The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tumrongit, 2022-01-13 04:13:43

คู่มือการปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่

คู่มือการปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่

คู่มือการปฏิบัติงาน
ของผพู้ ิพากษาและเจา้ หน้าท่ี
ประจาศูนย์ติดตาม แนะนา ชว่ ยเหลือเด็กและเยาวชน
ศาลเยาวชนและครอบครวั กลาง
โครงการติดตาม แนะนา ชว่ ยเหลอื เดก็ และเยาวชน ชุดท่ี 1

คานา

ศาลเยาวชนและครอบครัวดาเนินการพิจารณาพิพากษาตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชน
และครอบครัวและวิธพี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553 โดยมีเจตนารมณ์เพ่อื คุม้ ครองสทิ ธิ
และเสรภี าพเด็ก เยาวชน และส่งเสริมสถาบนั ครอบครัวเป็นสาคัญ มุ่งให้การสงเคราะหแ์ ละแก้ไขบาบัด
ฟ้ืนฟูให้เด็กและเยาวชนกลับตนเป็นพลเมืองดีของสังคม ป้องกันมิให้หวนกลับไปกระทาความผิดซา
ภายใต้นโยบายของศาลเยาวชนและครอบครัว ท่ีกาหนดให้ศาลเยาวชนและครอบครัว เป็นศูนย์รวม
การแก้ไขปัญหา เสริมสร้างและพัฒนาเด็ก เยาวชน ครอบครัว และสังคมอย่างครบวงจร ต่อเนื่อง
และเป็นรูปธรรม จึงมีการจัดตังศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชนเพื่อติดตามช่วยเหลือ
เด็กและเยาวชนท่ีกระทาความผิด และเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมของศาลตังแต่ชันก่อนฟ้อง ระหว่าง
พิจารณาคดี และหลังมีคาสั่ง คาพิพากษา รอการกาหนดโทษ รอการลงโทษและให้คุมประพฤติ
หรือใช้มาตรการพเิ ศษแทนการดาเนนิ คดอี าญา หรอื มาตรการแทนการพพิ ากษาเด็กและเยาวชน ที่มีการ
เปล่ียนแปลงคาพิพากษาให้ปล่อยก่อนกาหนด หรือศาลมีคาสั่งให้คุมประพฤติในกรณี ที่ศาลมี
คาพิพากษาให้ยกฟ้อง เพอ่ื สวัสดิภาพของเด็กและเยาวชนซ่ึงจะเป็นผลดีต่อเดก็ หรือเยาวชนให้สามารถ
ดาเนนิ ชีวติ ตอ่ ไปได้อย่างมคี วามสุขในสงั คม

ตลอดจนขยายขอบเขตความห่วงใย ไปยังผู้เสียหายท่ีได้รับความเสียหายจากการถูกกระทา
ที่ผิดกฎหมายหรือไม่ชอบต่าง ๆ อันจะเป็นการยกระดับการคุ้มครองสิทธิแก่ผู้เสียหายให้ไม่ยิ่งหย่อน
ไปกว่าการคุ้มครองเด็กหรือเยาวชน เพ่ือให้สอดคล้องกับนโยบายของประธานศาลฎีกา ข้อ 2 ในการ
สร้างดุลยภาพแห่งสิทธิด้วยการบริการให้ความช่วยเหลือผู้เสียหายที่ได้รับประสานส่งต่อจากศูนย์
ใหค้ าปรกึ ษาเพื่อแนะนาช่วยเหลอื ผ้เู สยี หายและครอบครัว

ในการนีศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชนจะดาเนิน ภารกิจให้สาเร็จ
ตามวัตถุประสงค์อย่างเป็นรูปธรรมและมีความต่อเน่ืองอย่างครบวงจร ตามนโยบายของศาลเยาวชน
และครอบครัวมิได้ หากขาดซึ่งความร่วมมือจากบุคลากรภายในศาล และหน่วยงานภายนอกในการ
ให้ความช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านการศึกษา ด้านอาชีพ ด้านสาธารณสุข ด้านกระบวนการ
ยุติธรรม ซึ่งเป็นการสร้างภาคีเครือข่ายชมุ ชน และประสานความร่วมมือในภารกิจตามนโยบายที่สาคัญ
อีกประการหนึ่ง การดาเนินงานของโครงการและการจัดตังศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและ
เยาวชน ณ ศาลเยาวชนและครอบครัวกลางขึนเป็นแห่งแรกจะเป็นส่วนสาคญั ในการประคับประคองให้
เด็กและเยาวชน ที่เคยหลงพลาด หลงผิดได้กลับตนเป็นคนดีที่มีคุณภาพของสังคม และช่วยเหลือ
ผู้เสยี หายได้กลบั คืนไปใช้ชีวิตปกตสิ ุขในสงั คมได้ตอ่ ไป

คู่มือนีจัดทาขึนเพื่อใช้เป็นแนวทางในการทางานของคณะทางานโครงการติดตาม แนะนา
ช่วยเหลือเด็กและเยาวชน ชุดท่ี 1 ซึ่งเป็นงานติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชนที่อยู่นอก
สถานพินิจฯ เป็นหลัก

คณะทางานโครงการตดิ ตาม แนะนา ชว่ ยเหลือเดก็ และเยาวชน ชดุ ท่ี 1
ศนู ย์ตดิ ตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชน
ศาลเยาวชนและครอบครวั กลาง พ.ศ. ๒๕๖๔

สารบัญ หนา้

คานา 1
2
วัตถุประสงค์ของการจัดทาคมู่ ือการปฏบิ ัตงิ าน 4
หลกั เกณฑ์ของผเู้ ข้ารบั การบริการของศนู ย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลอื เดก็ และเยาวชน 6
การชว่ ยเหลือในดา้ นตา่ ง ๆ 6
สว่ นงานในศาลเยาวชนและครอบครัวกลางท่ีสามารถสง่ ต่อเข้ารับบริการมายงั ศูนย์ติดตาม ฯ 7
การส่งตอ่ เพื่อเข้ารบั การบรกิ ารของศนู ย์ตดิ ตาม แนะนา ชว่ ยเหลอื เดก็ และเยาวชน 14
ผู้พิพากษามีคาสงั่ หรือคาพิพากษา 15
16
สว่ นมาตรการพิเศษและคมุ้ ครองสวสั ดภิ าพ 17
แบบสง่ ตอ่ และดูแลชว่ ยเหลือสว่ นมาตรการพิเศษและคมุ้ ครองสวสั ดภิ าพ 20
ศูนย์ใหค้ าปรกึ ษาแนะนาชว่ ยเหลอื ผ้เู สียหายและครอบครวั 21
แบบส่งตอ่ และดูแลชว่ ยเหลือผูเ้ สียหายและครอบครวั
แผนภูมขิ นั ตอนการปฏิบัตงิ านของศูนยต์ ดิ ตาม แนะนา ช่วยเหลอื เด็กและเยาวชน 22
แผนภูมิการส่งต่อเพ่ือเขา้ รบั บริการศนู ย์ติดตาม แนะนา ชว่ ยเหลอื เด็กและยาวชน 23
(กรณผี เู้ สยี หาย) 26
การแบง่ คณะผู้พิพากษาสมทบออกเปน็ ฝ่ายต่าง 27
ขนั ตอนการรบั เดก็ หรือเยาวชนของเจ้าหนา้ ทีป่ ระจาศนู ย์ ฯ 28
ตัวอย่างบตั รนดั 29
หนังสือให้ความยนิ ยอมเด็ก เยาวชน และครอบครัว 30
หนงั สือใหค้ วามยินยอมผเู้ สียหาย 31
แบบประเมนิ ความพ่งึ พอใจจาเลย 32
แบบประเมินความพ่ึงพอใจจาเลย 33
กระบวนการรับเดก็ เยาวชน เข้าส่ศู ูนยต์ ิดตาม แนะนา ช่วยเหลอื เด็กและเยาวชน 35
ตวั อย่างปกสานวน 39
ตัวหย่างสานาคาฟ้อง 41
ตัวอยา่ งรายงานกระบวนพจิ ารณาคดี 46
ตวั อยา่ งคาพพิ ากษา 50
รายงานสบื เสาะของสถานพนิ ิจ ฯ 69
แบบบันทึกฝ่ายคัดกรอง 75
แบบบนั ทกึ ฝา่ ยประสานงาน 78
แบบบันทกึ ฝ่ายติดตาม 79
แบบบันทกึ ฝา่ ยประเมนิ ผลและสถิติ 80
การคัดกรอง ประสานงาน และตดิ ตามทางส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์
การสนิ สดุ หรอื ยุตกิ ารติดตาม แนะนา ชว่ ยเหลือเดก็ และเยาวชนผู้เข้าร่วมโครงการ
ตัวอยา่ งของเจ้าหนา้ ท่ี



ศูนยต์ ดิ ตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชน

1.วตั ถุประสงคข์ องการจดั ทาคูม่ ือการปฏิบตั งิ านประจาศูนยต์ ดิ ตาม แนะนา
ชว่ ยเหลือเด็กและเยาวชน ในโครงการชดุ ที่ 1 สาหรบั เดก็ หรอื เยาวชนท่ีอยู่
นอกสถานพินิจ

1.1 เพ่อื ให้มีคมู่ อื สาหรับใชเ้ ป็นแนวทางแก่
1.1.1 ผู้พิพากษา
1.1.2 นติ กิ ร หรอื นกั จติ วิทยา
1.1.3 เจา้ หนา้ ทปี่ ระจาศนู ย์ฯ
1.1.4 บคุ ลากรของศาลเยาวชนและครอบครัวทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง

ไดม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจ ในหนา้ ที่ของคณะทางาน ขันตอนการดาเนนิ งาน และเกดิ ทักษะ เทคนคิ
วิธีการในการติดตามความประพฤติและให้ความช่วยเหลือเด็กหรือเยาวชนพร้อมครอบครัว ตลอดจน
ผูเ้ สยี หายท่เี ข้าสโู่ ครงการตดิ ตามด้วยความหว่ งใยไดร้ บั บริการอยา่ งทวั่ ถึงและมปี ระสิทธิภาพ

1.2 เพอื่ เปน็ การส่งเสริมเดก็ หรอื เยาวชนให้มคี วามประพฤติท่ดี กี ลับตนเปน็ คนดี มอี าชพี ความ
เป็นอยูท่ ด่ี ี จนสามารถอยรู่ ่วมกนั ในสังคมในสงั คมอย่างปกตสิ ขุ และไม่กลับมากระทาความผดิ ซาอีก

1.3 เพ่ือเป็นการช่วยเหลือผู้เสียหายและครอบครัวให้ฝ่าฟันปัญหา แสวงหา ทางออกในการ
แก้ไขปญั หา ได้รับความเยียวยาความเสยี หายใหส้ ามารถกลบั มาดารงชวี ติ อย่างเปน็ ปกตสิ ุขในสังคมได้

งานแก้ไขพฤติกรรมเด็ก เยาวชนเยาวชน ครอบครัว หรือผู้เสียหายในกระบวนการยุติธรรม
เปน็ การบูรณาการหนว่ ยงานภายในกระบวนการยตุ ิธรรมท่ีมภี ารกจิ ในการแก้ไขบาบัดฟื้นฟูเด็ก เยาวชน
ครอบครัว หรือผู้เสียหายโดยตรง ได้แก่สานักงานตารวจแห่งชาติ สานักงานอัยการคดีเยา วชนและ
ครอบครัว กรมพนิ จิ และคมุ้ ครองเดก็ กรมคมุ ประพฤติ เพื่อเชอ่ื มโยงและยกระดบั คณุ ภาพการปฏบิ ตั ิงาน
โดยยึด “เด็ก เยาวชน และผู้เสียหายเป็นศูนย์กลาง” ร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายนอกกระบวนการ
ยุติธรรม ได้แก่ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวง
สาธารณสุข กรมพัฒนาฝีมอื แรงงานและอาชพี เปน็ ต้น ภาคเอกชนและชุมชน เพ่ือสรา้ งระบบสนับสนุน
การจาแนกแก้ไขบาบัดฟ้ืนฟู ติดตาม เด็ก เยาวชน ครอบครัว ทังก่อนหน้าและภายหลังจากการกลับสู่
สังคม ให้สามารถปรับเปล่ียนพฤติกรรมและป้องกันมิให้หวนกลับมากระทาความผิดซาอีก ตลอดจนให้
ความชว่ ยเหลอื ผู้เสยี หายและครอบครวั พบทางออกเพอ่ื แกไ้ ขปญั หาและการได้รบั การชดใช้เยียวยาความ
เสียหายไม่วา่ ทางด้านรา่ งกาย จิตใจ หรือดา้ นอนื่ ๆ และสามารถกลบั มาดารงชีวิตไดอ้ ย่างเป็นปกตสิ ุขใน
สังคมต่อไป จึงจาเป็นจะต้องมีขันตอนการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ ประกอบด้วยการสัมภาษณ์คัด
กรอง ประสานความรว่ มมือ การติดตามหลังจากส่งผูเ้ ข้ารับบริการเข้ารบั ความช่วยเหลือจากหน่วยงาน
ต่าง ๆ แล้ว และมปี ระเมนิ ผลการดาเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ



หลักเกณฑ์ของผ้เู ขา้ รับการบริการของศนู ยต์ ิดตาม แนะนา ชว่ ยเหลือเด็กและเยาวชน

1. เดก็ หรือเยาวชนทม่ี ีสิทธิจะเขา้ รบั บริการดงั นี
๑.๑ เด็กหรือเยาวชนที่ศาลมีคาสั่งให้มอบตัวแก่ผู้ดูแลหรือปล่อยตามมาตรา 72

วรรคท้าย
1.2 เด็กหรือเยาวชนที่รอการกาหนดโทษหรือรอการลงโทษและให้คุมความ

ประพฤติไว้ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๕๖ หรือคดีที่มีคาพิพากษาปล่อยเด็กหรือเยาวชนแต่
ให้คุมประพฤติ หรือคดที ี่ศาลมคี าส่ังให้ปล่อยตวั ขันต่าและคุมความประพฤติ หรอื ปลอ่ ยกอ่ นกาหนดตาม
คาพิพากษาและคุมความประพฤติตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดี
เยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๓๘ มาตรา ๑๓๙ และมาตรา ๑๔๓ หรือเปล่ียนโทษปรับ
เป็นคมุ ความประพฤติตามมาตรา 142 (2) และเด็ก หรือ เยาวชนตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา
74 (3) ท่ีศาลกาหนดเง่ือนไขคุมความประพฤติ

1.3 เด็กหรือเยาวชนที่ศาลมีคาพิพากษาหรือมีคาสั่งให้ใช้มาตรการพิเศษแทนการ
ดาเนินคดีอาญาตามพระราชบญั ญตั ศิ าลเยาวชนและครอบครวั และวิธีพจิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครัว
พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๙๐ และมาตรการพเิ ศษแทนคาพพิ ากษาคดตี ามมาตรา ๑๓๒ วรรคแรก รวมถึงเด็ก
และเยาวชนท่ีศาลมีคาพิพากษาให้รอการลงโทษ ห รื อ ร อ ก า ร กา ห น ด โ ท ษ ต า ม ป ร ะ ม ว ล ก ฎ ห ม า ย
อาญา มาตรา 56 หรือมีคาสั่งตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 74 (3)

๑.4 เดก็ หรือเยาวชนทศ่ี าลมีคาสงั่ และปล่อยตวั ไปโดยไมม่ ีคมุ ประพฤติแต่เดก็ เยาวชน
และครอบครัวนันมีความประสงค์จะเข้ารับการช่วยเหลือจากศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและ
เยาวชน

1.5 เด็กหรือเยาวชนที่ศาลที่ศาลยกฟ้องที่มีคุมความประพฤติไว้ตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชน
และครอบครัวและวธิ ีพจิ ารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553 ม.138

2. ผู้เสียหายที่ได้รับการส่งต่อจากศูนย์ให้คาปรึกษาเพ่ือแนะนาและช่วยเหลือผู้เสียหายและ
ครอบครวั ในคดีอาญา มีความประสงคข์ อรับความช่วยเหลือตรงตามหลกั เกณฑก์ ารสง่ ต่อเข้ารับบริการท่ี
ศนู ยต์ ดิ ตาม แนะนา ช่วยเหลือเดก็ และเยาวชน



มาตรา ประเภทเดก็ เยาวชน และผเู้ สยี หายท่ี
เข้ารับการบริการ
1. พ.ร.บ.ศาลเยาวชนและครอบครัวและวธิ พี ิจารณา
คดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ.2553 ม.73 วรรคท้าย จากศูนยต์ ิดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชน
โดยได้รบั การส่งตอ่ จากสว่ นมาตรการพเิ ศษและ เด็กหรือเยาวชนท่ีศาลมีคาสั่งให้มอบตัวหรือปล่อยตาม
คุม้ ครองสวัสดิภาพ (ศูนยใ์ หค้ าปรกึ ษาแนะนาและ มาตรา 73 วรรคท้าย
ประสานการประชมุ )
เด็กหรือเยาวชนกรณีท่ีศาลมีคาพิพากษารอการกาหนด
2. ป.อ. ม.56 , ป.อ. ม. 74 (3)พ.ร.บ.ศาลเยาวชนและ โทษ/รอการลงโทษ ปรับ หรือ ปล่อยตัวแต่ให้คุมความ
ครอบครวั และวธิ ีพจิ ารณาคดีเยาวชนและครอบครวั ประพฤติ
พ.ศ.2553 , ม.138, ม. 142 (2) ศาลมคี าสง่ั รอการ
กาหนดโทษ/รอการลงโทษ ปรบั หรอื เปลี่ยนโทษปรับเป็น - เด็กหรือเยาวชนที่ศาลมีคาส่ังให้จัดทาแผนแก้ไขบาบัด
คุมประพฤติ ฟน้ื ฟูตามมาตรา 90 และศาลมีคาสง่ั จาหนา่ ยคดีช่ัวคราว
- เดก็ หรือเยาวชนที่ศาลมคี าสัง่ ใช้มาตรการพิเศษแทนการ
3. พพิ ากษาตามมาตรา 132 และศาลมีคาส่ังยตุ คิ ดีชัว่ คราว
3.1 ม.90 ตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครวั

และวิธพี ิจารณาคดเี ยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553
3.2 ม.132 ตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครัว

และวธิ พี จิ ารณาคดีเยาวชนและครอบครวั พ.ศ. 2553

4. เด็กหรือเยาวชน ที่ศาลมีคาพิพากษายกฟ้อง หรือมี
4.1 กรณีทศ่ี าลพิพากษาปล่อย (ยกฟอ้ ง) คาส่ังปล่อยขันต่าโดยไม่คุมประพฤติ หรือ ปล่อยก่อน
4.2 เดก็ หรอื มีคาสั่ง ยกฟอ้ งเดก็ เยาวชน โดยไมค่ มุ กาหนดตามคาพิพากษาโดยไม่คุมความประพฤติ แต่เด็ก
หรือเยาวชนและครอบครัวนันแสดงความประสงค์จะ
ประพฤติ ขอรับความช่วยเหลือจากศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือ
เดก็ และเยาวชน
5. สทิ ธขิ องผเู้ สียหายตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและ
ครอบครัวและวธิ ีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ผู้เสียหายท่ีได้รับการส่งต่อมาจากศูนย์ให้คาปรึกษาเพ่ือ
2553 โดยรบั ไดก้ ารส่งต่อจากศูนย์ใหค้ าปรึกษาเพ่ือ แนะนาช่วยเหลือผู้เสียหายและครอบครัวแสดงความ
แนะนาชว่ ยเหลอื ผเู้ สยี หายและครอบครวั ประสงค์ขอรับความช่วยเหลือตรงตามหลักเกณฑ์การส่ง
ตอ่ ศูนยต์ ิดตาม แนะนา ช่วยเหลอื เดก็ และเยาวชน



ศนู ย์ตดิ ตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชนจะให้ความช่วยเหลอื ในด้านตา่ ง ๆ ดงั นี้
1. ด้านความประพฤติของเด็กหรือเยาวชนโดยศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็ก
และเยาวชนจะติดตาม

ความประพฤติของเดก็ หรือเยาวชนเป็นระยะเวลาอยา่ งน้อย 2 ปี
2. ด้านการประกอบอาชีพ ศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชนจะ

ประสานกระทรวงแรงงาน เพื่อฝกึ อาชีพและแนะนาช่องทางอาชีพทเ่ี หมาะสม
3. ด้านสาธารณสุข ศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชนจะประสาน

กระทรวงสาธารณสุข เพอื่ รักษาพยาบาลผเู้ ขา้ รับบริการและรับคาแนะนาในการรกั ษาตอ่ เนื่อง
4. ด้านการใช้ชีวิตประจาวัน ศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชนจะ

ประสานกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ให้ผู้เข้ารับบริการได้รับการ สงเคราะห์
เชน่ อาจตดิ ต่อขอรบั อุปกรณก์ ารใชช้ วี ติ กรณีผเู้ ข้ารับบริการ มคี วามพกิ ารต้องนัง่ เก้าอีล้อเขน็ ตลอดชีวติ

5. ด้านการศึกษา ศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชนจะประสาน
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน (สพฐ.)และสานักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) ให้รับดูแลกรณีผู้เข้ารับบริการต้องเปลี่ยน สิ่งแวดล้อม หรือขาด
โอกาสดา้ นการศึกษา

6. ด้านกฎหมาย ศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชนจะให้ความรู้ความ
เข้าใจกฎหมายทีเ่ กย่ี วข้อง และดาเนนิ การตดิ ตามผลคดี

7. ด้านอ่นื ๆ ศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชนจะประสานกับหน่วยงาน
ภาคเอกชน องค์กรท่ีไม่ใชอ่ งคก์ รของรัฐ (NGOs) เร่ืองการให้ความชว่ ยเหลือตอ่ เน่อื งแกผ่ ู้เข้ารับบรกิ าร


แผนภาพการขอบเขตให้ความชว่ ยเหลอื ของศูนย์ติดตาม แนะนา ชว่ ยเหลือเด็กและเยาวชน



ขั้นตอนในการปฏบิ ัติงานของฝา่ ยทสี่ ่งเด็กหรือเยาวชนมาที่ศนู ย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเดก็ และ
เยาวชน

ส่วนท่ี 1 ผพู้ ิพากษาทมี่ คี าส่งั หรือคาพิพากษา
สว่ นที่ 2 สว่ นมาตรการพเิ ศษและคุ้มครองสวสั ดิภาพ
ส่วนท่ี 3 ศูนยใ์ หค้ าปรึกษาแนะนาชว่ ยเหลือผเู้ สียหายและครอบครัว

สว่ นท่ี 1 ผพู้ ิพากษาท่มี ีคาสง่ั หรอื คาพิพากษา
หลกั เกณฑ์ในการปฏบิ ัติ
1. กรณีผู้พพิ ากษามีคาส่ังยกฟอ้ งหรอื จาหน่ายคดีออกจากสารบบความโดยมีคาส่งั ให้

คมุ ความประพฤติ
1.1 ผู้พิพากษามีคาพิพากษาหรือรายงานกระบวนพิจารณาให้รายงานตัวต่อ

ผู้พิพากษาสมทบ ตามแนะนาของอธิบดีผู้พิพากษาศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง เก่ียวกับแนวทาง
การติดตามเด็กหรอื เยาวชนท่ผี ่านกระบวนการของศาล ลงวันท่ี 9 ธันวาคม 2564

1.2 ใหเ้ จา้ หนา้ ทปี่ ระจาห้องพจิ ารณาคดีนาสานวนและเด็กหรอื เยาวชนมาตดิ ต่อ
เจา้ หนา้ ท่ีประจาศนู ย์ตดิ ตาม แนะนา ชว่ ยเหลือเด็กและเยาวชน

2. กรณผี พู้ ิพากษามีคาสงั่ ยกฟอ้ งหรอื จาหนา่ ยคดีออกจากสารบบความโดยไม่มคี าสง่ั
คุมประพฤติ

2.1 ผูพ้ ิพากษามีคาส่งั มีรายงานกระบวนพิจารณาวา่ จาเลยยินยอมได้รับคาแนะนา
ช่วยเหลือและติดตามจากผู้พิพากษาสมทบ เป็นเวลาไม่น้อย 2 ปี ตามคาแนะนาของอธิบดีผู้พิพากษา
ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง เก่ียวกับแนวทางการติดตามเด็กหรือเยาวชนที่ผ่านกระบวนการของ
ศาล ลงวนั ท่ี 9 ธันวาคม 2564

2.2 ให้เจ้าหน้าที่ประจาห้องพิจารณาคดีนาสานวนและเด็กหรือเยาวชนมาติดต่อ
เจ้าหนา้ ที่ประจาศูนย์ตดิ ตาม แนะนา ชว่ ยเหลอื เด็กและเยาวชน



คาแนะนาของอธบิ ดผี ู้พพิ ากษาศาลเยาวชนและครอบครวั กลาง
เก่ียวกับแนวทางการตดิ ตามเดก็ หรือเยาวชนท่ีผ่านกระบวนการของศาล

******************************************************************

โดยท่ีศาลเยาวชนและครอบครัวกลางกาหนดวิสยั ทศั นใ์ ห้ “ศาลเยาวชนและครอบครัว
มีระบบติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชนภายหลังผ่านกระบวนการของศาลท่ีเป็นเลิศ
ทาให้เด็กและเยาวชนทีผ่ า่ นกระบวนการของศาลกระทาผิดซาไม่เกินรอ้ ยละ ๑”

เพื่อให้การดาเนินการดังกล่าวของศาลเยาวชนและครอบครัวท่ัวราชอาณาจักรเป็นไป
ตามวิสัยทัศน์ สอดคลอ้ งกับเจตนารมณ์ของกฎหมายและเป็นไปในแนวทางเดียวกัน ด้วยความหว่ งใยท่ี
จะช่วยเหลือแนะนาเด็กและเยาวชนให้กลับตนเป็นพลเมืองดีและเพื่อประโยชน์สูงสุดของเด็ก อาศัย
อานาจตามมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวฯ อธิบดีผู้พิพากษาศาลเยาวชน
และครอบครัวกลางเห็นสมควรออกคาแนะนาเกี่ยวกับแนวทางการติดตามเด็กหรือเยาวชน
ที่ผา่ นกระบวนการของศาล ดงั ต่อไปนี

๑. กรณีรอการกาหนดโทษหรือรอการลงโทษจาเลย ตาม ป.อ. มาตรา ๕๖
ให้ศาลมีคาพิพากษาคมุ ความประพฤตโิ ดยให้จาเลยรายงานตัวต่อผู้พิพากษาสมทบเพ่ือติดตาม แนะนา
ชว่ ยเหลอื จาเลย มีกาหนดระยะเวลาไม่นอ้ ยกว่า ๒ ปี

ตัวอย่างคาพพิ ากษา
“... จงึ เหน็ ควรให้โอกาสจาเลยกลบั ตัวเป็นพลเมืองดสี ักครง้ั อาศัยอานาจตาม ป.อ.
มาตรา ๕๖ จึงให้รอการกาหนดโทษ/โทษจาคุกให้รอการลงโทษจาเลยไว้มกี าหนด ๒ ปี
และให้คุมความประพฤติของจาเลยไว้ภายในเวลาดังกล่าว โดยกาหนดเง่ือนไขเพื่อคุม
ความประพฤตขิ องจาเลย ดังนี้
(๑) ...
(๒) ...
(๓) ...
(๔) ให้จาเลยรายงานตัวต่อผู้พิพากษาสมทบเพื่อติดตาม แนะนา ช่วยเหลือจาเลย
ทกุ ... เดือน ต่อครัง้
ให้ผู้พิพากษาสมทบติดตาม แนะนา ช่วยเหลือจาเลยตามที่ผู้พิพากษาสมทบ
เห็นสมควรและรายงานผลการตดิ ตาม แนะนา ช่วยเหลอื ต่อศาลทกุ ๖ เดอื น”



๒. กรณีท่ีศาลพิพากษาปล่อยตัวจาเลยไป ตามมาตรา ๑๓๘ ให้ศาลมีคา
พิพากษาโดยกาหนดเงื่อนไขให้จาเลยรายงานตัวต่อผู้พิพากษาสมทบเพื่อติดตาม แนะนา ช่วยเหลือ
จาเลยมีกาหนดระยะเวลาไมเ่ กิน ๑ ปี และไมเ่ กินกว่าเด็กหรอื เยาวชนมีอายุครบ ๒๐ ปบี รบิ ูรณ์ และใน
วันฟังคาพิพากษาให้จดรายงานกระบวนพิจารณาเพ่ิมเติมให้จาเลยรายงานตัวต่อผู้พิพากษาสมทบเพื่อ
ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือจาเลยภายหลงั จากครบกาหนด ๑ ปีตามคาพพิ ากษาต่อไปอกี เป็นระยะเวลา
ไมน่ อ้ ยกวา่ 2 ปี

ตัวอย่างรายงานกระบวนพจิ ารณา
“นัดฟงั คาพิพากษาวนั นี้ โจทก์ จาเลย และผปู้ กครองจาเลยมาศาล
ศาลอ่านคาพพิ ากษาใหโ้ จทกแ์ ละจาเลยฟังแลว้
อน่ึง จาเลยแถลงว่าเม่ือครบกาหนด ๑ ปี ตามคาพิพากษาแล้ว ยังต้องการความ
ช่วยเหลือด้านการศึกษา/ฝึกอาชีพ/สุขภาพอนามัย และยินยอมได้รับคาแนะนา
ชว่ ยเหลือ ตดิ ตามจากผูพ้ ิพากษาสมทบตอ่ ไปอกี เป็นระยะเวลาไม่นอ้ ยกวา่ 2 ป”ี
ตวั อย่างคาพิพากษา (ยกฟอ้ ง)
“พพิ ากษายกฟอ้ ง แตเ่ หน็ ว่าจาเลยมพี ฤติกรรมท่ีเส่ยี งตอ่ การกระทาความผิด/อยู่ใน
สภาพแวดล้อมหรอื สถานทอ่ี ันอาจชักนาให้กระทาผิดเพอ่ื คมุ้ ครองสวัสดิภาพของจาเลย
เห็นสมควรกาหนดเงอ่ื นไขคุมความประพฤติจาเลยเป็นเวลา ๑ ปี ตามพระราชบัญญัติ
ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553
มาตรา 138 โดยมเี งอ่ื นไข ดังนี้
(๑) ...
(๒) ...
(๓) ...
(๔) ใหจ้ าเลยรายงานตัวต่อผู้พิพากษาสมทบเพ่อื ตดิ ตาม แนะนา ช่วยเหลือจาเลย
ทกุ ... เดือน ตอ่ ครงั้
ให้ผู้พิพากษาสมทบติดตาม แนะนา ช่วยเหลือจาเลยตามที่ผู้พิพากษาสมทบ
เห็นสมควรและรายงานผลการตดิ ตาม แนะนา ช่วยเหลอื ต่อศาลทุก ๖ เดอื น”

๓. กรณีปล่อยตัวเด็กหรือเยาวชนไปในระหว่างระยะเวลาขั้นต่าขั้นสูง
ตามมาตรา ๑๔๓ ศาลอาจกาหนดเง่ือนไขคุมความประพฤติของจาเลยตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและ
ครอบครัวฯ พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๓๘ หรือไม่ ก็ได้ โดยไม่ว่าศาลจะกาหนดเงื่อนไขคุมความประพฤติ
จาเลยไวห้ รือไม่ ให้ศาลมีการตดิ ตาม แนะนา ช่วยเหลือจาเลยตอ่ ไปอีกเป็นระยะเวลารวมทังสินไม่น้อย
กว่า ๒ ปี



ตวั อยา่ งรายงานกระบวนพิจารณา
“นัดพิจารณากรณีจาเลยครบกาหนดระยะเวลาฝึกอบรมขั้นต่าวันนี้ โจทก์ จาเลย
และผู้ปกครองจาเลยมาศาล...
คดเี สรจ็ การพจิ ารณา ใหร้ อฟงั คาสั่งวนั น้ี
อน่ึง จาเลยแถลงว่าต้องการความช่วยเหลือด้านการศึกษา/ฝึกอาชีพ/สุขภาพ
อนามัย และยินยอมได้รับคาแนะนา ช่วยเหลือ ติดตามจากผู้พิพากษาสมทบเป็น
ระยะเวลาไมน่ อ้ ยกว่า ๒ ปี นบั แต่วนั ปลอ่ ยตวั ”
ตัวอยา่ งคาสั่ง กรณีปลอ่ ยตัวจาเลยโดยคุมความประพฤติ
“พิเคราะห์รายงานของศูนย์ฝึกและอบรมแล้ว เห็นว่า ... จึงเห็นสมควรให้โอกาส
จาเลยได้ประพฤติตัวเป็นพลเมืองดีต่อไป อาศัยอานาจตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและ
ครอบครัวฯ พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๔๒ วรรคหน่ึง ประกอบมาตรา ๑๓๘ ให้ปล่อยตัว
จาเลยไปในวันนี้ โดยกาหนดเงื่อนไขคุมความประพฤติของจาเลยไว้มีกาหนด ๑ ปี
แต่ต้องไมเ่ กนิ กวา่ จาเลยมีอายคุ รบ ๒๐ ปีบรบิ ูรณ์ ดงั น้ี
(๑) …
(๒) …
(๓) …
(๔) ให้จาเลยรายงานตัวต่อผู้พิพากษาสมทบเพื่อติดตาม แนะนา ช่วยเหลือจาเลย
ทกุ ... เดอื น ตอ่ คร้ัง
ให้ผู้พิพากษาสมทบติดตาม แนะนา ช่วยเหลือจาเลยตามท่ีผู้พิพากษาสมทบ
เห็นสมควรและรายงานผลการติดตาม แนะนา ช่วยเหลือต่อศาลทกุ ๖ เดือน”
ตัวอย่างคาส่ัง กรณปี ลอ่ ยตัวจาเลยโดยไม่คมุ ความประพฤติ
“พิเคราะห์รายงานของศูนย์ฝึกและอบรมแล้ว เห็นว่า ... จึงเห็นสมควรให้โอกาส
จาเลยได้ประพฤติตัวเป็นพลเมืองดีต่อไป อาศัยอานาจตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและ
ครอบครัวฯ พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๔๒ วรรคหนึ่ง ให้ปล่อยตัวจาเลยไปในวันน้ี โดยไม่
จาเป็นต้องคุมความประพฤติ โดยให้จาเลยได้รับคาแนะนา ช่วยเหลือ ติดตามเป็น
ระยะเวลา ๒ ปี ตามท่ีผู้พิพากษาสมทบเห็นสมควรและให้ผู้พิพากษาสมทบรายงานผล
การตดิ ตาม แนะนา ชว่ ยเหลอื ตอ่ ศาลทุก 6 เดือน

๔. กรณีขอปล่อยก่อนครบระยะเวลาฝึกอบรมตามคาพิพากษา ตามมาตรา
๑๓๗ ศาลอาจกาหนดเงื่อนไขคุมความประพฤติของจาเลยตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครัวฯ
พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๓๘ หรือไม่ ก็ได้ โดยไม่ว่าศาลจะกาหนดเง่ือนไขคุมความประพฤติจาเลยไว้
หรอื ไม่ ใหศ้ าลมีการติดตาม แนะนา ชว่ ยเหลอื จาเลยตอ่ ไปอีกเปน็ ระยะเวลารวมทงั สินไม่นอ้ ยกวา่ ๒ ปี

๑๐

ตัวอย่างรายงานกระบวนพิจารณา
“นัดพิจารณากรณีขอปล่อยจาเลยก่อนครบระยะเวลาฝึกอบรมวันนี้ โจทก์ จาเลย
และผปู้ กครองจาเลยมาศาล
...
คดเี สร็จการพจิ ารณา ให้รอฟงั คาสั่งวันนี้
อนึ่ง จาเลยแถลงว่าต้องการความช่วยเหลือด้านการศึกษา/ฝึกอาชีพ/สุขภาพ
อนามัย และยินยอมได้รับคาแนะนา ช่วยเหลือ ติดตามจากผู้พิพากษาสมทบเป็น
ระยะเวลาไมน่ อ้ ยกว่า ๒ ปี นบั แต่วันปล่อย”
ตวั อยา่ งคาส่ัง กรณีปล่อยตัวจาเลยโดยคุมความประพฤติ
“พิเคราะห์รายงานของศูนย์ฝึกและอบรม ประกอบคาแถลงของจาเลยและ
ผู้ปกครองแล้ว เหน็ ว่า ... จึงเหน็ ควรให้โอกาสจาเลยได้ประพฤติตัวเป็นพลเมืองดตี ่อไป
อาศัยอานาจตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครัวฯ พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๓๗
ประกอบมาตรา ๑๔๐ และ ๑๓๘ ให้แก้ไขเปล่ียนแปลงคาพิพากษาเดิม โดยให้ปล่อย
จาเลยก่อนครบกาหนดระยะเวลาการฝึกอบรม ท้ังน้ี ต้ังแต่วันที่ ... เดือน ... พ.ศ. ...
และวางเงอื่ นไขคมุ ความประพฤตจิ าเลยไวม้ กี าหนด ๑ ปี แตต่ ้องไมเ่ กนิ กวา่ จาเลยมีอายุ
ครบ ๒๐ ปบี ริบูรณ์ ดังนี้
(๑) …
(๒) …
(๓) …
(๔) ให้จาเลยรายงานตัวต่อผู้พิพากษาสมทบเพ่ือติดตาม แนะนา ช่วยเหลือจาเลย
ทกุ ... เดอื น ต่อครง้ั
ให้ผู้พิพากษาสมทบติดตาม แนะนา ช่วยเหลือจาเลยตามท่ีผู้พิพากษาสมทบ
เหน็ สมควรและรายงานผลการติดตาม แนะนา ชว่ ยเหลอื ต่อศาลทกุ ๖ เดอื น”
ตัวอยา่ งคาสั่ง กรณปี ลอ่ ยตัวจาเลยโดยไม่คุมความประพฤติ
“พิเคราะห์รายงานของศูนย์ฝึกและอบรม ประกอบคาแถลงของจาเลยและ
ผู้ปกครองแล้ว เห็นวา่ ... จงึ ให้แกไ้ ขเปลีย่ นแปลงคาพิพากษาเดมิ เป็นปลอ่ ยตวั จาเลยไป
ในวันน้ี ท้ังน้ี ตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครัวฯ พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๓๗
โดยให้จาเลยได้รับคาแนะนา ช่วยเหลอื ตดิ ตาม ตามทผ่ี ูพ้ ิพากษาสมทบเหน็ สมควรและ
ให้ผู้พิพากษาสมทบรายงานผลการติดตาม แนะนา ช่วยเหลือต่อศาลเป็นระยะเวลา
๒ ป”ี

๑๑

๕. กรณีใช้มาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญาหลังฟ้องคดี (มาตรา ๙๐)
และมาตรการแทนการพิพากษาคดี (มาตรา ๑๓๒) ตามคาแนะนาของอธิบดีผู้พิพากษาศาล
เยาวชนและครอบครัวกลาง เกี่ยวกบั แนวทางการใช้มาตรการพเิ ศษแทนการดาเนนิ คดีอาญาตามมาตรา
๙๐ และแนวทางการใช้มาตรการแทนการพิพากษาคดีตามมาตรา ๑๓๒ แห่งพระราชบัญญัติศาล
เยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ แล้ว ให้ศาลกาหนดการ
ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชนที่ผ่านกระบวนการของศาลต่อไปอีกเป็นระยะเวลาไม่น้อย
กว่า ๒ ปี

ตัวอย่างรายงานกระบวนพิจารณา
“นัดพร้อมเพ่ือฟังผลการปฏิบัติตามแผนแก้ไขบาบัดฟ้ืนฟูวันนี้ ผู้ประสานการ
ประชุม ผู้บรหิ ารแผน จาเลย ผ้ปู กครองจาเลย และผ้เู สียหายมาศาล…
พิเคราะห์แล้ว เห็นว่า เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏตามเอกสาร มอ. ๙ ว่ามีการปฏิบัติ
ตามแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูครบถ้วนแล้ว และจาเลยมีความประพฤติไปในทางท่ีดีขึ้น
จึงมีคาสั่งให้จาหน่ายคดีออกจากสารบบความ (ตามมาตรา ๙๒) มีผลให้สิทธิ
นาคดีอาญามาฟ้องระงับ /มีคาส่ังยุติคดี (ตามมาตรา ๑๓๓) ถือว่าสิทธินาคดีอาญา
มาฟ้องระงับ ให้ริบอาวธุ มดี ของกลางในคดี
แจ้งคาส่ังพร้อมผลของคาส่ังไปยังสถานีตารวจท่ีเกี่ยวข้องและกองทะเบียนประวัติ
อาชญากร สานกั งานตารวจแหง่ ชาติ เพอ่ื ใหม้ กี ารดาเนินการในสว่ นท่ีเกีย่ วข้องต่อไป
อน่ึง จาเลยแถลงว่าต้องการความช่วยเหลือด้านการศึกษา/ฝึกอาชีพ/สุขภาพ
อนามัย และยินยอมได้รับคาแนะนา ช่วยเหลือ ติดตามจากผู้พิพากษาสมทบเป็น
ระยะเวลาไมน่ ้อยกว่า ๒ ปี นบั แต่วันนี้”

6. ในการดาเนินการติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชนท่ีผ่าน
กระบวนการของศาล ศาลควรมีการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ผลการดาเนินการดังกล่าว
เพอื่ พัฒนาการทางานของศาลตอ่ ไป

ใหไ้ ว้ ณ วันที่ 9 ธนั วาคม พ.ศ. 2564

(นายประกอบ ลนี ะเปสนนั ท์)
อธิบดีผ้พู พิ ากษาภาค 7 ชว่ ยทางานชวั่ คราวในตาแหน่ง

อธิบดีผพู้ ิพากษาศาลเยาวชนและครอบครวั กลาง

๑๒

(๒๒) คดีหมายเลขดาที่ สาหรับศาลใช้
รายงาน คดหี มายเลขแดงท่ี
กระบวน ศาลเยาวชนและครอบครวั กลาง /๒๕
พิจารณา /๒๕
เดอื น พทุ ธศกั ราช
โจทก์ วันที่
ระหว่าง พนกั งานอยั การฯ ความอาญา

จาเลย

ผพู้ พิ ากษาออกน่งั พจิ ารณาคดนี ้เี วลา ๙.๓๐ นาฬิกา
นัดสืบพยานจาเลยวันนี โจทก์ จาเลย ผู้ปกครองจาเลยและท่ีปรึกษากฎหมาย

จาเลยมาศาล
จาเลยนาพยานมาสบื ได้ ๒ ปาก แล้วแถลงหมดพยานเพียงเท่านี ผปู้ กครองจาเลยแถลง

วา่ จาเลยไม่เคยกระทาความผิดใดมากอ่ น
.......................................................................................พฤติการณก์ ารกระทาความผดิ ของ
จาเลยจงึ ไม่ร้ายแรง ขอศาลใหโ้ อกาสจาเลยกลับตัวสักครงั หนึง่

ศาลสอบถามและทาความเข้าใจกับจาเลยเกย่ี วกับการใชม้ าตรการแทนการ
พิพากษาคดตี ามพระราชบัญญตั ศิ าลเยาวชนและครอบครัวและวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและ
ครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๓๒ วรรคหนึ่ง แล้ว จาเลยแถลงว่า
....................................หากจาเลยได้รับโอกาสจากศาลใหใ้ ชม้ าตรการแทนการพพิ ากษาคดแี ลว้
จาเลยจะตังใจปฏิบตั ิตามเง่อื นไข ทีศ่ าลกาหนด เพราะจาเลยต้องการกลบั ไปเรียนหนังสือ /
กลับไปทางานเพ่อื เลียงดคู รอบครัวตอ่ ไป

พิเคราะห์แล้วเห็นว่า แม้ผู้เสียหายไม่มาศาลในวันนี แต่ผู้เสียหายเป็นผู้ได้รับ
ความกระทบกระเทอื นทางจิตใจ ศาลเห็นควรรับฟงั ความคิดเห็นของผู้เสียหายเกี่ยวกับเรอื่ งนี
ก่อน

๑๓

จงึ ให.้ .................................................เจ้าพนักงานศาล
จงึ ให้มหี นังสือแจ้งใหผ้ ู้เสยี หายมาศาลเพ่ือสอบถามความคิดเห็นกรณีทศ่ี าลจะใช้มาตรการแทน
การพิพากษาคดีแก่จาเลย โดยให้แจ้งด้วยว่าผู้เสียหายอาจแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเรื่องนี
เป็นหนังสือต่อศาลได้ นอกจากนีให้นักจิตวิทยาประจาศูนย์ให้คาปรึกษาแนะนาและประสาน
การประชุม (กลุ่มงานมาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญา) ประเมินสภาพปัญหาของ
จาเลยพรอ้ มความเห็นเสนอตอ่ ศาลภายใน........... วนั นบั แต่วนั นี

ให้กาหนดวนั นดั พร้อมเพือ่ สอบถามและฟงั คาส่ังศาลในวันท.ี่ .........

(.......................................) (.......................................)บนั ทึก/อ่าน

(.......................................) (.......................................)

...............................................................โจทก์...............................................................
ผเู้ สยี หาย

............................................................จาเลย......................................................ผปู้ กครอง
จาเลย

.................เจ้าพนักงานศาล

๑๔

สว่ นท่ี 2 สว่ นงานมาตรการพิเศษและคมุ้ ครองสวสั ดภิ าพ
ส่วนงานมาตรการพิเศษและคุ้มครองสวัสดิภาพ เดิมใช้ชื่อว่าศูนย์ให้คาปรึกษาแนะนา และ

ประสานการประชมุ เพือ่ แก้ไขบาบดั ฟ้นื ฟเู ดก็ เยาวชน และครอบครวั มหี นา้ ทีแ่ ละวตั ถปุ ระสงคใ์ นการให้
คาปรึกษาแนะนาด้านจิตวิทยาและส่ิงแวดล้อมทางสังคม การจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟ้ืนฟูเด็กหรือ
เยาวชน รวมทังการสร้างระบบเครือข่ายและการส่งต่อผู้มีปัญหาทางสังคมและจิตเวชไปยังหน่วยงานที่
เหมาะสม เพือ่ ปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรมหรอื สนบั สนุนเดก็ หรือเยาวชน ซ่งึ ตอ้ งหาวา่ กระทาความผดิ และเขา้
สู่กระบวนการพิจารณาพิพากษาคดีของศาลเยาวชนและครอบครัว ให้สามารถอยู่กับครอบครัวและ
ชุมชนได้อย่างปกติสุข ไม่หวนกลับไปกระทาผิดซา และใหก้ ารฟื้นฟูเบืองตน้ แก่ผู้เสียหายในคดีอาญาทัง
ก่อนและหลังกระบวนการพิจารณาหรือคู่กรณีในคดีคุ้มครองสวัสดิภาพ และในคดีแพ่งท่ีมีบุตรผู้เยาว์
รวมถึงการดาเนินการอ่ืนใดตามท่ีกาหนดในข้อบังคับของประธานศาลฎีกาหรือตามที่อธิบดีผู้พิพากษา
ศาลเยาวชนและครอบครวั กลางเห็นสมควร

หลักเกณฑ์การเข้ารับบริการศนู ย์ตดิ ตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชน

การส่งเด็กหรือเยาวชนเพื่อเข้ารับความช่วยเหลือท่ีศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและ
เยาวชนจากส่วนมาตรการพเิ ศษและค้มุ ครองสวสั ดภิ าพ

กรณีที่นักจิตวิทยาหรือผู้ประสานการประชุม หรือผู้บริหารแผนติดตามพฤติกรรมของเด็ก
เยาวชนและครอบครัวประเมินแล้วพบว่าเด็ก เยาวชนและครอบครัวต้องการความช่วยเหลือด้านใดเป็น
พิเศษ เชน่ ด้านสาธารณสุข ด้านกฎหมาย ดา้ นการประกอบอาชีพ ดา้ นการศึกษา เป็นตน้ นักจิตวทิ ยา
หรอื ผปู้ ระสานการประชุม หรอื ผู้บริหารแผนสามารถทาความเหน็ สง่ ตอ่ เดก็ เยาวชนและครอบครวั เพ่ือ
เข้ารับความช่วยเหลือที่ศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชนต่อไป โดยกรอกข้อมูลลงใน
แบบฟอร์มการส่งต่อ แลว้ ถ่ายสาเนาเก็บไวท้ ่สี านวนของส่วนมาตรการพเิ ศษและคมุ้ ครองสวัสดภิ าพด้วย
1 ฉบับ

๑๕

แบบส่งต่อและดแู ลช่วยเหลอื

สว่ นมาตรการพเิ ศษและคมุ้ ครองสวสั ดภิ าพ

ศาลเยาวชนและครอบครวั กลาง

วันที่ ........................................................

เรอ่ื ง สง่ ต่อผรู้ บั บรกิ าร

เรียน หวั หน้าศูนยต์ ิดตาม แนะนา ช่วยเหลอื เด็กและเยาวชน

สิง่ ทสี่ ่งมาดว้ ย ๑.  ข้อมลู การใหค้ าปรกึ ษาตาม ม.73 จานวน...........ฉบบั

๒.  ข้อมลู การใหค้ าปรกึ ษาตาม ม.138 จานวน...........ฉบบั

๓.  ขอ้ กาหนด/เงอ่ื นไขตาม ม.90 และแบบรายงานการตดิ ตาม จานวน...........ฉบบั

๔.  ข้อกาหนด/เงอ่ื นไขตาม ม. 132 และแบบรายงานการตดิ ตาม จานวน.........ฉบับ

ด้วยขา้ พเจา้

 ชื่อ.............................นามสกลุ .......................ผู้พพิ ากษาสมทบ(ผใู้ หค้ าปรึกษา)

 ชื่อ.............................นามสกุล.......................ผ้ปู ระสานการประชุม/ผู้บรหิ ารแผนฯ

 ชื่อ.............................นามสกุล.............................................. นกั จติ วิทยา

ประเมินสภาพปญั หาแลว้ พบวา่ ด.ช./ด.ญ./นาย/นางสาว.............................................................
อาย.ุ ......ปี เลขคดดี าที.่ ............................พรอ้ มครอบครวั มีความประสงค์จะไดร้ บั ความช่วยเหลอื ในด้าน

1.  ด้านการประกอบอาชีพ ประสานกระทรวงแรงงาน เพอ่ื ฝึกอาชพี และแนะนา
ช่องทางอาชพี ทเ่ี หมาะสม

2.  ด้านสาธารณสุข ประสานกระทรวงสาธารณสุข เพ่ือรักษาพยาบาลและรับ
คาแนะนาในการรักษา......................................................................................................อยา่ งต่อเน่อื ง

3.  ด้านการใช้ชีวิตประจาวัน ประสานกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ
มั่นคงของมนษุ ย์ใหไ้ ดร้ บั การสงเคราะห์ในเร่อื ง............................................................................

4.  ด้านการศึกษา
 ประสานสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน (สพฐ.)
 สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.)

5.  ดา้ นการประสานกับหนว่ ยงานภาคเอกชน องค์กรทีไ่ มใ่ ชอ่ งคก์ รของรฐั (NGOs)
6.  ดา้ นอนื่ ๆ ……………………………………………...................………………………………..
ในการนีส่วนมาตรการพิเศษและคุ้มครองสวัสดิภาพ จึงเห็นควรส่งต่อประสานงาน
ไปยัง ศนู ยต์ ดิ ตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชน เพอ่ื ส่งเสริมใหเ้ ดก็ เยาวชน มคี ณุ ภาพชีวิตทดี่ ขี นึ ไม่
หวนกระทาความผิดซา

(....................................................)

หวั หนา้ สว่ นมาตรการพิเศษและคมุ้ ครอง

สวสั ดิภาพ

๑๖

สว่ นท่ี 3 ศูนยใ์ หค้ าปรกึ ษาแนะนานาช่วยเหลือผ้เู สยี หายและครอบครัว

ศาลเยาวชนและครอบครัวกลางจัดตังศูนย์ให้คาปรึกษาเพ่ือแนะนาช่วยเหลือผู้เสียหายและ
ครอบครัวขึนเพ่ือดาเนินการให้คาแนะนาช่วยเหลือผู้เสียหายและครอบครัวให้ฝ่าฟันปัญหา แสวงหา
ทางออกในการแก้ไขปัญหา ได้รับความเยียวยาความเสียหายจนสามารถกลับมาดารงชีวิตอย่าง
เ ป ็น ป ก ติสุข ใน สังค ม ได้โด ยจัด ให้ มี ผู้ให้ ค าป รึก ษ าท่ีมี ค ว าม รู้ ความ เชี่ยวชาญ ทังทางด้าน จิตวิทยา
และกฎหมายท่ีผ่านการฝึกอบรมเป็นการเฉพาะทางไว้ให้บริการให้ คาปรึกษาแนะนาแก่ผู้เสียหาย
และครอบครัว โดยผเู้ สยี หายและครอบครวั ไมต่ อ้ งเสยี คา่ ใชจ้ ่ายใด ๆ ทังสิน

หลกั เกณฑใ์ นการปฏบิ ัติ
๓.๑ หลกั เกณฑ์การส่งตอ่ เพ่ือบาบัดรักษาด้านจิตเวช
เม่ือนักจิตวิทยามีความเห็นว่าผู้รับบริการมีอาการป่วยทางจิตเวช ไม่สามารถให้คาปรึกษา
แนะนาได้ อาจเสนอความเห็นให้สง่ ตัวไปบาบัดยังสถานพยาบาลที่มคี วามชานาญเฉพาะด้าน เจ้าหนา้ ท่ี
ประจาศนู ย์มีหน้าทีอ่ อกหนงั สอื สง่ ตวั ให้ผรู้ บั คาปรกึ ษา เพือ่ นาไปรบั การรกั ษา ยังสถานพยาบาลท่รี ะบุไว้
ในหนังสือส่งต่อ โดยสอบถามความสมัครใจผู้รับคาปรึกษารายนันอีกครังว่า ต้องการความช่วยเหลือ
หรือไม่ หากต้องการความช่วยเหลือจะส่งไปบาบัดรักษายังสถานพยาบาลท่ีศาลเยาวชนและครอบครัว
กลางได้ประสานขอความร่วมมือไว้แล้ว จากนันเจ้าหน้าท่ีประจาศูนย์ฯจะเก็บสาเนาหนังสือการส่งต่อ
ของผู้รับคาปรึกษาไว้ในสานวนหลักเพื่อติดตามผลการส่งต่อ เม่ือได้รับหนังสือตอบรับการบาบัดรักษา
จากสถานพยาบาลที่ส่งต่อนัน ๆ หรือได้รับ รายงานการบาบัดรักษาจนครบขันตอนแล้วเจ้าหน้าท่ีประจา
ศูนย์ฯ ต้องนาเสนอให้ผู้พิพากษาผู้ทา หน้าที่ดูแลศูนย์ฯหรือผู้พิพากษาสานวนหลักทราบแล้วเก็บรวม
สานวนไว้
3.2 หลกั เกณฑ์การจ่ายคา่ พาหนะเดินทางแกผ่ ้เู สียหาย
ให้จ่ายค่าพาหนะเดินทางแก่ผู้เสียหายและผู้มีบทบาทสาคัญในการสนับสนุนให้ผู้เสียหายได้รับ
คาปรกึ ษาแนะนา ตามระเบียบศาลเยาวชนและครอบครวั กลาง ว่าด้วยกองทุนเงินสงเคราะห์ผเู้ สียหาย
ใน คดีอาญา พ.ศ. ๒๕๖๒
การนัดมารับคาปรึกษาครังต่อไป การจ่ายค่าพาหนะแก่ผู้เสียหายและผู้มีบทบาทสาคัญในการ
สนับสนุนให้ผู้เสียหาย ได้รับคาปรึกษาแนะนา จะจ่ายได้ไม่เกิน ๓ ครัง ทังนีเป็นไปตามระเบียบศาล
เยาวชนและครอบครัวกลาง หากมีนัดมารับคาปรึกษาครังต่อไป ผู้เสียหายและครอบครวั จะต้องไปพบ
เจ้าหน้าที่ ประจาศูนย์ฯ เพ่ือลงวันเวลานัดท่ีปกสานวนทุกครังและรับใบนัดจากเจ้าหน้าที่ประจาศูนย์
ติดตามฯ จากนัน ในแต่ละวันเจ้าหน้าที่ประจาศูนย์ติดตามฯ จะบันทึกวันเวลานัดคราวต่อไปในแต่ละ
สานวนลงระบบ คอมพิวเตอร์เพ่ือประมวลผลลงในบัญชีนัดแต่ละวันว่ามีก่ีสานวนและใครเป็นผู้ให้
คาปรึกษา โดยปกติแลว้ ผเู้ สยี หายจะเข้ารบั คาปรกึ ษาไมเ่ กิน ๓ ครงั

๓.3 การส่งผู้เสียหายเพ่ือเข้ารับความช่วยเหลือที่ศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและ
เยาวชนจากศนู ย์แนะนาชว่ ยเหลือผ้เู สยี หายและครอบครวั

กรณีที่นักจิตวิทยาประเมินแล้วพบว่าผู้เสียหายและครอบครัวต้องการความช่วยเหลือด้านใด

เปน็ พิเศษ เช่น ดา้ นสาธารณสุข ด้านกฎหมาย ด้านการประกอบอาชีพ ด้านการศึกษา ดา้ นสาธารณสุข

เป็นต้น นักจิตวิทยาสามารถทาความเห็นว่าผู้เสียหายควรได้รับการส่งต่อเพื่อเข้ารับความช่วยเหลือท่ี

ศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชนต่อไป โดยเม่ือทาความเห็นว่าผู้เสียหายและครอบครัว

๑๗

ควรได้รับความช่วยเหลือด้านใดแล้วให้สาเนาความเห็นอีก ๑ ชุด ส่งให้ศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือ
เด็กและเยาวชนเพ่อื ประสานงานใหค้ วามช่วยเหลือในด้านนัน ๆ ต่อไป

3.4 กรณีพนักงานอัยการย่ืนฟ้องคดีอาญาแล้ว ผู้เสียหายประสงค์ยื่นคาร้องขอให้ชดใช้ค่า
สินไหมทดแทนตามประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา มาตรา ๔๔/๑

3.4.1 กรณีอัยการย่ืนคาร้องขอให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนฯ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา มาตรา 44/1 ให้อยั การติดต่อกับเจ้าหนา้ ท่ีงานรบั ฟ้อง

3.4.2 กรณีผู้เสียหายมายื่นคาร้องขอให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนฯ ตามประมวลกฎหมายวิธี
พจิ ารณาความอาญา มาตรา 44/1 ดว้ ยตนเองใหต้ ดิ ต่อเจ้าหนา้ ทง่ี านรับฟ้องเชน่ เดยี วกับข้อ 3.4.1

แบบส่งต่อและดูแลช่วยเหลือ

ศูนยใ์ หค้ าปรึกษาเพ่ือแนะนาช่วยเหลือผู้เสียหายและครอบครัว

ศาลเยาวชนและครอบครวั กลาง

วันท่ี..................................................

เรอื่ ง ส่งต่อผู้รบั บริการ

เรยี น หัวหนา้ ศูนย์ตดิ ตาม แนะนา ชว่ ยเหลอื เด็กและเยาวชน

สิ่งท่ีส่งมาด้วย ๑. สาเนารายงานประจาวันเก่ยี วกับคดี จานวน ...... ฉบบั

๒. ข้อมูลการให้คาปรกึ ษา จานวน ....... ฉบบั

๓. แบบรายงานการให้คาปรึกษา จานวน ...... ฉบบั

ดว้ ย .......................................................................................(ผู้รับบริการ) อายุ........ ปี

มีความประสงค์ขอรบั การช่วยเหลือ ดังนี

1.  ดา้ นการประกอบอาชีพ ประสานกระทรวงแรงงาน เพ่ือฝึกอาชีพและแนะนา

ชอ่ งทางอาชีพทเ่ี หมาะสม

2.  ด้านสาธารณสุข ประสานกระทรวงสาธารณสุข เพ่ือรักษาพยาบาลและรับคาแนะนา

ในการรักษา...................................................................................... ....................................................................

3.  ด้านการใช้ชีวิตประจาวัน ประสานกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ

มนษุ ยใ์ ห้ได้รบั การสงเคราะหใ์ นเรอื่ ง....................................................................................................................

4.  ด้านการศึกษา

 ประสานสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน (สพฐ.)

 สานกั งานสง่ เสริม การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั (กศน.)

5.  ด้านการประสานกับหน่วยงานภาคเอกชน องค์กรทไ่ี ม่ใช่องค์กรของรฐั (NGOs)

6.  ดา้ นอ่นื ๆ ………………………………………………..……………………………………………………..

ศูนย์ให้คาปรึกษาเพ่ือแนะนาช่วยเหลือผู้เสียหายและครอบครัว ได้ดาเนินการช่วยเหลือ ใน

ด้านสิทธิทางกฎหมายเบืองต้น และเยียวยาทางด้านจิตใจครบถ้วนแล้ว แต่เน่ืองจากผู้รับบริการมีความ

ประสงค์

ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชนดาเนนิ การดแู ลและชว่ ยเหลือตอ่ ไป

ลงชื่อ................................................................
()

หวั หนา้ ศูนย์ใหค้ าปรกึ ษานาผู้เสียหายและครอบครัว

.

๑๘

ฝา่ ยคดั กรอง

แบบสง่ ต่อข้อมลู ผู้เสียหาย

เข้ารับบรกิ ารทศ่ี นู ยต์ ิดตาม แนะนา ช่วยเหลอื เด็กและเยาวชน

ช่ือผู้เสยี หาย...............................................................................คดีอาญาหมายเลขดาท.่ี ................../...............(ถ้ามี)
ชือ่ ผ้กู ระทาความผิด/ผถู้ กู กล่าวหา.............................................คดอี าญาหมายเลขแดงท.่ี ................../.............(ถ้าม)ี
สถานทเ่ี กดิ เหต.ุ ............................................................................................................................................................
วนั ทแี่ จ้งความ...........................................สถานีตารวจ...............................................................................................
1.ขอ้ มลู เบ้อื งตน้

1.1 ชือ่ ............................................................นามสกลุ .........................................................................
เลขท่ีบตั รประจาตัวประชาชน....................................................................อายุ...............ปี เพศ..................................
เชอื้ ชาต.ิ .........................................สัญชาติ...................................................ศาสนา...................................................
ทีอ่ ยปู่ จั จบุ ัน บา้ นเลขท.่ี ...........................ซอย..............................................ถนน........................................................
ตาบล/แขวง............................................อาเภอ/เขต............................................จังหวดั ............................................
เบอรโ์ ทรศพั ท.์ ........................................เบอร์โทรศพั ทบ์ า้ น........................................และ/หรอื ชอ่ งทางอ่ืนท่สี ามารถ
ติดตอ่ ได้ เชน่ Line ID , Facebook………………………………………………………………………………………………………….……
สถานท่ใี กล้เคียง.....................................................................................

1.2 สถานภาพ : โสด สมรส หย่าร้าง แยกกนั อยู่
1.3 อาชีพ : นกั เรยี น นักศึกษา รบั จ้าง พนกั งานเอกชน

ข้าราชการ/รัฐวสิ าหกจิ อนื่ ๆ.....................................
1.4 ระดับการศึกษา : ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนต้น มธั ยมศึกษาตอนปลาย

อาชีวะศกึ ษา
อนปุ รญิ ญา/ปวส. ปรญิ ญาตรี
บุคคลท่สี ามารถตดิ ต่อทา่ นได้กรณฉี กุ เฉนิ ช่อื ...............................................นามสกุล..................................................
เกย่ี วขอ้ งเปน็ ............................................................เบอร์โทรศพั ทท์ ่ตี ิดตอ่ ..................................................................
๑.5 พฤตกิ ารณท์ ่ที าให้ไดร้ บั ความเสียหายหรือข้อกล่าวหาผู้กระทาผิด:
....................................................................................................................................................................................
2.ความเสยี หายหรือปัญหาของผ้เู สยี หาย
2.1 สภาพทางดา้ นรา่ งกาย
 ได้รบั บาดเจบ็ ทบ่ี รเิ วณ................................................................
 ได้รับการรกั ษาทโี่ รงพยาบาล................................................บา้ น อ่นื ๆ ...............................
 รกั ษาตัวนาน....................เดอื น/สัปดาห์/วนั
 หยุดเรียน/หยดุ งาน............................เดือน/สปั ดาห/์ วัน
2.2 สภาพทางดา้ นจิตใจ
ซมึ เศร้า
เครียด
หวาดระแวง/วติ กกังวล
อ่นื ๆ ระบ.ุ ....................................................................................

๑๙

2.3 สภาพทางดา้ นสงั คม
 ได้รับความอบั อาย
 ถกู ดหู มิน่ เกลียดชงั
 เสื่อมเสียช่ือเสยี ง
 อ่ืน ๆ ...............................................................................................................................................
2.4 ปัญหาด้านอ่นื ๆ (ถา้ มี)
………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ส่งิ ที่ผเู้ สยี หายต้องการให้ชว่ ยเหลอื เยยี วยาดงั น้ี
 การคุม้ ครองความปลอดภยั
 ห้ามผู้ถูกกล่าวหาหรือจาเลยคุกคามหรือเข้าใกล้
 ทนายความ
 คา่ รักษาพยาบาล จานวน ....................................................... บาท
 คา่ เสียหายอืน่ ๆ จานวน ......................................................... บาท
 อื่น ๆ.................................................................................................................................... .............

หมายเหตุ ผูเ้ สยี หายให้ความยินยอมใหใ้ ช้ข้อมูลขา้ งตน้ เพ่ือการคุ้มครองสทิ ธิและดาเนินกระบวนพิจารณาของ
ศาลในคดีของผเู้ สยี หาย โดยขอ้ มูลดงั กล่าวจะเป็นความลบั ไมน่ าไปเผยแพร่

ลงช่อื .............................................................. ลงชอ่ื .................................................................

(.............................................................) (.................................... .............................)

(ผูเ้ สียหาย) (ผู้พิพากษาสมทบ)
วนั ท่ี……………/.............../............... วันที่……………/.............../...............

๒๐

แผนภมู ิข้ันตอนการปฏิบตั งิ านของศูนย์ตดิ ตาม แนะนา ช่วยเหลอื เดก็ และเยาวชน

มาตรา 73 มาตรา 90 มาตรา 56 มาตรา 138 ป.อ. มาตรา 56 ป.อ. มาตรา 74(3)
มาตรา 132 ศาลไมส่ ่งั คุมประพฤติ
มาตรา 142 (2)
ศาลสั่งคมุ ความประพฤติไว้

มาจากศูนยห์ นา้ บลั ลงั ก์ มาจากเจ้าหน้าที่คุมประพฤติ

เจ้าหนา้ ที่ประจาศนู ย์ฯ สอบถาม รวบรวมขอ้ มูล นดั หมายวัน เวลา ใหก้ รอกหนงั สือยินยอมเข้ารบั บริการ และใบประเมนิ ความพึงพอใจ

มาตรา มาตรา 90 มาตรา 56 มาตรา 138 ป.อ. มาตรา 56 ป.อ. มาตรา 74(3) มาตรา 142 (2)
73 มาตรา 132 ศาลไม่สัง่ คมุ ประพฤติ ศาลสัง่ คมุ ความประพฤติไว้

ประสงค์เขา้ ร่วมโครงการ

เจ้าหน้าที่ประจาศนู ย์ฯ จัดเตรยี มเอกสาร จดั ทาสานวน

พ. สมทบฝ่ายคัดกรองประเมนิ สภาพปญั หา สารวจความตอ้ งการชว่ ยเหลือ ประเมนิ ความถนดั ความสนใจของผเู้ ข้ารบั บรกิ าร
แล้วสง่ ต่อประธาน พ. สมทบฝ่ายประสานงาน

พ. สมทบฝ่ายประสานงานคดั เลอื ก พ. สมทบ ตามคุณสมบตั อิ ันเหมาะสมกบั ประสบการณแ์ ละความเชยี่ วชาญแต่ละทา่ นเพ่ือรบั ผดิ ชอบประสานความร่วมมอื กับ
หน่วยงานตา่ ง ๆ ชว่ ยเหลือผเู้ ขา้ รับบริการให้ตรงกบั สภาพปญั หา แลว้ จัดทารายงานเสนอหัวหนา้ โครงการ

หากจาเป็นตอ้ งมีหนังสอื ตดิ ต่อประสานงานกบั หนว่ ยงานภายนอก เจา้ หน้าทป่ี ระจาศนู ยฯ์ จะเสนอรายงานเจ้าหนา้ ท่ี
พรอ้ มหนงั สือประสานความรว่ มมอื ต่อหวั หน้าโครงการ เพื่อให้มดี ลุ พินิจสัง่ ต่อไป

พ. สมทบฝ่ายติดตามจะดูแลสอดส่องพฤติกรรมของผเู้ ข้ารับบรกิ ารในความรับผดิ ชอบของตนว่ามีความเปล่ียนแปลงไปในทิศทางใด
หากมกี ารนัดหมายติดตามครังตอ่ ไป เจา้ หน้าท่ปี ระจาศูนยฯ์ จะลงวนั เวลานดั และจัดทารายงานรวมเขา้ สานวนไว้

เจา้ หนา้ ท่ีประจาศูนย์ฯ กรอกขอ้ มลู บัตรนัดพรอ้ มชแี จงรายละเอยี ดเก่ียวกับการนัดติดตามในครังต่อไปให้ผู้เข้ารบั บริการทราบ

เม่ือผพู้ ิพากษาสมทบฝ่ายติดตามเสนอความเหน็ การตดิ ตามตามระยะเวลาทก่ี าหนด เช่น 1 เดอื น 3 เดอื น 6 เดอื น หลงั จากนันผู้พิพากษา
สมทบฝา่ ยประเมนิ ผลและสถติ ิได้ทาการประเมินการใหค้ วามชว่ ยเหลือและติดตามความประพฤตขิ องเดก็ หรอื เยาวชนรายนันวา่ สมั ฤทธ์ิผล

หรือไม่ แล้วเกบ็ รวบรวมเป็นสถิติพรอ้ มทาบนั ทกึ รวมสานวนไวเ้ พื่อรอประมวลผลครงั สุดทา้ ย

ฝา่ ยประเมนิ ผลและสถิติ

เหน็ ควรยุติ ไม่เห็นควรยตุ ิ

หากเหน็ ควรยุติ กส็ ง่ ขอ้ มลู ใหก้ บั เจา้ หนา้ ท่ี หากไมเ่ หน็ ควรยตุ ิ กใ็ ห้ฝ่ายประเมินผลและสถิติ
ประจาศูนยฯ์ เพอ่ื เก็บรวบรวมไวใ้ นสานวน ทาความเหน็ วา่ ควรดาเนินการอยา่ งไร

สง่ หัวหน้าโครงการ

๒๑
แผนภมู ิการสง่ ตอ่ เพอ่ื เข้ารบั บรกิ ารทีศ่ นู ย์ตดิ ตาม แนะนา ชว่ ยเหลือเดก็ และเยาวชน

กรณีผู้เสยี หายและครอบครัว

ศนู ย์ใหค้ าปรกึ ษา แนะนา ช่วยเหลอื ผ้เู สียหายและครอบครวั

เจา้ หน้าท่ปี ระจาศนู ย์ ศผ. สอบถามและรวบรวมขอ้ มลู ของผู้เสยี หายเบอื งต้นเพอื่ จดั ทาสานวน

ประสานผู้พพิ ากษาประจาศูนย์ฯ/เวรประจาศูนยฯ์ เพอื่ นัดหมายวนั เวลา กบั ทกุ ฝ่าย

ผ้พู พิ ากษาสมทบฝ่ายคัดกรอง
จะดาเนนิ การคดั กรอง แล้วทาความเห็น

ใหค้ วามร้สู ทิ ธิหน้าท่ี ข้อดี ข้อเสีย ขันตอนและแนวทางการดาเนินคดแี ละพจิ ารณาให้
ดาเนนิ การใด ๆ ตามสรุปแนวทางของนักจติ วทิ ยาประจาศูนย์ ฯ

ไมม่ คี วามจาเปน็ ตอ้ งได้รับความชว่ ยเหลอื มคี วามจาเปน็ ต้องได้รับความชว่ ยเหลือนอกเหนอื จากดา้ นกฎหมาย
ดา้ นการรบั คาปรกึ ษา และรกั ษาดา้ นจิตเวชจากกระทรวงสาธารณสุข

เจ้าหน้าท่ีประจาศนู ย์ฯ สง่ ขอ้ มูลใหก้ ับเจา้ หนา้ ทศ่ี ูนย์ตดิ ตาม แนะนา ชว่ ยเหลอื เดก็ และเยาวชน

ยุติการใหค้ าปรกึ ษาแลว้ เจา้ หน้าทศี่ ูนย์ฯ ส่งตอ่ ข้อมูล ใหก้ ับ พ. สมทบฝา่ ยประสานงาน
เกบ็ รวบรวมสานวนไว้
พ. สมทบฝ่ายประสานงานส่งตอ่ ข้อมลู ให้ฝ่ายตดิ ตามเพอ่ื ดแู ล
สอดสอ่ งและติดตามความเปล่ยี นแปลงหลงั จากได้รับการช่วยเหลือ

และจดั ทารายงานรวมสานวนไว้

เมื่อ พ. สมทบฝ่ายติดตามเหน็ ควรยตุ กิ ารตดิ ตามจึงทารายงานสง่ พ. สมทบ
ฝา่ ยประเมินผลและสถติ พิ รอ้ มทาความเห็น

ฝา่ ยประเมินผลและสถติ ิ
จัดรวบรวมสถิตแิ ละสรุปภาพรวม

สง่ หวั หน้าโครงการ

๒๒

การทางานของศนู ยต์ ิดตาม แนะนา ชว่ ยเหลือเดก็ และเยาวชน แบ่งคณะผูพ้ ิพากษาสมทบออกเปน็
ฝ่ายต่าง ๆ ดังน้ี

คณะทำงำนฝ่ำยคัดกรอง คือ ผู้พิพากษาสมทบท่ีได้รับการแต่งตั้งจากอธิบดีผู้พิพากษา
ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง ให้ทางานในหน้าท่ีฝ่ายคัดกรอง มีหน้าท่ีศึกษาข้อมูลเด็กและเยาวชน
จากสานวนคดีและค้นหาความเป็นไปได้ในการช่วยเหลือพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนไม่ให้
หวนกระทาความผิดซ้าและกลับคืนสู่สังคมได้อย่างปกติสุขผ่านการสัมภาษณ์เพิ่มเติม เพื่อคัดกรอง
แยกแยะปญั หาเด็กหรือเยาวชนได้ตรงกบั ความเปน็ จริง เชน่ ปัญหาสุขภาพของบุคคลในครอบครัวหรือ
ตนเอง ปัญหาติดยาเสพติด ปญั หาไมม่ ีงานทา ปัญหาไม่ได้เรยี นหนังสือ เป็นตน้ พรอ้ มค้นหาความสนใจ
และความสามารถของเด็กและเยาวชนเพื่อสนับสนุนการให้ความช่วยเหลือแล้วทาความเห็นส่งไปยัง
คณะคณะทางานฝ่ายประสานงาน (คณะทางานชุดท่ี ๒) และนาข้อมูลเข้าสานวนไว้ในสานวนปกสีม่วง
ต่อไป

คณะทำงำนฝ่ำยประสำนงำน คือ ผู้พิพากษาสมทบท่ีได้รับการแต่งต้ังจากอธิบดีผู้พิพากษา
ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง ให้ทางานในหนา้ ท่ีฝา่ ยประสานงาน มีหน้าท่ีประสานงานกับหนว่ ยงาน
และองค์กรท้งั ของภาครัฐและเอกชน เพื่อให้ความช่วยเหลือเด็กหรือเยาวชนในดา้ นต่าง ๆ ให้เหมาะสม
กับปัญหา ความสนใจ และความสามารถของเด็กหรือเยาวชนเป็นรายบุคคล เช่น หน่วยงานทางการ
ศึกษา สถานบริการสาธารณสุข โรงพยาบาล กรมแรงงาน เป็นต้น รวมไปถึงประสานงานกับครอบครัว
และชมุ ชนเพ่ือการตดิ ตามและนาขอ้ มูลการประสานงานต่าง ๆ เข้าสานวนปกสีม่วงตอ่ ไป

คณะทำงำนฝ่ำยติดตำม คือ ผู้พิพากษาสมทบที่ได้รับการแต่งต้ังจากอธิบดีผู้พิพากษา
ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง ให้ทางานในหน้าที่ฝ่ายติดตาม มีหน้าท่ีติดตามดูแลเด็กและเยาวชนท่ี
ถกู ส่งไปยังหน่วยงานหรือองค์กรท้ังภาครัฐและเอกชนหรือบุคคลซึ่งกากับดูแลแกไ้ ขเด็กหรอื เยาวชนอยู่
ว่า เด็กหรือเยาวชนได้ปฏิบัติตามเง่ือนไขหรือไม่อย่างไร มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทางที่ดีขึ้น
หรือไม่ หวนกลับไปกระทาผิดซ้าอีกหรือไม่ โดยติดตามจากสานักคุมประพฤติ หรือจากองค์กรหรือ
หน่วยงานที่กากับดูแลอยู่ด้วย ถ้าพบว่ามีปัญหาไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไข คณะกรรมการจะได้หาทาง
ชว่ ยเหลอื แกไ้ ขหรอื ประเมินผล และเก็บข้อมูลดังกล่าวไว้ในสานวนเดยี วกนั ในสานวนปกสมี ว่ งต่อไป

คณะทำงำนฝ่ำยประเมินผล คือ ผู้พิพากษาสมทบท่ีได้รับการแต่งตั้งจากอธิบดีผู้พิพากษา
ศาลเยาวชนและครอบครัวกลางให้ทางานในหน้าที่ฝ่ายประเมินผล มีหน้าที่ประเมินผลการให้ความ
ช่วยเหลือเด็กหรือเยาวชนว่าสัมฤทธ์ิผลหรือไม่ รวมท้ังวิเคราะห์หาสาเหตุแห่งการไม่สัมฤทธ์ิผลและ
ค้นหาวธิ ีการให้เหมาะสม หากเด็กหรือเยาวชนสามารถกลับไปใชช้ ีวิตในสังคมอย่างปกติสขุ และไม่หวน
กลับไปกระทาผิดซ้า ให้จัดทารายงานรวบรวมไว้พร้อมจัดทาสถติ ิความสาเร็จ หากเด็กหรือเยาวชนยังมี
พฤตกิ รรมเกย่ี วข้องกับการกระทาความผิดอีก ให้สานักคมุ ประพฤติรายงานมายังผพู้ พิ ากษาประจาศูนย์
หากเด็กหรือเยาวชนยังอยู่ในระยะคุมประพฤติ ให้สานักคุมประพฤติทารายงานส่งผู้พิพากษาเจ้าของ
สานวนตอ่ ไป และประเมินในสว่ นของเดก็ หรอื เยาวชนที่ประสบความสาเร็จตรงตามตวั ชี้วดั ท่วี างไว้ และ
จัดทารายงานสรุปผลการดาเนนิ งานต่ออธิบดีผู้พิพากษาศาลเยาวชนและครอบครวั กลาง

๒๓

5 ผพู้ ิพากษาสมทบฝ่ายประชาสมั พนั ธ์
มีหน้าท่ีเผยแพร่และให้ความรู้กิจกรรมของศูนย์ติดตามด้วยความห่วงใยกับชุมชน หน่วยงาน

ราชการอืน่ หรอื ส่วนอ่ืน ๆทีเ่ ก่ียวข้อง

2. ขัน้ ตอนการรบั เด็กหรอื เยาวชนของเจ้าหน้าท่ีประจาศนู ย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเดก็ และ
เยาวชน

2.1 กรณีรับเดก็ หรอื เยาวชนจากคาสัง่ หรอื คาพพิ ากษา
2.1.1 กรณีผู้พิพากษามีคาส่ังให้เด็กหรือเยาวชนมารับบริการท่ีศูนย์ติดตาม แนะนา

ช่วยเหลือเด็กและเยาวชนหรือผู้พิพากษามีคาส่ังหรือคาพิพากษา เด็กหรือเยาวชน และผู้ปกครองมา
รายงานตัวกับพนักงานคุมประพฤติไว้อย่างน้อย 2 ปี

2.1.2 พนกั งานคมุ ประพฤติ ประสานกับศนู ยต์ ดิ ตามฯ เพ่ือกาหนดนัด ให้เดก็ เยาวชนและ
ผู้ปกครอง มาพบเจ้าหน้าที่ประจาศูนย์ติดตามฯ (กรณีท่ีมีผู้พิพากษาสมทบฝ่ายคัดกรองประจาศูนย์
ฯ อยใู่ นวนั ไดร้ ับแจ้งกใ็ ห้เดก็ หรอื เยาวชนและผปู้ กครองมาพบไดท้ ันที)

2.1.3 เม่ือเจ้าหน้าท่ีประจาห้องพิจารณาคดีนาสานวนและเด็กหรือเยาวชนมาติดต่อ
เจ้าหน้าท่ีประจาศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชนเพ่ือออกบัตรนัด จากนันให้เจ้าหน้าท่ี
ประจาศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชนสอบถาม เด็ก เยาวชน และครอบครัว มีความ
ประสงคย์ นิ ยอมเข้ารว่ มโครงการติดตามฯ ของศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง จดั ตังสานวนเพ่อื เตรียม
ส่งต่อข้อมลู ใหก้ ับผ้พู พิ ากษาสมทบฝา่ ยคัดกรอง

2.2 กรณีผู้พิพากษามีคาส่ังยกฟ้องหรือจาหน่ายคดีออกจากสารบบความโดยไม่มีคาสั่ง
คมุ ประพฤติ

2.2.1 ผู้พิพากษามีคาส่ังในรายงานกระบวนพิจารณา ให้เด็กหรือเยาวชนและ
ครอบครวั มคี วามประสงคแ์ ละเข้ารบั การบริการท่ีศูนย์ตดิ ตาม แนะนา ช่วยเหลือเดก็ และเยาวชน

2.2.2 ผู้พิพากษาให้ปล่อยหรือยกฟ้องหรือจาหน่ายคดี แต่เด็กหรือเยาวชน
และครอบครัว จะเขา้ รับมีความประสงคเ์ ขา้ บริการจากศนู ย์ตดิ ตาม แนะนา ชว่ ยเหลอื เด็กและเยาวชน

2.3 กรณสี ว่ นมาตรการพิเศษและคมุ้ ครองสวสั ดภิ าพ สง่ ต่อเด็กหรอื เยาวชนและครอบครวั
ให้มาเข้ารับบริการท่ีศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชน ตาม มาตรา 73 วรรคท้าย
มาตรา 90 และมาตรา 132 วรรคหน่ึง ตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธพี จิ ารณาคดี
เยาวชนและครอบครวั พ.ศ. 2553

2.3.1 ให้เจ้าหน้าที่ประจาศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชน รับข้อมูลท่ี
เก่ียวข้องของเด็ก หรือเยาวชนและครอบครัว และรับตัวเด็กหรือเยาวชนและครอบครัวเพ่ือสอบถาม
ความประสงค์ ว่าจะเข้ารับบริการจากศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชนหรือไม่ หากมี
ความประสงค์จะเข้ารับบริการ ก็ให้เจ้าหน้าที่ประจาศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชน
จัดทาวันนัดเพ่ือส่งต่อให้พบกับผู้พิพากษาสมทบฝ่ายประสานงานท่ีศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็ก
และเยาวชน เม่ือผู้พิพากษาสมทบฝ่ายประสานงานเห็นควรให้ความช่วยเหลือ เช่น ด้านการศึกษา
ดา้ นการประกอบอาชีพ ด้านสาธารณสขุ เป็นต้น

๒๔

2.3.2 เจ้าหน้าท่ีประจาศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชน ทาหนังสือ
ประสานขอความอนเุ คราะหไ์ ปยงั หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตามท่ีผู้พพิ ากษาฝ่ายประสานงานได้มีความเห็น
ไว้ในแบบบันทกึ รายงานฝ่ายประสานงานแล้วเสนอให้ผู้พพิ ากษาประจาศูนย์ลงนามในหนงั สือสง่ ออก

2.3.3 เจ้าหน้าที่ประจาศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชน รวบรวม
เอกสารท่ีได้รับจากส่วนมาตราพิเศษและคุ้มครองสวัสดิภาพ แบบบันทึกรายงานฝ่ายประสานงาน
พร้อมทังหนังสือส่งต่อให้เด็ก หรอื เยาวชนเข้ารับความช่วยเหลือจากหน่วยงานที่เก่ียวข้องให้ผู้พิพากษา
สมทบฝ่ายตดิ ตามดูแลเดก็ หรอื เยาวชนได้ปฏิบตั ิตามวตั ถุประสงค์หรอื ไม่อย่างไร

2.4 กรณศี ูนย์ใหค้ าปรกึ ษาเพอื่ แนะนาชว่ ยเหลือผ้เู สียหายและครอบครัว ประเมนิ แล้วว่ามี
ความจาเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือ นอกเหนือจากด้านข้อกฎหมาย ด้านการรับคาปรึกษา และ
รักษาด้านจิตเวชจกากระทรวงสาธารณสุข ให้เจ้าหน้าที่ประจาศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็ก
และเยาวชนหรอื แลว้ ส่งต่อข้อมลู

2.4.1 ให้เจ้าหน้าที่ประจาศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชน รับข้อมูลที่
เก่ียวข้องของผู้เสียหายและรับตัวผู้เสียหายเพ่ือสอบถามความประสงค์ ว่าจะเข้ารับบริการจาก
ศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชนหรือไม่ หากประสงค์จะเข้ารับบริการ ให้เจ้าหน้าที่
ประจาศูนยต์ ดิ ตาม แนะนา ชว่ ยเหลือเดก็ และเยาวชน จดั ทาวันนดั เพื่อส่งต่อใหพ้ บกบั ผพู้ ิพากษาสมทบ
ฝ่ายประสานงาน ที่ศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชน เมื่อผู้พิพากษาสมทบฝ่าย
ประสานงานเห็นควรให้ความช่วยเหลือ เช่น ด้านการศึกษา ด้านการประกอบอาชีพ ด้านสาธารณสุข
เปน็ ต้น

2.4.2 เจ้าหน้าท่ีประจาศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชน ทาหนังสือ
ประสานขอความอนุเคราะห์ไปยงั หน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้อง ตามท่ผี ้พู ิพากษาฝา่ ยประสานงานไดม้ ีความเห็น
ไว้ ในแบบบนั ทกึ รายงานฝ่ายประสานงานแลว้ เสนอให้ผพู้ ิพากษาประจาศนู ยล์ งนามในหนงั สือส่งออก

2.4.3 เจ้าหน้าท่ีประจาศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชน รวบรวม
เอกสารที่ได้รับจากส่วนมาตราการพิเศษและคุ้มครองสวัสดิภาพ แบบบันทึกรายงานฝ่ายประสานงาน
พร้อมทังหนังสอื ส่งต่อให้เด็ก หรือเยาวชนเข้ารับความช่วยเหลือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ผู้พิพากษา
สมทบฝ่ายติดตามดแู ลเดก็ หรอื เยาวชนได้ปฏิบัตติ ามวตั ถุประสงคห์ รือไม่อย่างไร

2.5 กรณที ีอ่ ยั การสง่ หนงั สือหรือคาร้องของผเู้ สียหายผา่ นชอ่ งทางจากงานรบั ฟ้อง
2.5.1 งานรบั ฟอ้ งรับหนังสอื หรือคาร้อง และสแกนไฟลจ์ ัดเก็บข้อมูลในสารสนเทศเพื่อ

เกบ็ ไว้เปน็ หลักฐาน
2.5.2 งานรับฟ้องจะประสานมายังเจ้าหน้าท่ีประจาศูนย์ให้คาปรึกษาเพ่ือแนะนา

ชว่ ยเหลือ ผเู้ สยี หายและครอบครวั
2.5.3 เจ้าหน้าท่ีประจาศูนย์ให้คาปรึกษาเพ่ือแนะนาช่วยเหลือ ผู้เสียหายและ

ครอบครวั ประสานกับนกั จติ วทิ ยา นิตกิ ร และผพู้ พิ ากษาประจาศูนยใ์ ห้คาปรึกษาเพื่อแนะนาช่วยเหลือ
ผเู้ สียหายและครอบครวั และดาเนินการชว่ ยเหลอื ตามขนั ตอน

2.5.4 เจ้าหน้าท่ีประจาศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชน โทรศัพท์แจ้ง
วัตถุประสงค์ของการติดตามและสอบถามผู้เสียหายหลังจากได้รับบริการจากศูนย์ให้คาปรึกษาเพ่ือ
แนะนาช่วยเหลือ ผู้เสียหายและครอบครัว แล้วยังประสงค์จะเข้ารับความช่วยเหลือจากศูนย์ติดตาม

๒๕

แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชนหรอื ไม่ หากประสงค์จะเข้ารบั บริการที่ศูนยต์ ิดตาม แนะนา ชว่ ยเหลือ
เด็กและเยาวชน ให้เจ้าหน้าที่ประจาศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชนปฏิบัติตามข้อ
2.4.1 ถึง ข้อ 2.4.3

๒๖

(ตัวอยา่ งบัตรนัด)

บตั รนดั รบั คำปรึกษำ ของศูนย์ติดตำม แนะนำ ชว่ ยเหลอื เด็กและเยำวชน ศำลเยำวชนและครอบครัวกลำง

เลขคดี ศนช............................/.......................

ชื่อ - สกลุ .................................................................................................................

คดี มต/ตจ ............................................. คดีดำ ..............................................

คดี ผ .................................................... คดแี ดง ............................................

คดี มอ/มพ.............................................. คดี ศผ/ศผล.......................................

ครั้งท่ี วัน/เดอื น/ปี เวลำ นัดมำเพื่อ

1

2

3

4

5

6

7

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ด้ำนหลัง

บตั รนัด
ศนู ย์ใหต้ ดิ ตำม แนะนำ ชว่ ยเหลอื เด็กและเยำวชน

ศำลเยำวชนและครอบครวั กลำง
โทร 02 272-5206

๒๗

หนงั สอื ให้ความยนิ ยอมเดก็ เยาวชน และผปู้ กครอง
ศนู ย์ติดตาม แนะนา ชว่ ยเหลือเด็กและเยาวชน
(Follow Up With Care Center)

เขียนท่ี ศาลเยาวชนและครอบครวั กลาง
เลขคดีดาท่.ี ................/..........................
เลขคดแี ดงท่.ี ................/.....................

วันท่ี……………..เดอื น................................พ.ศ...................

ขา้ พเจ้านาย/นาง/น.ส./ด.ช.ด.ญ..............................................นามสกลุ ..........................................
อาย.ุ .............ปี อย่บู ้านเลขท.ี่ ................ถนน................ตาบล/แขวง...........................................................
อาเภอ/เขต.......................................................จังหวัด..................................โทรศัพท.์ ..............................
ID : Line……………………………......……………….email…………………………………………………………......……….
ยนิ ยอมเข้ารว่ มโรงการติดตามด้วยความหว่ งใย ของศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง

ข้าพเจา้ นาย/นาง/นางสาว.........................................สกุล เก่ยี วข้องเปน็ ...........................................
ยินยอมใหเ้ ด็ก/เยาวชน ดังกล่าวขา้ งตน้ เขา้ ร่วมโครงการตดิ ตามด้วยความห่วงใย ของศาลเยาวชนและครอบครวั กลาง

ลงชือ่ .................................................................เด็กหรือเยาวชน

ลงชือ่ .................................................................บิดา/มารดา/ผปู้ กครอง

ลงชอ่ื .................................................................พยาน

ลงชือ่ .................................................................พยาน

๒๘

หนงั สือให้ความยนิ ยอมผเู้ สียหาย
ศูนย์ติดตาม แนะนา ชว่ ยเหลือเด็กและเยาวชน

(Follow Up With Care Center)

เขียนที่ ศาลเยาวชนและครอบครวั กลาง

วันท่ี……………..เดอื น................................พ.ศ...................
ข้าพเจ้า............................................ นามสกุล.......................................... (ผู้เสียหาย)ยินยอมที่
จะเข้ารับบริการท่ีศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือเด็กและเยาวชน เพ่ือขอรับคาปรึกษาคาแนะนาจาก
ผูพ้ ิพากษาสมทบประจาศนู ย์ตดิ ตาม แนะนา ชว่ ยเหลอื เด็กและเยาวชน
และให้...........................................................................เกบ็ บันทึกและนาข้อมูลของข้าพเจ้าไปใช้ในการ
วางแผนและ การช่วยเหลือเยียวยา รวมทังพัฒนางานดา้ นวิชาการ โดยศูนย์ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือ
เดก็ และเยาวชนจะเก็บขอ้ มูลและให้เป็นความลบั ไมน่ าไปเปิดเผยหรอื ทาให้เกดิ ความเสยี หาย

ลงชื่อ................................................................(ผเู้ สยี หาย)
(...................................................................)

ลงชื่อ...............................................................(เจา้ หนา้ ท)่ี
(................................................................)

๒๙

1.5 เจ้าหน้าท่ีประจาศูนย์ติดตามฯ ประสานงานกับผู้พิพากษาสมทบฝ่ายคัดกรองทาง
โทรศัพท์ ตามตารางเวรของผพู้ ิพากษาสมทบฝ่ายคัดกรองทเ่ี จา้ หน้าที่ได้ทาการจดั เวรเพื่อใหผ้ ู้พิพากษา
สมทบฝา่ ยคดั กรองให้เข้ามาปฏิบัติงานท่ศี ูนย์ตดิ ตามฯ โดยได้มีการนัดผู้พิพากษาสมทบฝ่ายคดั กรองเข้า
มาปฏิบัตงิ านในวนั และเวลาทีม่ ารายงานตวั ต่อเจ้าหนา้ ที่คมุ ประพฤติ เพอื่ การใหค้ วามช่วยเหลอื เดก็ หรอื
เยาวชน เช่น การส่งเยาวชนไปฝึกอบรม ในดา้ นต่าง ๆ เช่น ฟตุ บอล ช่างตัดผม ช่างยนต์ เป็นต้น

1.6 เด็ก เยาวชน ผู้ปกครอง ทาแบบประเมินความพึงพอใจหลังพบผู้พิพากษาสมทบฝ่าย
คัดกรอง หลังจากเข้ารับบริการ และจัดเก็บข้อมูลเข้าสู่ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

๓๐

แบบประเมินความพงึ พอใจจาเลย

ศนู ยต์ ดิ ตาม แนะนา ช่วยเหลอื เด็กและเยาวชน

(Follow Up With Care Center)
ตอนที่ 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
1. เพศ ( ) ชาย ( ) หญงิ

2. อาย.ุ ..........................ปี
3. อาชีพ ( ) พนักงานบรษิ ทั ( ) ข้าราชการ/รัฐวสิ าหกจิ ( ) รบั จ้าง ( ) ไม่ไดท้ างาน ( ) อนื่ ๆ...............
4. วฒุ ิการศกึ ษาสูงสดุ

( ) ประถมศึกษา ( ) มธั ยมศึกษา ( ) อาชวี ะศึกษา ( ) ปรญิ ญาตรี ( ) อื่น ๆ............................ระบุ

..............…………................................
5. โปรดระบุบรกิ ารทที่ า่ นขอรบั บริการ
................................................................................................................................................
ตอนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจ

ประเด็นวดั ความพึงพอใจ มากท่ีสดุ ระดบั ความพงึ พอใจ ไม่พงึ ไมแ่ สดงความ
พอใจ คดิ เห็น
5 มาก ปานกลาง น้อย
4 32 1

ด้านการใหบ้ ริการของเจา้ หน้าที่/บุคลากรทใ่ี หบ้ ริการ
1. เจ้าหนา้ ที่ใหบ้ รกิ ารด้วยความสภุ าพ เปน็ มติ ร
2. เจ้าหน้าท่ใี หบ้ รกิ ารดว้ ยความสะดวก รวดเร็ว
3. เจ้าหน้าที่ดูแลเอาใจใส่ กระตอื รือรน้ เตม็ ใจใหบ้ รกิ าร

4. เจา้ หนา้ ที่ใหค้ าแนะนา หรอื ตอบข้อซักถามได้เปน็ อยา่ งดี
ดา้ นกระบวนการ ข้นั ตอนการใหบ้ ริการ
5. การใหบ้ ริการเปน็ ระบบและมขี ้ันตอนทเ่ี หมาะสม
6. การให้ข้อมลู / รายละเอยี ดชัดเจนและเขา้ ใจงา่ ย
7. มีการให้บริการเปน็ ไปตามลาดับก่อน – หลัง อย่างยตุ ิธรรม

ด้านผลจากการใหบ้ ริการ
8. ได้รบั การบริการทต่ี รงกบั ความต้องการ (ความถูกต้อง ครบถว้ น
ไมผ่ ิดพลาด)

9. ได้รบั บริการทเ่ี ป็นประโยชน์

ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ /ความไม่พงึ พอใจ

..................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................

๓๑

แบบประเมินความพงึ พอใจผูเ้ สยี หาย

ศนู ย์ตดิ ตาม แนะนา ช่วยเหลือเดก็ และเยาวชน

(Follow Up With Care Center)

ตอนที่ 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
1. เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง
2. อาย.ุ ..........................ปี
3. อาชพี ( ) พนกั งานบรษิ ัท ( ) ขา้ ราชการ/รัฐวิสาหกิจ ( ) รบั จา้ ง ( ) ไมไ่ ดท้ างาน ( ) อ่นื ๆ..................
4. วฒุ ิการศกึ ษาสงู สดุ

( ) ประถมศกึ ษา ( ) มธั ยมศึกษา ( ) อาชวี ะศกึ ษา ( ) ปรญิ ญาตรี ( ) อ่ืน ๆ................................
ระบ.ุ .............…………................................
5. โปรดระบบุ ริการทท่ี ่านขอรบั บรกิ าร
................................................................................................................................................
ตอนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจ

ประเดน็ วดั ความพงึ พอใจ มากท่สี ุด ระดับความพึงพอใจ ไมพ่ งึ ไม่แสดงความ
5 พอใจ คดิ เห็น
ดา้ นการใหบ้ ริการของเจา้ หนา้ ท่ี/บุคลากรทใ่ี ห้บริการ มาก ปานกลาง นอ้ ย
1. เจา้ หน้าที่ใหบ้ ริการดว้ ยความสุภาพ เป็นมติ ร 4 32 1
2. เจ้าหน้าที่ใหบ้ ริการด้วยความสะดวก รวดเร็ว

3. เจ้าหนา้ ทีด่ ูแลเอาใจใส่ กระตือรอื ร้น เต็มใจให้บริการ

4. เจ้าหน้าทใ่ี ห้คาแนะนา หรอื ตอบขอ้ ซกั ถามได้เปน็ อยา่ งดี

ดา้ นกระบวนการ ข้นั ตอนการใหบ้ รกิ าร
5. การให้บริการเปน็ ระบบและมขี ้ันตอนทเ่ี หมาะสม

6. การใหข้ ้อมูล / รายละเอยี ดชัดเจนและเข้าใจง่าย

7. มกี ารใหบ้ ริการเป็นไปตามลาดบั กอ่ น – หลัง อยา่ งยุติธรรม

ด้านผลจากการใหบ้ รกิ าร
8. ไดร้ บั การบริการทตี่ รงกบั ความต้องการ (ความถูกตอ้ ง ครบถว้ น
ไม่ผิดพลาด)

9. ไดร้ ับบรกิ ารทีเ่ ป็นประโยชน์

ขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ/ความไม่พึงพอใจ

..................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................

๓๒

1.7 รวบรวมข้อมูลพร้อมเสนอสานวนให้แก่ผู้พิพากษาสมทบฝ่ายประสานงานให้ความ
ช่วยเหลอื และตดิ ต่อประสานงานกบั หนว่ ยงานท่เี กยี่ วขอ้ ง

1.8 เจ้าหนา้ ทีป่ ระจาศนู ยต์ ิดตามฯ ประสานงานกับผู้พพิ ากษาสมทบฝ่ายประสานงานเพ่อื ส่ง
ตอ่ ขอ้ มูลใหผ้ ู้พิพากษาสมทบฝา่ ยติดตาม เดก็ เยาวชน และครอบครวั ใหไ้ ดร้ ับความช่วยเหลือใหต้ รงกับ
สภาพปัญหา ความถนัดความสนใจ ของ เด็ก เยาวชน พร้อมทังติดตามความประพฤติ หลังจากได้รับ
ความอนเุ คราะหจ์ ากหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้อง แลว้ เดก็ เยาวชนรายนนั ๆ มีความประพฤตเิ ป็นไปในทางที่ดี
ขึนหรือไม่ ผ่านทางโทรศัพท์หรือแอปพลิเคชันและสื่อออนไลน์อ่ืน ๆ (ตามการมอบหมายจัดการของ
หวั หนา้ คณะทางานผ้พู ิพากษาสมทบฝา่ ยตดิ ตามฯ)

1.9 จัดทาหนังสือส่งตัวเด็ก เยาวชน และครอบครัวไปฝึกอบรมหรือเข้าร่วมกิจกรรมตาม
หนว่ ยงาน ในกระทรวงต่าง ๆ ตามความถนดั ความสนใจ

1.10 เม่ือเจ้าหน้าที่ได้กาหนดนัดเด็กหรือเยาวชนและผู้ปกครองแล้วให้แจ้งผู้พิพากษาสมทบ
ฝ่ายคดั กรองเพื่อมาพบเด็กเยาวชนและผู้ปกครองตามนัด พร้อมทังตดิ ตามสานวนจากศูนยห์ น้าบลั ลังก์
เพื่อตังสานวนของศูนย์ติดตามฯ ตามระเบียบ รวมทังคัดถ่ายสาเนาคาฟ้อง สาเนารายงานกระบวน
พิจารณา สาเนารายงานสืบเสาะข้อเท็จจริงของสถานพินิจฯ และสาเนาคาพิพากษา เข้ารวมสานวนไว้
ด้วยเพื่อเสนอต่อผู้พพิ ากษาประจาศูนย์ ฯ

2. กระบวนการรบั เดก็ เยาวชน เขา้ สู่ศูนย์ติดตาม แนะนา ชว่ ยเหลือเดก็ และเยาวชน

2.1 เมื่อเด็ก เยาวชน และผู้ปกครองมารายงานตัวกับพนักงานคุมประพฤติตามคาสั่งหรือ
คาพิพากษาให้คุมความประพฤติ โดยให้เด็ก เยาวชนและผู้ปกครองมาท่ีศนู ยต์ ิดตาม แนะนา ชว่ ยเหลือ
เด็กและเยาวชน

2.2 ให้พนักงานคุมประพฤติ ประสานกับศูนย์ติดตามฯ เพื่อกาหนดนัด ให้เด็ก เยาวชนและ
ผู้ปกครอง มาพบเจ้าหน้าท่ีประจาศูนย์ตดิ ตามฯ (กรณที ี่มีผู้พพิ ากษาสมทบฝ่ายคดั กรองประจาศูนย์ฯอยู่
ในวนั ได้รับแจ้งก็ใหเ้ ด็กหรือเยาวชนและผ้ปู กครองมาพบได้ทนั ที)

2.3 เมื่อเจ้าหน้าท่ีได้กาหนดนัดเด็กหรือเยาวชนและผู้ปกครองแล้วให้แจ้งผู้พิพากษาสมทบ
ฝา่ ยคัดกรองเพ่ือมาพบเด็กเยาวชนและผู้ปกครองตามนัด พร้อมทังตดิ ตามสานวนจากศูนย์หน้าบัลลังก์
เพื่อตังสานวนของศูนย์ติดตามฯ ตามระเบียบ รวมทังถ่ายสาเนาคาฟ้อง รายงานกระบวนพิจารณา
รายงานสืบเสาะ และคาพิพากษาเข้ารวมสานวนไว้ดว้ ยเพอ่ื เสนอตอ่ ผ้พู ิพากษาสมทบฝ่ายคัดกรองในวัน
นดั ต่อไป

การเรียงสานวนใหเ้ รียงลาดับดงั ต่อไปนี
2.3.1 ปกสานวน
2.3.2 สาเนาคาฟอ้ ง
2.3.3 สาเนารายงานกระบวนพจิ ารณา
2.3.4 สาเนาคาพิพากษา
2.3.5 รายงานสืบเสาะข้อเท็จจริงของสถานพนิ ิจฯ
2.3.6 แบบบนั ทึกคดั กรอง

๓๓

1. ปกสานวน (ขนาด 1 หนา้ กระดาษ A 4)

เลขคดศี นู ยต์ ดิ ตาม แนะนา ช่วยเหลือเดก็ และเยาวชนทศ่ี นช....../.......

ศูนยต์ ิดตาม แนะนา ช่วยเหลือเดก็ และเยาวชน
ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง

พ.สมทบฝา่ ยคัดกรอง..................................................... พ.สมทบฝ่ายคดั กรอง.............................................................

พ.สมทบฝา่ ยประสานงาน............................................ พ.สมทบฝา่ ยประสานงาน......................................................

พ.สมทบฝา่ ยตดิ ตาม...................................................... พ.สมทบฝา่ ยตดิ ตาม...............................................................

พ.สมทบฝา่ ยประเมินผล............................................... พ.สมทบฝ่ายประเมนิ ผล.........................................................

โจทก/์ อ่ืน
...................................................................................................................................................................
ชอ่ื จาเลย
...................................................................................................................................................................

ข้อหา ......................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................
เข้ารับบริการท่ีศูนย์ตดิ ตาม แนะนา ชว่ ยเหลือเดก็ และเยาวชนวนั ที่.............................................

ผลการประชมุ หารอื จาเลยประสงค์ใหช้ ่วยเหลือในเร่อื ง

1.............................................................. 2......................................................................
3.............................................................. 4......................................................................
5............................................................... 6......................................................................

วันทีย่ ุตกิ ารติดตาม
...................................................................................................................................................................

เนื่องจาก
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

๓๔

2. สาเนาคาฟอ้ ง
(๔)

คาฟอ้ ง

คดหี มายเลขดาที่ /
........................ ๒๕..........

ระหวำ่ ง ศาล .........................................................

วันที่ ........... เดอื น ................................... พุทธศกั ราช
๒๕ ....ค..ว...า.ม. ...........................

.....................................................................................................................................โ..จ..ท. ก์
.........

.....................................................................................................................................จ..าเลย

ข้อหาหรอื ฐานความผดิ
.จ..า..น..ว..น...ท...ุน..ท...ร..พั ...ย..์...........................................................................................................................................................................................................บ...า..ท.......
.............................ข..้าสพตเาจง้าค์
เ..ล..ข..ป...ร..ะ..จ...า.ต...ัว..ป...ร..ะ..ช..า..ช..น.........-......................-............................-...........-........โ.จ...ท..ก...์ ..เ..ช..ือ.............
สชาัญตชิ…า…ติ…..…...…...…...…...…...…........อาชพี ..........................อายุ ..........ปี อยบู่ า้ นเลขท่ี ....................หมู่ที่..............

ถนน ................................ ตรอก/ซอย ....................ตาบล/แขวง ............................อาเภอ/เขต…….…..

จงั หวดั ...............................................รหสั ไปรษณยี .์ ...........................โทรศพั ท์ .....................................

โทรสาร ............................................................ ไปรษณยี อ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ................................................

ขอยน่ื ฟ้อง ...............................................................................................................................................

เลขประจาตวั ประชาชน ---- จาเลย เชอื ชาติ .............................................

สัญชาติ ...................อาชีพ ......................อายุ .............ปี อยบู่ ้านเลขที่ ..........................หมทู่ ่ี ..............
ถนน ......................ตรอก/ซอย ..........................ตาบล/แขวง ............................อาเภอ/เขต………...……

จงั หวดั ......................................................รหัสไปรษณยี .์ ........................โทรศพั ท์ .................................

โทรสาร .................................................. ไปรษณยี อ์ ิเล็กทรอนิกส์ ..........................................................

มีข้อความตามท่จี ะกลา่ วต่อไปนี

๓๕

ขอ้ ๑
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

3. สาเนารายงานกระบวนพิจารณาคดี ๓๖

(๒๒) คดหี มายเลขดาท.่ี ............../๒๕....
คดีหมายเลขแดงที่............./25..........
รายงาน
กระบวน ศาล .........................................................
พิจารณา วนั ที่ ........... เดอื น ...................พทุ ธศกั ราช ๒๕ ...........
ความ................................................................................

..........................................................................................................................................โ.จ...ท. ก์

ระหวำ่ ง ....

....................................................................................................................................... จาเลย

ผ้พู พิ ากษาออกน่ังพจิ ารณาคดีนเ้ี วลา....................นาฬิกา

...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................

๓๗

...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

(......................................................) บนั ทึก/อ่าน (......................................................)

ผพู้ พิ ากษา ผู้พพิ ากษา

(......................................................) (......................................................)
เจา้ หนา้ ที่ เจ้าหน้าที่

..........................................................โจทก์
...................................................จาเลยท่ี 2
...................................ผูป้ กครองจาเลยท่ี 2

4. สาเนาคาพิพากษา ๓๘

สาหรับศาลใช้

(๒๒)
คาพพิ ากษา

คดหี มายเลขดาท่ี............./๒๕.......
คดหี มายเลขแดงท่ี........../๒๕.......

ในพระปรมาภิไธยพระมหากษตั ริย์

ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง

วันที่ เดอื น พุทธศกั ราช

ความอาญา

พนกั งานอยั การ สานกั งานอยั การสูงสดุ โจทก์

ระหวำ่ ง จาเลย

เรอื่ ง ความผิดต่อพระราชบญั ญตั กิ ารพนนั

โจทก์ฟ้องจาเลยให้การรับสารภาพ ข้อเทจ็ จรงิ ฟังได้ว่า.......(ลอกฟ้อง).........
พิพากษาว่า จาเลยมีความผิดตามพระราชบัญญัติการพนัน พ.ศ.๒๔๗๘
มาตรา ๔,๕,๖,๑๐,๑๒,๑๕ ขณะกระทาผิดจาเลยอายุ..............ปีเศษ ลดมาตราส่วนโทษให้
กง่ึ หนึ่งตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๗๕ เปน็ จาคุก............ปีและปรับ..............บาท
จาเลยให้การรับสารภาพมีเหตุบรรเทาโทษ ลดโทษให้กึ่งหนึ่งตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๗8 คงจาคุก...........ปีและปรับ............บาท พิเคราะห์รายงานของสถานพินิจและ
ค้มุ ครองเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานครแล้วเห็นว่า ความประพฤติโดยท่ัวไปของจาเลยยัง
ไม่มีข้อเสียหาย / แม้มีข้อเสียหายอยู่บ้างแต่ก็พอแก้ไขได้ จาเลยเพิ่งกระทาความผิดในคดี
นีเป็นครังแรกและถูกควบคุมตัวมาระยะหน่ึงแล้วคงพอทาให้จาเลยรู้สึกในการกระทาผิดบ้าง
นอกจากนันผปู้ กครองจาเลยกป็ ระสงค์จะรบั ตวั จาเลย

/กลับไป…

๓๙

สาหรับศาลใช้

(๓๑ ทวิ)

-2-

กลับไปอบรมดูแลเอง จึงเห็นควรให้โอกาสจาเลย กลับตนเป็นคนดีสักครัง อาศัยอานาจ
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๕๖ ให้รอการลงโทษจาเลยไว้ มกี าหนด ............ ปี
และให้คุมความประพฤติจาเลยไว้ภายในเวลาดังกล่าว โดยวางเงื่อนไขคุมความ
ประพฤติจาเลยดังนี

๑.ให้จาเลยมารายงานตัวต่อพนักงานคุมประพฤติทุก..........เดือนต่อครัง
ทุกครังที่จาเลยมารายงานตัวให้แพทย์ตรวจปัสสาวะจาเลยด้วย หากพบสารเสพติดให้
โทษ ใหร้ ายงานศาล

๒. ให้จาเลยประกอบอาชีพเป็นกิจจะลักษณะ ให้จาเลยตังใจศึกษาเล่า
เรียน โดยใหน้ าผลการเรยี นมาแสดงต่อพนกั งานคมุ ประพฤติ

๓. หา้ มจาเลยคบหาสมาคมกบั บุคคลที่มคี วามประพฤติไมด่ ี ห้ามจาเลย
เท่ียวเตรใ่ นเวลากลางคืนหรือในสถานเริงรมย์ทุกแห่ง เว้นแต่จะได้อนุญาตจากผู้ปกครอง
จาเลย และหา้ มเกย่ี วขอ้ งกับ ยาเสพติดให้โทษทุกชนดิ

๔. ให้จาเลยกระทากิจกรรมบริการสังคมหรือสาธารณะประโยชน์ตามท่ี
เจา้ หน้าทีม่ อบหมายจานวน........ชว่ั โมง

หากจาเลยไม่ชาระค่าปรับให้ส่งตัวจาเลยไปควบคุมท่ีศูนย์ฝึกและอบรม
กรุงเทพมหานคร มีกาหนด...................วัน ทังนีโดยอาศัยอานาจตามพระราชบญั ญัตศิ าล
เยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.๒๕๕๓ มาตรา
๑๔๕ วรรคหน่งึ

ใหจ้ าเลยจ่ายเงนิ สนิ บนนาจบั แก่ผูน้ าจบั

.............................................ผพู้ ิพากษา
.............................................ผู้พพิ ากษา
...................................ผพู้ ิพากษาสมทบ
...................................ผู้พพิ ากษาสมทบ

๔๐
สาหรบั ศาลใช้

(22)

คาพพิ ากษา

คดหี มายเลขดาที่........../๒๕......
คดหี มายเลขแดงที่......./๒๕…….

ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์

ศาลเยาวชนและครอบครวั กลาง

วันที่ เดือน พทุ ธศักราช

ความอาญา

พนกั งานอยั การ สานกั งานอัยการพิเศษฝ่ายคดีเยาวชนและครอบครวั โจทก์
จาเลย
ระหวำ่ ง

เร่อื ง ความผิดตอ่ พระราชบญั ญตั ิยาเสพติดให้โทษ

โจทก์ฟ้อง จาเลยให้การรับสารภาพ ข้อเท็จจริงฟงั ไดว้ า่ ............(ลอกฟ้อง)..................
พิพากษาว่า จาเลยมีความผิดตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒
มาตรา ๑๕ วรรคหนึ่ง, ๖๗ ขณะกระทาผิดจาเลยอายุ .............. ปีเศษ ลดมาตราส่วนโทษให้ กึ่งหน่ึง
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๗๕ จาคุก...........ปี............ เดือน จาเลยให้การรับสารภาพ มี
เหตุบรรเทาโทษ ลดโทษให้กึ่งหน่ึง ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๗๘ คงจาคุก............ปี.......
เดือน เม่ือได้คานึงถึงอายุ ประวัติ ความประพฤติ สติปัญญา การศึกษาอบรม สุขภาพ นิสัย อาชีพ
สิ่งแวดล้อม ทังสภาพ ของความผิด ประกอบกับรายงานแสดงข้อเท็จจริงเก่ียวกับเด็กหรือเยาวชนของ
สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนกรงุ เทพมหานครแล้ว เห็นว่า จาเลยกระทาความผดิ เพราะความ
เยาว์วยั หากไดร้ บั การอบรมขัดเกลานสิ ยั ความประพฤตนิ า่ จะเปน็ ผลดแี ก่จาเลย ยิ่งกว่าจะให้รบั โทษ

/จาคกุ ...

๔๑
สาหรับศาลใช้

(๓๑ ทวิ)

-2-

จาคุกอาศัยอานาจตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชน และ

ครอบครัว พ.ศ.๒๕๕๓ มาตรา ๑๔๒ (๑) จึงให้เปลยี่ นโทษจาคุกเป็นส่งจาเลยไปฝึกและอบรมท่ีศูนย์
ฝกึ และอบรมกรุงเทพมหานคร มีกาหนด............ปี นบั แต่วันนี

..........................................ผู้พิพากษา
..........................................ผ้พู ิพากษา
..…………………………ผพู้ พิ ากษาสมทบ
...............................ผพู้ ิพากษาสมทบ

๔๒

5. รายงานสืบเสาะข้อเท็จจรงิ ของสถานพนิ จิ ฯ

รายงานท.ี่ .........../25.......
วันทอี่ อกรายงาน..............
เลขคด.ี .............../25.......
(.......ตจ............../...........)
รายงานข้อเทจ็ จริงเกย่ี วกบั เยาวชน
สถานพนิ ิจและคุ้มครองเดก็ และเยาวชนกรุงเทพมหานคร

ข้าพเจ้าขอรายงานข้อเท็จจริง สาเหตุแห่งการกระทาความผิดเก่ียวกับเยาวชน และ
ความเห็นตามท่ีระบุไว้ในมาตรา 36(1) และมาตรา 82(2) แห่งพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและ
ครอบครัวและวธิ พี ิจารณาคดีเยาวชนและครอบครวั พ.ศ.2553 ดงั ต่อไปน้ี

ชือ่ - สกลุ เยาวชน........................................................................มชี ่อื เล่นว่า..........................เพศ...................
เลขประจาตัวประชาชน................................................................เกดิ วันท.่ี ......................................................
ปัจจุบันอาย.ุ ....................ปีเศษ....................สัญชาติ...........................................ศาสนา....................................
ชื่อ – สกุล บดิ า.....................................................ชือ่ - สกลุ มารดา..................................................................
ทอ่ี ยูข่ องบิดา........................................................................................................................................................
โทรศัพท์.................................................................
สถานภาพบิดามารดา.............................................
เปน็ บุตรคนที่......................ในจานวนบตุ ร.......................คน ของบิดามารดา
ปจั จบุ ันพักอยกู่ ับ.........................................................เก่ียวข้องกบั เยาวชนเป็น................................................
สถานท่ีตดิ ตอ่ .......................................................................................................................................................
วนั เดือน ปที ่ีรับตัว....................................ถกู กลา่ วหาวา่ กระทาผดิ ในขอ้ หา....................................................
หนังสอื แจง้ การดาเนนิ คดขี องสถานตี ารวจนครบาล..........................................................เลขที่.......................
ลงวนั ท.่ี ...................................................................
วนั เวลาที่เกิดเหตุ...................................................สถานทเี่ กดิ เหตุ.....................................................................
ชั้นพนกั งานสอบสวนเยาวชนใหก้ าร..................................................................................................................
ช้ันพนักงานคมุ ประพฤตเิ ยาวชนใหก้ าร..............................................................................................................
พฤตกิ ารณ์แห่งคดี เยาวชนให้ถ้อยคาต่อพนกั งานคมุ ประพฤติว่า
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................ จึงดาเนนิ คดนี ีกบั เยาวชน...................
ขอ้ หา
เยาวชนมีชื่อตัวและชื่อสกุลจริงปรากฏตามข้อมูลทะเบียนราษฎร์ เยาวชนมีช่ือในทะเบียนบ้านเลขท่ี
...........................................................................วา่ (นาย/นางสาว)................................................(ขอ้ มูลสว่ นตวั )

๔๓

ปัจจยั ความเสี่ยงความจาเป็น
1.ครอบครัว
การทาหน้าทขี่ องครอบครัว

วธิ กี ารควบคมุ พฤติกรรมของเยาวชน พบวา่
............................................................................................................................................... ...............................
.................................................................................................... ..........................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลกั ษณะความสัมพันธร์ ะหวา่ งบุคคลในครอบครัว พบวา่
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................................. .............
...................................................................................................................... ........................................................

แบบอยา่ งไม่ดีของบคุ คลในครอบครัวและบุคคลทเ่ี ยาวชนพักอาศยั อยดู่ ว้ ย พบว่า
............................................................................................................................. .................................................
........................................................................................................................................ ......................................
............................................................................................. .................................................................................

ความเจ็บป่วยทางสขุ ภาพกายและทางจิตของบุคคลในครอบครวั พบว่า
............................................................................................................................. .................................................
...................................................................................................................................................... ........................
........................................................................................................... ...................................................................

2. ชมุ ชนและสภาพแวดล้อม

เยาวชนพักอาศยั อยูก่ บั ...............................................บา้ นเลขท่ี............................................... .............
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๔๔

3. ภูมิหลงั ทางการศึกษา อาชีพ

เยาวชนเรียบจบชนั ............................................................................................................ .....................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.

นิสัย........................................................................................................................ ................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
................................................................................................................................... ...........................................

4. เพอื่ นและบคุ คลใกลช้ ิด

เยาวชนคบหาเพอ่ื น............................................................................................................. ......
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................... ..........................................

5. ประวัตกิ ารเก่ยี วข้องกับยา/สารเสพติด

................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

6. ประวตั กิ ารกระทาความผิด

................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

7. สภาวะทางกาย และจติ

................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................

๔๕

8. ปัญหาพฤตกิ รรมเกเร
............................................................................................................................. ...................................

..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ผลการประเมินความเส่ียงและความจาเป็น
................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

สาเหตแุ ห่งการกระทาความผดิ
................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..................... ผลการประชุมคณะกรรมการสหวชิ าชพี เม่อื วันที.่ .......................................................................

คณะกรรมการสหวิชาชีพมีข้อเสนอแนะสาหรับการแกไ้ ขฟื้นฟู รายละเอียด ดังนี้

1. ให้บดิ ามารดาและเยาวชนเขา้ รบั การปรกึ ษาจากนักจติ วทิ ยาหรอื นกั สังคมสงเคราะห์เพือ่
- เข้าร่วมกิจกรรมครอบครัวสัมพันธ์ เพ่ือให้มีทักษะแนวทางในการอบรมเลียงดูเยาวชนให้เหมาะสม

ตลอดจนทกั ษะการส่ือสารเชงิ บวกเกย่ี วกบั บุตรที่เปน็ วยั ร่นุ
- ................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................... .....

2. ให้เยาวชนพบนกั จติ วทิ ยาหรอื นักสงั คมสงเคราะหเ์ พือ่
- สร้างแรงจูงใจให้เยาวชนเห็นคุณค่าของตนเอง เห็นความสาคัญของการศึกษา และวางเป้าหมายการ

เรยี น การประกอบอาชีพ ให้เยาวชนเรียนจบการศึกษาภาคบังคับ และนาผลการเรียนมาแสดงเมื่อมา
รายงานตวั
- ให้เยาวชนรับรู้ถึงโทษและพิษภัยของการสูบบุหร่ี การด่ืมแอลกอฮอล์ และพิษภัยของสารเสพติดให้
โทษทกุ ประเภท และบทลงโทษตามกฎหมายอาญาสาหรับผ้เู สพและผูจ้ าหน่าย
- ให้เยาวชนได้รัยความรู้เร่ืองกฎหมาย และบทลงโทษเก่ียวกับการพกพาเคร่ืองกระสุนปืน และ
กฎหมายท่ัวไปทีป่ ระชาชนควรรู้

(........................................................)
พนกั งานคุมประพฤตผิ สู้ ืบเสาะข้อเท็จจรงิ

๔๖

ความเหน็ ของผู้อานวยการสถานพินิจและคมุ้ ครองเด็กและเยาวชนเกยี่ วกับสาเหตแุ ห่งการกระทา
ความผดิ
การลงโทษ หรือการใช้วธิ กี ารสาหรับเด็กและเยาวชน

................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................. ................................
..................................................................................................................................... .........................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................... ...................................
ข้อมูลอนื่ ๆ................................................................................................................................................. ........
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................... .........
...................................................................................................................... ........................................................

(.........................................................)
พนักงานคมุ ประพฤติชานาญการพเิ ศษ ปฏบิ ัตริ าชการแทน
ผู้อานวยการสถานพนิ ิจและคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชนกรุงเทพมหานคร

๔๗

6. แบบบนั ทึกคดั กรอง

แบบบันทกึ “โครงการตดิ ตาม แนะนา ชว่ ยเหลอื เด็กและเยาวชน

ฝ่ายคดั กรอง

1.ข้อมลู เบ้ืองต้น

1.1 ชอ่ื (ด.ช./ด.ญ./นาย/นางสาว...............................................นามสกลุ ............................................

วนั /เดือน/ปเี กดิ .........................................................................................อายุ..................................................ปี

เลขทีบ่ ตั รประจาตวั ประชาชน.................................................................เชือชาติ................................................
สญั ชาต.ิ ................................ศาสนา...................................................................................................................

ทีอ่ ยู่ปัจจบุ ัน (ที่สามารถติดต่อได้) บ้านเลขที่..................................ซอย..............................................................

ถนน...........................................ตาบล/แขวง..........................................อาเภอ/เขต……….…...……………………….

จงั หวัด..............................................รหัสไปรษณีย.์ ...............................โทรศพั ท์(บ้าน).......................................

โทรศัพท์มือถือ..............................................................โทรศพั ท์มือถอื ของเพ่ือนสนิท........................................

1.2 สถานภาพ ( ) โสด ( ) สมรส ( ) หยา่ ร้าง

1.3 วฒุ กิ ารศกึ ษา (สูงสดุ ) ( ) ประถมศกึ ษา ( ) มัธยมศกึ ษาตอนต้น

( ) มัธยมศึกษาตอนปลาย ( ) ปวช. ( ) ปริญญาตรี ( ) สงู กว่าปรญิ ญาตรี

1.4 อาชพี ( ) ว่างงาน ( ) นักเรียน/นักศึกษา ( ) รบั จา้ ง ( ) ค้าขาย

( ) ขา้ ราชการ/รัฐวิสาหกจิ ( ) พนักงานเอกชน ( ) อน่ื ๆ(ระบุ).....................................

รายได้จากการประกอบอาชีพ....................................บาท/วนั หรือ....................................บาท/เดือน

1.5 พักอาศัยอยกู่ ับ ( ) บิดามารดา( ) บิดา ( ) มารดา ( ) ญาต(ิ ระบุ).......................

( ) นายจ้าง ( ) เพอ่ื น ( ) อยตู่ ามลาพัง ( ) คนรัก

1.6 สภาพครอบครัว ( ) บดิ ามารดาอยู่ดว้ ยกนั ( ) บดิ ามารดาแยกกันอยู่

( ) บิดามารดาเสียชวี ิต ( ) อืน่ ๆ (ระบุ)..................................


Click to View FlipBook Version