พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร รัช รั กาลที่ 8
Preface คำ นำ คณะผู้จัดทำ 29 ม.ค. 2566 ก e-book เล่มนี้จัดทำ ขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาศิลปะ5 รหัสวิชา ศ33101 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบถึงนาฏศิลป์ไทยในสมัยรัชกาลที่8 ผู้จัดทำ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า e-bookเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านไม่มากก็ น้อย หากมีข้อผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทำ ต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
02 พระราชประวัติ วั ติ พระราชลัญ ลั จกรประจำ พระองค์ EDUCATION TRANSCRIPT ACTIVITIES CERTIFICATE คํานํา ประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ใบแสดงผลการเรียน กิจกรรม เกียรติบัตร 03 04 05 06 07 สารบัญ ข
1 พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร พระองค์เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๘ แห่งราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๘ ขณะที่มีพระชนมพรรษาเพียง ๙ พรรษา และประทับที่ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ดังนั้น จึงมีการแต่งตั้งคณะผู้สำ เร็จราชการแทนพระองค์เพื่อทำ หน้าที่บริหารราชการแผ่นดินจนกว่าพระองค์จะทรงบรรลุนิติภาวะ พระองค์เสด็จนิวัต พระนครครั้งแรกภายหลังทรงราชย์เมื่อวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๑ และครั้งที่สอง เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๘ แต่ก่อนกำ หนดการเสด็จพระราชดำ เนินกลับไปทรง ศึกษาต่อที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์เพียง ๔ วัน พระองค์ก็ได้เสด็จสวรรคตด้วยทรงต้อง พระแสงปืนเมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๙ ณ ห้องพระบรรทม พระที่นั่งบรมพิมาน ภายในพระบรมมหาราชวัง รวมระยะเวลาที่ทรงครองสิริราชสมบัติทั้งสิ้น ๑๒ ปี
2 พระราชลัญจกรประจำ พระองค์ ในปี พ.ศ. 2481 คณะผู้สำ เร็จราชการแทนพระองค์ได้ให้สำ นักพระราชวังจัด สร้างพระราชลัญจกรประจำ พระองค์พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันท มหิดลขึ้น ซึ่งเจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล) สมุห พระราชวัง ได้ปรับปรุงพระราชลัญจกรรูปพระโพธิสัตว์สวนดุสิต ที่เคยใช้ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มาใช้เป็นพระราชลัญจกรประจำ พระองค์ โดยการสร้างพระราชลัญจกรนั้น ใช้แนวคิดจากพระบรมนามาภิไธยก่อน ทรงราชย์ นั่นคือ "อานันทมหิดล" ซึ่งหมายถึง เป็นที่ยินดีแก่แผ่นดิน ดังนั้น จึงได้ใช้ รูปพระโพธิสัตว์ ซึ่งมีหมายความเดียวกันว่า เป็นความยินดีและเป็นเดชยิ่งในพื้น พิภพ มาเป็นพระราชลัญจกรประจำ พระองค์ ข้อมูลส่วนพระองค์ พระราชสมภพ วันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2468 ณ เมืองไฮเดิลแบร์ค สาธารณรัฐไวมาร์ ปัจจุบันคือประเทศเยอรมนี พระราชบิดา พระราชมารดา สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี วัดประจำ รัชกาล วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร
3 สวรรคต พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2489 และได้มีพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ ระหว่างวันที่ 28 มีนาคม ถึง 4 เมษายน 2493. โดยวันที่ 29 มีนาคม เป็นพระราชพิธี อัญเชิญพระบรมโกศออกพระเมรุมาศ และถวายพระเพลิงพระบรมศพ ระยะเวลา ทรงครองสิริราชสมบัติทั้งสิ้น ๑๒ ปี ๙๙ วัน
ละครและนาฏศิลป์ของกรมศิลปากร มีการจัดตั้ง “โรงเรียนนาฏดุริยางคศาสตร์” ขึ้น และเมื่อสิ้นสุดสงครามโลก ครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2488 ซึ่งถูกทำ ลายตอนสงครามโลกครั้งที่ 2 กรมศิลปากร จึงเปลี่ยนชื่อโรงเรียนนี้ใหม่ว่า “โรงเรียนนาฏศิลป์” ผลิตนักเรียนเพื่อเป็น ทรัพยากรสำ หรับ แสดงละครแบบต่าง ๆ และการแสดงโขนเต็มรูปแบบ การ แสดงของกรมศิลปากรที่เป็นนาฏศิลป์ แบบดั้งเดิม มีการฟื้นฟูจากการแสดงชุด ย่อยๆ จนเป็นละครรำ และโขนอย่างสมบูรณ์ โดยความวิริยอุตสาหะและความ สามารถของอธิบดีกรมศิลปากร พลตรีหลวงวิจิตรวาทการ ทำ ให้เกิดรูปแบบ ละครเรียกว่า "ละครหลวงวิจิตรวาทการ" ซึ่งเป็นที่นิยมแพร่หลาย 4 ละครไทยในสมัย พระบาทสมเด็จปรเมนทรมหาอนันทมหิดล หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)
5 สมัยรัชการที่ 8 เกิดความผันผวนทางการเมือง มีการปฏิวัติวัฒนธรรม และผลกระทบ จากสงครามโลกครั้งที่ 2 ทำ ให้เกิดผลกระทบต่ะละคร และนาฏศิลป์ไทยทั้งทางตรง และ ทางอ้อม เกิดการแข่งขันอย่างสูงในระหว่างภาพยนตร์ไทยและละครเวที เกิดภาพยนตร์ เสียงในฟิล์ม คือละครเพลงในสื่อภาพยนตร์ ที่ให้ภาพสวยงามหลากหลาย สถานที่ และ ความสมจริงกว่าละครเวที
6 ละครหลวงวิจิตรวาทการ หลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ. ๒๔๗๕ กรมศิลปากรได้รวบรวมศิลปิน โขน ละคร และนักดนตรี เข้ามารวมกันใหม่อีกครั้งหนึ่ง ตั้งเป็นกองขึ้นในกรมศิลปากร เพื่อ รักษาศิลปของชาติไว้มิให้เสื่อมสูญ ท่านจึงมองเห็นคุณค่าทางการละครที่จะใช้เป็นสื่อปลุกใจ ให้ประชาชนเกิดความรักชาติ เนื้อหาจะนำ มาจากประวัติศาสตร์ตอนใดตอนหนึ่ง บทละคร ของท่านจะมีทั้งรัก รบ สะเทือนอารมณ์ ความรักที่มีต่อคู่รัก ถึงแม้จะมากมายเพียงไร ก็ไม่ เท่ากับความรักชาติ ตัวเอกของเรื่องสละชีวิต พลีชีพเพื่อชาติ ด้วยเหตุที่ละครของท่านไม่ เหมือนการแสดงละครที่มีอยู่ก่อน คนทั้งหลายจึงเรียกละครของท่านว่า "ละครหลวงวิจิตร วาทการ" รายละเอียดการแสดง มักเป็นบทประพันธ์ของท่านที่แต่งขึ้นมีอยู่หลายเรื่องด้วยกันดังนี้ อานุภาพพ่อขุน รามคำ แหง อานุภาพแห่งความเสียสละ อานุภาพแห่งความรัก อานุภาพแห่งศีลสัตย์ เป็นต้น มีทั้งเพลงไทยเดิม และเพลงไทยสากล โดยมี ๓ ลักษณะ คือ เพลงไทยสากลที่ให้ตัวละคร ร้องโต้ตอบกัน มักเป็นเพลงรัก เพลงที่ให้ตัวละครร้องประกอบการแสดง และเพลงปลุกใจ
7 สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เมื่อ จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรีในช่วง ภาวะสงครามโลกครั้งที่ ๒ ได้ กำ หนดให้มีระเบียบแบบแผนและวิธีการต่างๆ จนเกิดนโยบายสร้างชาติ ด้วยลัทธิชาตินิยม โดยการประกาศ “รัฐนิยม” จำ านวน 12 ฉบับ เพื่อเป็นแนวทางให้ประชาชนปฏิบัติตามทาง ด้านวัฒนธรรมเกี่ยวกับการแสดงละครไทย รำ าวงมาตรฐาน การแสดงพื้นบ้านต่าง ๆ โดย เฉพาะละครไทยที่ให้ความรู้ทางละครเทียบเคียงละครสากล (ตะวันตก) และรำ าวงมาตรฐาน เป็นแบบฉบับการจัดการเรียนการสอนที่เกี่ยวข้องกับนาฏศิลป์จนถึงปัจจุบัน และได้จัดตั้ง สภาวัฒนธรรมและดำ เนินการปฏิวัติวัฒนธรรมอย่างเข้มข้น จนมีพระราชกฤษฎีกากำ หนด วัฒนธรรมทางศิลปกรรมเกี่ยวกับการแสดงละคร พ.ศ. ๒๔๘๕
8 การดนตรีไทยในสมัยรัชกาลที่ 8 การดนตรีไทยในสมัยนี้เป็นสมัยหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สมัยนี้เป็นระยะที่ดนตรี ไทยเข้าสู่สภาวะมืดมนเพราะรัฐบาลไม่ส่งเสริมดนตรีไทยและยังพยายามให้คนไทยหันไปเล่น ดนตรีสากลแบบตะวันตกต่อมาก็เกิดรัฐนิยมขึ้น ให้ทัดเทียมกับอารยประเทศ จึงมีการห้ามโดย เคร่งครัด แต่ยังอนุญาตให้บรรเลงในงานพิธีหรือในบางประเพณีแต่จะต้องไปขออนุญาตที่กรม ศิลปากรหรืออำ เภอก่อนและต้องมีบัตรนักดนตรีที่ทางราชการออกให้ ถึงอย่างไรก็ตามดนตรี ไทยสมัยนี้ก็มิได้ซบเซาถึงขนาดจะขาดตอน แม้จะซบเซาลงบ้างและเกิดเพลงไทยสากลขึ้น เพลงไทยสากลที่เกิดขึ้นใหม่นี้ ก็ยังเอาเค้าโครงของเดิมหรือเอาเพลงไทยของเดิมมาร้องเล่น เพียงแต่เปลี่ยนจังหวะให้กระชับขึ้นเป็นแบบฝรั่ง ของไทยแท้จึงไม่ถึงกับสูญและโชคดีที่ยุคนี้ สั้นมากมีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลกันบ่อยในที่สุด ดนตรีไทยแท้ก็กลับคืนมาอีกครั้ง
9
THANK YOU ขอบคุณ สมาชิก นายรัชพล คำ ทองแก้ว ม.6/9 เลขที่ 5 นางสาวทิพานัน ห้วยห้อง ม.6/9 เลขที่ 9 นางสาวสีร์ศิษฏา ไชยมงคล ม.6/9 เลขที่ 29