The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวีดีโอ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nattaya.june2532, 2020-05-23 02:39:02

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวีดีโอ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวีดีโอ

c

ความร้เู บื้องตน้ เกี่ยวกบั การตดั ตอ่ วดี โี อ

ความรู้เบือ้ งตน้ เกย่ี วกบั การตัดตอ่ วดี ีโอ

วิดีโอเป็นองคป์ ระกอบของมลั ติมเี ดียทมี่ คี วามสาคญั เปน็ อย่างมาก
เนอ่ื งจากวดิ ีโอในระบบดิจติ อลสามารถนาเสนอขอ้ ความหรือรปู ภาพ (ภาพน่งิ หรอื
ภาพเคลอ่ื นไหว) ประกอบกับเสียงได้สมบูรณม์ ากกวา่ องคป์ ระกอบชนดิ อ่ืนๆ

ชนิดของวดี โี อ

วิดโี อท่ใี ช้งานอยู่ในปัจจบุ นั สามารถแบง่ ได้เปน็ 2 ชนิดคอื
1. วิดโี ออะนาลอก (Analog Video) เป็นวดี ีโอที่ทาการบนั ทกึ

ข้อมลู ภาพและเสยี งให้อยู่ในรปู ของสัญญาณอนาลอก (รูปของคลน่ื ) สาหรบั วดี ีโอ
ประเภทนี้ เช่น VHS (Video Home System) ซ่งึ เปน็ ม้วนเทปวีดโี อท่ใี ช้ดกู ันตาม
บ้าน เมือ่ ทาการตดั ตอ่ ข้อมลู ของวดี ีโอชนิดน้ี อาจจะทาใหค้ ุณภาพลดน้อยลง

ชนดิ ของวีดโี อ

2. วดี ีโอดิจิตอล (Digital Video) เปน็ วีดโี อทท่ี าการบนั ทกึ ข้อมูลภาพและเสียงท่ี
ไดม้ าจากกล้องดิจติ อล ให้อยูใ่ นรปู ของสัญญาณดจิ ติ อล คอื 0 กบั 1 สว่ นการตดั ตอ่
ข้อมูลของภาพและเสยี งท่ไี ด้มาจากวดี โี อดจิ ิตอลน้นั จะแตกต่างจากวดี ีโออนาลอก
เพราะขอ้ มลู ทไี่ ด้จะยงั คงคณุ ภาพความคมชดั เหมอื นกับข้อมูลต้นฉบบั

ประโยชน์ของงานวดิ โี อ

1. แนะนาองค์กรและหน่วยงาน การสร้างงานวิดโี อเพือ่ แนะนาสถานทตี่ ่างๆ หรอื
ในการนาเสนอขอ้ มูลภายในหน่วยงานและองคก์ ร เพ่ือสรา้ งความนา่ สนใจให้กบั ผู้ชม
2. บันทึกภาพความทรงจา และเหตกุ ารณส์ าคญั ต่างๆ เช่น งานแตง่ งาน งานรบั
ปริญญา
3. การทาสอ่ื การเรียนการสอน คณุ ครูสามารถสรา้ งสือ่ การสอนในรูปแบบวิดโี อไว้
นาเสนอได้หลายรูปแบบ

ประโยชน์ของงานวดิ โี อ

4. การนาเสนอรายงาน วิทยานพิ นธ์ และงานวิจัยต่างๆ ซ่ึงปรับเปลี่ยนการ
นาเสนองานจากรูปแบบเดิม
5. วดิ โี อสาหรบั บุคคลพิเศษ บุคคลสาคัญในโอกาสพิเศษ เช่น ผูจ้ ะเกษียณอายุ
จากการทางาน วันแตง่ งาน

มาตรฐานการแพร่ภาพวดี โี อ

มาตรฐานการแพร่ภาพทง้ั สาม ได้แก่ NTSC, PAL และ SECAM เปน็ มาตรฐานที่
นิยมใช้กันในหลายพนื้ ทีท่ ่วั โลก และไดม้ ีการพัฒนามาตรฐานใหมข่ ึน้ มา
เรียกว่า “HDTV (High-Definition Television” ทาให้ผูผ้ ลติ มลั ตมิ ีเดียจาเป็นท่ี
จะต้องทราบถงึ มาตรฐานที่ใช้งานในแตล่ ะพนื้ ท่อี ย่างเหมาะสม

มาตรฐานการแพร่ภาพวดี ีโอ

- National Television System Committee (NTSC) เป็นหน่วยงานที่
รบั ผิดชอบในการต้ังมาตรฐานท่เี กยี่ วกับโทรทัศนแ์ ละวดี โี อในสหรัฐ มาตรฐานน้ีเปน็
การเขา้ รหสั ขอ้ มลู แบบสญั ญาณอเิ ลก็ ทรอนิกส์ กาหนดใหส้ รา้ งภาพดว้ ยเสน้ ใน
แนวนอน 525 เส้นตอ่ เฟรม ในอตั รา 30 เฟรมตอ่ วินาที มสี ี 16 ล้านสีทแี่ ตกต่างกัน
และอตั รารีเฟรช เปน็ 60 Halt-Frame (Interlace) ตอ่ วนิ าที

มาตรฐานการแพร่ภาพวดี โี อ

- Phase Alternate Line (PAL) เป็นมาตรฐานของโทรทัศน์และวดี ีโอท่ีนิยม
ในแถบยุโรป รวมถงึ ไทยด้วย เป็นการสรา้ งภาพจากแนวนอน 625 เสน้ ต่อเฟรม ใน
อัตรา 25 เฟรมต่อวินาทแี ละทาการแสดงภาพดว้ ยวิธี Interlacing แต่จะแสดงภาพ
ในอัตรารีเฟรช เป็น 50 Halt-Frame ต่อนาที

มาตรฐานการแพร่ภาพวดี โี อ

- Sequential Color and Memory (SECAM) เป็นมาตรฐานของการแพร่
สญั ญาณโทรทัศนแ์ ละวีดโี อท่ใี ช้กันในฝร่ังเศส ยุโรปตะวนั ออก ตะวนั ออกกลาง และ
ประเทศในพนื้ ทใ่ี กล้เคยี ง ทาการแพร่สัญญาณแบบอนาลอก สว่ นการสรา้ งภาพจะ
เปน็ 819 เส้น ดว้ ยอตั รารีเฟรช 25 เฟรมต่อวินาที ซ่งึ จะแตกตา่ งจาก
มาตรฐาน NTCS และ PAL ในเรอ่ื งการผลิต วิธีการแพรภ่ าพออกอากาศ

มาตรฐานการแพร่ภาพวดี โี อ

- High Definition Television (HDTV) เปน็ เทคโนโลยขี องการแพร่ภาพ
โทรทัศน์ทถ่ี กู พฒั นาขึ้นมา เพือ่ แสดงภาพทมี่ ีความละเอียดสูง คือ 1280x720 ซง่ึ เปน็
ความละเอียดสาหรบั การแสดงภาพเช่นเดียวกบั โรงภาพยนต์

แนวคดิ ในการสร้างวดิ โี อ

กอ่ นทีล่ งมอื สร้างผลงานวดิ โี อสักเรื่อง จะต้องผ่านกระบวนการคิด วางแผนมา
อยา่ งรอบครอบ ไม่ใช่ไปถ่ายวิดโี อแล้วก็นามาตดั ตอ่ เลย โดยไมม่ กี ารคดิ ให้ดีก่อนท่ีจะ
ถา่ ยทา เพราะปัญหาท่ีมักเกดิ ข้นึ เสมอกค็ อื การท่ีไม่ได้ภาพตามที่ต้องการ เนอื้ หาท่ี
ถ่ายมาไม่สอดคล้องกบั ส่งิ ทีต่ อ้ งการนาเสนอ

แนวคดิ ในการสร้างวดิ ีโอ

1. เขียน Storyboard ส่ิงแรกท่ีเราควรเรยี นรกู้ อ่ นสรา้ งงานวดิ โี อ ก็คือ การ
เขียนStoryboard คอื การจนิ ตนาการฉากต่างๆ กอ่ นทีจ่ ะถา่ ยทาจริง
ในการเขียน Storyboard อาจวธิ ีงา่ ยๆ ไม่ถงึ ขนาดวาดภาพปรกอบก็ได้ เพียงเขยี น
วัตถปุ ระสงค์ของงานใหช้ ดั เจนวา่ ตอ้ งการสื่ออะไรหรืองานประเภทไหน
2. เตรียมองค์ประกอบตา่ งๆ ที่ต้องใช้ ในการทางานวิดีโอ เราจะต้องเตรียม
องคป์ ระกอบตา่ งๆ ใหค้ รบถ้วน ไมว่ า่ จะเป็นไฟลว์ ิดโี อ ไฟล์ภาพนิ่ง ไฟล์เสยี ง หรอื
ไฟลด์ นตรี

แนวคดิ ในการสร้างวดิ โี อ

3. ตดั ต่องานวิดีโอ การตัดต่อคอื การนาองค์ประกอบต่างๆ ท่เี ตรียมไวม้ าตดั ตอ่
เปน็ งานวดิ โี อ งานวิดโี อจะออกมาดนี ่าสนใจเพียงใดขึน้ อยู่กับ การตดั ตอ่ เป็นสาคัญ
4. ใส่เอ็ฟเฟก็ ต์/ตัดตอ่ ใส่เสยี ง ในข้ันตอนการตัดตอ่ เราจะตอ้ งตกแต่งงานวดิ ีโอ
ดว้ ยเทคนิคพิเศษตา่ งๆ ไม่ว่าจะเป็นการเล่นสี การใส่ขอ้ ความ หรือเสยี ง
ดนตรี
5. แปลงวดิ โี อ เพือ่ นาไปใช้งานจรงิ ข้ันตอนการแปลงวิดโี อเปน็ ขั้นตอนสุดท้าย
ในการทางานวิดีโอทเี่ ราไดท้ าเรียบรอ้ ยแล้วน้นั ไปใชง้ านซ่งึ จะชว่ ยใหง้ านมีสีสนั
และนา่ สนใจมากยง่ิ ข้ึน


Click to View FlipBook Version