด็ก  เยาวชน  และประชาชน  ในรูปแบบห้องสมุดมีชีวิตท่ีสร้างสรรค์บนพื้นฐานการมีส่วนร่วมของ
ภาคส่วนต่าง ๆ  โดยสำ�นักงานอุทยานการเรียนรู้ได้ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภูมิภาคต่าง ๆ 
เพอื่ ขยายผลการดำ�เนินงานดังกลา่ ว

การสร้างสรรค์สื่อการเรียนรู้สาระท้องถ่ินให้มีรูปแบบการนำ�เสนอที่ทันสมัยและดึงดูดความ
สนใจเป็นเครื่องมือท่ีสำ�คัญอย่างหน่ึง  ซึ่งสำ�นักงานอุทยานการเรียนรู้เล็งเห็นว่ามีส่วนในการสร้าง
แรงบันดาลใจให้เด็กและเยาวชนสนใจการอ่านและใฝ่หาความรู้อย่างต่อเนื่อง  โดยนำ�เรื่องราวภูมิปัญญา
สาระท้องถ่ินใกล้ตัวท่ีสอดคล้องกับวัย  การดำ�รงชีวิต  พร้อมกับสอดแทรกแนวคิดด้านคุณธรรม 
จริยธรรม  มาเป็นเนอ้ื หาของสือ่ การเรียนรสู้ �ำ หรบั เยาวชนตามชว่ งวัย  ต้ังแต่  ๔ – ๑๒  ปี

สื่อการเรียนรู้สาระท้องถ่ินภาคอีสานตอนล่างชุดน้ี  สำ�นักงานอุทยานการเรียนรู้ได้ร่วมกัน
สร้างสรรค์กับนักวิชาการและนักเขียนในท้องถิ่น  เพื่อให้เด็กและเยาวชน  รวมทั้งประชาชนทั่วไปใน
ภาคอีสานตอนล่างได้รับความรู้และความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมและท้องถ่ินตน  รวมท้ังก่อให้เกิด
ความเข้าใจและการยอมรับในวิถีชีวิตวัฒนธรรมท่ีหลากหลายตามบริบทพ้ืนท่ีและสภาพแวดล้อม
ทแี่ ตกตา่ งกันออกไป

สำ�นักงานอุทยานการเรียนรู้มุ่งหวังว่าหนังสือชุดน้ีจะเป็นสื่อการเรียนรู้อีกชุดหนึ่งท่ีจะส่งเสริม
การอ่านและการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ  ซ่ึงหมายถึง  เป็นหนังสือท่ีผู้อ่านอ่านอย่างมีความสุข
สนุกในการอา่ น  และกอ่ ใหเ้ กิดความตระหนักในคุณค่าของท้องถ่นิ ตนเองไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริง

ส�ำ นกั งานอทุ ยานการเรียนรู้

pTKark

อุทยานการเรียนรู

สำนักงานบรหิ ารและพัฒนาองคค วามรู
(องคก ารมหาชน)



ชา้ งนอ้ ย

ตะลยุ อสี าน

เรื่องและภาพ 
อาทติ ย ์ อมรชร

๖ มีเทศกาล
งานประจ�ำ ปี
วันหยดุ พิเศษ ได้หยดุ คราวนี้
ไม่ไกลหมบู่ า้ น ขจี่ กั รยาน
ชา้ งนอ้ ยคิดไว้ ให้ทันเวลา
ออกบา้ นทนั ที มาห้องสมุด
ช้างนอ้ ยรบี ปัน่
ราวแปดโมงกวา่





ด้วยความอยากรู ้ เคยดทู ง่ี าน
เห็นเมอื งโบราณ วหิ ารจ�ำ ลอง
จงึ มาค้นชื่อ หนงั สอื หลายกอง
แล้วช้างน้อยตอ้ ง หยุดมองเลม่ หนง่ึ
พอเปดิ หนงั สือ ในมือช้างนอ้ ย
เหมือนแสง...ควนั ลอย ช้างน้อยตกใจ



๑๐

มีภูเขาไฟ ลูกใหญน่ า่ ท่งึ
ชา้ งนอ้ ยรบี บึ่ง จนถึงอโุ มงค์

ทางหลวงหมายเลข  ๒๔  เป็นเสน้ ทางหลักเช่ือมแดนอสี านใต้ 
เรม่ิ ต้นจากอ�ำ เภอสคี ้วิ   จังหวัดนครราชสมี า  สิ้นสดุ ท่อี �ำ เภอเมอื ง

๑๑

จังหวดั อบุ ลราชธาน ี รวมระยะทาง  ๔๒๔  กิโลเมตร

๑๒ โผลต่ รงโพรงหญา้
ทุง่ นาสีเขยี ว
ออกจากอุโมงค ์ อยากรู้จริงเชียว
มองไกลสดุ ตา พาเทีย่ วไหนอกี
ช้างนอ้ ยก้มด ู
หนงั สือเลม่ เดยี ว

ระบบนเิ วศทุง่ หญา้ มลี ักษณะส�ำ คญั คือ  เป็นท่ีราบผนื ใหญ่  จึงเหมาะ
แกก่ ารท�ำ นา  พื้นที่ทุง่ ที่ใหญท่ ่ีสุดคือทงุ่ กลุ าร้องไห ้ ซึ่งเปน็ พ้นื ท่ี

๑๓

ปลกู ข้าวหอมมะลแิ หลง่ ส�ำ คญั ของประเทศ

๑๔ โผล่มาพรมแดน
ดนิ แดนอสี าน
จงึ เปดิ อีกหนา้ ทป่ี ระตนู ่ัน
สนุกสขุ แสน เหมอื นฝันพาไป
ด้วยความอยากรู้
รบี เปิดโดยพลัน

สรุ ินทร์ ศรีสะเกษ อบุ ลราชธานี
บุรีรัมย์

กัมพชู า

จดุ ผา่ นแดนถาวรช่องจอม  อ�ำ เภอกาบเชงิ   จงั หวดั สรุ นิ ทร ์

๑๕

เชอื่ มตอ่ กับบา้ นโอเสม็ด  จังหวดั อดุ รมีชัย  ประเทศกัมพูชา

๑๖

เมืองปราสาทหิน ถ่ินอสี านใต้

ช้างน้อยสุขใจ วงิ่ ไปวนมา

ชว่ งเวลาที่สันนษิ ฐานว่ามกี ารก่อสร้างปราสาทในดินแดนอีสานใต ้
อยู่ในยุคกลางตอนปลายของยโุ รป  ทเ่ี ริ่มมกี ารกอ่ ตง้ั มหาวทิ ยาลัย 

๑๗

และเรมิ่ การออกแบบกอ่ สรา้ งโบสถว์ ิหารแบบกอธิค

๑๘

จากปราสาทหนงึ่ ถงึ อีกปราสาท
ชา้ งนอ้ ยไมพ่ ลาด ทกุ ปราสาทหิน

เมืองตํ่า

ในชว่ งพุทธศตวรรษท ่ี ๑๕-๑๗  ประเทศแถบตะวนั ออก
นบั ถอื เทพเจ้าในศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ด ู และกอ่ สรา้ งปราสาท 

ศรขี รภูมิ ๑๙

ช้างนอ้ ย พนมรงุ้

ตะลยุ อีสาน

ในเวลาเดียวกันน้นั   ประเทศฝั่งตะวันตกกเ็ กดิ สงครามศักดิ์สิทธข์ิ ึ้น
ทเ่ี รียกกันวา่ สงครามครูเสด

๒๐

เดินเลน่ ไปมา รอบปราสาทศิลป์
รสู้ กึ ได้กลิน่ คุ้นชินโชยมา
จงึ ลองเดนิ ยอ่ ง มองช่องหนา้ ต่าง
ไดก้ ล่นิ จางจาง ระหว่างช่องนัน้

สวนสมเด็จพระศรีนครนิ ทร ์ ปลูกต้นล�ำ ดวนมากกว่า  ๕๐,๐๐๐  ต้น 

๒๑

ในชว่ งปลายปจี นถงึ เดือนมนี าคมเปน็ ชว่ งที่ล�ำ ดวนเร่มิ ออกดอกผลบิ านส่งกล่นิ หอม

๒๒ ดั่งช้างน้อยฝัน
รวมกันเป็นสวน
ภาพหลงั หน้าต่าง บา้ งก็หอมนวล
ตน้ ไม้หลากพนั ธ์ ุ เชญิ ชวนเขา้ ไป
ดอกเหลืองบางชอ่
ส่งกลิน่ เย้ายวน

ดอกฝา้ ยค�ำ หรือสุพรรณกิ าร ์ เปน็ ดอกไม้ประจ�ำ จงั หวดั บรุ รี ัมย ์
นครนายก  สระบรุ ี  สุพรรณบรุ  ี และอทุ ัยธานี
ดอกล�ำ ดวนเปน็ ดอกไมป้ ระจ�ำ จังหวัดศรีสะเกษ  ขณะทเ่ี ป็น
ดอกไม้ประจ�ำ ชาตกิ มั พชู าด้วย

๒๓

ต้นกันเกราเปน็ ไม้ประจ�ำ จังหวดั สรุ ินทร ์ ในภาคใต้เรียกว่า 
ต้นตำ�แสงหรือตำ�เสา  จดั เปน็ หนงึ่ ในไมม้ งคล  ๙  ชนิด

๒๔ ใหไ้ ด้น่งั พกั
สวสั ดีจ้ะ
ใตร้ ม่ เงาไม ้ และนั่นหมบู่ า้ น
ได้ยินเสยี งทัก แต่โบราณแล้ว
ช้างสวยชื่อฉนั
อยกู่ ันมานาน

คำ�ว่าประเกอื ม  เป็นภาษาเขมร  ซงึ่ ใกล้เคยี งกับคำ�ว่าประคำ�

๒๕

ฉนั ชอ่ื ช้างน้อย มาคอยหลบรม่
เอ๊ะ  สร้อยเม็ดกลม น่าชมสวยดี

� ในภาษาไทย  ใช้เรยี กเมด็ เงนิ   เม็ดทองชนดิ กลม  ทนี่ �ำ มารอ้ ยเปน็ เครื่องประดับ

๒๖ งานประจ�ำ ปี
มีอีกมากมาย
ออ๋ ...ท่หี มู่บ้าน
สรอ้ ยงามกว่าน ี้

ชาวพื้นเมอื ง  กวยหรอื กยู   สันนิษฐานวา่ อพยพมาจาก
แขวงจ�ำ ปาศักด ิ์ ซงึ่ เปน็ ของไทยในอดตี มาตั้งรกรากท่แี ถบ

๒๗

อำ�เภอจอมพระ  ต้ังแต่สมยั กรงุ ศรีอยธุ ยาตอนปลาย  ชาวกูยในสมัยโบราณ
มีความสามารถในการจบั ชา้ งปา่ มาเลย้ี งไว้ในบ้าน

๒๘

ชา้ งนอ้ ยไปดว้ ย ชา้ งสวยชวนมา
เพอื่ นใหมน่ �ำ พา มางานหมู่บา้ น
ท้งั การแสดง แฝงการละเล่น
ช้างนอ้ ยตื่นเต้น ไดเ้ หน็ กับตา

คำ�ไวพจนข์ อง  “ชา้ ง”:  หัสด ี กญุ ชร  คช  กรี  คชนิ ทร์  คชาธาร  หตั ถี 
คเชนทร ์ หัสดนิ ทร์  กรนิ ทร ์ ไอยรา  สาร  วารณ  คชา  พลาย

๒๙

คำ�ไวพจน ์ หมายถงึ   ค�ำ ท่ีเขียนตา่ งกันแต่มคี วามหมายเหมอื นกันหรอื ใกล้เคียงกนั มาก

๓๐ เทศกาลของดี
มีพรอ้ มสมบูรณ์
ช้างนอ้ ยชมงาน ไดท้ านผลไม้
ดนิ แดนแห่งน ้ี ผ่อนคลายหลบั ไป
นง่ั พกั ไม่นาน
อากาศสบาย

เมอ่ื ปี  พ.ศ.  ๒๕๓๑  มีการทดลองปลกู ทุเรยี นที่อำ�เภอขุนหาญ
เปน็ คร้งั แรก  และไดผ้ ลผลิตที่ดี  จึงนบั เปน็ จุดเรม่ิ ต้นของ

๓๑

การปลกู ผลไมแ้ ห่งเมืองศรสี ะเกษ

๓๒

พลันตกใจต่นื ลุกยนื ข้ึนมา
มีเสียงเรยี กหา บอกว่าส่โี มง
หอ้ งสมุดปดิ ยืนคิดสงสยั
รู้สกึ สุขใจ เหมือนไปทกุ ที่
รบี วางหนังสือ ทถ่ี อื อยนู่ น้ั
เก็บคนื เรว็ พลนั บนช้นั ทันที

๓๓

๓๔

ป่ันจักรยาน
เบกิ บานเตม็ ท่ี
กลบั บ้านดว่ นจ๋ี
พรุ่งน้ขี อไป......

๓๕

Story and Ill ๓๖
Arthit Am
ชวนอา่ นใหส้ นกุ
ชา้ งนอ้ ย  ตะลยุ อสี าน    อาทิตย์  อมรชร
เน่ืองจากหนังสือสาระท้องถ่ินเร่ืองช้างน้อยตะลุยอีสาน  จัดเป็นหนังสืออ่านเสริมเพิ่มเติม  ผู้อ่าน
NoExplored Isan!ท่ีเป็นนักเรียนหรือแม้แต่คุณครูก็จะไม่รู้สึกต้องขึงขังจริงจังเหมือนกับการใช้หนังสือแบบเรียน  ดังนั้น Chang Noi Explored Isan!    Arthit Amornchorn
ในช่วงเวลาพิเศษของชั่วโมงภาษาไทย  ขอแนะนำ�ให้นักเรียนได้อ่านเรื่องช้างน้อยตะลุยอีสาน สำ ันกงานบ ิรหารและพัฒนาอง คความ รู
อย่างสนุกสนาน  ผ่านกิจกรรมท่ีนักเรียนในยุคก่อน ๆ  เคยทำ�คือ  การฝึก  “อ่านไทย”  ด้วยการอ่าน
หนังสือเล่มนี้  จะช่วยให้นักเรียนรู้สึกผ่อนคลายหากคุณครูเรียกให้ลุกขึ้นอ่าน  เพราะนอกจากภาษาที่(องคการมหาชน)Chang
อ่านง่ายแลว้ ยงั มีเรื่องราวนา่ สนกุ อีกด้วยุอทยานการเรียนรู
TpaKrk Local Knowledge Book Series
TpKark ร่วมสร้างสรรค์สื่อการเรียนรู้สาระท้องถิ่น

ชา้ งนอ้ ยอุทยานการเรยีนรู

สำนกั งานบรหิ ารและพัฒนาองคค วามรู
(องคการมหาชน)

ตะลุยอีสาน

เรื่องและภาพ 
อาทติ ย์ อมรชร

25/7/2558 20:32:54

หนงั สอื การเรยี นรู้สาระทอ้ งถ่ินภาคอีสานตอนล่าง

ประวัตินักเขียน

อาทิตย์  อมรชร  จบการศึกษาจากคณะจิตรกรรม  ประติมากรรม  และภาพพิมพ์  ขณะศึกษา
ได้รับรางวัลประกาศเกียรติคุณ  ศิลปกรรมยอดเยี่ยมแห่งประเทศไทย  Phillip  Morris  รางวัลชนะเลิศ
เหรียญทองแดง  “Illustration  for  Young  Readers  Award  2006”  โดยสมาคมผู้จัดพิมพ์แห่ง
ประเทศไทย  “Purchase  Prize”  2nd  International  Print  and  Drawing  Exhibition,  Thailand
และรางวัลดีเด่น  ศิลปกรรม  ปตท.  ครั้งที่  24  และได้รับรางวัลชมเชย  ประเภทหนังสือสารคดีสำ�หรับ
เด็ก  งานสัปดาหห์ นังสอื แห่งชาตจิ ากหนังสอื เร่อื ง  เตา่ ตว้ มเตยี้ ม


Click to View FlipBook Version