The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

tipajournal
Thai Industrial Pharmacist Association
Volume9 Issue 2 September 2021
(Online)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tipajournal, 2021-10-05 12:29:55

TIPAJournal_Volume9_Issue2_2021

tipajournal
Thai Industrial Pharmacist Association
Volume9 Issue 2 September 2021
(Online)

ISSN 2773-9198 (online) Volume 9
Issue 2

September 2021

www.tipa.or.th

ANALYSIS OF ANTIVIRALS

and other Therapeutic Drug Candidates for COVID-19

Coronavirus disease (COVID-19 is an Application and Monograph
infectious disease caused by a newly
discovered coronavirus SARS-CoV-2. • Lopinavir Ph Eur 10 compliant Assay
Currently, there are no specific Method
vaccines or treatments for COVID-19.
However, there are many ongoing • Lopinavir and Ritonavir Tablets USP 43 NF
clinical trials evaluating potential thera- 38 compliant monograph
peutic drug candidates.
• Dexamethasone USP 43 NF 38 compliant
Our offering for Analysis: methods

• Standards and Reference Materials • Fingolimod Hydrochloride USP 43 NF 38
• HPLC, UHPLC Columns, Accessories compliant monograph

and Solvents • Chloroquine Phosphate USP 43 NF 38
• TLC products and Chemicals compliant monograph
• GC and Sample preparation
• Filtration, Buffers and Reagents • Analysis of Remdesivir and other antiviral
• Water Purification Solutions drugs by LC MS/MS

• Certified Reference Material for Favipiravir,
Lopinavir, Ritonavir, Chloroquine and
Dexamethasone

Merck Ltd. Thailand

19th Floor, Emporium Tower,
622 Sukhumvit Road, Klongton,

Klongtoey, Bangkok 10110
Tel. : +66 (0) 2667 8000
Fax : +66 (0) 2667 8338

Customer Care Center : +66 (0) 2667 8333
www.mercklifescienceth.com

Facebook : Merck Thailand : Life Science
Line official : Merck Thailand



ISO 9001:2015 THE AUTO-INFO CO., LTD.

CERTIFIED 1359 Soi Ladprao 94 (Panjamitr), Ladprao Rd, Plubpla, Wangthonglang, Bangkok 10310

Tel: 0-2934-5410-6 Fax: 0-2934-5417 E-mail : [email protected] www.auto-info.co.th

GDP Online Systems

Temp Sensor (SIEMEGNDSPCBoonxtroller) (SIEMEGNDSPCBoonxtroller) Cloud Server

GDP Transportation

TemLpifeeraStcuierencMe aEpxppienrgtiTseools Cloud Server

Temperature Sensor

Te(mFopr MSaalpepoinrgRTeonot)ls

Data Collection and Analysis





บทบรรณาธกิ าร

ในปี พ.ศ. 2564 สมาคมเภสัชกรอุตสาหการ ก อ ง บ ร ร ณ า ธิ ก า ร น า เ ส น อ บ ท สั ม ภ า ษ ณ์
(ประเทศไทย) ได้ปรบั เปลีย่ นรปู แบบของวารสารจาก ภก.ลือชา วรวิวรรธน์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไบ
แบบพิมพ์เป็นเล่มเปน็ รูปแบบออนไลน์ โดยสามารถ โอจีนีเทค จากัด บทปกิณกะหลากหลายเรื่อง แถม
เข้าถึงได้โดยไม่ได้จากัดเฉพาะสมาชิกของสมาคมฯ ทา้ ยดว้ ยภาพกิจกรรมของสมาคมฯ
เท่านั้น เภสัชกรทุกท่าน รวมทั้งผู้สนใจสามารถอ่าน
วารสารนี้ได้ผ่านเว็บไซต์ของสมาคม นอกจากน้ัน คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านสมาชกิ จะ
สมาคมฯ โดยปรบั ชื่อวารสารใหมใ่ ห้สอดคล้องกับชื่อ ได้รับประโยชน์จากวารสารน้ีตามสมควร ท้ังนี้กอง
บรรณาธิการมีความมุ่งม่ันต้ังใจท่ีจะพัฒนาคุณภาพ
ของสมาคมฯ ซึ่งได้มีการเปล่ียนชื่อไปก่อนหนา้ น้ี และเน้ือหาให้ดีย่ิง ๆ ข้ึน ท้ังเชงิ วิชาการและวิชาชีพ
วารสารเภสัชกรอุตสาหการ ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 และขอน้อมรับข้อเสนอแนะจากท่านผู้อ่าน เพ่ือ
นามาปรับปรุงคุณภาพของวารสารให้ดีย่ิงขึ้นใน
เดือน กันยายน พ.ศ. 2564 ประกอบด้วยบทความ โอกาสต่อไปเพ่ือเป็นประโยชน์สูงสุดแก่มวลสมาชิก
หลากหลาย ท้ังจากท่านผู้ทรงคุณวุฒิ นักวิจัย และ และวชิ าชพี เภสัชกรรม 
เภสัชกรผู้ปฏิบัติงานวิชาชีพในแวดวงเภสชั กรรมอตุ -
สาหการเช่นเดิม บทความวิชาการสาหรับการศกึ ษา ศ.ดร.ภก.พรศกั ดิ์ ศรอี มรศักดิ์
ต่อเน่ือง ทางด้านเภสัชกรรมอุตสาหการ 2 เร่ือง บรรณาธิการ
เทคนิคทางเลอื กสาหรับศึกษาลักษณะฟิล์มและเมม
เบรน และ เทคโนโลยีอนุภาคสาหรับการปรับปรุง [email protected]
การละลายและชวี ประสิทธิผลของยาละลายนายาก

บทความวิชาการ 1 เรื่อง คือ Pharmaceutical
water storage & distribution systems –
Microbial control และบทความเก่ียวข้องกับ
ประสบการณ์วิชาชีพ ได้แก่ วิทยาลัยเภสัชกรรมอุต
สาหการแห่งประเทศไทย (วภอ.) และ ประสบการณ์
โควดิ ในวนั ท่ตี อ้ งรับผดิ ชอบชวี ิตคนหลายรอ้ ย

วารสารเภสัชกรอตุ สาหการ ปที ่ี 9 ฉบบั ท่ี 2 (2564) i

วารสารเภสชั กรอตุ สาหการ

Thai Industrial Pharmacist Association (TIPA) Journal

ISSN 2286-8968

วัตถุประสงค์ บรรณาธิการ
วารสารเภสัชกรอุตสาหการ (TIPA Journal) เป็น ศ.ดร. ภก.พรศกั ดิ์ ศรอี มรศักด์ิ

ว า ร ส า ร ท า ง วิ ช า ก า ร ข อ ง ส ม า ค ม เ ภ สั ช ก ร ก า ร ผชู้ ่วยบรรณาธกิ าร
อุตสาหกรรม (ประเทศไทย) จัดทาขึ้นเพ่ือพิมพ์เผยแพร่ ภก.อนวัช มติ รประทาน
ต้นฉบับและบทความที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้ทางเภสัช ภก.ชัยสณั ฑ์ ศรีวชิ ชพุ งษ์
อุตสาหกรรม ( industrial pharmacy; manufacturing
pharmacy) เทคโนโลยีเภสัชกรรม (pharmaceutical กองบรรณาธิการ
technology) เภสัชการ (pharmaceutics) รวมท้ังเน้ือหา ภญ.โศรดา หวงั เมธกี ลุ
และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง เช่น เภสัชตารับ (pharmacopeia) ผศ.ดร.ภก.สถาพร นิ่มกลุ รตั น์
วิธีปฏิบัติท่ีดีทางการผลิต (Good Manufacturing Practice; ผศ.ดร.ภญ.สนุ ทรา เอกอนนั ต์กุล
GMP) ชวี สมมูล (bioequivalence) การประกนั คณุ ภาพ/การ รศ.ดร.ภก.ศรสี กุล สงั ขท์ องจีน
ค ว บ คุ ม ค ุณ ภ า พ ( quality assurance/ quality ภญ.พฒั นา มงั จกั ร
control) เภสชั ภัณฑก์ มั มนั ตรังสี (radiopharmaceuticals) ภญ.ปทมุ พร ชนวฒั นะกลุ
เภสั ชกรรมเชิ งฟิ สิ กส์ ( physical pharmacy) เ ค ร่ื อ ง ภก.วทิ ยา นาคาชน
สาอาง (cosmetics) เทคโนโลยีชีวภาพ (biotechnology) ภญ.สริ ิลักษณ์ บวั เจริญ
การเผยแพร่วารสารน้ีทาท้ังในลักษณะรูปเล่ม และในรูป ภญ.ทัศนา ประวเิ ศษ
วารสารอิเล็กทรอนิกส์ (e-journal) ผา่ นเวบ็ ไซตข์ องสมาคม ภก.ศรตุ พ่ึงพระ
เภสัชกรการอุตสาหกรรม (ประเทศไทย)
เจา้ ของ
วารสารเภสัชกรอตุ สาหการ มีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อเพ่ิมพูน สมาคมเภสัชกรอุตสาหการ (ประเทศไทย)
ความรู้ สง่ เสริมวทิ ยาการและความ ก้าวหน้าทางเภสัชกรรม เลขท่ี 40 สุขุมวทิ 38 (ซอยสนั ตสิ ขุ ) เขตคลองเตย
ท่ีเก่ียวข้อง ให้แก่สมาชิกสมาคมเภสัชกรอุตสาหการ กรุงเทพมหานคร 10110
(ประเทศไทย) โรงงานยา แหล่งฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ โทรศัพท์: 0-27135592, 085-191-0011
คณาจารย์ นิสติ /นกั ศึกษาเภสัชศาสตร์ นกั วิจัย บุคลากรทาง อีเมล: [email protected]
การแพทย์และสาธารณสขุ และผู้สนใจทว่ั ไป เว็บไซต์: www.tipa.or.th

กาหนดการออกวารสาร
วารสารนเี้ ปน็ วารสารราย 6 เดือน มีกาหนดออกปลี ะ 2 ครง้ั
คอื เดือนมีนาคม และเดือนกันยายน

viii TIPA Journal Vol. 9 No. 2 (2021)

คาแนะนาสาหรบั ผนู้ พิ นธ์

วารสารยินดีพิจารณาตีพิมพ์ต้นฉบับประเภท กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธ์ิในการพิจารณา
ต่างๆ ได้แก่ บทความวิจัย/นิพนธ์ต้นฉบับ (research และตีพิมพ์ต้นฉบับ/บทความทุกเรื่อง ต้นฉบับที่ส่งมา
article/original article) บทความปริทัศน์ (review เพื่อการพิจารณาต้องไม่ใช่ต้นฉบับที่กาลังได้รับการ
article) ป กิ ณ ก ะ ( miscellany) จ ด ห ม า ย ถึ ง พจิ ารณาอยู่โดยวารสารอ่ืน เนอื้ หาในต้นฉบับควรเกิด
บรรณาธกิ าร (Letter to editor) ทกุ บทความจะไดร้ ับ จากการสังเคราะห์ความคิดขึ้นโดยผู้นิพนธ์เอง ไม่ได้
การพิจารณาจากกองบรรณาธิการ โดยผู้นิพนธ์ส่ง ลอกเลยี นหรือตัดทอนมาจากบทความอ่ืนโดยไมไ่ ด้รับ
ต้นฉบับท่ีพิมพ์ตามข้อกาหนดของรูปแบบวารสาร อนญุ าตหรอื ปราศจากการอ้างอิงที่เหมาะสม
จานวน 1 ชุด พรอ้ มแผ่นดสิ เก็ตต์หรือซีดี มายัง
การอา้ งองิ
บรรณาธิการวารสารเภสัชกรอุตสาหการ การ อ้าง อิง เอกส าร ให้ ใช้ร ะบบตัวเล ขยก
สมาคมเภสชั กรการอุตสาหกรรม (ประเทศไทย)
40 สุขมุ วิท 38 (ซอยสนั ตสิ ขุ ) เขตคลองเตย (superscript) ระบุที่ท้ายเนื้อหาที่นามาอ้างอิง เรียง
กรุงเทพมหานคร 10110 ตามลาดับการอ้างอิงท่ีปรากฏในบทความ และนามา
รวบรวมไว้ในรายการเอกสารอา้ งอิงท่ีอยู่ท้ายเร่อื ง โดย
ทั้งนี้ ต้นฉบับบทความอาจส่งทางไปรษณีย์ ใชร้ ูปแบบการอ้างอิงดงั ตวั อย่างต่อไปนี้
อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) มายังบรรณาธิการที่ 1. Research articles
[email protected] ไฟล์ต้นฉบบั ควรสร้างดว้ ย Sriamornsak P, Burapapadh K. Dissolution
โปรแกรม Microsoft Word โดยยดึ หลกั ตอ่ ไปนี้ enhancement of itraconazole by evaporative
recrystallization. Chem Eng Res Design 2015;
1. ละเว้นการจัดรูปแบบเอกสารอัตโนมัติ 100(1): 444-451.
(autoformat) เช่ น heading แล ะร ายก าร ย่อ ย 2. Book chapters & Books
อัตโนมัติต่างๆ และไม่ต้องจัดรูปแบบให้เหมือน Sriamornsak P, Thongborisute J, Takeuchi H.
บทความท่เี สรจ็ สมบูรณพ์ รอ้ มตพี ิมพแ์ ตอ่ ยา่ งใด Liposome-based mucoadhesive formulations
for oral delivery of macromolecules. In:
2. ในการพิมพ์ หากจะเว้นวรรคระหว่างคาหรือ Bernkop-Schnürch A (ed). Oral delivery of
ประโยคต้องทาโดยการเคาะ space bar หนึง่ ครง้ั macromolecular drugs. 2009; New York,
Springer, pp. 169-193.
3. ใช้ตวั อักษร TH SarabunPSK ขนาด 14 pt Patton TC. Paint flow and pigment dispersion:
4. ในการสร้างตาราง ต้องสร้างโดยใช้คาสั่งหรือ a rheological approach in coating and ink
เคร่ืองมือสร้างตารางของโปรแกรม MS Word ไม่ใช่ technology. 1979; New York, Wiley, pp. 126-204.
การใช้เคร่ืองมือในการวาดเส้นหรือวาดรูป เพ่ือวาด วรี ะชยั ณ นคร. สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนาง เจา้
เสน้ ตา่ งๆ ประกอบกนั เป็นตาราง สริ กิ ิติ์ เลม่ 2. 2539; กรงุ เทพมหานคร, โอ เอส พร้ิน
ในการสง่ บทความ ผู้นพิ นธค์ วรแจ้งนามจริงและที่ ตงิ้ เฮา้ ส์, น. 60,80,103.
อยู่ พร้อมสังกัดของผู้นิพนธ์อย่างชัดเจน ในกรณีที่มีผู้
นิพนธ์เป็ นหมู่คณะ ใ ห้ร ะบุ ชื่อ corresponding
author ซึ่งบรรณาธกิ ารสามารถตดิ ต่อได้โดยสะดวก

วารสารเภสชั กรอุตสาหการ ปที ี่ 9 ฉบบั ท่ี 2 (2564) iii

วงศส์ ถติ ย์ ฉว่ั กลุ , พรอ้ มจิต ศรลัมพ,์ วิชติ เปานิล, รุ่ง U.S. Food and Drug Administration. Guide
ระวี เตม็ ศิริฤกษ์กลุ (บรรณาธกิ าร). สมุนไพรพ้นื บ้าน to inspections of high purity water systems,
ล้านนา. 2539; กรงุ เทพมหานคร, อัมรินทร์พร้นิ ติ้ง 1993.
Pratt TA, Kuckelman JF. The learned
แอนด์พบั บลิชชิง (มหาชน), น. 55. intermediary doctrine and direct-to-consumer
3. Thesis & Dissertation advertising of prescription drugs. (Accessed on
พูนศิริ อรุณเนตร. ผลการสอนโดยใช้กระบวนการกล่มุ 27 June 2003, at http://www.thefederation.
ตอ่ ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน พฤตกิ รรมการดูแลตนเอง org/documents/pratt.htm)
และการควบคมุ โรคของผ้ปู ว่ ยเบาหวานชนิดไม่พึ่ง ธรี พจน์ ฟักนอ้ ย. พชื สมุนไพร. (สบื ค้นข้อมลู วนั ท่ี 7
อนิ ซูลนิ . วิทยานิพนธ์ พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑิต. ธันวาคม 2548, ท่ี http://www.med.tu.ac.th/
กรุงเทพฯ. บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยมหิดล, Department/Herbs/main.html)
2541. หมายเหตุ: หากมีชื่อผ้นู พิ นธ์มากกว่า 6 ท่าน ให้ระบุ 5
4. Abstracts & Proceedings ชอื่ แรก แลว้ ตามด้วย “และคณะ” หรือ “et al.”
Paeratakul O, Bodmeier R. Microporous
กิตตกิ รรมประกาศ
coatings prepared from aqueous latexes. 4 th กติ ตกิ รรมประกาศ (acknowledgements) เพ่ือกล่าว
National Meeting of the American Association ขอบคณุ บุคคล หนว่ ยงาน สถาบัน ทส่ี นบั สนุนการวจิ ยั
of Pharmaceutical Scientists, Atlanta. Pharm ควรอยใู่ นหน้าสุดท้ายของเน้อื ความ ควรระบุแหลง่ ทุน
Res 1989;6(9):S102. ท่สี นบั สนุนงานวิจยั
Bodmeier R, Paeratakul O. Process and
formulation variables affecting the drug ลิขสิทธ์ิ
release from beads coated with aqueous ตน้ ฉบับที่ได้รับการตพี ิมพใ์ นวารสารนี้ถอื เป็นสิทธิ์ของ
ethyl cellulose latexes. Proceedings of the วารสารเภสัชกรอุตสาหการ (ประเทศไทย) การนา
10th International Pharmaceutical Technology ขอ้ ความใดๆ ซ่ึงเปน็ ส่วนหนึ่งหรอื ทั้งหมดของตน้ ฉบับ
Conference, Bologna, Italy. Apr. 1991. ไปตพี ิมพใ์ หม่จะต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าของต้นฉบับ
และวารสารกอ่ น
5. Patents
Higuchi T, US Patent 4,439,196 (1984). ความรับผดิ ชอบ
6. Others ผลงานและความคิดเหน็ ท่ีปรากฏในบทความเปน็ ความ
The United States Pharmacopeial รับผิดชอบของผู้นิพนธ์ ทั้งน้ีไม่รวมความผิดพลาดอัน
Convention. General information chapter เกิดจากเทคนคิ การพิมพ์
<1231> water for pharmaceutical purposes.
United States Pharmacopeia 33rd Ed.
Philadelphia, National Publishing, 2009.

ivviii TIPA Journal Vol. 9 No. 2 (2021)

บอกกลา่ วจากนายกฯ

สวัสดคี ่ะทา่ นสมาชกิ และท่านผอู้ า่ น นอกจากน้ีสมาคมยังมีกิจกรรมดีๆ มาฝาก
สมาชิกที่ปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมยาและเป็นแหล่ง
ในปี 2564 นี้เป็นปีที่ครบ 10 ปีของก่อตั้ง ฝึกงาน ให้กับน้องๆนิสิต นักศึกษาเภสัช คือโครงการ
สมาคม จะเหน็ ได้ว่าสมาคมมีการปรับเปลยี่ นรปู แบบการ IPIC 2021 ซ่ึงเปิดโอกาสให้พี่เภสัชกรและน้องนิสิต
ดาเนินกิจกรรมต่างๆ จากวารสารท่ีเป็นรูปเล่มราย 6 นักศกึ ษาเภสัชได้ส่งผลงานจากแหลง่ ฝึกเข้าประกวด โดย
เดอื น ไดป้ รบั รูปแบบของวารสารเภสชั กรอตุ สาหการเปน็ สามารถดูรายละเอียดและดาวน์โหลดใบสมัครได้จาก
รูปแบบอเิ ล็กทรอนิกส์ ซง่ึ วารสารฉบับน้ีเป็นฉบับที่สองท่ี เวบ็ ไซตข์ องสมาคม
ออกในรปู แบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ เพอ่ื ให้เขา้ กบั ยุคสมยั ทีก่ าร
สบื ค้นข้อมูลมีความฉบั ไว และสมาคมคาดหวังให้สมาชิก แ ล ะ ใ น ช่ ว ง ท่ี เ ร า ยั ง ค ง ต้ อ ง ใ ช้ ชี วิ ต ใ น
สามารถเข้าถึงข้อมูล และจัดเก็บได้ง่ายข้ึน สมาชิก สถานการณ์ที่ยังคงมีการระบาดของไวรัส COVID-19
สามารถเข้าถึงข้อมูลในวารสารได้โดยการดาวน์โหลด ต่อไป ขอใหส้ มาชิกทุกทา่ นรกั ษาสขุ ภาพให้แขง็ แรง ออก
วารสารผ่านทางเว็บไซต์ของสมาคมคะ่ www.tipa.or.th กาลงั กายสมา่ เสมอนะคะ
ร ว ม ถึ ง ก า ร จั ด สั ม น า ใ น รู ป แ บ บ อ อ น ไ ล น์ เ พื่ อ แ ช ร์
ประสบการณข์ องผทู้ รงคุณวุฒิ หรือผเู้ ชีย่ วชาญดา้ นตา่ งๆ ในนามสมาคมฯ ขอขอบคณุ กองบรรณาธิการ
เช่น Temperature mapping of storage areas, GDP ผูเ้ ขียนบทความ คณะทางาน และผ้สู นบั สนุนในการ
Transportation Requirements ซ่ึ ง เ ป็ น เ นื้ อ ห า ที่ จัดทาวารสารนี้ทกุ ท่านค่ะ
สมาชิกให้ความสนใจอย่างกว้างขวาง ท้ังน้ีเน่ืองจาก
ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรือ่ ง Good Distribution ภญ.ร่งุ นภา อัมรินทรน์ ุเคราะห์
Practice (GDP) จะมีผลบังคับใช้ต้ังแต่วันท่ี 1 มกราคม นายกสมาคมเภสชั กรอตุ สาหการ (ประเทศไทย)
พ.ศ. 2565 เปน็ ต้นไป

อีกทั้งสมาคมยังเปิดช่องทางตดิ ต่อกับสมาชิก
ผ่านสื่อโซเชียลต่างๆ เช่น Line หรือ Facebook รวม
ถึงเวปไซด์ของสมาคม เพื่อให้สมาชิกได้รบั ข่าวสารและ
ประโยชน์จากกิจกรรมทีส่ มาคมจดั ขน้ึ

วารสารเภสชั กรอุตสาหการ ปที ี่ 9 ฉบับที่ 2 (2564) v

สมาคมเภสชั กรอตุ สาหการ (ประเทศไทย)
Thai Industrial Pharmacist Association

ทปี่ รึกษาคณะกรรมการบรหิ ารสมาคมเภสชั กรอตุ สาหการ (ประเทศไทย)

1. ศ.ดร. ภญ.กาญจนพ์ ิมล ฤทธิเดช
2. ภก.เกษม กาญจนวงศ์

3. ศ.(พิเศษ) ดร. ภก.จอมจนิ จนั ทรสกลุ
4. ดร.ภก.นลิ สวุ รรณ ลลี ารศั มี
5. ภก.ปราโมทย์ ชลยทุ ธ์
6. ภก.ปรญิ ญา เปาทอง
7. ภก.วรี ยุทธ จิรรัศม์ิ
8. ภก.ศุภชัย สายบวั
9. ภญ.โศรดา หวังเมธกี ลุ
10. ผศ.ดร. ภก.สถาพร นิม่ กุลรตั น์
11. ศ.เกียรติคุณ ดร. ภก.สมพล ประคองพันธ์
12. ศ.(พเิ ศษ) ดร. ภญ.สุมนา ขมวิลัย

13. ภก.อรรถพล อุดมวณชิ
14. ภญ.อิษฎา ศริ มิ นตรี

คณะกรรมการบรหิ าร สมาคมเภสชั กรอตุ สาหการ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2563-2565

1. ภญ.รุ่งนภา อัมรินทรน์ เุ คราะห์ นายกสมาคมฯ

2. ภญ.กนกวรรณ ประสทิ ธิ์พร อปุ นายก

3. ศ.ดร.ภก.พรศกั ดิ์ ศรีอมรศักด์ิ อปุ นายก

4. ดร.ภญ.สุภาณี ดวงธรี ปรีชา กรรมการ

5. ภญ.สดุ า ไพศาลชัชวาล กรรมการ

6. ภญ.สุพรรณกิ าร์ จันทรมานติ ย์ กรรมการ

7. ภญ.ปทมุ พร ชนวฒั นะกลุ กรรมการ

8. ภก.ประเสรฐิ เลิศเลอพนั ธ์ กรรมการและฝ่ายเทคโนโลยสี ารสนเทศ

9. ภญ.วรรณี ผาณิตพงศ์ กรรมการและปฏคิ ม

10. ภญ.พัฒนา มงั จักร กรรมการและเหรญั ญกิ

11. ภก.ทรงเกยี รติ เกยี รตพิ รศริ ิ กรรมการและประชาสมั พนั ธ์

12. ภก.อาทติ ย์ สอดแสงอรุณงาม กรรมการและนายทะเบียน

13. ภก.กฤตกร ภมู วิ งศพ์ ิทกั ษ์ กรรมการฝ่ายวิชาชพี

14. ภญ.พรอ้ มพร จานงธนาโชติ กรรมการฝ่ายวิชาการ

15. ภญ.นพวรรณ อังกูรศันสนีย กรรมการและเลขาธิการ

viii TIPA Journal Vol. 9 No. 2 (2021)

สารบญั

บทบรรณาธกิ าร ...............................................................................................................................................i
ขอ้ มูลวารสาร กองบรรณาธิการ.....................................................................................................................ii
คาแนะนาสาหรับผ้นู ิพนธ์............................................................................................................................... iii
บอกกลา่ วจากนายกฯ .....................................................................................................................................v
รายนามคณะกรรมการท่ีปรึกษา และคณะกรรมการบรหิ ารสมาคมฯ.........................................................vi
สารบญั ..........................................................................................................................................................vii

บทความวิชาการสาหรับการศึกษาตอ่ เน่อื ง
เทคนคิ ทางเลอื กสาหรบั ศกึ ษาลกั ษณะฟิลม์ และเมมเบรน.............................................................................1

ศศปิ ระภา ชติ รตั ถา และ ธวชั ชยั แพชมัด
เทคโนโลยอี นภุ าคสาหรบั การปรบั ปรุงการละลายและชีวประสทิ ธิผลของยาละลายน้ายาก..................... 11

เบญจวรรณ แจ่มใส และ พรศักด์ิ ศรีอมรศักด์ิ

บทความวชิ าการ
Pharmaceutical water storage & distribution systems – Microbial control ........................... 27

Per-Åke Olsson

บทความทวั่ ไป/ประสบการณ์วิชาชีพ
วทิ ยาลยั เภสัชกรรมอตุ สาหการแหง่ ประเทศไทย (วภอ.)............................................................................ 34

โศรดา หวังเมธีกลุ
ประสบการณโ์ ควดิ ในวันทต่ี ้องรบั ผดิ ชอบชวี ติ คนหลายรอ้ ย ..................................................................... 39

อิษฎา ศริ มิ นตรี

ปกิณกะ
บทสัมภาษณ์ ภก.ลือชา วรวิวรรธน์
กรรมการผู้จัดการ บรษิ ทั ไบโอจนี เี ทค จากัด............................................................................................. 43

กองบรรณาธกิ าร
กว่าจะเปน็ สมาชิกกอ่ ตง้ั วทิ ยาลัยเภสัชกรรมอุตสาหการแหง่ ประเทศไทย................................................. 48

ภัทรี สินอนนั ต์พฒั น์

วารสารเภสัชกรอุตสาหการ ปีท่ี 9 ฉบบั ที่ 2 (2564) vii

ประชาสมั พันธ์
ภาพกิจกรรมของสมาคมฯ ..........................................................................................................................51

กองบรรณาธกิ าร

viii TIPA Journal Vol. 9 No. 2 (2021)

บทความวชิ าการสำหรับการศึกษาต่อเน่ือง

รหสั 2004-1-000-004-10-2564
หนว่ ยกิตการศกึ ษาต่อเน่ือง 2.5 หนว่ ยกิต
วันทีร่ ับรองบทความ: 1 ตลุ าคม 2564
วนั ที่หมดอายุ: 30 กันยายน 2565

สมาชิกสมาคมเภสัชกรอุตสาหการ (ประเทศไทย) สามารถเข้าทำแบบทดสอบผ่านเว็บไซต์ของศูนย์การศึกษา
ต่อเนอื่ งทางเภสชั ศาสตร์ (http://www.ccpe.pharmacycouncil.org/)

เรือ่ ง
เทคนิคทางเลอื กสำหรบั ศกึ ษาลกั ษณะฟิล์มและเมมเบรน

ผู้เขยี น
ผศ.ดร.ภญ. ศศิประภา ชิตรัตถา และ รศ.ดร.ภก. ธวัชชัย แพชมัด
วตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม
1. เพอ่ื ให้ทราบถึงเทคนิคทางเลือกใหมใ่ นการศกึ ษาลักษณะฟลิ ม์ หรือเมมเบรน
2. สามารถประยุกต์ใช้เทคนิคทางเลือกในการศึกษาลักษณะฟิล์มหรือเมมเบรนซึ่งไม่สามารถ

วิเคราะห์ด้วยวธิ มี าตรฐานได้
คำสำคัญ
เทคนคิ ทางเลอื ก การวิเคราะหค์ ุณสมบตั ิ ฟิลม์ เมมเบรน

วารสารเภสชั กรอตุ สาหการ ปที ี่ 9 ฉบบั ท่ี 2 (2564)) 1

บทความการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง (CPE)

เทคนคิ ทางเลอื กสำหรบั ศกึ ษาลักษณะฟลิ ม์ และ

เมมเบรน

ผศ.ดร.ภญ. ศศปิ ระภา ชิตรัตถา

คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสยาม
E-mail: [email protected]

รศ.ดร.ภก. ธวชั ชยั แพชมัด

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
E-mail: [email protected]

บทคัดยอ่

ปจั จุบนั ระบบฟิล์มและเมมเบรนมีการนำมาใช้ประโยชนอ์ ย่างกวา้ งขวางในหลายสาขา เชน่ อิเล็กทรอนิกส์ พลังงาน
ทางเลอื ก เภสชั กรรม ชวี วทิ ยา และการแพทย์ ท้ังนี้สมบัติทางเคมีกายภาพของฟิล์มและเมมเบรนถือเป็นพื้นฐานที่ควรทราบ
ก่อนการนำไปใชป้ ระโยชน์ ซ่งึ การวเิ คราะห์คณุ สมบัติทางเคมีกายภาพสามารถทำได้หลายวิธี โดยข้ึนกับการนำฟิล์มและเมม
เบรนนัน้ ไปใช้ประโยชน์ด้านใด ในบางกรณีวิธีการตรวจวดั มาตรฐานไมส่ ามารถวิเคราะห์ลักษณะของวัสดุเหลา่ นี้ได้ ดงั นนั้ จึง
มกี ารพัฒนาเทคนิคใหม่ข้ึนเพ่อื ใช้เป็นทางเลอื กในการวเิ คราะห์ลักษณะเหล่านั้น บทความนี้ได้รวบรวมเทคนิคใหม่ ๆ ในการ
วิเคราะห์ลักษณะฟิล์มและเมมเบรน ไดแ้ ก่ การทดสอบสมบัติทางความรอ้ นพลวัตเิ ชงิ กล (dynamic mechanical thermal
analysis, DMTA) ของฟิล์ม การใช้คลื่นเสียงอุลตร้าโซนิค (ultrasonic technique) เพื่อตรวจวัดขนาดของรูพรุน การ
วิเคราะห์ลักษณะทางสัณฐานวิทยาแบบสามมิติด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่านและส่องกราด (scanning
transmission electron microscopy, STEM) การใช้วธิ ฮี ิสเทอรีซิสแบบพลวตั ิ (dynamic hysteresis) เพอ่ื จำแนกลักษณะ
ทางพื้นผิว การวัดมุมสัมผัสแบบเคลื่อนที่ (dynamic contact angle) เพื่อศึกษาการสลายตัวด้วยน้ำ และการทดสอบด้วย
คลื่นวิทยุโดยไม่ทำลายตัวอย่าง (microwave nondestructive testing) เพื่อวิเคราะห์ความแตกต่างของปริมาณตัวยา
สำคัญ เทคนิคใหม่ ๆ เหลา่ นี้สามารถใช้เปน็ แนวทางในการเขา้ ใจสมบัติทางเคมีกายภาพของฟลิ ม์ และเมมเบรนได้มากขึน้

2 TIPA Journal Vol. 9 No. 2 (2021)

บทนำ 5. เพื่อช่วยในการวิเคราะห์เมื่อเกิดความล้มเหลวใน
ฟลิ ์ม คือ แผ่นบางของวัสดุหรือเคลือบบางบนวัสดุ การผลติ หรือการใช้งาน

หรือชั้นของวัสดุที่ใช้เพื่อจัดการกับสมบัติต่าง ๆ ของ 6. เพื่อตรวจสอบความคงตัวของการทำหน้าที่ของ
พื้นผิว ส่วนเมมเบรน คือ วัสดุที่มีลักษณะเป็นฟิล์มบาง ฟลิ ์มและเมมเบรน
และมรี พู รนุ ฟิล์มและเมมเบรนอาจเตรยี มจากวัสดุท่ีเป็น
สารอินทรีย์หรืออนินทรีย์ ปัจจุบันระบบฟิล์มและเมม การศึกษาลักษณะฟิล์มและเมมเบรนด้วยวิธีมาตรฐาน
เบรนมีการนำมาใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวางในหลาย 4, 5 มดี ังนี้
สาขา เช่น อิเล็กทรอนิกส์ พลังงานทางเลือก เภสัชกรรม 1. ความหนา (thickness)
ชีววิทยา การแพทย์ และ เคมี โดยฟิล์มถูกนำไปใช้เป็น 2. ความหนาแนน่ (density)
บรรจุภัณฑ์ สิ่งกั้นขวาง อุปกรณ์ตัวรับ วัสดุปลูกฝัง 3. สมบัติเชิงแสง (optical properties) ได้แก่ การ
ทางการแพทย์ ตัวกรอง ตัวเคลือบ ใช้ในเชิง
สถาปัตยกรรม อุปกรณ์รักษาความปลอดภัย ใช้ใน สะท้อนและการเปล่งแสง (optical reflectance
เครื่องสำอาง เป็นต้น สำหรับเมมเบรนได้ถูกนำมาใช้ใน and emittance) และสี (color)
การกรอง การแยกก๊าซ การกรองแบบออสโมซิส 4. สมบัติเชิงกล (mechanical properties) ได้แก่
ย้อนกลับ (reverse osmosis) การแยกสารโดยใช้เมม ความยืดหยุ่นโมดูลัส (elastic modulus) ความ
เบรน (prevaporation) ระบบนำส่งยา อวัยวะเทียม แข็ง (hardness) และความต้านทานต่อการสึก
วิศวกรรมเนอื้ เยอื่ และใช้เปน็ เครื่องมอื ในการวินิจฉัยโรค หรอ (wear resistance)
เป็นต้น 1-3 5. สมบัติเชิงไฟฟ้า (electrical properties) ได้แก่
ความต้านทานไฟฟ้าและสภาพต้านทานแผ่น
สมบัติทางเคมีกายภาพของฟิล์มและเมมเบรนถือ (resistivity and sheet resistivity) สัมประสิทธิ์
เป็นข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นในการนำวัสดุดังกล่าวไปใช้ อุณหภูมิของความต้านทาน (temperature
ประโยชน์ วัตถุประสงค์ของการศึกษาลักษณะฟิล์มและ coefficient of resistivity) และหน้าสัมผัสทาง
เมมเบรน และการศึกษาสมบัติทางเคมกี ายภาพของฟิล์ม ไฟฟา้ (electrical contacts)
และเมมเบรนดว้ ยวธิ ีมาตรฐาน มีดงั น้ี 6. ความคงตวั ทางเคมี (chemical stability)
7. สมบตั ิในการกั้นผา่ น (barrier properties)
วัตถุประสงค์ของการศกึ ษาลักษณะฟิลม์ และเมมเบรน4 8. องคป์ ระกอบธาตุ (elemental composition)
1. เพ่อื ตรวจสอบผลของตัวแปรต่างๆ ในกระบวนการ 9. ความเป็นผลึก (crystallography)
10. สณั ฐานวิทยา (morphology)
ผลิตต่อสมบัตทิ ่ีได้ 11. ขนาดและความเป็นรูพรุน (pore size and
2. เพื่อกำหนดเกณฑ์และข้อจำกัดที่เหมาะสมของ porosity)
12. สมบัติอ่ืน ๆ เช่น มุมสัมผัส (contact angle)
ประสิทธิภาพในการใช้งานในระหว่างการผลิต ประจุของพื้นผิว (surface charge) การเปลี่ยน
ตลอดจนอายกุ ารใช้งาน แปลง เชิง ความร ้อน (differential scanning
3. เพื่อกำหนดประสิทธิภาพพื้นฐานที่เหมาะสม calorimetry and thermogravimetry)
สำหรับใช้เปรียบเทยี บเมอ่ื มขี ้อผดิ พลาดเกิดขึน้
4. เพื่อตรวจสอบความสามารถในการทำซ้ำของวัสดุ
และกระบวนการผลิต

วารสารเภสชั กรอตุ สาหการ ปีที่ 9 ฉบบั ที่ 2 (2564) 3

เทคนิคทางเลือกในการศึกษาลักษณะฟิล์มและเมม ตัวอย่างหลายรูปแบบเช่นเดียวกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับรูปร่าง
เบรน ของตัวอย่าง เช่น การให้แรงแบบดึง สำหรับตัวอย่างมี
ลักษณะเป็นแผ่นฟิล์มหรือเส้นใย การให้แรงแบบดัดงอ
ในบางกรณีที่วิธีการตรวจวัดมาตรฐานไม่สามารถ สำหรับตัวอย่างมีความแข็งแรงพอสมควร แต่ถ้าตัวอยา่ ง
จำแนกลักษณะฟิล์มและเมมเบรนอย่างลึกซึ้งตามท่ี ไม่แข็งมากหรือมีลักษณะที่มีความหนืดมาก เช่น ยาง
ต้องการได้ ซึ่งอาจเนื่องมาจากความไม่เหมาะสมของ หรือหมากฝร่ัง สามารถให้แรงแบบเฉือน ทั้งนี้เมื่อใหแ้ รง
เครื่องมือตอ่ ลกั ษณะของตวั อย่างหรือเหตุผลอ่ืนใดก็ตาม กระทำต่อวัสดุแล้วเครื่องทดสอบทำการวัดค่ามอดูลัส
ดังนั้นจึงมีการพัฒนาวิธีการใหม่ ๆ ขึ้นเพื่อใช้เป็น เพ่ือแสดงสมบัตกิ ารตา้ นทานการเปล่ียนแปลงรูปร่างของ
ทางเลือกในการจำแนกลักษณะเหล่านั้น โดยบทความนี้ วัสดุเมื่อได้รับแรงกระทำ โดยคำนวณจากอัตราส่วน
ได้รวบรวมตัวอย่างงานวิจัยที่เกี่ยวกับเทคนิคทางเลือก ระหว่างแรงท่ใี ห้กับขนาดพืน้ ที่ท่ีเปลยี่ นแปลงไป11
ใหม่ ๆ ซึ่งครอบคลุมการจำแนกสมบัติเชิงกล ขนาดและ
ความเป็นรูพรุน ลักษณะทางสัณฐานวิทยา การสลายตวั ตัวอย่างการทดสอบสมบัติเชิงกลของฟิล์มโดยการ
และการวิเคราะหป์ ริมาณตวั ยาสำคัญของระบบฟิล์มและ ใหค้ วามรอ้ นด้วยเครื่องมอื ในระบบปิด แล้วทำการให้แรง
เมมเบรน โดยนำเสนอองค์ความรู้พื้นฐานและการ กระทำแบบดดั งอ (bending mode) มีขน้ั ตอนดังน้ี9
นำไปใชป้ ระโยชนข์ องเทคนิคเหล่านน้ั
• Strain sweep: ขั้นตอนนี้ใช้หาค่าวิสโคอิลาสติก
1. การทดสอบสมบัติทางความร้อนพลวัติ เชิงเส้น (linear viscoelastic region, LVR) ของ
เชิงกลของฟิล์ม (dynamic mechanical thermal ตัวอย่างเพื่อนำข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการเลือกค่า
analysis, DMTA)6-9 ความเครียด (strain) เพื่อใช้ในการทดสอบข้ัน
ตอ่ ไป
การทดสอบสมบัติทางความรอ้ นพลวัตเิ ชงิ กล เป็น
เทคนิคหนึ่งในกลุ่มการวเิ คราะห์สมบตั ิเชิงความร้อนของ • Frequency sweep: เป็นการหาค่าพฤติกรรมท่ี
วัสดุ ท่ใี ช้ศกึ ษาสมบตั ิเชงิ กลและสมบัติวสิ โคอิลาสติกของ ขึ้นกับเวลาที่ให้กับตัวอย่าง (time-dependent
วัสดุ โดยมีแรงที่มีลักษณะเป็นคาบ (dynamic load) behavior) โดยใช้ค่าท่ีไดจ้ ากการหาคา่ วิสโคอิลาส
กระทำต่อวัสดุด้วยความถี่ภายใต้การเปลี่ยนแปลง ตกิ เชิงเส้นข้างตน้
อุณหภูมิและเวลา เพื่อศึกษามอดูลัสความแข็งแรงของ
วัสดุ (storage modulus) มอดูลัสการกระจายแรงที่มา • Temperature sweep: เป็นการหาค่าพฤติกรรม
กระทำ (loss modulus) อุณหภูมิที่วัสดุเปลี่ยนสถานะ ที่ขึ้นกับเวลาที่ใช้กับตัวอย่าง (temperature-
จากของแข็งคล้ายแก้วเป็นยืดหยุ่นคล้ายยาง (glass dependent behavior) แ ล ะ ส า ม า ร ถ ห า ค่ า
transition, Tg) และอุณหภูมิที่ตัวอย่างเกิดการอ่อนตัว อุณหภูมิที่วัสดุเปลี่ยนสถานะจากของแข็งคล้าย
(softening temperature)10 เป็นต้น DMTA จะให้ข้อ- แก้วเป็นยืดหยุ่นคล้ายยาง (glass transition
มูลทง้ั เชงิ ปริมาณและเชงิ คณุ ภาพท่ีมปี ระโยชน์ต่อวิศวกร
ควบคุมระบบ การผลิต นักวิจัย และนักเคมี temperature, Tg ห ร ื อ Tα) ห ร ื อ sub-Tg
transition temperature (Tβ และTᵞ) ได้
วธิ วี ิเคราะหส์ มบัตทิ างความรอ้ นพลวัตเิ ชงิ กลของฟิลม์ ผลการวิเคราะหต์ วั อย่างในข้ันตอน temperature
การวิเคราะห์ด้วยเทคนิค DMTA สามารถเตรียม sweep แสดงในรูปที่ 1 ซึ่งเป็นการวิเคราะห์ที่ใช้มาก
ที่สุดในการทดสอบด้วยวิธี DMTA โดยนิยมใช้ในการ
ตัวอย่างได้หลายรูปแบบ ทำให้มีวิธีให้แรงกระทำต่อ อธิบายลักษณะที่ขึ้นกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของ
วัสดุอสัณฐาน จากรูปเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น storage
4 TIPA Journal Vol. 9 No. 2 (2021) modulus (E′) จะลดลงอย่างช้าๆ แสดงว่าตัวอย่างมี

ความแข็งลดลงไปจนถึงบริเวณที่มีการลดลงอย่างมาก ด้านหลัง (reflection B) ของเมมเบรน โดยความสูง
ของค่าโมดูลัส ซึ่งเป็นจุดที่แสดงค่าอุณหภูมิการเปลี่ยน คลน่ื เสียงของสัญญาณสะท้อนจากผิวด้านหน้า สามารถ
สถานะจากของแข็งคล้ายแกว้ เปน็ ยดื หย่นุ คล้ายยาง (Tg) ใช้จำแนกลักษณะทางพ้ืนผิวรวมถงึ ขนาดของรูพรุนและ
ของตัวอย่าง การเปลี่ยนแปลงทีเ่ กิดขึ้นนีส้ ามารถสังเกต ความขรุขระของเมมเบรนได้ ส่วนสัญญาณสะท้อนจาก
ไดจ้ ากเสน้ ตำแหน่งสูงสดุ ของ loss modulus (E′′) หรือ ผิวด้านหลังซึ่งคลื่นเดินทางผ่านด้านตัดขวางของเมม
ตำแหนง่ สูงสดุ ของกราฟ tan d ได้เช่นกนั เบรน สามารถช่วยแสดงถึงโครงสร้างภายใน ได้แก่
ขนาดรพู รนุ ความเปน็ รูพรุนทง้ั หมด รวมถงึ ความขรุขระ
รูปที่ 1 ผลการวิเคราะห์ในขั้นตอน temperature- ของพน้ื ผวิ ด้านหลงั ของเมมเบรนได้12
sweep ข อ ง ตั วอ ย ่ าง ฟิ ล์ ม hypromellose 2910
(Methocel E50) (ดดั แปลงจากเอกสารอ้างอิงหมายเลข 9) สเปกตรัมของ UFDR เป็นสัญญาณสะท้อนจาก
พื้นผิวด้านหลังเมมเบรนที่มีขนาดรูพรุนแตกต่างกัน
พบวา่ เมือ่ ขนาดรูพรุนเพิ่มขึ้นจะมผี ลลดความสูงของคล่ืน
เสียงของสัญญาณสะท้อน เนื่องจากมีการกระเจิงของ
คลื่นเสียงความถี่สูงเพิ่มขึ้น จากการทดสอบทางสถิติ
พบว่าว่าวิธี UFDR สามารถนำไปใช้ในการหาค่าขนาด
และความเป็นรูพรุนของเมมเบรนอย่างมีประสิทธิภาพ
เมอื่ ใช้ความถ่ีท่จี ำเพาะเจาะจง

2. การใช้คลื่นเสียงความถี่สูง (ultrasonic) หา เครอ่ื งรบั สัญญาณคลืน่
ขนาดของรูพรนุ 12-14
เมมเบรน อ่างน้ำควบคมุ เคร่ืองเหน่ยี วนำ
การใช้คลื่นเสียงความถี่สูงซึ่งเป็นคลื่นเชิงกลที่ อุณหภูมิ คลนื่ เสียง
ความถม่ี ากกวา่ 20 kHz ทำใหม้ กี ารแกวง่ ของตัวกลางท่ี ความถ่ีสงู
มีความยืดหยุ่น ความเร็วในการแพร่ของคลื่นขึ้นอยู่กับ
สมบัติความยืดหยุ่นและความหนาแน่นของตัวกลางที่ เครอ่ื งยดึ เมมเบรน
คลื่นเดินทางผ่าน วิธี ultrasonic frequency-domain
reflectometry (UFDR) สามารถใช้เป็นวิธีทดสอบ รูปที่ 2 แผนผังระบบการจำแนกลักษณะเมมเบรนโดย
จำแนกลักษณะเมมเบรนโดยไม่ตอ้ งทำลายตัวอย่างได้ มี คลื่นเสียงความถี่สูงและใช้น้ำเป็นตัวกลาง (ดัดแปลงจาก
การนำ UFDR ไปใช้ในการหาขนาดของรูพรุนของเมม
เบรนโดยใช้น้ำเป็นตัวกลาง แผนผังระบบการจำแนก เอกสารอา้ งองิ หมายเลข 12)
ลักษณะเมมเบรนโดยใช้น้ำเป็นตัวกลางแสดงในรูปที่ 2
โดยคลื่นเสียงความถี่สูงถูกผลิตขึ้นจากเครื่องเหนี่ยวนำ 3. การวิเคราะห์ลักษณะทางสัณฐานวิทยาแบบ
ส่งผ่านน้ำไปกระทบกับตัวอย่างเมมเบรนที่ต้องการ 3 มิติ ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน
ศกึ ษา จากน้นั ความแตกตา่ งระหว่างความต้านทานเสียง และส่องกราด (scanning transmission electron
ของเมมเบรนและน้ำจะส่งผลให้เกิดการสะท้อนของ microscopy, STEM) 15
คลื่นที่บริเวณผิวด้านหน้า (reflection A) และผิว
เทคนิคการวเิ คราะห์ลกั ษณะทางสณั ฐานวิทยาของ
เมมเบรนมักเป็นรูปแบบ 2 มิติ ทำให้มีข้อจำกัดในการ

วารสารเภสชั กรอุตสาหการ ปีท่ี 9 ฉบบั ที่ 2 (2564) 5

วิเคราะห์ การพองตัว การยุบตัว การจัดเรียงตัว ของ ตัวอย่างภาพถ่าย HAADF-STEM แสดงในรูปที่ 3
โครงสร้างที่หลากหลายของพอลิเมอร์จากการบีบอัดใน โดยรูป 3a เป็นลักษณะแผนภูมิภาพ 2 มิติ ที่ได้จากชุด
ระหว่างขึ้นรูปเมมเบรน ดังนั้นการวิเคราะห์ตัวอย่างเมม ภาพถ่ายมุมเอียง ±65° ของฟิล์มพอลิเอไมด์ จากนั้นนำ
เบรนให้เป็นรูปแบบ 3 มิติ จะสามารถให้ข้อมูลทาง ภาพถ่ายมุมต่าง ๆ ไปจัดเรียงใหม่โดยใช้ 3D software
สัณฐานวิทยาเชิงลึกภายในชั้นของเมมเบรนได้ การใช้ จะได้แบบจำลองภาพเชิงปรมิ าตรของฟิล์มพอลิเอไมด์ใน
กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่านและส่องกราด รปู แบบสามมติ ิ (รูปท่ี 3b)15
จะสามารถโฟกัสผ่านตัวอย่างที่มีความหนาและมีแง่มุม
มากเข้าไปได้ โดยจะแสดงภาพแบบเคลื่อนไหว ซึ่ง 4. การใช้วิธีฮิสเทอรีซิสแบบพลวัติ (dynamic
สามารถอธิบายความผันแปรภายในตัวอย่างได้ดี และ hysteresis) จำแนกลักษณะทางพนื้ ผวิ 17, 18
หากใช้ร่วมกับตัวตรวจวัดพื้นมืดวงแหวนมุมสูง (high-
angle annular dark-field, HAADF) ภ า พ ถ ่ า ย ข อ ง ฮิสเทอรีซิสแบบพลวัติ คือความต่างระหว่างแรงท่ี
HAADF-STEM จะอาศัยความแตกต่างของมวล ความ ใช้เมื่อกดตัวอย่างลงในตัวกลาง (advancing) และแรงที่
หนา หรือเลขอะตอม ซึ่งจะทำให้ได้ภาพที่ตรงตามความ ใช้เมื่อดงึ ตัวอย่างขึน้ จากตัวกลาง (receding) ของพื้นผวิ
เป็นจริง16 ดังนั้น HAADF-STEM จึงเหมาะอย่างยิ่งใน ของแข็งเมื่ออยู่ในสารละลายเคมี ทั้งนี้ดำเนินการโดยใช้
การแก้ปัญหาภาพถา่ ยท่ีไมช่ ดั เจน จากการทำส่งิ แวดลอ้ ม พื้นฐานวิธี Wilhelmy plate (รปู ที่ 4a) การหาค่าฮสิ เทอ
ให้เป็นสุญญากาศ การเคลือบทองบนตัวอย่าง และ รีซิสแบบพลวัติแสดงในรูปที่ 4b โดยแสดงผลเป็นความ
ตวั อย่างทีม่ ีคาร์บอนเป็นองคป์ ระกอบ กว้างในแนวตั้งระหว่างเส้นคู่ขนานของแรงใช้เมื่อกด
ตัวอย่างลงในตัวกลางและแรงที่ใชเ้ มอื่ ดึงตัวอย่างข้ึนจาก
a ตัวกลาง ตอ่ ระยะทางท่ีมกี ารเคล่อื นที่ไป

b

รปู ท่ี 3 ภาพถ่าย HAADF-STEM ของฟิลม์ พอลิเอไมด์ a) รูปที่ 4 a) วิธี Wilhelmy plate โดย FA คือ แรง
แผนภูมิภาพ 2 มิติ ที่ได้จากชุดภาพถ่ายมุมเอียง ±65° advancing และ FR คือแรง receding b) การหาค่าฮิส
และ b) แบบจำลองภาพเชิงปริมาตรรูปแบบสามมิติ
เทอรซี สิ แบบพลวัติ (ΔF/L) (ดัดแปลงจากเอกสารอ้างองิ หมายเลข 17)
(ดัดแปลงจากเอกสารอ้างองิ หมายเลข 15)

6 TIPA Journal Vol. 9 No. 2 (2021)

พารามิเตอร์ที่ได้นี้สามารถแสดงถึงสมบัติเคมี เกิดการเปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบและโครงสรา้ ง ท้ัง
ฟิสิกส์ทางพื้นผิวของตัวอย่าง เช่น องค์ประกอบทางเคมี บริเวณพื้นผิวและภายในแผ่นฟิล์ม ส่งผลให้เกิดการ
ความขรุขระ การพองตัว ความแตกต่างทางเคมี การดูด เปลี่ยนแปลงความไม่ชอบน้ำขึ้น ดังนั้นเพื่อติดตามผล
ซับ การคายการดูดซับ ระดับพลังงานอิเล็กตรอนของ ของการเปลี่ยนแปลงนี้สามารถใช้การวัดมุมสัมผัสแบบ
พืน้ ผิว และการเปล่ียนแปลงองคป์ ระกอบของพน้ื ผิว เป็น เคลื่อนที่ ของน้ำบนพื้นผิวของพอลิเมอร์ โดยการแช่
ต้น ตัวอย่างการวิเคราะห์โดยใช้ฮิสเทอรีซิสแบบพลวัติ ตัวอย่างฟิล์มในน้ำกลั่น ด้วยวิธี Wilhelmy plate (รูปท่ี
แสดงในรูปที่ 5 เป็นการหาค่าความแตกต่างทางเคมีของ 6) ตามช่วงระยะเวลาที่กำหนด โดยศึกษาการสลายตัว
พื้นผิวเมมเบรน จากรูปเมื่อความเป็นกรดด่าง (pH) จากความสามารถในการเปียกน้ำที่เปลี่ยนแปลงไปของ
เปลย่ี นแปลง จะสง่ ผลให้ฮิสเทอรซี สิ แบบพลวตั ิมีค่าลดลง พอลเิ มอร์ชีวภาพ 19
ที่จุดไอโซอิเล็กทริก (isoelectric point) ซึ่งเป็นจุดที่
ประจุรวมของเมมเบรนเป็นศูนย์ (ค่าความเป็นกรดด่าง ตวั อย่างท่ีมี เคร่อื งชงั่ น้ำหนักความ
อยู่ในชว่ ง 3.5 - 4.5) แต่เมอ่ื ความเป็นกรดด่างเพิ่มขึ้นจะ ลกั ษณะ ไวสงู
มีผลให้ฮิสเทอรีซิสแบบพลวัติเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีความ เป็นแผน่
แตกต่างทางเคมีเกิดขึ้น ขณะที่ในสภาพแวดล้อมที่มี ของแข็ง
ความเป็นกรดด่างสูงๆ มีผลให้ผิวของเมมเบรนสูญเสีย
โปรตอนไปอย่างเต็มที่จึงทำให้ค่าฮิสเทอรีซิสแบบพลวัติ นำ้
ลดลงอีกครงั้
ฐานรองทีส่ ามารถควบคุมความเรว็ ในการเคลอ่ื นท่ีได้
รูปที่ 5 การใช้ฮิสเทอรีซิสแบบพลวัติเพื่อวิเคราะห์ค่า
ความแตกต่างทางเคมีของพื้นผิวเมมเบรน (ดัดแปลงจาก รูปที่ 6 การวัดมมุ สมั ผสั (แบบเคลือ่ นท่ี) ของน้ำบนพ้ืนผิว
ของตัวอย่างโดยการแช่ในน้ำด้วยวิธี Wilhelmy plate(
เอกสารอา้ งอิงหมายเลข 17)
ดดั แปลงจากเอกสารอ้างองิ หมายเลข 20)
5. การวัดมุมสัมผัสแบบเคลื่อนที่ (dynamic
contact angle) เพื่อศกึ ษาการสลายตวั ดว้ ยน้ำ19 ตัวอย่างผลการวดั มุมสัมผัสแบบเคลื่อนท่ี ซง่ึ วัดมุม
ของน้ำในขณะกดตัวอย่างลงในตัวกลาง และวัดมุมของ
สมมติฐานของการวัดมุมสัมผัสเพื่อศึกษาการ น้ำในขณะดึงตัวอย่างขึ้นจากตัวกลางบนแผ่นฟิล์มชนิด
สลายตัวด้วยน้ำ คือ ในระหว่างเกิดการสลายตัวด้วยน้ำ ต่างๆ แสดงในรูปท่ี 7 โดยการวัดมมุ สัมผัสของน้ำท้ังสอง
ฟิลม์ พอลเิ มอร์และฟิล์มพอลิเมอร์ร่วมจะถูกเหน่ียวนำให้ แบบนี้ พบว่ามุมสัมผัสจะลดลงเมื่อเวลาผ่านไป แสดงถึง
พื้นผิวมีความชอบน้ำเพิ่มขึ้นหรือเปียกน้ำได้ง่ายขึ้น ซ่ึง
อาจเกิดจากการทีช่ น้ั ของพอลเิ มอรบ์ างลงไปเร่อื ย ๆ ตาม
เวลาที่ผ่านไป หรือเกิดจากการสลายตัวของพอลิเมอร์
ด้วยนำ้ ตามเวลาทีผ่ า่ นไป ซง่ึ สามารถยืนยันผลได้ด้วยการ
ทดสอบวิธีอื่น ๆ ซึ่งงานวิจัยนี้ใชก้ ารยืนยันผลด้วยเครื่อง
วิเคราะหโ์ มเลกุลโครมาโทกราฟฟชี นิดของเหลวความดัน
สูง (gel permeation chromatography) เพื่อตรวจ
สอบโมเลกุลอืน่ ๆ ที่สลายจากชัน้ พอลเิ มอรใ์ นตัวกลางท่ี

วารสารเภสชั กรอุตสาหการ ปที ่ี 9 ฉบบั ที่ 2 (2564) 7

ใช้ทดสอบ ผลการทดสอบพบว่าความชอบน้ำที่เพิ่มข้ึน ค่าคงที่ไดอิเล็กทริก (dielectric constant, ε) ปัจจัย
ของพื้นผิวแผ่นฟิล์มเป็นผลโดยตรงจากการสลายตัวดว้ ย การสูญเสีย (loss factor) การแพร่ผ่านอย่างซับซ้อน
นำ้ ของพอลิเมอร์ 19 (complex permeability) โดยขึ้นกับความถี่ของคลื่น
ภายใต้การเปล่ียนแปลงอณุ หภูมิ 22
รูปที่ 7 ผลการวัดมุมสัมผัสแบบเคลื่อนที่ของน้ำในขณะ
กดตัวอย่างลงในตัวกลาง (วงกลมทึบ) และมุมของน้ำ การวเิ คราะหล์ กั ษณะฟิล์มดว้ ยวธิ ี MNDT ใชท้ ่อนำ
ในขณะดงึ ตัวอย่างข้ึนจากตัวกลาง (วงกลมโปร่ง) ของน้ำ ค ล ื ่ น ร ู ป ท ร ง ส ี ่ เ ห ล ี ่ ย ม (rectangular dielectric
บนแผน่ ฟลิ ์มพอลิแลคติคแอซิด (ดัดแปลงจากเอกสารอ้างอิงหมายเลข waveguide, RDWG) (รูปที่ 8) วัดด้วยคลื่นความถี่วิทยุ
10 GHz ตัวอย่างฟิล์มจะสัมผัสโดยตรงกับ RDWG 2
19) ระบบ โดยค่าพารามิเตอร์ที่วัดได้คือ สัมประสิทธิ์การ
ส่งผ่านความร้อน (transmission coefficient) (S21)
6. การทดสอบด้วยคลื่นวิทยุโดยไม่ทำลาย แ ละ สั มปร ะ สิทธิ ์ การสะ ท้อ นกลั บ ( reflection
ตัวอย่าง (microwave nondestructive testing, coefficient) (S11) เมื่อได้ค่าพารามิเตอร์แล้วนำค่าที่ได้
MNDT) เพื่อวิเคราะห์ความแตกต่างของปริมาณตัว ไปแทนค่าในสมการ สัมประสิทธิ์พลังงานการดูดซับ
ยาสำคญั 21 (power absorption coefficient, PAC) ดงั น้ี 21

คลื่นวิทยุ (microwave) เป็นสัญญาณกระแสสลบั PAC (%) = [1-|S11|2linear- |S21|2linear] × 100
หรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่ระหว่าง 300 MHz เม่อื |S11| linear = 10 (|S11|dB/20) และ
และ 300 GHz การทดสอบวัสดุด้วยคลื่นวิทยุโดยไม่ |S21| linear = 10 (|S21|dB/20)
ทำลายตัวอย่าง เป็นวิธีหลักที่ใช้สำหรับวัสดุที่ไม่ใช่โลหะ
เนื่องจากมีการผ่านของคลื่นวิทยุในวัสดุที่นำไฟฟ้าใน ผลการทดลองพบว่าการใช้วิธี MNDT ที่ใช้ความถ่ี
ปริมาณน้อยมาก โดยนิยมความถี่ในช่วง 3-100 GHz 10 GHz สามารถแยกความแตกต่างของฟิล์ม HPMC ที่
ข้อดีของวิธีนี้คือ ใช้ต้นทุนต่ำ สามารถผ่านได้ดีในวัสดุที่ บรรจุยา loratadine ในปรมิ าณ 57.3% กบั ฟิลม์ ควบคุม
ไม่ใช่โลหะ และมีความละเอียดในการตรวจวัด วิธี ที่ไม่มีการบรรจุยาได้จากความแตกต่างของ %PAC ที่ได้
MNDT สามารถใช้สำหรับตรวจวัดตำหนิ รอยแตก จากการคำนวณ 21
ช่องว่าง ความไม่เป็นเนื้อเดียวกัน และปริมาณความชื้น
ของวัสดุได้ พารามิเตอร์ที่ใช้ในการตรวจวัดได้แก่ รูปที่ 8 ระบบการตรวจวดั แบบ rectangular dielectric
สัมประสิทธิ์การสะท้อน (reflection coefficients) waveguide (RDWG) (ดดั แปลงจากเอกสารอา้ งอิงหมายเลข 21)
สัมประสิทธิ์การส่งผ่าน (transmission coefficients)

8 TIPA Journal Vol. 9 No. 2 (2021)

สรุป and tissue engineering. J Membrane Sci.
เทคนิคใหม่ในการจำแนกลกั ษณะฟิล์มหรือเมมเบรน 2008;308:1-34.
4. Handbook of Physical Vapor Deposition
ที่ได้รวบรวมไว้นี้ แสดงให้เห็นว่าวิธีการทดสอบสมบัติ (PVD) Processing. Chapter 11: Film
ทางความรอ้ นพลวัติเชงิ กลเป็นทางเลอื กทีม่ ีประสิทธิภาพ characterization and some basic film
ในการใช้วิเคราะห์สมบัติเชิงกลและสมบัติวิสโคอิลาสติ properties. Elsevier Inc. 2010:399- 438.
กของฟิล์มได้ การใช้คลื่นเสียงอุลตร้าโซนิคเป็นวิธีที่ไม่ 5. Khulbe KC, Feng CY, Matsuura T. UNESCO –
ทำลายตัวอย่างในการทดสอบหาขนาดและความเป็นรู EOLSS sample chapters Water and
พรุนของเมมเบรนได้เมื่อใช้ความถี่จำเพาะ การใช้กล้อง wastewater treatment technologies –
จุลทรรศน์อเิ ล็กตรอนแบบส่องผ่านและสอ่ งกราดร่วมกับ membrane characterization. ©Encyclopedia
ตัวตรวจวัดพื้นมืดวงแหวนมุมสูงจะให้ภาพถ่ายทาง of Life. 2011.
สัณฐานวิทยาของฟิล์มแบบสามมิติและใกล้เคียงความ 6. Lafferty SV, Newton JM, Podczeck F.
เป็นจริง การใช้วิธีฮิสเทอรีซิสแบบพลวัติมีประสิทธิภาพ Dynamic mechanical thermal analysis
ในการวิเคราะห์สมบัติทางเคมีฟิสิกส์ของพื้นผิวตัวอย่าง studies of polymer films prepared from
ได้ การวัดมุมสัมผัสแบบเคลื่อนที่ของน้ำสามารถใช้ aqueous dispersion. Int J Pharm.
ติดตามการสลายตัวด้วยน้ำของฟิล์มที่ทำจากพอลิเมอร์ 2002;235(1-2):107-111
ชีวภาพได้ และการทดสอบด้วยคลื่นวิทยุแบบไม่ทำลาย 7. Monda S, Hu JL. Structural characterization
ตัวอย่างโดยใช้ระบบการตรวจวัดด้วยท่อนำคลื่นรูปทรง and mass transfer properties of nonporous
สเ่ี หลี่ยมสามารถใช้จำแนกความแตกตา่ งของฟิล์มที่บรรจุ segmented polyurethane membrane:
ยาในปริมาณสงู กบั ฟิลม์ ทีไ่ มม่ ีการบรรจุยาได้ Influence of hydrophilicand carboxylic
group. J Membrane Sci. 2006;274:219-226.
กติ ตกิ รรมประกาศ 8. Martins IMG, Magina SP, Oliveira L, Freire
ผู้นพิ นธ์ขอขอบคุณคณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสยาม CSR, Silvestre AJD, Neto CP, Gandini A. New
และคณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร biocomposites based on thermoplastic
starch and bacterial cellulose. Compos Sci
เอกสารอ้างอิง Technol. 2009;69(13):2163-2168.
1. Gould RD, Kasap S, Ray AK. Thin Films. In: 9. Cespi M, Bonacucina G, Mencarelli G,
Casettari L, Palmieri GF. Dynamic
Kasap S, Capper P (eds). Springer Handbook mechanical thermal analysis of
of Electronic and Photonic Materials. hypromellose 2910 free films. Eur J Pharm
Springer Handbooks. 2017. Springer, Cham. Biopharm. 2011;9:458-463.
https://doi.org/10.1007/978-3-319-48933-9_28 10. Menard KP, Menard NR. Dynamic
2. Ulbricht M. Advanced functional polymer mechanical analysis in the analysis of
membranes. Polym. 2006;47:2217-2262. polymers and rubbers. Ency Polym Sci Tech.
3. Stamatialis DF, Papenburg BJ, Girones M, 2015.
Saiful S, Bettahalli SNM, Schmitmeier S, https://doi.org/10.1002/0471440264.pst102.
Wessling M. Medical applications of pub2.
membranes: Drug delivery, artificial organs

วารสารเภสัชกรอตุ สาหการ ปีที่ 9 ฉบบั ท่ี 2 (2564) 9

11. ปิยวรรณ สุรัญชนาจิรสกุล. สมบัติทางกลแบบพลวัติ 19. Kiss E, Vargha-Butler EI. Novel method to
ของโพลิเมอร์. Polm Sci (MTEC). 2005: 62-64. characterize the hydrolytic decomposition
of biopolymer surfaces. Colloids Surf B.
12. Ramaswamy S, Greenberg AR, Peterson ML. 1999;15:181-193.
Non-invasive measurement of membrane
morphology via UFDR:pore-size 20. Smithers. Dynamic Contact Angle. [Online].
characterization. J Membrane Sci. Available
2004;239:143-54. from:URL:https://www.smithers.com/
industries/packaging/manufacturers-and-
13. Kaczmarek M, Safinowski P, Piwakowski B. users/packaging-materials-testing/paper-
Non-contact ultrasonic porosimetry. Non- testing-surface-properties/dynamic-contact-
Destructive Testing in Civil Engineering angle.
(NDTCE’09). Nantes, France, June 30th –
July 3rd, 2009. 21. Anuar NK, Wui WT, Ghodgaonkar DK, Taib
MN. Use of microwave nondestructive
14. Kaczmarek MK, Piwakowski B, Drelich R. testing (NDT) technique to characterize the
Characterization of structure of porous film for applications in transdermal drug
materials by ultrasonic reflectometry. AIP delivery system. IEEE. Sensors and the
Conference Proceedings. 2012;1433(416). International Conference on new
https://doi.org/10.1063/1.3703217 Techniques in Pharmaceutical and
Biomedical Research. 2005, pp. 31-33.
15. Culp TE, Shen Y, Geitner M, Paul M, Roy A,
Behr MJ, Rosenberg S, Gu J, Kumar M, 22. Zoughi, R. Microwave nondestructive
Gomez ED. Electron tomography reveals testing: Theories and applications. Inter Adv
details of the internal microstructure of Nondestructive Testing. 1990:15;255-288.
desalination membranes. Proc Natl Acad
Sci. 2018;115(35):8694-8699.

16. Ercius P, Alaidi O, Rames MJ, Ren G. Electron
tomography: A three-dimensional analytic
tool for hard and soft materials research.
Adv Mater. 2015;27:5638–5663.

17. Lee S, Lee E, Elimelech M, Hong S.
Membrane characterization by dynamic
hysteresis: Measurements, mechanisms, and
implications for membrane fouling. J
Membrane Sci. 2011;366:17-24.

18. Lee E, Lee S, Hong S. A new approach to the
characterization of reverse osmosis
membrane by dynamic hysteresis. Desalin
Water Treat. 2012; 18(1). DOI:
10.5004/dwt.2010.1782.

10 TIPA Journal Vol. 9 No. 2 (2021)

บทความวชิ าการสาหรบั การศกึ ษาตอ่ เนื่อง

รหัส 2004-1-000-003-10-2564
หน่วยกิตการศกึ ษาตอ่ เน่ือง 3.0 หนว่ ยกติ
วนั ทร่ี ับรองบทความ: 1 ตุลาคม 2564
วนั ท่หี มดอาย:ุ 30 กันยายน 2565

สมาชกิ สมาคมเภสัชกรอุตสาหการ (ประเทศไทย) สามารถเข้าทาแบบทดสอบผ่านเวบ็ ไซต์ของศูนยก์ ารศกึ ษา
ตอ่ เนื่องทางเภสัชศาสตร์ (http://www.ccpe.pharmacycouncil.org/)

เรอื่ ง
เทคโนโลยอี นุภาคสา้ หรับการปรับปรงุ การละลายและชีวประสิทธผิ ลของยาละลายนา้ ยาก
(Particle technologies for improving dissolution and bioavailability of poorly water-
soluble drugs)

ผเู้ ขยี น
ผศ.ดร.ภญ. เบญจวรรณ แจ่มใส และ ศ.ดร.ภก. พรศกั ด์ิ ศรีอมรศักด์ิ

วตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม
1. เพ่ือให้ทราบถงึ เทคนิคทใ่ี ชใ้ นการพัฒนาเทคโนโลยอี นุภาคสา้ หรับผงยาทลี่ ะลายน้ายาก
2. เพอ่ื ใหท้ ราบถึงเทคโนโลยีทใี่ ชเ้ พื่อปรบั ปรงุ ค่าชวี ประสทิ ธิผลของผงยาทล่ี ะลายน้ายาก

คาสาคญั
เทคโนโลยอี นุภาค, การละลาย, ชวี ประสทิ ธผิ ล, ยาละลายนา้ ยาก

วารสารเภสัชกรอุตสาหการ ปที ี่ 9 ฉบบั ท่ี 2 (2564) 11

บทความการศึกษาตอ่ เนื่อง (CPE)

เทคโนโลยอี นภุ าคสาหรับการปรบั ปรุงการละลาย

และชวี ประสิทธิผลของยาละลายนายาก

ผศ.ดร.ภญ. เบญจวรรณ แจ่มใส

วทิ ยาลัยเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยรงั สิต
E-mail: [email protected]

ศ.ดร.ภก. พรศักดิ์ ศรอี มรศกั ด์ิ

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
E-mail: [email protected]

บทคดั ยอ่
คา่ การละลาย (solubility) การละลาย (dissolution) และความสามารถในการซมึ ผ่าน (permeability) เป็นปัจจัย

หลักท่ีส่งผลต่อการดูดซึมยาในทางเดินอาหารและค่าชีวประสิทธิผล (bioavailability) ของยาทังในรูปแบบยาเม็ด แคปซูล
หรือยาน้าแขวนตะกอน บทความนีจะกล่าวถึงเทคนิคท่ีใช้ในการพัฒนาเทคโนโลยีอนุภาคส้าหรับผงยาละลายน้ายากโดยใช้
เทคนิคเชงิ กลในการลดขนาดอนุภาค เชน่ เครอ่ื งบดด้วยลมพ่น เคร่ืองบดแบบลูกบอล และเครื่องป่ันผสมด้วยแรงดันสูง และ
เทคนิคการควบคุมขนาดอนุภาคเชิงวิศวกรรม เชน่ กระบวนการพ่นด้วยความเยน็ และการเปล่ียนแปลงโครงร่างผลึกของยา
นอกจากนันยงั อธิบายถงึ เทคโนโลยีทใี่ ช้เพื่อปรับปรงุ ชีวประสทิ ธผิ ลของยาละลายน้ายาก เช่น ระบบน้าส่งยาชนิดเกิดอิมัลชัน
ได้เอง การเกิดสารประกอบเชิงซ้อนกับไซโคลเดกซ์ตริน พอลิเมอริกไมเซลล์ ลิโพโซม นาโนพาร์ติเคิลไขมันแข็ง ซึ่งแต่ละ
เทคนิคมีข้อจ้ากัดท่ีแตกต่างกัน ดังนันการพัฒนาต้ารับเพ่ือเพิ่มค่าการละลายของยาต้องเลือกเทคนิคให้เหมาะสมกับสมบัติ
ของยาและรูปแบบของต้ารับ เพื่อน้ามาใช้พัฒนาในการเตรียมต้ารับยาละลายน้ายากในรูปแบบต่าง ๆ ได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ

12 TIPA Journal Vol. 9 No. 2 (2021)

บทนา  กลุ่ม 1: ค่าการละลายสูงและการซึม
ค่ าก ารล ะ ล าย (solubility) ก าร ผ่านสูง (Class 1: high solubility
– high permeability)
ละลาย (dissolution) และความสามารถใน
การซึมผ่านของยาในระบบทางเดินอาหาร  กลุ่ม 2: ค่าการละลายต่้าและการซึม
(gastrointestinal permeability) เป็ น ค่ า ผ่านสูง (Class 2: low solubility –
พารามิเตอร์พืนฐานที่ส่งผลต่อการดูดซึม high permeability)
(absorption) และค่าชีวประสิทธิผลของยา
(bioavailability) ไม่ว่าจะบริหารยาโดยการ  กลุ่ม 3: ค่าการละลายสูงและการซึม
รับประทานยารูปแบบยาเม็ด แคปซูล หรือยา ผ่านต่้า (Class 3: high solubility
น้าแขวนตะกอนก็ตาม โดยปัจจัยหลักท่ีส่งผล – low permeability)
ต่อค่าชีวประสิทธิผลของยาคือค่าการละลาย
และการซึม ผ่าน ของยา ปั จจุบั น พ บ ว่า  กลุ่ม 4: ค่าการละลายต่้าและการซึม
ประมาณ 70% ของยาใหม่ทังหมดมีค่าการ ผ่านต้่า (Class 4: low solubility –
ละลายนา้ ต้่าซง่ึ เป็นขอ้ จ้ากัดในการดูดซมึ ยาใน low permeability)
ทางเดินอาหารและการค่าชีวประสิทธิผลของ โดยท่ีข้อก้าหนดในการจ้าแนกค่าการ
ยา ดังนันการปรับปรุงค่าการละลายของยาถือ
ว่ามีความส้าคัญต่อการวิจัยและพัฒนาเพ่ือให้ ละลายและความสามารถในการซมึ ผ่านของยา
ได้ยาท่ีมีประสิทธิภาพต่อการรักษาผู้ป่วย(1) จะพิจารณาตามหลักการขององค์การอาหาร
โดยพบว่าปัจจัยท่ีส่งผลต่อค่าชีวประสิทธิผล และยาแหง่ สหรัฐอเมริกา (US FDA) ดังนี
ของยาจะขึนอยู่กับหลายปัจจัย เช่น ค่าการ
ละลาย ค่าการซึมผ่านยา (drug perme-  หากยาในขนาดท่ีใช้ในการรักษา
ability) อัตราการละลาย การเมตาบอลิซึม สูงสุด (ขนาดเดียว) สามารถละลาย
และการขบั ออกของยา ได้อย่างสมบูรณ์ในตัวกลางท่ีเป็นน้า
250 มิลลิลิตรหรือน้อยกว่า ในช่วง
การจ้าแนกประเภทของตัวยาส้าคัญ pH 1.2–6.8 ที่อณุ หภมู ิ 37±1 องศา-
ต าม ระบ บ ชีวเภ สั ชก รรม (biopharma- เซลเซียส จัดอยู่ในประเภทท่ีมีค่าการ
ceutics classification system, BCS) จ ะ ละลายสูง (2)
พิจารณาจาก 2 พารามิเตอร์หลัก คือ ค่าการ
ละลายในน้า และการซึมผ่านของตัวยาส้าคัญ  ยาท่ีมีการซึมผ่านสูง หมายความว่า
โดยแบง่ เป็น 4 กลมุ่ (class) ดังนี ค่าชีวประสิทธผิ ลสัมบรู ณ์ (absolute
bioavailability) ของยานัน มากกว่า
85% ของการได้รับยา

วารสารเภสชั กรอุตสาหการ ปที ่ี 9 ฉบับที่ 2 (2564) 13

โดยทั่ วไปจะศึกษ าการเพ่ิ มการ เช่น การใช้วิธีการบด (grinding) และการผสม
ละลายของยามักเป็นยาใน BCS กลุ่ม 2 (mixing) ตัวยาส้าคัญและสารช่วยต่าง ๆ ใน
เนื่องจากเป็นยามีข้อจ้ากัดด้านการละลายแต่ ต้ารับ ในกระบวนการผลิตยา เทคโนโลยีการ
ไม่มีปัญหาด้านการดูดซึมผ่านล้าไส้ เช่น ผลิตยามักมีการพัฒนาสมบัติของผงยาเพื่อใช้
itraconazole(3) manidipine HCl(4,5) แ ล ะ ในการพัฒนาต้ารับยารูปแบบใหม่ ๆ โดยตัว
nifedipine(6,7) ส่วนยาท่ีอยู่ใน BCS กลุ่ม 3 ยาส้าคัญหรือสารช่วยซ่ึงมีสมบัติท่ีต่างกันทัง
เป็นกลุ่มยาที่มีข้อจ้ากัดในด้านการดูดซึมผ่าน รูปร่าง (shape) ขนาด (size) ความขรุขระ
ล้าไส้แม้วา่ จะสามารถละลายไดอ้ ย่างรวดเร็วก็ (roughness) ค ว า ม ห น า แ น่ น (density)
ตาม เช่น cimetidine(8) acyclovir(9) และ ความสามารถในการเปียกน้า (wettability)
captopril(10) ดังนัน การพัฒนายากลุ่มนีจะ ความ แข็ง (hardness) การดูดความ ชืน
มุ่งเน้นไปท่ีการเพ่ิมประสิทธิภาพในการซึม (hygroscopicity) ความเปราะ (brittleness)
ผ่านล้าไส้เพ่ือเพิ่มค่าชีวประสิทธิผลของยา ซ่ึง เป็นต้น สมบัติเหล่านีล้วนมีความจ้าเป็น
ต่างจากยาที่อยู่ใน BCS กลุ่ม 4 ที่มีค่าชีว ส้าหรับการออกแบบและพัฒนาเพื่อให้ได้
ประสิท ธิผลต้่า เนื่องจากยาในกลุ่มนี มี ต้ารับที่มีความคงตัวและมีประสิทธิภาพสูงสุด
ข้อจ้ากัดทังเร่ืองการละลายและความสามารถ ในการรักษา เทคโนโลยีอนุภาคส้าหรับผงยาที่
ในการซึมผ่าน ตัวอย่างเช่น hydrochloro- มีความสามารถในการละลายน้าต่้าสามารถท้า
thiazide(11) paclitaxel(12) furosemide(13) ได้โดยใช้ 2 เทคนิคหลัก (ดังแสดงในรูปท่ี 1)
ซ่ึงยาในกลุ่มนีจะตอ้ งพัฒนาทังการเพ่ิมค่าการ คือ เทคนคิ ในการการลดขนาด (particle size
ละลายและความสามารถในการซึมผ่านเพ่ือ reduction) ซ่ึงรวมไปถึงเทคนิคการลดขนาด
เพิ่ มค่าชีวป ระสิท ธิผล ของยา ห รือการ เชิงกล (mechanical micronization/nano-
ปรับเปลี่ยนสตู รโครงสร้างของตัวยา sization) และเทคนิคการควบคุมขนาด
อนุภาคเชิงวิศวกรรม (engineering particle
ศาสตร์ด้านเทคโนโลยอี นุภาค size control) นอกจากนียังมีเทคโนโลยี
มีการน้าเทคโนโลยีอนุภาคไปใช้ใน อนุภาคเพื่อเพิ่มชีวประสิทธิผล (particle
technologies for improved bioavail-
หลายอุตสาหกรรม เช่น อุตสาหกรรมอาหาร ability) ดว้ ย
อุตสาหกรรมสารเคมี อุตสาหกรรมยา โดย
การประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมยาเป็นการใช้
สารต่าง ๆ ในรูปแบบผงแห้งเป็นจ้านวนมาก

14 TIPA Journal Vol. 9 No. 2 (2021)

รูปที่ 1 เทคโนโลยอี นภุ าคส้าหรับผงยาท่มี ีความสามารถในการละลายนา้ ต่า้ (1)

เท ค โน โล ยี อ นุ ภ า ค ส า ห รั บ ผ ง ย า ท่ี มี 1.1 การลดขนาดดว้ ยเทคนคิ เชงิ กล
ความสามารถในการละลายนาตา่ (1) การลดขนาดเชิงกลเป็นเทคนิคท่ีนิยม
ใช้กันอย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมยา ใน
1. การลดขนาด การเพม่ิ การละลายของยาที่มีการใช้ตังแต่สมัย
เทคนิคการลดขนาดเป็นเทคนิคท่ี โบราณถึงปัจจุบัน เน่ืองจากเป็นเทคนิคท่ีไม่
ซับซ้อน สามารถลดขนาดจากผงหยาบเป็นผง
นิยมใช้ในการพัฒนาค่าการละลายของยา ท่ีมีขนาดละเอียดได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งการลด
ละลายน้ายากหรือมีความสามารถในการ ขนาดอนุภาคดว้ ยเทคนิคนีจะสามารถใหข้ นาด
ละลายน้าต้่า ซ่ึงการลดขนาดของอนุภาคมีผล อนุภาคเฉลี่ยอยู่ในช่วง 2-5 µm และยังท้าให้
ให้พืนที่ผิวของผงยาเพิ่มขึน ท้าให้ผงยา มีอนุภาคท่ีเล็กเกินไป (เล็กกว่า 1 µm) เพียง
สามารถสัมผัสกับตัวท้าละลายได้มากขึน ผง เล็กน้อยเท่านัน หลักการของการลดขนาด
ยาจึงมีการละลายท่ีสูงขึน ส่งผลให้ค่าชีว อนุภาคโดยเทคนิคเชิงกล คือ ใช้แรงบด แรง
ประสิทธิผลของยาสูงขึนตามไปด้วย ซึ่ง เฉือน แรงดัน เพื่อท้าให้อนุภาคของผงยามี
บทความนีจะอธิบายถึงการลดขนาดอนุภาค ขนาดเล็กลง ซึ่งวิธีการลดขนาดท่ีแตกต่างกัน
ด้วยเทคนิคเชิงกล และเทคนิคการควบคุม
ขนาดอนุภาคเชิงวศิ วกรรม

วารสารเภสัชกรอตุ สาหการ ปีท่ี 9 ฉบับที่ 2 (2564) 15

ส่งผลต่อลักษณะของผงยาสุดท้าย ตัวอย่าง 1.1.2 เคร่ืองบดแบบลูกบอล เป็น
เคร่ืองมือในการลดขนาดเชิงกลของผงยาโดย กระบวนการลดขนาดของผงยาโดยอาศัย
ใช้ เช่น เครื่องบดด้วยลมพ่น (jet milling) หลักการหมุนของเครื่องที่มีลูกบอลจ้านวน
เครื่องบดแบบลูกบอล (ball milling) และ มากอยู่ภายใน โดยผงยาที่ถูกใส่ลงไปในเคร่ือง
เคร่ืองป่ันผสมเป็นเนือเดียวกันด้วยแรงดันสูง นันจะถูกบดลดขนาดขณะเกิดการหมุนของ
(high pressure homogenization) เคร่อื ง กล่าวคือ ลูกบอลท่ีถกู กลิงพาไปทิศทาง
ท่ีสูงขึนจะตกลงมากระทบกับผงยาซ้าแล้วซ้า
1.1.1 เคร่ืองบดด้วยลมพ่น เป็น อีก ท้าให้ผงยามีขนาดเล็กลง ดังแสดงในรูปท่ี
กระบวนการลดขนาดของผงยาเพื่อให้ได้ผงยา 3 การท้างานของเครื่องบดแบบลูกบอล
ที่ละเอียดเป็นพิเศษ โดยอาศัยแรงจากการ สามารถลดขนาดของผงยาได้ทังสภาวะเปียก
ไหลของอากาศท้าให้อนุภาคของยาที่ลอยดว้ ย และแห้ง นอกจากนียังพบว่าการลดขนาดของ
แรงดันอากาศเกิดการกระทบกันด้วยความเร็ว ผงยาโดยเทคนิคนีสามารถเตรียมผงยาให้เป็น
สูง อนุภาคยาจึงแตกออกและมีขนาดเล็กลง รูปแบบอสัณฐาน (amorphous) ไดอ้ กี ด้วย
ผงยาท่ีมีขนาดท่ีเหมาะสมจะสามารถผ่านตัว
กรอง (classifying wheel) ของเคร่ืองได้ ดัง อนภุ าคของผงยา
แสดงในรูปที่ 2 กระบวนการนีเป็นกระบวน
การลดขนาดแบบแห้ง มีการกระจายตัวของ
ขนาดอนุภาคต้่า และเหมาะกับยาที่ไม่ทน
ความร้อน

อนภุ าคของผงยา รู ป ที่ 3 เค รื่ อ งบ ด แ บ บ ลู ก บ อ ล (ball
milling)(1)
รูปที่ 2 เครอื่ งบดดว้ ยลมพน่ (jet milling) (1)
1.1.3 เครื่องปั่นผสมเป็นเนือเดียวกัน
16 TIPA Journal Vol. 9 No. 2 (2021) ด้วยแรงดันสูง เป็นการลดขนาดโดยการน้าผง
ย า ม า เต รี ย ม ใ ห้ อ ยู่ ใ น รู ป แ บ บ ย า น้ า แ ข ว น
ตะกอน (powder in suspension) ก่อนโดย

ลดขนาดด้วยเครื่องปั่นผสมเป็นเนือเดียวกัน ข้อจ้ากัดหลายประการ เช่น ประสิทธิภาพใน
ชนิดหัวปั่นธรรมดา จากนันจึงน้ามาลดขนาด การเพิ่มการละลายน้าได้ไม่ดีมากนัก ตัวยา
ดว้ ยเครื่องปัน่ ผสมเป็นเนือเดียวกันด้วยแรงดัน ส้าคัญอาจเส่ือมสลายจากแรงท่ีใช้ในการลด
สูง โดยการใช้แรงดันสูงอัดยาผ่านช่องแคบจน ขนาดซึ่งส่งผลให้สมบัติของยาเปล่ียนแปลงไป
ท้าให้อนุภาคของผงยายาแตกออก ท้าให้ ย า อ า จ เส่ื อ ม ส ล า ย ด้ ว ย อุ ณ ห ภู มิ ท่ี เกิ ด จ า ก
ขนาดอนุภาคของผงยาเล็กลง ดงั แสดงในรูปท่ี กระบวนการลดขนาด การเสียดสี นอกจากนี
4 ซึ่งกระบวนการนีเป็นกระบวนการลดขนาด อนุภาคท่ีเตรียมได้อาจมีการกระจายขนาด
แบบเปียก นิยมใชใ้ นตา้ รับทเี่ ป็นของเหลวและ ของผงยาท่ีกว้าง ดังนันการเลือกใช้เครื่องมือ
กึ่งแข็งก่ึงเหลว ซ่ึงถ้าต้องการให้ได้ยาใน ในการลดขนาดจึงต้องเลือกให้เหมาะสมกับ
รูปแบบผงแห้งจะต้องท้าการระเหยตัวท้า สมบัตขิ องผงยาแตล่ ะชนดิ
ละลายออก โดยของเหลวท่ีใช้แขวนตะกอน
จะต้องระเหยงา่ ยเพื่อใหส้ ารแห้งได้เร็ว 1.2 การควบคุมขนาดอนุภาคเชิง
วิศวกรรม
รูปที่ 4 เครื่องปั่นผสมเป็นเนือเดียวกันด้วย
แรงดนั สูง (high pressure homogenizer)(1) อนุภาคเชิงวิศวกรรม (engineered
particles) หมายถึง อนุภาคที่ออกแบบและ
การลดขนาดของผงยาโดยใช้เทคนิค ตังใจผลิตขึนมาโดยมีสมบัติ (property) หรือ
เชิงกลเพ่ือเพิ่มค่าการละลายของผงยาเป็นที่ องค์ประกอบ (composition) ที่มีลักษณะ
นิยมอยา่ งมากในระดบั อุตสาหกรรม เนื่องจาก เฉพาะตัวของอนุภาคนัน เช่น รูปร่าง ขนาด
เป็นวธิ ที ไี่ ม่ซับซอ้ นและค่าใช้จ่ายไม่สงู อย่างไร สมบัติทางเคมี พืนท่ีผิวสัมผัส หรือประจุที่
ก็ตามการลดขนาดด้วยเทคนิคเชิงกลยังมี ผิวหน้า ในขณะที่อนุภาคท่ีเกิดขึนโดยบังเอิญ
(incidental particles) เกิดขึนในลักษณะที่
ค ว บ คุ ม ไม่ ได้ แ ล ะ มั ก จ ะ เป็ น เนื อ ผ ส ม
(heterogeneous) ส่งผลต่อการรวมตัวกัน
เป็นอนุภาคขนาดใหญ่ได้ เม่ือเปรียบเทียบกับ
อนุภาคเชิงวิศวกรรม ดังนันการประยุกต์น้า
การควบคมุ ขนาดอนุภาคเชงิ วิศวกรรมมาใช้ใน
การลดขนาดนันจัดเป็นทางเลือกใหม่ในการ
ลดขนาดอนุภาคและเพิ่มค่าการละลายของยา
ทีม่ ีค่าการละลายต้่า ซึ่งสามารถลดข้อจ้ากัดใน

วารสารเภสัชกรอุตสาหการ ปีที่ 9 ฉบบั ท่ี 2 (2564) 17

เรื่องขนาดของอนุภาคของการลดขนาดเชิงกล (โดยท่ัวไปจะใช้ไนโตรเจนเหลว) หลักการจะ
ได้ ตัวอย่างการควบคุมขนาดอนุภาคเชิง คล้ายกับเทคนิคการพ่นแห้ง (spray drying)
วศิ วกรรม เช่น กระบวนการพ่นด้วยความเย็น แต่ต่างกันท่ีการพ่นด้วยความเย็นใช้ความเย็น
(cryogenic spray process) และการเปล่ียน ในการพ่นละอองยาแทน ผงยาท่ีได้จะมีขนาด
แปลงโครงร่างผลึกของยา (pharmaceutical ระดับนาโนเมตร ลักษณะเป็นรูปอสัณฐาน
crystal engineering) พืนท่ีผิวสูง มีความสามารถในการเปียกสูง
ดังนัน ผงยาที่เตรียมได้จึงมีความสามารถใน
1.2.1 การพน่ ด้วยความเยน็ การละลายสงู
การพ่นด้วยความเย็นเป็นเทคนิคการ
ลดขนาดอนุภาคแบบใหม่ที่สามารถเพิ่มค่า รูปที่ 5 แผนผังอุปกรณ์ท่ีท้างานด้วยเทคนิค
การละลายของยาละลายน้ายากได้โดยการ ก าร พ่ น ด้ ว ย ค ว าม เย็ น โด ย ท่ี (A) the
เปลี่ยนผงยาให้อยู่ในรูปอสัณฐานและมีรูพรุน solution cell, (B) high pressure pump,
ของผงยาจ้านวนมาก เทคนิคที่ใช้การควบคุม ( C) atomizing nozzle แ ล ะ ( D) the
อุณหภูมิในการท้าให้แห้งที่สภาวะเยือกแข็งที่ cryogenic liquid cell (14)
นิยมใช้ คือ เทคนิคท้าให้แห้งโดยการพ่นที่
ส ภ า ว ะ เยื อ ก แ ข็ ง (spray freezing into 1.2.2 การเปลี่ยนแปลงโครงร่าง
cryogenic liquids หรือ SFL) เป็นเทคนิคที่ ผลึกของยา
ใช้สารที่มีอุณหภูมิต้่าเป็นตัวกลางในท้าให้
สารละลายของยาเปลี่ยนเป็นผง ตัวอย่างของ การเปล่ียนแปลงโครงร่างผลึกเป็น
สารตัวกลางอุณ หภูมิต้่าที่นิยมใช้ ได้แก่ กระบวนการท่ีควบคุมการตกผลึกของยาท้าให้
halocarbon chlorofluorocarbon แ ล ะ เกิ ด ป ฏิ กิ ริ ย า ร ะ ห ว่ า ง โม เล กุ ล ให้ เกิ ด ก า ร
liquid nitrogen เทคนิคนีสามารถเตรียม เปลี่ยนแปลงภายในโมเลกุลของโครงร่างผลึก
สารละลายตัวกลางของยาได้หลายรูปแบบ ในปัจจุบันมีกระบวนการตกผลึกหลายเทคนิค
เช่น สารละลาย ยาแขวนตะกอน ยาอิมัลชัน เพื่อพัฒนาค่าการละลายของยา อนุภาคโค
รปู ท่ี 5 แสดงหลักการท้างานของเทคนคิ ท้าให้
แห้งโดยการพ่นด้วยความเย็นท่ีสภาวะเยือก
แข็ง โดยแรงดันจากปั๊มแรงดันสูง (B) ผลัก
สารละลายของยาที่อยู่ในเซลล์ (A) ให้ผ่านหัว
พ่นสเปรย์ (C) ออกมาเป็นละอองฝอยลงสู่ถัง
บรรจุตัวกลาง (D) ในสภาวะท่ีมีอุณหภูมิต่้า

18 TIPA Journal Vol. 9 No. 2 (2021)

คริสตอล (co-crystals) ถือได้ว่าเป็นเทคนิคท่ี การเพิ่มค่าชีวประสิทธิผลของยา ซึ่งการท่ี
มีการศึกษาเพ่ิมขึนในช่วง 5-10 ปีท่ีผ่านมา ค่าชีวประสิทธผิ ลของยาเพ่ิมขึนเกิดจากยานัน
อาศัยหลักการตกผลึกของสารตังแต่ 2 ชนิด มีค่าการละลายและความสามารถในการซึม
ขึนไปมาตกผลึกร่วมกัน ในอัตราส่วนท่ี ผ่านท่ีดีขึน ตัวอย่างเทคโนโลยีเพื่อปรับปรุง
เหมาะสมตาม stoichiometry และมีสถานะ ค่าชีวประสิทธิผล เช่น ระบบน้าส่งยาชนิดเกิด
เป็นของแข็งท่ีอุณหภูมิห้องเกิดเป็นผลึกใหม่ อิมัลชันได้เองรูปแบบของแข็ง (solid self-
ขึนมา โดยผลึกท่ีได้จะมีสมบัติที่เปลี่ยนไปจาก emulsifying drug delivery systems หรือ
เดิม ทังการจับกันของพันธะของสาร ความคง S-SEDDS) การเกิดสารประกอบเชิงซ้อนกับ
ตัวของสาร ค่าการละลายของสาร เป็นต้น ซึ่ง ไซ โค ล เด ก ซ์ ต ริ น (complexation with
มีการศึกษาพบว่าการเตรียมยาให้ อยู่ใน cyclodextrins) พ อ ลิ เ ม อ ริ ก ไ ม เ ซ ล ล์
รูปแบบโคคริสตอลสามารถเพิ่มการละลาย (polymeric micelle) ลิโพโซมรูปแบบผง
ของยาได้หลายเท่า แต่ขึนกับสารประกอบที่ แห้ง (dried liposomes) และนาโนพาร์ติเคิล
น้ามาตกผลึกร่วมด้วย นอกจากนันยังมีอีก ไขมันแข็ง (solid lipid nanoparticles หรือ
หลายเทคนิคท่ีสามารถเพิ่มค่าการละลายของ SLN)
สารโดยการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของยา
เชน่ การเตรียมยาใหเ้ ป็นรปู อสัณฐานหรอื รูปที่ 2.1 ระบบนาส่งยาชนิดเกิดอิมัลชัน
คงตัวน้อยกว่า (metastable polymorphs) ไดเ้ องรูปแบบของแขง็
การใช้กระบวนการบดแบบเปียก การใชเ้ คร่อื ง
แยกสารด้วยการส่ันสะเทือนของคลื่นอัลตรา ระบบน้าส่งยาชนิดเกิดอิมัลชันได้เอง
โซนิค (sonication) เพ่ือให้โมเลกุลของสาร รูปแบบของแข็งเป็นระบบการน้าส่งท่ีนิยมใช้
นันแยกออกเป็นส่วน ๆ ซ่ึงแต่ละเทคนิคที่ กับยาที่ละลายได้ดีในน้ามันหรือยาละลายน้า
เลือกจะขึนอยู่กับสมบัติของยาที่จะเพิ่มการ ยาก ซ่งึ ระบบนีจะคล้ายกับระบบน้าสง่ ยาชนิด
ละลาย เกิดอิมัลชันได้เอง (self-emulsifying drug
delivery systems, SEDDS) ซ่ึงประกอบด้วย
2. เท ค โน โล ยี เพ่ื อ ป รับ ป รุงค่ าชี ว - ส่วนท่ีเป็นตัวยา น้ามัน และสารลดแรงตึงผิว
ประสทิ ธิผลของผงยา สามารถเพิ่มชีวประสิทธิผลของยาได้จาก
การปรับปรุงค่าชีวประสิทธผิ ลของยา หลายกลไก เช่น ท้าให้เกิดการเปล่ียนแปลง
องค์ประกอบและสมบัติของสภาพแวดล้อมใน
เป็นเทคโนโลยีท่ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ยาที่ ล้าไส้เล็ก กระตุ้นการหลั่งเอนไซม์ไลเปสหรือ
ร่างกายได้รับมีประสิทธิภาพในการรักษาโดย เอนไซม์จากตับอ่อน มีการขนส่งยาผ่านทาง

วารสารเภสชั กรอตุ สาหการ ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 (2564) 19

ระบบทางเดินอาหารและระบบนา้ เหลือง และ nimodipine( 17) flurbiprofen( 18) dexi-
ยับยังการท้างานของพี-ไกลโคโปรตีนท้าให้ลด buprofen( 19) docetaxel( 20) curcumin( 21)
กระบวนการเมตาบอลิซึมของยาได้ (15,16) โดย ซ่ึงพบว่ามีการละลายและค่าชีวประสิทธิผล
S-SEDDS เป็นการน้า SEDDS มาเตรียมใน สูงขึนเมื่อเตรยี มต้ารบั เปน็ รปู แบบ S-SEDDS
รูปแบบของแข็งด้วยเทคนิคต่าง ๆ เช่น การ
พ่นแห้ง การดูดซับโดยใช้ตัวพาของแข็ง 2.2 การเกิดสารประกอบเชิงซ้อน
(adsorption to solid carriers) ก า ร ท้ า กบั ไซโคลเดกซ์ตริน
แกรนูลแบบหลอม (melt granulation) และ
การหลอมอัดรีด (melt extrusion) ซึ่งสารท่ี ไซโคลเดกซ์ตริน ประกอบด้วยหมู่
เตรียมได้มีลักษณ ะเป็นผงท่ีสามารถก่อ (α-1,4)-linked a-D-glucopyranose โดยมี
อิมัลชันได้เองเม่ือสัมผัสน้า ท้าให้ผงยาท่ีได้มี ช่องว่างด้านในโมเลกุลที่ชอบไขมัน (ส่วนท่ีไม่
ค่าการละลายสูงขึน โดย S-SEDDS มีการ มีขัว) และขอบด้านนอกชอบน้า (ส่วนท่ีมีขัว)
ประยุกต์ใช้ส้าหรับเตรียมต้ารับของแข็งหลาย ลักษณะรูปร่างคล้ายถ้วย (ดังแสดงในรูปท่ี 6)
รูปแบบเพ่ือใช้รับประทาน เช่น เพลเลต ไซโคลเดกซ์ตรินแบ่งตามจ้านวนกลูโคสใน
(pellet) อิมัลชันแบบแห้ง (dry emulsion) โมเลกุลได้ 3 ชนิด คือ แอลฟา เบต้าและ
แคปซูล ยาเม็ด ยาเหน็บ โดยท่ัวไป SEDDS แกมมา (α, ß และ γ-cyclodextrins) ซึ่ง
มีลักษณะเป็นของเหลวท้าให้เวลาเตรียมเพื่อ ประกอบด้วยหน่วยย่อยของกลูโคส 6, 7 และ
รับประทานต้องน้า SEDDS บรรจุแคปซูล 8 หน่วย ตามล้าดับ ปัจจุบันมีการน้าไซโคล
เปลือกนิ่ม ซึ่งเป็นข้อจ้ากัดในการผลิต มี เดกซต์ รนิ มาประยุกตใ์ ช้ในอตุ สาหกรรมยาเพ่ือ
กระบวนการผลิตซับซ้อน ใช้ต้นทุนสูง และ ช่วยเพ่ิมค่าการละลาย ชีวประสิทธิผล และ
อาจมีปัญหาความไม่เข้ากันของสารกับเปลือก ความคงตัว โดยการน้ายาที่มีค่าการละลายต้่า
แคปซูล รวมทังปัญหาความคงตัว ซ่ึงปัญหา ม า เต รี ย ม ใ ห้ อ ยู่ ใ น รู ป แ บ บ ส า ร ป ร ะ ก อ บ
เหล่านีท้าให้การเตรียม SEDDS เป็นรูปแบบ เชิงซ้อนกับไซโคลเดกซ์ตริน ซ่ึงวิธีการเตรียม
ของเหลวท้าได้ยาก ดังนันการเตรียมเป็น สารประกอบเชิงซ้อนด้วยไซโคลเดกซ์ตรินใน
รูปแบบของแข็งถือได้ว่าเป็นทางเลือกหน่ึง รูปแบบผงสามารถท้าได้หลายวิธี เช่น การท้า
ส้าหรับการเตรียมยาในรูปแบบนี ปัจจุบันได้มี แห้งเยือกแข็ง (freeze drying) การพ่นแห้ง
งานวิจัยศึกษาการเตรียมต้ารับรูปแบบ S- การอัดรีด ซ่ึงการใช้ไซโคลเดกซ์ตรินส่วนใหญ่
SEDDS ของยาท่ีมีการละลายและค่าชีว มักใช้เพ่ือช่วยละลายยา แต่หากใช้ปริมาณ
ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล ต่้ า เ ช่ น nifedipine(7) มากเกนิ ไปอาจมีผลลดความสามารถในการซึม
ผ่านของยา ซ่ึงส่งผลต่อค่าชีวประสิทธิผลได้
20 TIPA Journal Vol. 9 No. 2 (2021)

ดังนัน การเตรียมต้ารับโดยใช้ไซโคลเดกซ์ตริน ภายนอกเป็นส่วนมีขัวที่ชอบน้า (hydro-
เพ่ือเพิ่มการละลายของยาควรพิจารณาความ phillic) ท้าหน้าท่ีปกป้องตัวยาส้าคัญไม่ให้ถูก
เข้มข้นไซโคลเดกซ์ตรินไม่ให้มากเกินไปหรือ ทา้ ลาย ชว่ ยให้โครงสร้างมีความคงตัวและเพิ่ม
อาจเลือกจุดที่สมดุลระหว่างค่าการละลาย การละลายได้ ดังแสดงในรูปท่ี 7 โดยทั่วไป
และความสามารถในการซึมผ่านท่ีท้าให้มีค่า เม่ื อ พ อ ลิ เม อ ริ ก ไ ม เซ ล ล์ ก ร ะ จ า ย ตั ว อ ยู่ ใ น
ประสิทธิผลสูงเพ่ือให้ยาออกฤทธิ์การรักษาได้ สารละลายมขี วั จะมอี นภุ าคขนาดเลก็ กว่า 100
อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวอย่างเช่น Pt(IV)- นาโนเมตร จึงสามารถเพิ่มการละลายของตัว
bis(benzoato)(22) chloramphenicol(23) ยาท่ีละลายน้ายาก ซ่ึงการใช้พอลิเมอร์ในการ
เตรียมพอลิเมอริกไมเซลล์ช่วยลดความเป็น
พิษจากการใช้สารลดแรงตึงผิว และสามารถ
เพ่ิมชีวประสิทธผิ ลของยาที่ใชใ้ นการรักษาโรค
ได้

รูปท่ี 6 โครงสร้างของแอลฟา เบต้าและ รปู ที่ 7 พอลิเมอรกิ ไมเซลล์ (25)
แกมมาไซโคลเดกซ์ตรนิ (24)
2.4 ลิโพโซมรูปแบบผงแห้ง
2.3 พอลเิ มอรกิ ไมเซลล์ ลิโพโซมเป็นระบบน้าส่งยาท่ีเป็นถุง
พอลิเมอริกไมเซลล์ เป็นระบบน้าส่ง ขนาดเล็กในระดับนาโนเมตรถึงไมโครเมตร
ยารูปแบบหน่ึงที่นิยมใช้น้าส่งยาท่ีละลายน้า โดยโครงสร้างมีลักษณะการเรียงตัวของสาร
ยาก เกิดจากพอลิเมอร์ที่มีโครงสร้างเป็นแอม ไขมันประเภทฟอสโฟลิปิด (phospholipid)
ฟิฟิลิกพอลิเมอร์ (amphiphilic polymer) เรยี งตวั ซ้อนกันสองชันสลับกับชันน้า ซ่ึงส่วนท่ี
สามารถก่อตัวเป็นไมเซลล์ได้ด้วยตัวเองใน ชอบน้าจะหันเข้าหาน้าและส่วนที่ไม่ชอบน้า
สารละลายมีขัว โครงสร้างภายในเปน็ ส่วนไม่มี จะเข้าหาตัวมันเอง (ดังแสดงในรูปท่ี 8) โดย
ขัวที่ไม่ชอบน้า (hydrophobic) ท้าหน้าที่กัก
เก็บยาท่ี ละลายน้ายาก ส่วนโครงสร้าง

วารสารเภสัชกรอตุ สาหการ ปีที่ 9 ฉบบั ท่ี 2 (2564) 21

ปกติแล้วฟอสโฟลิปิดที่น้ามาใชเ้ ตรียมลิโพโซม ป้องกันการสลายของยา อย่างไรก็ตามการ
เป็นโมเลกุลชนิดแอมฟิฟิลิก (amphiphilic) เตรียมในรูปแบบท่ีกระจายในตัวกลางที่เป็น
ป ระก อบ ด้วยส่ วน หั วที่ มี ขั วซึ่ งชอบ น้ า ของเหลวจะมีปัญหาในด้านการเกาะกลุ่มกัน
(hydrophilic polar head groups) แ ล ะ การหลอมรวมกัน และการสลายตัวจากน้าได้
ส่วนหางทีไ่ ม่มีขวั ซงึ่ ไมช่ อบนา้ (hydrophobic ซึ่งสาเหตุข้างต้นท้าให้การเตรียมลิโพโซมใน
non polar-fatty chains) เมื่อปริมาณความ รูปแบบนีมีอายุสัน ดังนันการเตรียมต้ารับลิโพ
เข้มข้นของฟอสโฟลิปิดมากพอผสมกับน้า โซมให้อยู่ในรูปแบบแห้งจึงเป็นอีกทางเลือก
ส่วนหางท่ีไม่ชอบน้าจะรวมเป็นกลุ่มเข้าหากัน หน่ึงทสี่ ามารถชว่ ยแก้ปญั หาความไม่คงตวั ของ
และไล่น้าออกไป ในขณะที่ส่วนหัวที่ชอบน้า ลิโพโซมรูปแบบท่ีกระจายในตัวกลางที่เป็น
จะยึดเกาะกับน้า ผลที่ได้คือเกิดการเรียงตัว ของเหลวได้ ในปัจจุบันอาจเรียกลิโพโซมใน
กันของโมเลกุลฟอสโฟลิปิดเป็นเมมเบรน 2 รูป แบ บ ผงแห้งนีว่า โปรลิโพ โซม (pro-
ชัน ส่วนหางที่ไม่มีขัวจะหันเข้าหากันและอยู่ liposome)(29,30)
ภายในเมมเบรน และส่วนหัวที่มีขัวจะหันออก
ด้ า น น อ ก คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ พิ เศ ษ ใน ก า ร รปู ที่ 8 ลโิ พโซม (31)
เกิดปฏิกิริยากับน้าของฟอสโฟลิปิดนีเองท่ี
สามารถท้าให้กกั เกบ็ ยาไวไ้ ดภ้ ายในลโิ พโซม โปรลิโพโซมเป็นลิโพโซมที่มีลักษณะ
เป็นผงแห้ง มีการไหลที่ดี มีส่วนประกอบ
ลิโพโซมสามารถใช้น้าส่งยาได้โดย เหมือนลิโพโซมทั่วไป คือตัวยาส้าคัญ ฟอสโฟ
การเก็บกักยาท่ีละลายน้าได้น้อยไวใ้ นส่วนที่ไม่ ลิปิด และสารช่วยอ่ืน ๆ ดังนันการเตรียมลิโพ
ชอบน้าและเก็บกักยาที่ละลายน้าได้ดีไว้ใน โซมจะต้องเลือกสัดส่วนของฟอสโฟลิพิดให้
สว่ นท่เี ป็นน้าภายในลิโพโซม สว่ นใหญม่ กี ารใช้ เหมาะสมเพ่ือให้สามารถเม่ือสัมผัสกับน้าแล้ว
เพ่ือน้าส่งยาต้านมะเร็งชนิดต่าง ๆ เช่น เกิดเป็นลิโพโซมได้ โดยการเตรียมเป็นรปู แบบ
doxorubicin ส้ าห รับ รัก ษ าม ะ เร็ งล้ าไส้
(colon cancer)(26) all-trans retinoic acid
ส้าหรับรักษามะเร็งไทรอยด์(27) paclitaxel
ส้าหรับรักษามะเร็งปอด(28) ลิโพโซมมีข้อดี
หลายประการ เช่น เพิ่มประสิทธิภาพการ
น้าส่งยาท่ีมีค่าการละลายต่้าให้สามารถน้าส่ง
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ิมประสิทธิภาพใน
การออกฤทธ์ิของยา เพิ่มความคงตัวโดยการ

22 TIPA Journal Vol. 9 No. 2 (2021)

โปรลิโพโซมสามารถใช้ในการบริหารยาได้ เป็นพิษ สามารถช่วยควบคุมการปลดปล่อย
หลายรูปแบบ ได้แก่ รูปแบบรับประทาน ของยาได้ สามารถเก็บกักยาได้ทังยาที่ละลาย
รูปแบบผงละลายน้าส้าหรับฉีด รูปแบบการ ไขมันและละลายน้า นอกจากนียังพบว่าการ
พน่ เตรียมด้วยเทคนิค SLN สามารถช่วยเพิ่มค่า
การละลายและเพ่ิมค่าชวี ประสิทธผิ ลของยาท่ี
2.5 นาโนพาร์ติเคิลไขมันแข็ง มีค่าการละลายนา้ ตา่้ ได้
นาโนพาร์ติเคิลไขมันแข็งเป็นระบบ
การน้าส่งด้วยตัวพาท่ีเป็นคอลลอยด์คล้ายนา สรุป
โนอิมัลชัน แตกต่างกันโดยใช้ไขมันชนิด เทคโนโลยอี นภุ าคท่ีน้ามาใช้ทางเภสัช
ของแข็งแทนไขมันที่เป็นของเหลว โดย
ส่วนประกอบของ SLN ประกอบด้วยไขมัน กรรมสามารถช่วยเพิ่มค่าการละลายของยาได้
แข็ง สารลดแรงตึงผิวและน้า ซ่ึงไขมันท่ีใชเ้ ป็น ส่วนมากใช้กับตัวยาที่มีค่าการละลายน้าต่้า
ไขมันท่ีเป็นของแข็งท่ีอุณ หภูมิห้องและ สามารถแบ่งเทคโนโลยีในการเพิ่มค่าการ
อณุ หภูมิร่างกาย ซ่ึงสามารถเตรียมได้หลายวิธี ละลายได้ 2 กลุ่ม คือ การเพิ่มค่าการละลาย
เช่น การใช้เครื่องป่ันผสมเป็นเนอื เดียวกันด้วย ด้วยเทคนิคแบบดังเดิมและแบบใหม่ ซึ่ง
แรงดันสูง การเตรียมเป็นอิมัลชันและระเหย เทคนิคแบบดังเดิมเป็นการลดขนาดเชิงกลโดย
ตั ว ท้ า ล ะ ล า ย (emulsification-solvent อาศัยการเพิ่มพืนที่ผิวของผงยาท้าให้สามารถ
evaporation) วิ ธี ฉี ด ด้ ว ย ตั ว ท้ า ล ะ ล า ย ละลายยาได้มากขึน แต่เทคนิคนีก็ยังมี
(solvent injection) เต รีย ม อิ มั ล ชั น โด ย ข้อจ้ากัดหลายอย่าง ประสิทธิภาพการเพ่ิม
วิ ธี ก า ร ปั่ น ผ ส ม ด้ ว ย ค ลื่ น เสี ย ง ค ว า ม ถ่ี สู ง การละลายได้อย่างจ้ากัด ตวั ยาอาจเส่ือมสลาย
(emulsification utrasonication method) ได้จากแรงจากการบดและอุณหภูมิ และการ
ซ่ึงการเตรียมโดยการใช้เคร่ืองปั่นผสมเป็นเนือ กระจายขนาดของอนุภาคยากว้าง ส่วน
เดียวกันด้วยแรงดันสูงเป็นที่นิยมและได้ผลดี เทคนิคการเพิ่มการละลายแบบใหม่สามารถ
ที่สุด โดยอนุภาคของ SLN ท่ีเตรียมได้มีขนาด ลดข้อจ้ากัดข้างต้นได้ โดยการเปล่ียนแปลง
เล็ ก แ ล ะ มี ก า ร ก ร ะ จ า ย ข น า ด อ นุ ภ า ค ต่้ า โครงร่างผลึกของยา หรือจะใช้เทคโนโลยีเพื่อ
ห ลี ก เล่ี ย งก ารใช้ ตั วท้ าล ะล าย อิ น ท รีย์ ปรับปรุงค่าชีวประสิทธิผลของผงยา อาทิ
นอกจากนันยังสามารถขยายก้าลังการผลิตได้ ระบบน้าส่งยาชนิดเกิดอิมัลชันได้เองรูปแบบ
ง่าย การเตรียม SLN มีข้อดีหลายประการ ของแข็ง การเกิดสารประกอบเชิงซ้อนกับไซ
เชน่ สามารถเพิ่มความคงตัวของยา ไม่มีความ โคลเดกซ์ตริน พอลิเมอริกไมเซลล์ ลิโพโซม
รูปแบบแห้ง นาโนพาร์ติเคิลไขมันแข็ง ซึ่งแต่

วารสารเภสชั กรอตุ สาหการ ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 (2564) 23

ละเทคนิคมีข้อจ้ากัดที่แตกต่างกัน ดังนันการ รูปแบบของต้ารับ เพ่ือน้ามาใช้พัฒนาในการ
พัฒนาต้ารับเพื่อเพิ่มค่าการละลายของยาต้อง เตรียมต้ารับยาที่มีค่าการละลายต้่าในรูปแบบ
เลือกเทคนิคให้เหมาะสมกับสมบัติของยาและ ต่าง ๆ ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

เอกสารอา้ งอิง dispersion powders with various adsorbents.
1. Khadka P, Ro J, Kim H, Kim I, Kim JT, Kim H, Cho Asian J Pharm Sci;12(4): 335-43.
7. Weerapol Y, Limmatvapirat S, Jansakul C,
JM, Yun G, Lee J. 2014. Pharmaceutical particle Takeuchi H, Sriamornsak P. 2015. Enhanced
technologies: An approach to improve drug dissolution and oral bioavailability of nifedipine
solubility, dissolution and bioavailability. Asian J by spontaneous emulsifying powders: effect of
Pharm Sci; 9: 304-16. solid carriers and dietary state. Eur J Pharm
2. https://www.fda.moph.go.th/sites/drug/Shared Biopharm;91: 25-34.
%20Documents/Law04-Notification-ThFDA/FDA- 8. Xu Y, Fang T, Yang Y, Sun L, Shen Q. 2019.
20200420.pdf. Preparation of deoxycholate-modified
3. Burapapadh K, Takeuchi H, Sriamornsak P. 2012. docetaxel-cimetidine complex chitosan
Novel pectin-based nanoparticles prepared nanoparticles to improve oral bioavailability.
from nanoemulsion templates for improving in AAPS Pharm Sci Tech; 20(7): 302.
vitro dissolution and in vivo absorption of 9. Madgulkar A, Bhalekar MR, Dikpati AA. 2016.
poorly water-soluble drug. Eur J Pharm Improving oral bioavailability of acyclovir using
Biopharm; 82(2): 250-61. nanoparticulates of thiolated xyloglucan. Int J
4. Chamsai B, Limmatvapirat S, Sungthongjeen S, Biol Macromol; 89: 689-99.
Sriamornsak P. 2017. Improved stability of solid 10. Rezaee F, Ganji F. 2018. Formulation,
dispersions of manidipine with polyethylene characterization, and optimization of captopril
glycol 4000/ copovidone blends: application of fast-dissolving oral films. AAPS PharmSciTech;
ternary phase diagram. Drug Dev Ind Pharm; 19(5): 2203-12.
43(3): 483-91. 11. Mendes C, Buttchevitz A, Kruger JH, Kratz JM,
5. Chamsai B, Limmatvapirat S, Sungthongjeen S, Simões CM, de Oliveira Benedet P, Oliveira PR,
Sriamornsak P. 2017. Enhancement of solubility Silva MA. 2016. Inclusion complexes of
and oral bioavailability of manidipine by hydrochlorothiazide and beta-cyclodextrin:
formation of ternary solid dispersion with d- Physicochemical characteristics, in vitro and in
alpha-tocopherol polyethylene glycol 1000 vivo studies. Eur J Pharm Sci; 83: 71-8.
succinate and copovidone. Drug Dev Ind Pharm; 12. Okamoto Y, Taguchi K, Sakuragi M, Imoto S,
43(12): 2064-75. Yamasaki K, Otagiri M. 2019. Preparation,
6. Weerapol Y, Limmatvapirat S, Nunthanid J, Characterization, and in vitro/in vivo evaluation
Konthong S, Suttiruengwong S, Sriamornsak P. of paclitaxel-bound albumin-encapsulated
2017. Development and characterization of liposomes for the treatment of pancreatic
nifedipine-amino methacrylate copolymer solid cancer. ACS Omega; 4(5): 8693-700.

24 TIPA Journal Vol. 9 No. 2 (2021)

13. Shariare MH, Altamimi MA, Marzan AL, docetaxel with improved dissolution and
Tabassum R, Jahan B, Reza HM, Rahman M, bioavailability. Biol Pharm Bull; 34(2): 278-86.
Ahsan GU, Kazi M. 2019. In vitro dissolution and 21. Kamal MM, Salawi A, Lam M, Nokhodchi A, Abu-
bioavailability study of furosemide Fayyad A, El Sayed KA, Nazzal S. 2020.
nanosuspension prepared using design of Development and characterization of curcumin-
experiment (DoE). Saudi Pharm J; 27(1): 96-105. loaded solid self-emulsifying drug delivery
system (SEDDS) by spray drying using Soluplus®
14. Hu J, Johnston KP, Williams RO. 2003. Spray as solid carrier. Powder Techol; 369: 137-45.
freezing into liquid ( SFL) particle engineering 22. Ravera M, Gabano E, Bianco S, Ermondi G,
technology to enhance dissolution of poorly Caron G, Vallaro, Pelosi G, Zanellato I, Bonarrigo
water soluble drugs: organic solvent versus I, Cassino C, Osella D. 2015 Host–guest inclusion
organic/ aqueous co-solvent systems. Eur J systems of Pt(IV)-bis(benzoato) anticancer drug
Pharm Sci; 20: 295-303. candidates and cyclodextrins. Inorg Chim Acta;
432: 115–27.
15. Dintaman JM, Silverman JA. 1999. Inhibition of 23. Aiassa V, Zoppi A, Becerra MC, Albesa I, Longhi
P-glycoprotein by D-alpha-tocopheryl MR. 2016. Enhanced inhibition of bacterial
polyethylene glycol 1 0 0 0 succinate ( TPGS) . biofilm formation and reduced leukocyte
Pharm Res; 16 (10):1550-6. toxicity by chloramphenicol: ß-cyclodextrin: N-
acetylcysteine complex. Carbohydr Polym; 152:
16. Aungst BJ. 2 0 0 0 . Intestinal permeation 672–8.
enhancers. J Pharm Sci; 89(4): 429-42. 24. Lee J, Lee S-s, Lee S, Oh HB. 2020. Noncovalent
complexes of cyclodextrin with small organic
17. Prajapat MD, Patel NJ, Bariya A, Patel SS, Butani molecules: applications and insights into host–
SB. 2017. Formulation and evaluation of self- guest interactions in the gas phase and
emulsifying drug delivery system for condensed phase. Molecules; 25(18): 4048.
nimodipine, a BCS class II drug. J Drug Deliv Sci 25. Noh G, Keum T, Seo J-E, Choi J, Rakesh B,
Technol; 39: 59-68. Shrawani L, Park B, Choi YW, Lee S. 2 0 1 8 .
Development and evaluation of a water soluble
18. Kim RM, Jang D-J, Kim YC, Yoon J-H, Min KA, fluorometholone eye drop formulation
Maeng H-J, Cho KH. 2018. Flurbiprofen-loaded employing polymeric micelle. Pharmaceutics;
solid SNEDDS preconcentrate for the enhanced 10: 208.
solubility, In vitro dissolution and bioavailability 26. Hardiansyah A, Huang L-Y, Yang M-C, Liu TY, Tsai
in rats. Pharmaceutics; 10(4): 247. SC, Yang CY, Kuo CY, Chan TY, Zou HM, Lian
WN. 2014. Magnetic liposomes for colorectal
19. Balakrishnan P, Lee B-J, Oh DH, Kim JO, Hong cancer cells therapy by high-frequency
MJ, Jee J-P, Kim JA, Yoo BK, Woo JS, Yong CS, magnetic field treatment. Nanoscale Res Lett; 9:
Choi H-G. 2009. Enhanced oral bioavailability of 497.
dexibuprofen by a novel solid self-emulsifying
drug delivery system ( SEDDS) . Eur J Pharm
Biopharm; 72(3): 539-45.

20. Chen Y, Chen C, Zheng J, Chen Z, Shi Q, Liu H.
2011. Development of a solid supersaturatable
self-emulsifying drug delivery system of

วารสารเภสัชกรอตุ สาหการ ปที ี่ 9 ฉบบั ท่ี 2 (2564) 25

27. Cristiano MC, Cosco D, Celia C, Tudose A, Mare
R, Paolino D, Fresta M. 2017. Anticancer activity
of all-trans retinoic acid-loaded liposomes on
human thyroid carcinoma cells. Colloids Surf B
Biointerfaces; 150: 408-16.

28. Zhou J, Zhao W-Y, Ma X, Ju RJ, Li XY, Li N, Sun
MG, Shi JF, Zhang CX, Lu WL. 2 0 1 3 . The
anticancer efficacy of paclitaxel liposomes
modified with mitochondrial targeting conjugate
in resistant lung cancer. Biomaterials; 34: 3626-
38.

29. Shaji J, Bhatia V. 2013. Proliposomes: A brief
overview of novel delivery system. Int J Pharma
Bio Sci; 4: 150-60.

30. Yu XY, Mei SY, Peng CZ, Neng PQ. 2006.
Preparation of silymarin proliposome: A new
way to increase oral bioavailability of silymarin
in beagle dogs. Int J Pharm; 319: 162-8.

31. Lembo D, Cavalli R. 2 0 1 0 . Nanoparticulate
delivery systems for antiviral drugs. Antivir
Chem Chemother; 21(2): 53-70.

26 TIPA Journal Vol. 9 No. 2 (2021)

บทความวิชาการ

Pharmaceutical water storage &
distribution systems – Microbial control

Per-Åke Olsson

Alfa Laval Lund AB, Sweden
E-mail: [email protected]

Water is the most common and parameters, Conductivity, TOC, Microbial,
important of all pharmaceutical utilities. It is and Endotoxin are shown in figure.1.
used as a substance, raw material, starting
material or cleaning agent in the production, Figure 1. Water specification
processing, and formulation of most
pharmaceutical products. Pharmaceutical Conductivity and TOC specifications
water is well specified in many tells that pharmaceutical grade water is very
pharmacopeias and pharmaceutical water pure and free from salts, minerals, and
systems are well described in many organic carbon. Low levels of minerals and
guidance’s and other literatures. However, organic carbon also means low levels of
there are still many challenges in the design energy and nutrition for bacteria to grow.
and operation of a safe and cost-efficient Typical TOC level in drinking water may range
water system. This article will look at up to 25 ppm i.e., 25 000 ppb. We can also
challenges regarding microbial control and see a big difference between microbial
explain how these can be coped with in a content between WFI and PW. In the
safe and cost-efficient way. pharmacopeia monographs, microbial
content for PW is specified as 1 0 0 CFU/ml.
Pharmaceutical grade water
Water specifications for WFI (Water For วารสารเภสชั กรอุตสาหการ ปที ี่ 9 ฉบับท่ี 2 (2564) 27

Injection) and PW (Purified Water) can be
found in different pharmacopeias. The key

This is the same as the recommendation for around 37°C and an upper limit between 45°C
potable or drinking water in most countries. to 50°C, meaning these bacteria can’t survive
However, WFI have a specification of 1 0 temperatures above 5 0 ° C. Some of these
CFU/1 0 0 ml which is 1 0 0 0 times less bacteria are gram-negative bacteria. The
compared to PW or drinking water. For WFI gram-negative bacteria have an outer
there is also a specification for endotoxin. membrane containing LPS. When these
Endotoxin, sometimes also called LPS gram-negative bacteria die, this LPS (or
(Lipopolysaccharides), is a toxin and can lead endotoxin) is released into the water.
to lethal septic shock if injected to the blood
system. PW water have no specification on As WFI has a limit for endotoxin it is
endotoxin since PW water is used for non- important to secure that the microbial count
injectables and should not come in contact don’t increase in a WFI system so that these
with the blood system. gram-negative bacteria have to be killed and
thereby release endotoxin into the water.
Microbial control Therefore, WFI systems are normally
Due to the low level of energy and operated at a temperature that does not
favor microbial growth i.e., temperature
nutrition (salts, minerals, and organic carbon), above the upper limit for the bacteria
thermophilic and hyperthermophilic present in the system.
microorganisms have limited possibilities to
survive and grow in pharmaceutical grade PW are not used for injectable
water, (ref. 1). Psychrophilic microorganisms medicines and has therefore no limit for
live in temperatures ranging from -2 0 °C to + endotoxin. Thus, PW can be operated at
1 0 °C. In a pharmaceutical water system, we temperatures where bacteria can multiply as
therefore only found the mesophilic long as the system is sanitized before the
microorganism, see figure.2, microbial count exceeds the specified limit.

For these reasons, PW storage and
distribution systems are typically operated at
room temperatures and WFI at hot
temperatures.

Figure 2. Microbial classification by Figure 3. Typical bacteria in pharmaceutical
temperature grade water systems

Typical mesophile bacteria, common in
water system can be seen in figure 3. Most of
these has an optimum temperature at

28 TIPA Journal Vol. 9 No. 2 (2021)

Common practice in the extracellular polymeric substance (EPS), see
pharmaceutical industry has been to operate figure 4 (ref. 4 & 5). This biofilm act as a filter
hot water storage and distribution loops at and collect other bacteria and particles
temperature between 7 0 ° C and as high as (nutrition, salts, and minerals) from the water
95°C. making the biofilm thicker and stronger over
time. Even though pharmaceutical grade
The US FDA write in their guide to water has very low level of nutrition for
inspection of high purity water systems (ref. bacterial growth, the nutritional
2 ) “ It is recognized that hot (6 5 to 8 0 ° C) concentration in the biofilm can be rather
systems are self-sanitizing”. ISPE high and thus a good growing ground for
(International Society for Pharmaceutical bacteria. The thicker and stronger the biofilm
Engineering) write in their guideline (ref. 3 ) gets the more it protects and insulate the
“Water distribution systems operating ≥ 65°C bacteria and makes it difficult to kill them
(1 4 9 ° F) generally are considered to be self- with heat or sanitizing agents. Studies has
sanitizing; 80°C (176°F) is an often-used target also shown that more than 99% of all
temperature”. microbial activity occurs in the biofilm,
meaning that microbial samples from free-
Above guidance’s say that temperatures flowing water in the system will not tell how
above 6 5 °C are self-sanitizing while studies much problem there are with bacterial
shows that the upper limit for bacteria, contamination of the water.
present in water systems, are 45°C or in worst
case 5 0 °C, this seems to be a rather high Figure 4. Biofilm development in water
safety margin. If we could secure that the systems
temperature is above 50°C everywhere in the
system, we would be safe. However, if there The more biofilm there is in the system
are areas with poor circulation or stagnant the higher temperature is needed to secure
areas, the temperature will be lower than in that microbial growth will not occur. If we
the rest of the system. A stainless-steel can minimize the biofilm in the system we
system has a good thermal conductivity and will make it possible to lower the
can transfer the heat to these stagnant areas temperature, both in hot WFI systems and
if they are not too large. Cautiousness should during sanitization of room temperature PW
be taken for plastic systems which does not วารสารเภสชั กรอุตสาหการ ปที ่ี 9 ฉบบั ที่ 2 (2564) 29
have the same good thermal conductivity as
stainless-steel.

Biofilm and biofilm control
Another risk-factor is biofilm. Biofilm is a
matrix of microorganism (dead and alive)
which after some time forms a slimy

systems. This is a good way to save energy difference in amount of bacteria that had
cost, and CO2 emission and at the same time adhered to the surface before cleaning and
secure high quality water and longer lifetime in the amount of bacteria that remain on the
of system components. surface after cleaning, see figure 5.

Biofilm attach more easily to rough If the surface finish, commonly used in
surfaces that has an Ra value of more than pharmaceutical water systems, has no effect
0.8 μm (30 μin.). That fits well with the on bacteria adhesion the material of the
typical surfaces in a pharmaceutical water surface has a larger effect. Bacteria has a
system which use to be between 0.4-0.8 μm tendance to attach more easily to
hydrophobic, nonpolar surfaces, such as
(15-30 μin.). Most microorganism are rather PTFE and other plastics than to hydrophilic
large, for ex. E. Coli bacteria has a size of 1.1- materials such as glass or metals (ref. 5).
1.5 μm, therefore these microorganisms
need quite a large scratch or imperfection on It is also known that high shear forces
the surface to be able to squeeze will minimize the risk of bacteria to adhere to
themselves into the scratch. In a test done surfaces. In pharmaceutical water systems it
by L.R. Hilbert et. al. (ref. 6) they spiked is common practice to target a velocity of 1.0
different surfaces with Pseudomonas sp. to 1.5 m/s in the return piping to the storage
(ranging from 0.5 to 1.0 μm in diameter and tank. This velocity will generate a very high
turbulent flow, with a velocity of 1.0 m/s in
1.5 to 5.0 μm in length) and Listeria a pipe with a diameter of 50 mm and a water
monocytogenes (ranging from 0.5 μm in temperature of 50°C the Reynolds number is
90 000.
diameter and 0.5 to 2.0 μm in length) with
the same amount of bacteria per surface and
then cleaned the surfaces with the same
cleaning method. The result showed no

Figure 5. Bacteria adhesion on different surfaces
30 TIPA Journal Vol. 9 No. 2 (2021)

Figure 6. Boundary layer at turbulent flow.

However, even at high turbulent flows Figure 7. Different pump designs
there is a boundary layer with a thickness of
Actions to minimize microbial growth
more than 1 0 μm, see figure 6 . High and save energy by lowering the
velocities and Reynolds number will though temperature.
minimize the biofilm thickness and is
beneficial for minimizing the microbial  Ra≤0,8 μm is good enough for bacteria
growth in the water system. adhesion and removal

What is probably of more importance is  Stainless-steel piping has lower
to avoid dead legs, pockets, and crevices. adhesion of bacteria than plastic piping
The reason for avoiding these is that soil and
contaminants, such as bacteria and nutrition,  Velocity of 1 m/s is good enough, but
will be trapped in this low flow areas. It is secure there are no areas with low or
common practice to minimize dead leg in all stagnant flow
pharmaceutical systems to L/D<2. A crevice
will have a much larger L/D measurement  Crevice free design is probably the most
than 2 . Taking a centrifugal pump as an important to minimize microbial growth,
example, see fig 7, we can see that the pump this can also allow you to minimize the
to the right has a rather large crevice. In these biofilm at lower temperatures
crevices bacteria and nutrient will be
collected and microbial growth will start. This Biofilm removal
growth will take the form of biofilm and grow It is very difficult to exclude biofilm
out to the rest of the system. If we take completely in a water system, even a well-
notice of the challenges described above, we
will get good control of microbial growth in วารสารเภสชั กรอุตสาหการ ปีท่ี 9 ฉบบั ท่ี 2 (2564) 31
our water systems, and at the same time
reduce energy cost and CO2 emissions.

designed and operated system can have a Chemical disinfection with strong
small, thin, and controlled biofilm. It is oxidizing agents like chlorine, chlorine
advised to remove also the thin and dioxide, hydrogen peroxide, peracetic acid,
controlled biofilm from the system at certain sodium hydroxide, etc or a ready-to-use
intervals, preferably without disturbing the biocide formulation has shown to weaken
closed water loop. This is preferably done the biofilm and at high concentration also
during scheduled maintenance of the remove this. Caution should be taken for
system, where the loop is opened up to the material compatibility of system
environment anyhow and sanitization and components, especially for elastomers which
rinsing of the loop will be done after the are susceptible for strong oxidizing agents.
maintenance. There are a couple of methods When chemical disinfectants are used, these
to remove the biofilm, for ex. with excessive are best used during a planned maintenance
heat, UV-light, chemical disinfection, or to dry and should be performed before
out the biofilm. replacement of the elastomers, such as
diaphragms and gaskets. It is also important
Excessive heat, close to below the to flush the system thoroughly to secure that
boiling point, can be done without opening there are no chemicals left in the system.
up the system. However, this will put an
extra load on the components in the system, An alternative method is to dry out the
like pump shaft seals, gaskets, and other system completely with hot air. This will
elastomers, and reduce the lifetime of these. break up the EPS matrix of the biofilm and
Depending on the thickness of the biofilm it expose the living bacteria both to hot
might even be necessary to use steam. temperature and dry air (bacteria cannot
Steaming of water system will though put survive without access to water). After the
even more stress on the system components biofilm has been broken up and bacteria has
and requires to open-up the loop to drain been killed the system needs to be flushed
out the condensate and remove bacteria with high velocity water to remove the debris
that has entered the drainage port. after the biofilm and its bacteria. The
drawback of this technique is that it will take
UV-light with wavelength of 2 5 4 nm longer time comparing to chemical
(UV-C) is effective to kill free floating bacteria disinfection but on the other hand there are
that will be exposed to the light at a certain no chemicals introduced that has the risk of
duration. The effectiveness on biofilm can be contaminating the water if they are not
debated since these bacteria will stay on the removed completely.
material surface in the biofilm and not pass
the UV-light. Even if the light hits the biofilm These are examples of some of the
the particles and EPS matrix shielding the most common techniques for biofilm
biofilm will block the light from reaching the removal. To choose the best technique for a
bacteria in the biofilm.

32 TIPA Journal Vol. 9 No. 2 (2021)

specific system is very much dependent on 2. Guide to inspection of high purity water
the possibilities for the different techniques systems, from US FDA
in each specific case. https://www.fda.gov/inspections-

Conclusion compliance-enforcement-and-criminal-
In conclusion, bacteria are rather easy to investigations/inspection-guides/high-purity-
water-system-793
control as long as they are free flowing in the 3. ISPE Baseline Guide Vol 4: Water & Steam
water. If the bacteria can accumulate on the Systems 3rd Edition, 2019
surface and develop a biofilm then it 4. Frank Riedewald and Aidan W. Sexton,
becomes more difficult to control. The best Biofilms Survival and growth of bacteria in
way of avoiding biofilm development is to compendial high purity water systems:
control microbial growth from the beginning, Pharmaceutical engineering Vol.27 No 1.
with the right temperature, minimize https://www.researchgate.net/publication/2
stagnant areas like crevices, dead legs and
pockets, and avoiding hydrophobic, nonpolar 89293029_Biofilms_in_pharmaceutical_water
surfaces like plastic material. s
5. Biofilms: Microbial Life on Surfaces,
References Rodney M. Donlan, Emerging Infectious
1. José E.Martínez, Hyperthermophilic Diseases, Vol. 8, No. 9, September 2002
Microorganisms and USP Hot Water Systems, https://wwwnc.cdc.gov/eid/article/8/9/02-
Pharmaceutical Technology February 2004 0063_article
https://cdn.sanity.io/files/0vv8moc6/pharmt 6. L.R. Hilbert et al. International
ech/ee424df517845f9db443bd69ff98fb96b9 Biodeterioration & Biodegradation 52 (2003),
ce7a0f.pdf/article-84559.pdf p.175-185).

วารสารเภสชั กรอุตสาหการ ปีท่ี 9 ฉบบั ที่ 2 (2564) 33

บทความท่ัวไป

วทิ ยาลยั เภสัชกรรมอตุ สาหการแหง่ ประเทศไทย (วภอ.)

ดร.ภญ.โศรดา หวงั เมธกี ลุ

วทิ ยาลัยเภสชั กรรมอตุ สาหการแห่งประเทศไทย
E-mail: [email protected]

การดาริจัดตั้งวิทยาลัยเภสัชกรรมอุตสาหการ ได้ คณะกรรมการบริหารและท่ีปรึกษาสมาคม มีแนวคิด
มีการเสนอและพูดคุยกันมานานมากว่า 10 ปี ตามที่ ท่ีจะจัดตั้งวิทยาลัยข้ึนเพ่ือเป็นการรับรองผู้เช่ียวชาญ
ผู้เขียนได้รับรู้มา และได้มีโอกาสเข้าร่วมประชุมการ เฉพาะด้านและสร้างผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เพ่ือ
จัดตั้งวิทยาลัยประมาณ 10 ปีล่วงมาแล้ว สรุปก็ไมไ่ ด้ พัฒนาวิชาชีพและอุตสาหกรรมยา สมาคมเภสัชกร
ข้อสรปุ ในการดาเนินการต่อ อุตสาหการ (ประเทศไทย) ได้ร่วมหารือกันระหว่าง
ผู้ปฏิบัติงานในวิชาชีพเภสัชกรรมอุตสาหการ และ
สมาคมเภสัชกรอุตสาหการ (ประเทศไทย) หรือ อาจารย์จากสถาบันการศึกษาต่าง ๆ มีความเห็น
Thai Industrial Pharmacist Association (TIPA) ตรงกันว่าควรจัดต้ังวิทยาลัยเภสัชกรรมอุตสาหการ
ไ ด้ มี แ น ว คิ ด ท่ี จ ะ ส ร้ า ง ผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ เ ฉ พ า ะ ด้ า น ขึ้น เพื่อเป็นแหล่งให้เภสัชกรอุตสาหการได้พัฒนา
(Subject Matter Expert, SME) จากการที่สมาคม ศักยภาพ และเรียนรู้เป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางใน
ได้จัดอบรมประชุมวิชาการ และการเขียนบทความ สาขาวิชาชีพเภสัชกรรมอุตสาหการ อันจะเป็น
วิชาการลงในวารสารเภสัชกรอุตสาหการ (TIPA ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ก า ร พั ฒ น า อุ ต ส า ห ก ร ร ม ย า แ ล ะ
journal) มีวิทยากรและผู้เขียนที่ทรงความรู้ สมาคม ผลิตภัณฑ์สุขภาพของประเทศในอนาคต นายก
เ ห็ น ค ว ร จั ด ท า ร า ย ช่ื อ SME ไ ว้ แ ล ะ ใ น บ า ง สมาคมขณะน้ัน เภสัชกรหญิง พันตรีหญิง อิษฎา ศิริ
สถานการณ์จาเป็นต้องมี SME เข้าร่วมแสดง มนตรี ได้ประกาศแต่งตั้งคณะทางานศึกษาความ
ความเหน็ หรือเสนอแนะต่อองค์กร ภาครัฐ หรือเป็น เปน็ ไปไดใ้ นการก่อตั้งวิทยาลัยเภสัชกรรมอุตสาหการ
ผู้ทรงคุณวุฒิของสมาคมเข้าร่วมในการประชุม หรือ เมื่อวันท่ี 2 พ.ค. 2562 หลังจากการประชุมของ
จัดทาร่าง มาตรฐาน คู่มือ และการเป็นวิทยากร คณะทางานก็ได้ข้อสรุปว่าควรจัดต้ังวิทยาลัย เสนอ
ถ่ายทอดองค์ความรู้ประสบการณ์ให้กับสมาชิกและ คณะกรรมการบริหารสมาคม นายกสมาคมได้ทา
บุคคลทั่วไปหรือกับองค์กรที่เชิญมา ในการสร้าง หนังสือถึงนายกสภาเภสัชกรรม (รองศาสตราจารย์
ผู้เชี่ยวชาญ หรือประกาศรายชื่อผู้เชี่ยวชาญของ ดร.เภสัชกรหญิง จิราภรณ์ ล้ิมปานานนท์) เม่ือวันท่ี
สมาคมจะมีความน่าเช่ือถือ หรือรับรองได้อย่างไร

34 TIPA Journal Vol. 9 No. 2 (2021)

5 มิถุนายน 2562 เสนอการจัดต้ังวิทยาลัยเภสัช ประธานคณะทางาน
กรรมอุตสาหการเพื่อเป็นแหล่งให้เภสัชกรอุตสา - ภก.ปราโมทย์ ชลยุทธ์
หการได้พัฒนาศักยภาพ และเรียนรู้เป็นผู้เชี่ยวชาญ คณะทางาน
เฉพาะทางในสาขาวิชาชพี เภสัชกรรมอตุ สาหการ อัน - ภญ.โศรดา หวงั เมธกี ุล
จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมยาและ - รศ.ดร.ภก.สาธติ พทุ ธพิ พิ ฒั นข์ จร
ผลิตภัณฑ์สุขภาพของประเทศในอนาคต สภาเภสัช - ภก.ปริญญา เปาทอง
กรรมได้มีหนังสือตอบเมื่อวันท่ี 17 มิถุนายน 2562 - ภก.วีรยทุ ธ จิรรัศมิ์
ให้สมาคมฯ จัดทาเอกสารเชิงหลักการ (concept - อาจารย์.ดร.ภญ.นฤพร สตุ ณั ฑวิบลู ย์
paper) ท่ีแสดงถึงแนวทางความพร้อมท่ีต้องการ - ภญ.สพุ ตั รา จริ รัศมิ์
จัดต้ังวิทยาลัยเภสัชกรรมอุตสาหการ ซ่ึงประกอบ - ภญ.ภัทรี สนิ อนันตพ์ ัฒน์
ดว้ ย - รศ.ดร.ภก.รัฐพล อาษาสุจริต
- อาจารย์ ดร.ภญ.ดวงรตั น์ ชูวสิ ฐิ กุล
(1) กรอบแนวคดิ ของการจดั ต้ังวทิ ยาลัย - ภก.อาทิตย์ สอดแสงอรณุ งาม
(2) ความแตกต่างระหว่างหลักสูตรเภสัชศาสตร์ - รศ.ดร.ภก.ธวัชชัย แพชมัด
บัณฑิต สาขาเภสัชกรรมอุตสาหการกับหลักสูตร - ภก.รอ.ชินกฤต ประเสรฐิ วงศา
วฒุ ิบัตร สาขาเภสัชกรรมอุตสาหการ คณะทางานได้ประชุม หารือและจัดทาเอกสาร
(3) ความแตกต่างระหว่างปริญญาโท-เอกกับ เชิงหลักการตามท่ีสภาเภสัชกรรมกาหนด เสนอให้
หนังสอื อนมุ ตั ิและวุฒิบัตร คณะกรรมการบริหารสมาคมเพ่ือพิจารณาเห็นชอบ
(4) สมรรถนะในการเป็นผู้มีความรู้ความชานาญ และสมาคมได้ดาเนินการส่งเอกสารเชิงหลักการให้
ในการประกอบวิชาชีพเภสชั กรรม สภาเภสชั กรรมเม่อื วนั ที่ 18 ตุลาคม 2562 เพอ่ื แสดง
สมาคมพิจารณาหนังสือจากสภาเภสัชกรรมแล้ว ถึงแนวทาง และความพร้อมในการจัดตั้งวิทยาลัย
ได้แต่งตั้งคณะทางานเพ่ิมเติมโดยยกเลิกประกาศเมื่อ เภสชั กรรมอตุ สาหการ
วันที่ 2 พฤษภาคม 2562 เพ่ือให้มีคณะทางานที่ ส ภ า เ ภ สั ช ก ร ร ม ไ ด้ อ อ ก ค า ส่ั ง แ ต่ ง ตั้ ง ค ณ ะ
ครอบคลุมการจัดทาเอกสารเชิงหลักการโดยออก อนุกรรมการเตรียมการจัดตั้งวิทยาลัยเภสัชกรรมอุต
ประกาศแต่งต้ังคณะทางานศึกษาความเป็นไปได้ใน สาหการแห่งประเทศ เมื่อวันท่ี 24 ธันวาคม 2562
การก่อต้ังวิทยาลัยเภสัชกรรมอุตสาหการ เมื่อวันท่ี ดงั รายนามตอ่ ไปน้ี
15 กรกฎาคม 2562 ดังรายนาม ตอ่ ไปน้ี ทป่ี รกึ ษาคณะอนุกรรมการ
ทป่ี รกึ ษาคณะทางาน - ศ. (พิเศษ) ดร.ภก.จอมจิน จันทรสกุล
- ศ. (พเิ ศษ) ดร.ภก.จอมจิน จนั ทรสกลุ - ศ.เกียรติคุณ ดร.ภก.สมพล ประคองพนั ธ์
- ศ.เกียรตคิ ณุ ดร.ภก.สมพล ประคองพันธ์ - ศ. (พเิ ศษ) ดร.ภญ.สุมนา ขมวิลยั
- ศ. (พเิ ศษ) ดร.ภญ.สุมนา ขมวิลัย ประธานคณะอนกุ รรมการ
- ภก.วรวทิ ย์ กิตติวงศส์ นุ ทร - ดร.ภญ.โศรดา หวงั เมธีกลุ

วารสารเภสัชกรอตุ สาหการ ปที ่ี 9 ฉบบั ที่ 2 (2564) 35

คณะอนุกรรมการ กรรมเพ่ือทาหน้าท่ีเป็นคณะผู้บริหารช่ัวคราว และมี
- ภก.ปราโมทย์ ชลยทุ ธ์ อานาจหน้าที่ตามข้อ 16 ข้อ 19 และข้อ 20 โดย
- ภก.วรวทิ ย์ กิตติวงศส์ ุนทร อนโุ ลมจนกวา่ จะมีการเลือกตง้ั ผูอ้ านวยการ
- รศ.ดร.ภญ.วรรณา ศรีวริ ยิ านภุ าพ
- ผศ.ดร.ภก.สถาพร นมิ่ กลุ รตั น์ ข้อ 22 คณะผู้บริหารชั่วคราวมีหน้าที่ดาเนินการ
- ผศ.ดร.ภญ.นฤพร สตุ ณั ฑวบิ ูลย์ ให้วิทยาลัยสามารถจัดการศึกษา เปิดรับผู้เข้าศึกษา
คณะอนุกรรมการได้ประชุม พิจารณาร่าง และฝกึ อบรมในหลกั สตู รเพอื่ ขอรับอนุมัตบิ ัตรเป็นผู้มี
ข้อบงั คับวทิ ยาลัยเภสัชกรรมอุตสาหการแห่งประเทศ ความรู้ ความชานาญ ในการประกอบวิชาชีพเภสัช
ไทย โดยอ้างอิงพระราชบัญญัติวิชิาชีพเภสัชกรรม กรรม สาขาเภสัชกรรมอุตสาหการ ให้ได้ภายในหน่ึง
(ฉบับที่ 2) ให้สภาเภสัชกรรมเพื่อพิจารณาเห็นชอบ ปนี ับแต่วันประกาศแตง่ ต้ังตามข้อ 21
และดาเนินการตอ่ ไป
ข้อบังคับสภาเภสัชกรรมว่าด้วยวิทยาลัยเภสัช ข้อ 23 ให้คณะผู้บริหารชั่วคราวดาเนินการเสนอ
กรรมอุตสาหการแห่งประเทศไทย พ.ศ.2563 ได้ลง ชื่อผู้มีคุณสมบัติได้รับหนังสืออนุมัติเป็นผู้มีความรู้
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม่ 138 ตอนพิเศษ 5 ง ความชานาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม
วนั ที่ 6 มกราคม 2564 มีผลบังคับใช้วันท่ี 7 มกราคม สาขาเภสัชกรรมอุตสาหการ ต่อคณะกรรมการ สภา
2564 ข้อบังคับนี้ “เภสัชกรรมอุตสาหการ ” เภสัชกรรมเพื่ออนุมัติเป็นสมาชิกก่อต้ังวิทยาลัย
หมายความว่า วิทยาการสาขาหน่ึงของวิชาชีพเภสัช ภ า ยใน หน่ึ ง ร้ อ ยแ ป ด สิ บ วั น นั บ แ ต่ วั น ท่ี ข้ อ บั ง คั บ นี้
กรรมที่เก่ียวกับการกระทาในการเตรียมยา การปรุง ประกาศใช้ ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ี
ยา การผลติ ยา การประดษิ ฐย์ า การวเิ คราะหย์ า การ คณะกรรมการสภาเภสัชกรรมประกาศกาหนด และ
ควบคุม และการประกันคุณภาพยา การเลือกสรรยา ให้จัดทาระบบทะเบียนสมาชิกก่อต้ังวิทยาลัยเก็บ
และการข้ึนทะเบียนตารับยา การวิจัยและพัฒนายา รักษาไวท้ ่สี านกั งานเลขาธกิ ารสภาเภสัชกรรม
และผลิตภัณฑ์สุขภาพ การผลิตยาและผลิตภัณฑ์
สุ ข ภ า พ ต้ั ง แ ต่ ร ะ ดั บ ห้ อ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร ถึ ง ร ะ ดั บ ข้อ 24 ให้สมาชิกก่อตั้งวิทยาลัยเป็นสมาชิก
อตุ สาหกรรม การติดตามคุณภาพและความปลอดภยั สามัญของวิทยาลัยนับแต่วันที่คณะกรรมการสภา
ของผลิตภัณฑ์หลังออกสู่ท้องตลาด ท้ังน้ี ตาม เภสัชกรรมมมี ติอนุมัติ
กฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเภสัชกรรม กฎหมายว่าด้วย
ยา และกฎหมายอ่ืนที่เก่ยี วเน่ืองกบั ยา ข้อ 25 ในการเลือกต้ังผู้อานวยการในวาระแรก
บทเฉพาะกาล นั้น ให้เร่ิมดาเนินการได้เมื่อมีสมาชิกสามัญของ
ข้อ 21 ในวาระแรก ให้คณะกรรมการสภาเภสัช วิทยาลัยไม่ต่ากว่าห้าคน หรือไม่เกินหกปีนับแต่วันท่ี
กรรมแต่งต้ังผู้ทรงคุณวุฒิด้านเภสัชกรรมอุตสาหการ แตง่ ตง้ั ผ้อู านวยการวิทยาลัยตามข้อ 21
ดารงตาแหน่งผู้อานวยการ และให้ผู้อานวยการที่
ได้รับการแต่งตั้ง เสนอรายชื่อรองผู้อานวยการหน่ึง สภาเภสัชกรรมได้ออกคาส่ังแต่งต้ัง ดร.ภญ.
คนโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสภาเภสัช โศรดา หวังเมธีกุล ดารงตาแหน่งผู้อานวยการ
วิทยาลัยเภสัชกรรมอุตสาหการแห่งประเทศไทย
36 TIPA Journal Vol. 9 No. 2 (2021) (วภอ.) วันที่ 19 มกราคม 2564 และ ผศ.ดร.ภญ.
นฤพร สุตัณฑวิบูลย์ ดารงตาแหน่งรองผู้อานวยการ
วิทยาลัย วันท่ี 16 กุมภาพันธ์ 2564 ตามบทเฉพาะ
กาล คณะผู้บริหารชั่วคราว โดยได้รับการแนะนา


Click to View FlipBook Version