The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โภชนศาสตร์เบื้องต้น (2)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pumpuipong, 2022-06-22 02:12:08

โภชนศาสตร์เบื้องต้น (2)

โภชนศาสตร์เบื้องต้น (2)

โภชนศาสตร์ ง า น นำ เ ส น อ โ ด ย
เบื้องต้น เ ซ อ ร์ โ ร นั ล ด์ เ ด็ ค

(PRINCIPLES OF ANIMAL NUTRITION)

โ ด ย น า ง ส า ว ธ น า พ ร สุ ข เ รื่ อ ย

สว นประกอบของรา งกายสัตว์และอาหารสัตว์

อาหารที่สัตวก ินเขา ไปจะมีสวนเกี่ยวขอ งกับกิจกรรมทางเคมีและสรีรวิทยาหลายอยา งในรางกายสัตว รางกายของสัตวจ ะทําการเปลี่ยนอาหาร
ใหไ ปเปนสว นประกอบตาง ๆ ดังนั้นจึงควรจะไดเ รียนรูถึงสวนประกอบของรา งกายสัตวไวบางพอสมควร

สว นประกอบของรา งกายสัตว์และอาหารสัตว์

สว นประกอบของรา งกายสัตว์และอาหารสัตว์

รางกายสัตวประกอบดว ยแรธาตุหลายชนิดซึ่งพบอยูต ามสวนตาง ๆ ของรา งกายสัตวป ริมาณที่มีอยูจ ะแตกตางกันออกไป ทั้งนี้ก็ขึ้นอยูก ับหนา ที่ของ
แรธ าตุเชน นั้น ๆ เปน สําคัญ แรธาตุหลักที่เปนสว นประกอบของรา งกายสัตวม ีดัง ตารางที่2

เลือด

ร่า ง ก า ย สัตว์ประก อ บ ไ ป ด้ว ย เลือดปร ะ มาณ 5- 1 0%
ข อง น้ํา ห นัก ตัว ทั้ง นี้ก็ขึ้น อ ยู่กับ ช นิดข อง สัตว์แ ละ
สภ า พ ข อ ง อา ห า รที่ไ ด้รับ

หน้ าที่ของเลือด

นําอาหารจากทางเดินอาหารไปยังเนื้อเยื่อต่าง ๆ
นําออกซิเจนจากปอดไปสู่เนื้อเยื่อตาง ๆ
นําของเสีย (waste products) ที่เกิดจากการเม
ต ะ โ บ ลิ ซึ ม ข อ ง เ นื้ อ เ ยื่ อ ไ ป สู่ อ วั ย ว ะ ที่ มี ห น้ า ที่ ขั บ ข อ ง
เ สี ย อ อ ก จ า ก ร่ า ง ก า ย
นําสิ่งที่ขับออกมาจากต่อมไร้ท่อ(endocrine or
ductless glands) เช่น พวกฮอร์โมนไปยัง
เ นื้ อ เ ยื่ อ
รั ก ษ า ค ว า ม ส ม ดุ ล ข อ ง น้ํ า ภ า ย ใ น ร่ า ง ก า ย สั ต ว์
ช่ ว ย ค ว บ คุ ม อุ ณ ห ภู มิ ข อ ง ร่ า ง ก า ย
ช่วยต่อต้านพวกจุลินทรีย์ต่าง ๆ
เ กี่ ย ว ข อ ง กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม ค ว า ม เ ข้ ม ข้ น ข อ ง อิ อ อ น
ไนโตรเจน (hydrogen ion concentration)ใน
ร่ า ง ก า ย สั ต ว

สว นประกอบของเลือด

เลือดประกอบด้วยส่วนที่เป็นของเหลว เรียกว่า
พลาสมา (plasma) และส่วนที่เป็นเม็ดเลือดหรือเซลล์
(corpuscles or cells) ซึ่งจะลอยตัวอยู่ในพลาสมา
ส่ ว น ที่ เ ป็ น เ ซ ล ล์ ไ ด้ แ ก่
-เม็ดเลือดแดง (erythrocytes or red blood cells)
-เม็ดเลือดขาว(leukocytes or white blood cells)
-แผ่นเลือด(thrombocytes or platelets)

ส่วนที่เป็นพลาสมาจะมีของแข็ งประมาณ 10% ครึ่ง
หนึ่งของของแข็ งจะเป็นพวกโปรตีน ส่วนที่เหลือครึ่งหนึ่ง
เป็นพวกไขมัน, น้ําตาล, สารประกอบที่ไม่ใช่โปรตีน แต่มี
ไนโตรเจนอยู่ด้วย (non-protein nitrogenous
compounds) และเกลืออนินทรีย์(inorganic salts) แร่
ธาตุที่สําคัญได้แก่โซเดียม คลอรีน โปแตสเซียม แคลเซียม
แมกนีเซียม ฟอสฟอรัส และแร่ธาตุอื่น ๆ

เลือด

ร่า ง ก า ย สัตว์ประก อ บ ไ ป ด้ว ย เลือดปร ะ มาณ 5- 1 0%
ข อง น้ํา ห นัก ตัว ทั้ง นี้ก็ขึ้น อ ยู่กับ ช นิดข อง สัตว์แ ละ
สภ า พ ข อ ง อา ห า รที่ไ ด้รับ

สว นประกอบของพืช (Composition of plants)

อาหารเปน แหลง ที่ใหโ ภชนะตา ง ๆ แกสัตวส ัตวรับเอาโภชนะตา ง ๆ ไปใชในการซอมแซม, ใชเปน สวนประกอบของรา งกายและใชใ นการสรา งผลิต
ผลตาง ๆ เชนเนื้อ นม ไขแ ละขนสัตวนอกจากนี้อาหารยังเปนแหลง ใหพ ลังงาน อาหารที่ใชเ ลี้ยงสัตวสว นใหญจ ะไดมาจากทางพืช แตก ็มีสัตวบ างชนิดเทา นั้นที่กิน
เนื้อเปน อาหาร ฉะนั้น แทบจะกลาวไดวา พืชเปนแหลง อาหารที่สําคัญในการดํารงชีพของสัตวพ ืชรับพลังงานจากแสงแดดเอาไปสรางเปน สารอาหารซึ่งจะเปนอา
หารสําหรับสัตวพ ืชใชคารบ อนไดออกไซดน ้ํา ไนเตรต และเกลือแรอ ื่น ๆ ในการสรา งคารโบ ไอโดรต ไขมัน และโปรตีน สัตวจ ะใชโภชนะดังกลา วในการเสริม
สรางรา งกายและนําโภชนะไปทําใหเกิดการสลายตัว ดูดซึมไปใชในการดํารงชีวิต

สว นประกอบของพืช (Composition of plants)

พืชประกอบดว ยสารตาง ๆ เชน เดียวกับที่พบในรางกายสัตวแตปริมาณที่มีอยูจ ะแตกตางกัน พืชตา งชนิด (species) ก็ยิ่งมีองคป ระกอบแตกตางกันไดมาก
พืชทุกชนิดจะมีน้ําเปนองคป ระกอบซึ่งถือเปน องคประกอบที่สําคัญ จํานวนน้ำในพืชจะลดลงเมื่อพืชแกตัวขอ แตกตา งระหวา งสวนประกอบของพืชและสัตวค ือวัตถุ
แหง (dry matter) วัตถุ แหงของพืช ประกอบดวยคารโบไฮเดรตเปน สวนใหญ ทั้งนี้ก็เนื่องจากคารโบไฮเดรตเปนสว นประกอบที่สําคัญของโครงสรา งพืช และ
เปน แหลงสํารองอาหารของพืช แตในสัตวน ั้นโครงสรางประกอบดว ยโปรตีนโดยเฉพาะเนื้อเยื่อที่ออ นนุม (soft tissues) ในรางกายสัตวพบวา มีคารโ บไฮเดรต
เพียงเล็กนอ ยเทา นั้น เชน พบตามตับ กลา มเนื้อและเนื้อเยื่อ คารโ บไฮเดรตเปนอาหารที่สําคัญของสัตวเ พราะเปน แหลงใหพลังงานแกส ัตวแ ละสัตวยังสามารถ
เปลี่ยน คารโ บไฮเดรตไปเปน ไขมัน เก็บไวตามสวนตาง ๆ ของรา งกาย

โปรตีนในพืช

โปรตีนจะพบในเนื้อเยื่อเจริญของพืช ดังนั้นในใบพืชจึงมีโปรตีนมาวา ในตนพืช
ในใบของพืชตระกูลถั่วจะ มีโปรตีนมากกวาในใบของพืชตระกูลหญา
เมื่อพืชแกตัวโปรตีนที่อยูสูงตามสว นตา ง ๆ จะเคลื่อนตัวไปอยูท ี่เมล็ดพืช
ดังนั้นเมื่อพืชโตเต็มที่เมล็ดพืชจะมีโปรตีนมากกวา สว นอื่น ๆ ของพืช

ไขมันในพืช

ไขมัน พบมากในใบพืชมากกวาในลําตนพืช แตไขมันพบมีมากที่สุดในเมล็ดพืช ทั้งนี้
เนื่องจากเมล็ดพืชเก็บไขมันไวเ ปนพลังงานสําหรับใชในการงอกในพืชหลายชนิดเชน ขาว
โพดและธัญพืชอื่น ๆ (cereals) จะเก็บพลังงานไวในรูปของคารโบไฮเดรตแตสําหรับ
เมล็ดพืชน้ำมัน เชนเมล็ดถั่วเหลือง เมล็ดฝายจะเก็บพลังงานไวในรูปของการสกัดน้ำมัน
เชนกากถั่วเหลืองกากเมล็ดฝาย นําไปใชเ ปนอาหารสัตวเมล็ดพืชน้ำมันนอกจากมีน้ำมัน
สูงแลว ยังมีโปรตีนสูง กวา โปรตีนในเมล็ดธัญพืช

คาร์โบไฮเดรต

ผลิตผลที่ไดจ ากพืชทุกชนิดสวนใหญจะไดใ นรูปคารโบไฮเดรต รูปของคารโบไฮเดรต
ที่อยูตามสวนตาง ๆ ของพืชจะแตกตางกัน เชน คารโ บไฮเดรตที่พบอยูตามเมล็ดจะอยูใน
รูปของแปง (starch) เปน สว นใหญ สว นลําตน และใบจะมีเซลลูโลสมาก ตามเปลือก
นอกของเมล็ดประกอบดวยเซลลูโลสและสารประกอบอื่น ๆ ที่ยอ ย ยากในทางอาหาร
สัตวจัดเซลลูโลสและสารที่ยอยยากไวเ ปน พวกเยื่อใยสวนตา ง ๆ ของพืชจะมีคุณคา ทาง
อาหารมากหรือนอ ยก็ขึ้นอยูก ับการที่สัตวส ามารถจะยอ ยไดม ากหรือนอยอาหารที่มีเยื่อ
ใยสูง เชน หญา แหง ฟางขาวและหญาสด มักมีการยอยไดต่ําอาหารพวกนี้จัดไวเปนอา
หารหยาบ สว นอาหารขนเปนอาหารที่มีเยื่อใยต่ําการยอ ยไดจึงสูงกวาอาหารหยาบ

แร่ธาตุ

แรธาตุที่มีอยูใ นพืชมีปริมาณแตกตา งกันซึ่งขึ้นอยูกับชนิดของพืช พืชชนิดเดียวกันมีแรธ าต
อยูต ามสวนตาง ๆ แตกตางกัน เปรียบเทียบระหวา งพืชและสัตวแลว รา งกายสัตวมีปริมาณแรธ าตุ
มากกวาในพืช แมว า พืชจะมีแรธ าตุอยูน อยแตแรธาตุก็มีความสําคัญตอการเจริญเติบโตของพืช
แรธาตุที่สําคัญในพืชเชน ฟอสฟอรัส โปแตสเซียม ซัลเฟอร แคลเซียม เหล็กและแมกนีเซียม
นอกจากนี้ก็มีแรธ าตุที่จําเปน ชนิดอื่น ๆ พืชไดรับแรธาตุจากพื้นดินในรูปของสารละลาย
พวกเกลือแรโ ดยการดูดซึมผานทางรากพืช แรธาตุที่พบสว นใหญจะเปน สวนประกอบของ
สารอินทรียเ ชน ซัลเฟอรเ ปน สวนประกอบของโปรตีน ฟอสฟอรัสเปนสว นประกอบของโปรตีนและ
ฟอสโฟลิพิด (phospholipids) แมกนีเซียมเปน สวนประกอบที่สําคัญของ คลอโรฟว ล
(chlorophyll) สําหรับธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัสซึ่งเปน แรธ าตุสําคัญสําหรับสัตวนั้น ในพืชพบ
แคลเซียมในใบมากกวา สว นที่เปนลําตน เมล็ดพืชมีแคลเซียมนอยกวาสว นอื่น ๆ ของพืช ตรงกัน
ขา มธาตุฟอสฟอรัสจะพบวา มีมากในเมล็ดธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัสในพืชจะมีมากนอ ยเพียง
ใดขึ้นอยูกับดินที่ใชปลูกพืชและปัจจัยอื่น


Click to View FlipBook Version